The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

แผนปฏิบัติการปีงบประมาณ 2565

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Phanudet Dingram, 2021-12-17 00:34:33

แผนปฏิบัติการปีงบประมาณ 2565

แผนปฏิบัติการปีงบประมาณ 2565

แผผนปฏิบัตั ิกิ าารรปปรระะจจาาปปี ี

ปีงบประมาณ ๒๕๖๕

โรงเรยี นพิไกรวิทยำ

สำนักงำนเขตพ้นื ท่ีกำรศกึ ษำมธั ยมศึกษำกำแพงเพชร

สำนกั งำนกำรศึกษำข้นั พืน้ ฐำน
กระทรวงศึกษำธิกำร

คำเห็นชอบของคณะกรรมการสถานศกึ ษาขั้นพ้นื ฐาน
โรงเรยี นพไิ กรวทิ ยา

คณะกรรมการสถานศกึ ษาขัน้ พืน้ ฐาน โรงเรียนพิไกรวทิ ยา มมี ตเิ หน็ ชอบแผนปฏิบัตกิ ารประจำปี
ปีงบประมาณ 2565 ของโรงเรยี นพิไกรวิทยา ขอให้การดำเนินงานในโครงการต่างๆ ตามแผนกลยทุ ธ์
ระดบั ต่าง ๆ ทีเ่ ก่ียวข้องตามแผนปฏิบัติการในปีงบประมาณนี้ ประสบความสำเร็จตามวตั ถุประสงค์ในการ
บรหิ ารและการพัฒนาการศึกษาท่กี ำหนดไว้

ในนามของคณะกรรมการสถานศึกษาขนั้ พื้นฐานขอแสดงความชน่ื ชมตอ่ ผู้บริหารและ คณะครู
โรงเรียนพไิ กรวิทยา ทีไ่ ด้มีความวิรยิ ะ อุตสาหะจัดทำแผนปฏิบตั ิการประจำปี ปีงบประมาณ 2565 อย่าง
ละเอียดรอบคอบ ท้ังนโี้ ดยคำนงึ ถึงมาตรฐานการศึกษาของสำนักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขัน้ พื้นฐานและ
สอดคลอ้ งกับแนวทางการปฏิรูปการศกึ ษาในศตวรรษที่ 21 ทม่ี ุง่ เน้นใหค้ นไทยไดเ้ รียนรู้ตลอดชีวิตอยา่ งมี
คณุ ภาพและการเรียนร้สู มู่ าตรฐานสากล

(นายสมศกั ด์ิ ดอนไพรปาน)
ประธานคณะกรรมการสถานศกึ ษาข้ันพน้ื ฐาน

โรงเรยี นพิไกรวิทยา

คำนำ

แผนปฏบิ ตั ิการประจำปี ปีงบประมาณ 2565 โรงเรียนพิไกรวทิ ยา ฉบบั น้ี เป็นเอกสารที่จัดทำข้ึน
เพ่อื ใช้เปน็ แนวทางในการบริหารงานของโรงเรียนพไิ กรวทิ ยา โดยใช้แนวการบริหารแบบมุ่งเนน้ ผลสัมฤทธ์ิ
(Results Based Management) ภายใตร้ ะบบงบประมาณแบบมงุ่ เน้นผลงาน (Performance Based
Budgeting) ซง่ึ ประกอบดว้ ยสาระสำคัญ คือ สภาพปัจจุบันของโรงเรยี น กรอบทิศทางนโยบายทเี่ ก่ยี วข้อง
รายละเอยี ดแผนงาน โครงการและงบประมาณ การกำกับ ติดตาม ประเมินผล และรายงาน

การจดั ทำแผนปฏิบัติการประจำปี ปงี บประมาณ 2565 โรงเรียนพิไกรวิทยา สำเร็จไดด้ ว้ ยดี
เนื่องจากได้รบั ความร่วมมือจากคณะครู นักเรยี น คณะกรรมการสถานศึกษาข้นั พ้ืนฐาน ตลอดจนผู้ทมี่ สี ว่ น
เก่ียวข้อง ทีใ่ หก้ ารสนับสนนุ ใหค้ ำปรึกษา และรว่ มในการจัดทำแผนปฏบิ ัติการประจำปี จึงขอขอบคณุ
เปน็ อย่างสงู ไว้ ณ ทนี่ ้ี

(นางสาวจฑุ ามาศ วงษ์เขยี ว)
ผูอ้ ำนวยการโรงเรียนพไิ กรวทิ ยา

สารบญั

บทที่ หนา้

1 บทนำ..................................................................................................................................... 1
1 ขอ้ มลู ท่วั ไป…………………………………………………………………………………….. ................... 1
2 ลกั ษณะชมุ ชน.............................................................................................................. 4
3 ขอ้ มูลนักเรยี น.............................................................................................................. 7
4 ข้อมูลบุคลากร ............................................................................................................. 7
5 คณะกรรมการสถานศึกษาข้ันพน้ื ฐาน .......................................................................... 8
6 โครงสรา้ งการบริหารโรงเรียนพิไกรวิทยา..................................................................... 8
7 ขอ้ มลู อาคารสถานท่ี..................................................................................................... 10
8 แหลง่ เรียนรใู้ นท้องถิน่ .................................................................................................. 14

2 กรอบทศิ ทางนโยบายทีเ่ กี่ยวข้อง .......................................................................................... 15
1 พระบรมราโชบายด้านการศึกษา.................................................................................. 15
2 ยทุ ธศาสตร์ชาติ (พ.ศ. 2561 - พ.ศ. 2580) ............................................................ 16
3 แผนพฒั นาเศรษฐกจิ และสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2560 - พ.ศ. 2564)....... 19
4 แผนการศกึ ษาแห่งชาติ พ.ศ. 2560-2579 ............................................................... 23
5 แผนปฏบิ ตั ิราชการระยะ 3 ปี (พ.ศ. 2563 - 2565) ของกระทรวงศึกษาธิการ….... . 24
6 นโยบายการจัดการศึกษาของกระทรวงศึกษาธิการ
ปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 – 2565.................................................................... 25
7 นโยบายสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขน้ั พืน้ ฐาน
ปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 – 2565.................................................................... 27
8 นโยบายสำนกั งานเขตพื้นท่ีการศึกษามธั ยมศกึ ษากำแพงเพชร
ปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 – 2565 ................................................................... 29

3 บทวเิ คราะห์........................................................................................................................... 32
1 ผลการวิเคราะหส์ ภาพแวดลอ้ ม.................................................................................... 32
2 ผลการประเมนิ สถานภาพ ............................................................................................ 36
3 แนวทางการจัดการศกึ ษาโรงเรยี นพไิ กรวิทยา .............................................................. 37
4 ภาพความสำเรจ็ ........................................................................................................... 41
5 สรปุ โครงการทต่ี อบสนองค่ารอ้ ยละของสำนักงานคณะกรรมการการศกึ ษา
ขัน้ พ้นื ฐาน............................................................................................................. 56
6 สรุปโครงการทต่ี อบสนองตัวช้ีวดั ระบบประกนั คุณภาพภายในสถานศึกษา................... 63

สารบัญ (ต่อ)

บทท่ี หน้า

4 การกำกับ ตดิ ตาม ประเมินผล และรายงาน......................................................................... 70
1 ปัจจัยความสำเรจ็ ของการดำเนนิ การ........................................................................... 70
2 การกำกบั ติดตาม ประเมินผล และรายงาน................................................................. 72

ภาคผนวก …………………………………………………………………………..…………………………………………. ... 74
ภาคผนวก ก ตารางแสดงความสอดคล้องและการตอบสนองตัวชีว้ ดั
สพม.กำแพงเพชร สพฐ. และยทุ ธศาสตร์ชาติ 20 ปี................................... 75
ภาคผนวก ข โครงการท่ี 1 พัฒนาศกั ยภาพการจัดการเรยี นรู้.......................................... 89
ภาคผนวก ฃ โครงการท่ี 2 การยกระดบั ผลสัมฤทธ์ิทางการเรยี น..................................... 96
ภาคผนวก ค โครงการท่ี 3 พัฒนาโรงเรยี นคุณธรรม........................................................ 103
ภาคผนวก ฅ โครงการที่ 4 ส่งเสริมการแนะแนวและสรา้ งภูมคิ ้มุ กันการดำรงชวี ิต........... 111
ภาคผนวก ฆ โครงการท่ี 5 พัฒนาระบบบริหารคุณภาพ.................................................. 117
ภาคผนวก ง โครงการที่ 6 บรหิ ารทรพั ยากรเพ่ือการศกึ ษา ............................................. 123
ภาคผนวก จ โครงการที่ 7 สง่ เสริมความร่วมมือระหวา่ งโรงเรยี นและชมุ ชน.................... 133
ภาคผนวก ฉ โครงการท่ี 8 พัฒนาปรบั ปรุงซ่อมแซม อาคารสถานที่ และสิง่ แวดล้อม ...... 139
ภาคผนวก ช โครงการที่ 9 พัฒนาระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศเพ่ือสนบั สนุน
การบรหิ ารจดั การและการจดั การเรียนรู้..................................................... 146
ภาคผนวก ซ สำเนาคำส่ัง................................................................................................. 151

สารบัญภาพ

ภาพท่ี หนา้

1 แสดงแผนที่เดินทางจากสำนักงานเขตพน้ื ที่การศึกษามธั ยมศกึ ษากำแพงเพชร 2
ถงึ โรงเรยี นพไิ กรวทิ ยา ................................................................................................ 3
3
2 แสดงตราสญั ลกั ษณ์โรงเรยี น............................................................................................... 10
3 แสดงพระพทุ ธรปู ประจำโรงเรียน ....................................................................................... 12
4 แสดงแผนผงั โรงเรยี นพิไกรวทิ ยา ........................................................................................ 12
5 แสดงแผนผังอาคารราชพฤกษ์ ............................................................................................ 12
6 แสดงแผนผังอาคารชัยพฤกษ์.............................................................................................. 13
7 แสดงแผนผังอาคารปาริชาติ ............................................................................................... 13
8 แสดงแผนผงั อาคารอินทนิล................................................................................................ 13
9 แสดงแผนผงั อาคารเรยี นชว่ั คราว 104 .............................................................................. 14
10 แสดงแผนผังอาคารนนทรี................................................................................................... 36
11 แสดงแผนผังอาคารหอประชุมพทุ ธชาด .............................................................................. 40
12 แสดงกราฟผลการวิเคราะห์สภาพแวดลอ้ ม (SWOT) โรงเรียนพิไกรวทิ ยา........................... 72
13 แสดงรูปแบบการกำหนดผลสำเร็จอย่างสมดลุ รอบดา้ น (Balanced Scorecard)...............
14 แสดงกระบวนการกำกับ ตดิ ตามงาน ..................................................................................

สารบัญตาราง

ตารางท่ี หน้า

1 แสดงจำนวนนักเรยี นแยกระดับชั้น/ห้อง ปกี ารศึกษา 2564........................................ 7
2 แสดงจำนวนบคุ ลากร จำแนกตามประเภท.................................................................... 7
3 แสดงรายชื่อของคณะกรรมการสถานศกึ ษาข้ันพน้ื ฐาน.................................................. 8
4 แสดงข้อมูลอาคารเรียน................................................................................................. 10
5 แสดงข้อมลู อาคารประกอบ........................................................................................... 11
6 แสดงขอ้ มลู แหล่งเรยี นรใู้ นท้องถ่นิ ................................................................................. 14
7 แสดงผลการวเิ คราะหด์ ้านโครงสรา้ งและนโยบายของโรงเรียน (S1) ............................. 32
8 แสดงผลการวเิ คราะห์ด้านการใหบ้ รกิ ารและคณุ ลักษณะของผู้เรยี น (S2) ..................... 32
9 แสดงผลการวิเคราะหด์ ้านบุคลากร (M1)...................................................................... 33
10 แสดงผลการวเิ คราะหด์ ้านการเงิน (M2) ....................................................................... 33
11 แสดงผลการวิเคราะห์ด้านวสั ดุอปุ กรณ์ (M3)................................................................ 33
12 แสดงผลการวิเคราะหด์ ้านการบริหารจดั การ (M4) ....................................................... 34
13 แสดงผลการวิเคราะห์ด้านสงั คมและวฒั นธรรม (S) ....................................................... 34
14 แสดงผลการวิเคราะห์ด้านเทคโนโลยี (T)....................................................................... 35
15 แสดงผลการวเิ คราะหด์ ้านเศรษฐกิจ (E) ........................................................................ 35
16 แสดงผลการวิเคราะหด์ ้านการเมืองและกฎหมาย (P).................................................... 36
17 แสดงงบประมาณที่คาดว่าจะไดร้ บั ................................................................................ 44
18 แสดงการจัดสรรงบประมาณ......................................................................................... 44
19 แสดงงบประมาณโครงการสนับสนุนค่าใชจ้ า่ ยในการจดั การศึกษาตง้ั แตร่ ะดับอนุบาล
45
จนจบการศกึ ษาขัน้ พ้ืนฐาน ปีงบประมาณ พ.ศ. 2565.........................................
20 แสดงรายละเอียดการจดั สรรงบประมาณ 46

โครงการท่ี 1 พัฒนาศกั ยภาพการจดั การเรยี นรู้ .................................................... 47
21 แสดงรายละเอียดการจัดสรรงบประมาณ
48
โครงการท่ี 2 ยกระดบั ผลสมั ฤทธิท์ างการเรียน .....................................................
22 แสดงรายละเอียดการจัดสรรงบประมาณ 50

โครงการที่ 3 พัฒนาโรงเรียนคณุ ธรรม .................................................................. 51
23 แสดงรายละเอียดการจัดสรรงบประมาณ
52
โครงการที่ 4 สง่ เสริมการแนะแนวและสรา้ งภูมิค้มุ กนั การดำรงชวี ิต .....................
24 แสดงรายละเอยี ดการจดั สรรงบประมาณ

โครงการท่ี 5 พัฒนาระบบบริหารคุณภาพ ............................................................
25 แสดงรายละเอยี ดการจดั สรรงบประมาณ

โครงการที่ 6 บริหารทรพั ยากรเพือ่ การศึกษา .......................................................

สารบัญตาราง (ตอ่ )

ตารางท่ี หนา้

26 แสดงรายละเอยี ดการจัดสรรงบประมาณ 54
โครงการที่ 7 สง่ เสรมิ ความรว่ มมือระหวา่ งโรงเรียนและชุมชน.............................. 54

27 แสดงรายละเอียดการจดั สรรงบประมาณ 55
โครงการท่ี 8 พัฒนาปรบั ปรุงซ่อมแซมอาคารสถานท่แี ละส่ิงแวดลอ้ ม................... 55
56
28 แสดงรายละเอียดการจัดสรรงบประมาณ 57
โครงการที่ 9 พัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพ่อื สนบั สนนุ การบริหารจดั การ 58
และการจดั การเรียนรู้............................................................................................ 59
59
29 แสดงรายละเอยี ดทม่ี าของงบประมาณ ปีการศึกษา 2565 ..........................................
30 แสดงโครงการท่ีตอบสนองค่ารอ้ ยละของสำนักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขั้นพนื้ ฐาน 60
61
โครงการที่ 3 พฒั นาโรงเรียนคุณธรรม .................................................................. 61
31 แสดงโครงการที่ตอบสนองคา่ ร้อยละของสำนักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พื้นฐาน 62
63
โครงการท่ี 4 ส่งเสริมการแนะแนวและสร้างภมู ิคมุ้ กันการดำรงชวี ิต ..................... 64
32 แสดงโครงการที่ตอบสนองค่าร้อยละของสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้นื ฐาน 65

โครงการท่ี 2 ยกระดบั ผลสมั ฤทธิ์ทางการเรยี น .....................................................
33 แสดงโครงการท่ีตอบสนองคา่ ร้อยละของสำนักงานคณะกรรมการการศกึ ษาข้นั พืน้ ฐาน

โครงการท่ี 1 พัฒนาศกั ยภาพการจัดการเรียนรู้ ....................................................
34 แสดงโครงการท่ีตอบสนองค่ารอ้ ยละของสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพืน้ ฐาน

โครงการที่ 6 บริหารทรัพยากรเพื่อการศึกษา .......................................................
35 แสดงโครงการท่ีตอบสนองค่ารอ้ ยละของสำนักงานคณะกรรมการการศกึ ษาข้ันพ้นื ฐาน

โครงการท่ี 9 พฒั นาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพือ่ สนับสนนุ การบริหารจัดการ
และการจัดการเรยี นรู้............................................................................................
36 แสดงโครงการที่ตอบสนองคา่ ร้อยละของสำนักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน
โครงการที่ 8 พฒั นาปรับปรงุ ซอ่ มแซมอาคารสถานทแี่ ละสงิ่ แวดลอ้ ม...................
37 แสดงโครงการที่ตอบสนองค่ารอ้ ยละของสำนักงานคณะกรรมการการศกึ ษาข้นั พ้นื ฐาน
โครงการที่ 5 พัฒนาระบบบริหารคุณภาพ ............................................................
38 แสดงโครงการท่ีตอบสนองคา่ รอ้ ยละของสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐาน
โครงการที่ 7 สง่ เสรมิ ความรว่ มมือระหวา่ งโรงเรียนและชมุ ชน..............................
39 แสดงโครงการที่ตอบสนองตัวช้วี ัดระบบประกันคุณภาพภายในสถานศกึ ษา
โครงการท่ี 2 ยกระดบั ผลสมั ฤทธทิ์ างการเรียน .....................................................
40 แสดงโครงการท่ีตอบสนองตวั ช้ีวดั ระบบประกันคณุ ภาพภายในสถานศึกษา
โครงการที่ 3 พัฒนาโรงเรียนคุณธรรม ..................................................................
41 แสดงโครงการท่ีตอบสนองตัวชว้ี ดั ระบบประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา
โครงการที่ 4 ส่งเสรมิ การแนะแนวและสรา้ งภมู ิคุม้ กันการดำรงชวี ิต .....................

สารบัญตาราง (ต่อ)

ตารางท่ี หนา้

42 แสดงโครงการที่ตอบสนองตัวชวี้ ดั ระบบประกันคุณภาพภายในสถานศกึ ษา 66
โครงการที่ 6 บริหารทรพั ยากรเพื่อการศึกษา ....................................................... 67
67
43 แสดงโครงการที่ตอบสนองตัวชี้วัดระบบประกนั คุณภาพภายในสถานศึกษา 67
โครงการที่ 9 พฒั นาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพอื่ สนับสนนุ การบริหารจดั การ 68
และการจดั การเรยี นรู้............................................................................................ 68
69
44 แสดงโครงการท่ีตอบสนองตวั ชี้วดั ระบบประกนั คุณภาพภายในสถานศึกษา 76
โครงการที่ 8 พัฒนาปรับปรุงซอ่ มแซมอาคารสถานทแี่ ละสิ่งแวดลอ้ ม................... 78

45 แสดงโครงการที่ตอบสนองตัวชว้ี ดั ระบบประกนั คุณภาพภายในสถานศกึ ษา 80
โครงการที่ 5 พัฒนาระบบบริหารคณุ ภาพ ............................................................
82
46 แสดงโครงการท่ีตอบสนองตวั ช้ีวดั ระบบประกนั คณุ ภาพภายในสถานศึกษา 83
โครงการท่ี 7 สง่ เสรมิ ความร่วมมอื ระหวา่ งโรงเรียนและชมุ ชน..............................

47 แสดงโครงการที่ตอบสนองตัวชี้วัดระบบประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา
โครงการที่ 2 ยกระดบั ผลสัมฤทธท์ิ างการเรียน .....................................................

48 แสดงโครงการท่ีตอบสนองตวั ชว้ี ัดระบบประกันคุณภาพภายในสถานศกึ ษา
โครงการท่ี 1 พัฒนาศักยภาพการจัดการเรียนรู้ ....................................................

49 แสดงความสอดคลอ้ งและการตอบสนองตัวช้วี ัดของ สพม.กำแพงเพชร สพฐ.
และยทุ ธศาสตรช์ าติ 20 ปี ยุทธศาสตรท์ ่ี 1 การจัดการศกึ ษาเพ่ือความมัน่ คง
กลยุทธ์ท่ี 3 การพฒั นาคุณลกั ษณะของผ้เู รยี นใหม้ ีวนิ ัย คุณธรรม จรยิ ธรรม .........

50 แสดงความสอดคล้องและการตอบสนองตวั ชวี้ ัดของ สพม.กำแพงเพชร สพฐ.
และยทุ ธศาสตร์ชาติ 20 ปี ยทุ ธศาสตรท์ ี่ 1 การจัดการศกึ ษาเพื่อความมนั่ คง
กลยุทธ์ท่ี 4 การพัฒนาทกั ษะชวี ติ และทกั ษะอาชีพ...............................................

51 แสดงความสอดคล้องและการตอบสนองตวั ชว้ี ัดของ สพม.กำแพงเพชร สพฐ.
และยทุ ธศาสตร์ชาติ 20 ปี ยุทธศาสตรท์ ี่ 2 พัฒนาคุณภาพผเู้ รยี นและส่งเสรมิ
การจัดการศกึ ษาเพ่ือสรา้ งขดี ความสามารถในการแขง่ ขนั
กลยทุ ธท์ ี่ 2 การยกระดับผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน .................................................

52 แสดงความสอดคลอ้ งและการตอบสนองตัวชวี้ ดั ของ สพม.กำแพงเพชร สพฐ.
และยุทธศาสตรช์ าติ 20 ปี ยทุ ธศาสตร์ท่ี 3 สง่ เสรมิ สนบั สนุนการพฒั นาครู
และบุคลากรทางการศึกษา กลยุทธท์ ี่ 1 การพัฒนาครใู ห้มีศกั ยภาพ
ในการจดั กิจกรรมการเรียนการสอน......................................................................

53 แสดงความสอดคลอ้ งและการตอบสนองตวั ชวี้ ัดของ สพม.กำแพงเพชร สพฐ.
และยุทธศาสตรช์ าติ 20 ปี ยทุ ธศาสตรท์ ี่ 4 ขยายโอกาสการเขา้ ถงึ บริการ
ทางการศกึ ษาและการเรยี นรู้ กลยทุ ธท์ ่ี 5 การบริหารจัดการโรงเรียนคณุ ภาพ......

สารบัญตาราง (ตอ่ )

ตารางท่ี หนา้

54 แสดงความสอดคล้องและการตอบสนองตวั ชวี้ ดั ของ สพม.กำแพงเพชร สพฐ. 86
และยุทธศาสตรช์ าติ 20 ปี ยุทธศาสตรท์ ี่ 5 จดั การศึกษาเพ่อื เสริมสรา้ ง 87
คณุ ภาพชีวิตทเ่ี ป็นมติ รกับส่งิ แวดล้อม กลยทุ ธ์ที่ 5 การบริหารจัดการ
โรงเรยี นคุณภาพ ...................................................................................................

55 แสดงความสอดคล้องและการตอบสนองตัวชีว้ ัดของ สพม.กำแพงเพชร สพฐ.
และยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี ยทุ ธศาสตร์ท่ี 6 พัฒนาระบบบริหารจัดการ
และส่งเสรมิ การมีสว่ นรว่ มในการจดั การศกึ ษา กลยุทธ์ที่ 5 การบริหารจดั การ
โรงเรยี นคุณภาพ ...................................................................................................



บทที่ 1

บทนำ

1. ขอ้ มูลท่วั ไป
ช่อื สถานศึกษา โรงเรียนพิไกรวทิ ยา ที่ตัง้ เลขที่ 89 หมู่ 3 ตำบลคลองพไิ กร อำเภอพรานกระตา่ ย

จังหวัดกำแพงเพชร รหัสไปรษณยี ์ 62110 โทรศัพท์ 0-5585-8093 โทรสาร ๐-๕๕๘๕-๘๐๙๔
โทรศัพท์มือถือ 086-383-5331 website : http://www.pikrai.ac.th สงั กัดสำนักงานเขตพ้ืนที่การศึกษา
มัธยมศึกษากำแพงเพชร เปิดสอนตัง้ แต่ระดบั ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปีท่ี ๑ ถงึ ระดับชั้นมธั ยมศกึ ษาปที ี่ ๖ มีเนอ้ื ที่
๓๑ ไร่ ๕๐ ตารางวา เขตพื้นท่บี ริการ ๑๘ หมู่บา้ น ไดแ้ ก่ บา้ นคลองพไิ กร บา้ นใหมส่ วรรค์พฒั นา บ้านบึงบอน
บา้ นบงึ พิไกร บ้านหนองกระดี่ บา้ นหนองเขน บ้านวงั เฉลียง บา้ นดงชะอม บ้านหนองอ้อ บา้ นวงั จำปาทอง
บ้านไร่ดง บ้านหว้ ยน้ำใส บา้ นคยุ บ้านโอง บ้านหนองแขม บ้านบงึ ลกู นก บา้ นวงั มะค่า บา้ นไร่ปรือ
บ้านคยุ แขวน

1.1 ประวตั โิ รงเรยี นโดยย่อ
โรงเรยี นพิไกรวิทยา ตงั้ อย่หู มู่ที่ ๓ ตำบลคลองพิไกร อำเภอพรานกระต่าย จังหวดั กำแพงเพชร

มีเน้ือที่ ๓๑ ไร่ ๕๐ ตารางวา ประกาศจดั ต้ังเป็นโรงเรียนมัธยมศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ เมื่อวันท่ี ๒๑
พฤษภาคม ๒๕๓๔ โดยใชช้ ่ือว่า “โรงเรียนพิไกรวทิ ยา” เป็นโรงเรียนสหศกึ ษา โรงเรียนเปดิ ทำการคร้ังแรกในปี
พ.ศ. ๒๕๓๑ โดยเปน็ สาขาของโรงเรยี นพรานกระต่ายพิทยาคม ใช้อาคารฝึกงานของโรงเรียนบ้านบึงพิไกร
สังกดั สำนักงาน ประถมศึกษาอำเภอพรานกระตา่ ย เป็นสถานท่ีดำเนนิ การโดยมีจำนวน ๑ ห้องเรยี น นักเรยี น
จำนวน ๔๕ คน มีนายศภุ ชาติ บดรี ฐั เปน็ หวั หนา้ สาขา ได้รับความอนเุ คราะห์สถานท่ีเปน็ อยา่ งดจี าก
นายสมาน สงั คง ผู้อำนวยการโรงเรียนบ้านบึงพิไกรขณะนั้น และมี ครูจากโรงเรยี นพรานกระต่ายพิทยาคม
มาช่วยสอนในระยะแรกจำนวน ๓ คน และต่อมาได้ ครบู รรจุใหม่ ๓ คน กระท้ังสภาตำบลคลองพิไกร โดย
นายลับ เมฆชะอุ่ม ซ่งึ ดำรงตำแหน่งกำนนั ตำบลคุยบา้ นโองขณะนั้น ได้ร่วมมือกับพ่อค้าคหบดีในตำบลจดั หา
ทุนจัดซ้อื ทด่ี นิ จดั ตั้งโรงเรยี นไดส้ ำเร็จ จนถงึ วนั ท่ี ๒๑ พฤษภาคม ๒๕๓๔ กระทรวงศกึ ษาธกิ ารไดป้ ระกาศ
จัดต้งั เป็นโรงเรยี นมธั ยมศึกษา สงั กดั กองการมัธยม กรมสามญั ศกึ ษา กระทรวงศึกษาธิการ และแตง่ ตง้ั
นายศุภชาติ บดีรัฐ อาจารย์ ๒ โรงเรยี นพรานกระตา่ ยพิทยาคม ดำรงตำแหนง่ ผบู้ ริหารโรงเรยี น และแต่งตัง้ ให้
ดำรงตำแหน่งอาจารยใ์ หญ่โรงเรียนพไิ กรวิทยาในปี พ.ศ. ๒๕๓๔ และได้รับแตง่ ตั้งใหด้ ำรงตำแหนง่
ผ้อู ำนวยการโรงเรยี นพิไกรวิทยา ในปกี ารศึกษา ๒๕๓๙ ซึ่งเปน็ ผู้บริหารท่านแรกของโรงเรียน

เมือ่ วันท่ี ๑๐ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๘ โรงเรียนพิไกรวทิ ยา สังกัดสำนักงานเขตพนื้ ที่การศึกษา
มธั ยมศึกษา เขต ๔๑ ได้รบั คัดเลอื กเข้าร่วมโครงการโรงเรียนในโครงการกองทุนการศึกษา รนุ่ ที่ ๔
ปัจจุบันเปดิ สอนต้งั แต่ระดบั ช้ันมธั ยมศกึ ษาปที ่ี ๑ ถึงมธั ยมศึกษาปีที่ ๖ ปกี ารศึกษา ๒๕๖3 มนี กั เรยี น
รวมทงั้ ส้นิ 431 คน (ข้อมลู ณ วนั ที่ ๑๐ ธ.ค. ๒๕๖3) ปจั จุบนั มี นางสาวจฑุ ามาศ วงษเ์ ขียว ดำรงตำแหน่ง
ผู้อำนวยการโรงเรยี นพิไกรวทิ ยาตั้งแต่วนั ท่ี 11 กุมภาพนั ธ์ 2564 จนถงึ ปัจจบุ นั


แผนที่เดนิ ทางจากสำนักงานเขตพน้ื ท่กี ารศึกษามัธยมศึกษากำแพงเพชร ถึงโรงเรียนพิไกรวทิ ยา

ภาพ 1 แสดงแผนทีเ่ ดนิ ทางจากสำนักงานเขตพนื้ ที่การศึกษามัธยมศึกษากำแพงเพชร
ถึงโรงเรียนพิไกรวทิ ยา



1.2 ปรัชญา
สุวชิ าโน ภวํ โหติ หมายถึง ผรู้ ู้ดี เป็นผเู้ จริญ

1.3 คำขวญั ประจำโรงเรียน
เรยี นดี กีฬาเดน่ เนน้ คุณภาพ

1.4 สีประจำโรงเรยี น นำ้ เงนิ - ฟ้า
นำ้ เงนิ หมายถึง ความหนักแนน่ ปัญญา
ฟา้ หมายถงึ ความร่มเย็น แจ่มใส

1.5 ตราสัญลักษณโ์ รงเรียน

ภาพ 2 แสดงตราสญั ลักษณ์โรงเรยี น

เสมา หมายถงึ สัญลักษณท์ างการศกึ ษา
ดอกบัว หมายถึง ความบริสทุ ธแ์ิ หง่ ปญั ญา
เปลวเทยี น หมายถงึ ความบรรลุเป้าหมาย

1.6 พระพทุ ธรูปประจำโรงเรยี น
พระพุทธลลี าศนิรันตรายไกรวิทย์

ภาพ 3 แสดงพระพุทธรูปประจำโรงเรยี น

1.7 อกั ษรย่อโรงเรยี น
พ.ว.



2. ลกั ษณะชุมชน
2.1 ข้อมูลพน้ื ฐาน
ตำบลคลองพิไกร ตง้ั อยู่ทางทิศตะวนั ออกของอำเภอพรานกระต่าย ต้ังอยหู่ า่ งจากตวั จังหวดั

กำแพงเพชร ระยะทาง 43 กโิ ลเมตร การปกครองเดมิ มฐี านะเป็นองค์การบรหิ ารส่วนตำบลและได้
เปล่ยี นแปลงฐานะเปน็ เทศบาลตำบลคลองพิไกร ตามประกาศกระทรวงมหาดไทย เมื่อวันที่ 16 กรกฎาคม
พ.ศ. 2551

2.2 สภาพทัว่ ไป
เทศบาลตำบลคลองพิไกร อำเภอพรานกระต่าย มเี นื้อท่ปี ระมาณ 36 ตารางกโิ ลเมตร หรือ

ประมาณ 33,845 ไร่ และมีอาณาเขตตดิ ต่อดังน้ี
ทิศเหนือ ตดิ ต่อกับตำบลวงั ตะแบก อำเภอพรานกระต่าย จังหวัดกำแพงเพชร
ทิศตะวนั ออก ตดิ ต่อกับตำบลหนองหลวง อำเภอลานกระบือ จงั หวัดกำแพงเพชร
ทศิ ใต้ ตดิ ต่อกับตำบลเขาครี สิ อำเภอพรานกระต่าย จังหวัดกำแพงเพชร
ทศิ ตะวันตก ตดิ ต่อกับตำบลคยุ บา้ นโอง อำเภอพรานกระต่าย จังหวัดกำแพงเพชร

2.3 ลักษณะภมู ปิ ระเทศ
ลกั ษณะภมู ปิ ระเทศของตำบลคลองพิไกร เป็นพนื้ ที่ราบล่มุ ดินร่วนปนทราย มพี ้นื ท่ี

ทำมาหากินอุดมสมบูรณ์ เหมาะสำหรบั การทำการเกษตร ปลกู ผักสวนครวั ทำไร่
2.4 ลักษณะภูมิอากาศ
โดยทัว่ ไปมีสภาพแห้งแล้ง มปี ริมาณนำ้ ฝนน้อย อากาศร้อนโดยเฉลยี่ ประมาณ 30 – 35

องศาเซลเซียส ฤดูหนาวช่วงเดือน ธันวาคม – มกราคม อุณหภูมิตำ่ สดุ เฉลย่ี ประมาณ 22.5 องศาเซลเซียส
2.5 ทรพั ยากรธรรมชาติ
ทรพั ยากรธรรมชาติทส่ี ำคญั ของตำบลคลองพไิ กร ประกอบด้วย
ทรัพยากรดนิ ทม่ี คี วามสมบรู ณส์ งู จนทำให้ตำบลคลองพิไกรมศี ักยภาพทางการเกษตรสงู

ตามไปดว้ ย ทรัพยากรดินตำบลคลองพิไกร มีพน้ื ที่เปน็ ท่ีราบลมุ่ ดนิ เป็นดนิ ร่วนปนทราย มีความอุดม
สมบรู ณส์ งู เหมาะแก่การเกษตรกรรมโดยเฉพาะการปลูกพืชไร่ทกุ ชนิด เชน่ ออ้ ย มันสําปะหลงั ข้าวโพด
และกล้วยไข่

ทรพั ยากรน้ำ จากลักษณะภูมิประเทศท่เี ปน็ ทรี่ าบลุ่มสง่ ผลให้ตำบลคลองพิไกร มีทรัพยากร
นำ้ ทเี่ พยี งพอต่อการอุปโภคบรโิ ภค โดยเฉพาะอย่างยิ่งต่อเกษตรกรรม

2.6 แหลง่ น้ำ
ไม่มแี ม่น้ำไหลผา่ น มีแหล่งน้ำธรรมชาติ ลำคลอง 4 สาย คอื คลองพิไกร คลองบา้ นหนอง

กระด่ี คลองบ้านบงึ พิไกร และคลองบา้ นบงึ บอน
มแี หล่งนำ้ สาธารณะ สระน้ำสาธารณะ จำนวน 7 สระ และฝายทำนบประตนู ำ้

จำนวน 4 ฝา่ ย
มแี หล่งนำ้ เพื่อการอปุ โภคบรโิ ภค เปน็ แหล่งน้ำสว่ นบุคคล คือ สระน้ำ จำนวน 39 สระ

บอ่ บาดาลนำ้ ตนื้ จำนวน 428 บอ่ และบอ่ น้ำตื้น จำนวน 45 บอ่



2.7 อาชพี ประชากรในตำบลคลองพิไกร

1) ทำนา คิดเปน็ ร้อยละ 23.69

2) ทำไร่ คดิ เปน็ ร้อยละ 17.68

3) ทำสวนผัก คดิ เปน็ รอ้ ยละ 17.26

4) รับจา้ ง คดิ เป็นร้อยละ 13.71

5) คา้ ขาย คดิ เปน็ ร้อยละ 12.01

6) เล้ียงสตั ว์ คิดเปน็ ร้อยละ 7.09

7) ทำอตุ สาหกรรมในครวั เรือน (มา้ น่ังหิน) คดิ เปน็ ร้อยละ 0.09

8) โรงสขี ้าวขนาดเลก็ คิดเปน็ รอ้ ยละ 0.09

9) อน่ื ๆ คิดเป็นรอ้ ยละ 8.31

2.8 จำนวนประชากรในตำบลคลองพิไกร

1) จำนวนประชากรท้งั หมด 5,945 คน

2) จำนวนครัวเรือนท้งั หมด 2,115 ครวั เรือน

2.9 การปกครองในตำบลคลองพไิ กร

ตำบลคลองพิไกร แบ่งการปกครองออกเป็น 10 หมู่บ้าน ดังน้ี

หมทู่ ี่ 1 บงึ พิไกร มจี ำนวนประชากร 829 คน จำนวนครัวเรอื น 289 ครวั เรือน

หมู่ท่ี 2 ใหม่สวรรค์พฒั นา มจี ำนวนประชากร 960 คน จำนวนครวั เรอื น 393 ครัวเรือน

หมทู่ ่ี 3 คลองพไิ กร มจี ำนวนประชากร 847 คน จำนวนครวั เรอื น 318 ครวั เรอื น

หมู่ท่ี 4 หนองกระด่ี มจี ำนวนประชากร 812 คน จำนวนครัวเรอื น 311 ครัวเรอื น

หมู่ที่ 5 บงึ บอน มจี ำนวนประชากร 330 คน จำนวนครวั เรอื น 128 ครวั เรอื น

หมู่ที่ 6 หนองเขน มีจำนวนประชากร 514 คน จำนวนครวั เรือน 174 ครัวเรือน

หมู่ท่ี 7 วังเฉลยี ง มจี ำนวนประชากร 730 คน จำนวนครวั เรือน 206 ครวั เรอื น

หมทู่ ี่ 8 ดงชะอม มจี ำนวนประชากร 490 คน จำนวนครวั เรือน 174 ครวั เรือน

หมทู่ ี่ 9 หนองอ้อ มีจำนวนประชากร 191 คน จำนวนครวั เรือน 52 ครวั เรือน

หมู่ท่ี 10วงั จำปาทอง มีจำนวนประชากร 242 คน จำนวนครัวเรือน 70 ครัวเรอื น

2.10 การศกึ ษา

- สังกดั สำนักงานเขตพนื้ ทก่ี ารศึกษาประถมศกึ ษากำแพงเพชร เขต 1 (ตำบลคลองพิไกร)

มโี รงเรียน 2 โรงเรยี น ครูจำนวน 30 คน นักเรยี นจำนวน 499 คน

- สงั กัดสำนกั งานเขตพน้ื ท่กี ารศกึ ษามัธยมศึกษากำแพงเพชร (ตำบลคลองพิไกร)

มโี รงเรียน 1 โรงเรียน ครูจำนวน 35 คน นกั เรียนจำนวน 428 คน

2.11 การศาสนา

มวี ัดที่ข้ึนทะเบียนถูกต้องแล้ว จำนวน 3 วดั ไดแ้ ก่ วัดคลองพิไกร วดั ชยั ศิริมงคล

และวัดจำปากายงค์

2.12 การสาธารณสขุ

มีสถานพยาบาลประจำตำบล สังกดั กระทรวงสาธารณสุข จำนวน 1 แหง่ ไดแ้ ก่

โรงพยาบาลสง่ เสรมิ สขุ ภาพตำบลคลองพิไกร



2.13 การคมนาคม
สายหลัก คือ ทางหลวงแผ่นดนิ หมายเลข 101 (สายกำแพงเพชร – สุโขทยั )

และมีทางหลวงชนบท จำนวน 1 สาย คือ สายพรานกระต่าย – ลานกระบอื
นอกจากนี้เป็นถนนเชื่อมติดต่อระหวา่ งตำบลและหมู่บ้านซึง่ สามารถติดต่อกันได้ทกุ ตำบล

หมูบ่ า้ น รวมระยะทางทุกสายในทอ้ งทอี่ ำเภอครี ีมาศระยะทางประมาณ 200 กิโลเมตร
การติดต่อระหวา่ งตำบลคลองพิไกร – จังหวดั กำแพงเพชร มรี ถยนต์โดยสารประจำทาง

(พษิ ณุโลก - กำแพงเพชร) จำนวน 2 เทีย่ ว
2.14 การส่อื สาร/โทรคมนาคม
การสอ่ื สารไปรษณีย์ 1 แห่ง คอื ไปรษณยี ส์ าขาพรานกระตา่ ย 101 (คลองพิไกร)
การสื่อสารผา่ นองคก์ ารโทรศพั ท์แหง่ ประเทศไทย มีต้โู ทรศพั ท์ทางใกล้ และทางไกล

สาธารณะ จำนวน 25 ตู้
สถานวี ทิ ยุชุมชน จำนวน 2 สถานี

2.15 การไฟฟา้
อยู่ในการควบคมุ ดแู ลของการไฟฟ้าสว่ นภูมิภาคจังหวดั กำแพงเพชร

สาขาอำเภอพรานกระต่าย การจัดตง้ั และขยายเขตจำหนา่ ยในหมู่บ้านครบทุกหมู่บา้ น
2.16 การประปา
ดำเนินการโดยการประปาหมูบ่ ้านเขตเทศบาลตำบลคลองพไิ กร ประชากรมีนำ้ ประปาใช้

ทุกครวั เรอื น
2.17 การเกษตรกรรม
อาชีพหลกั หรอื การประกอบอาชพี ทางการเกษตร คือ ทำนา ทำไร่ ทำสวนผัก
อาชีพรอง คอื รับจ้าง ค้าขาย
รายไดเ้ ฉลี่ยตอ่ ครอบครวั ประมาณ 12,500 บาท/ปี
2.18 การพาณิชย์
ส่วนใหญจ่ ะอยใู่ นย่านชมุ ชน ในเขตเทศบาลตำบลคลองพิไกร เป็นการจำหนา่ ยสนิ ค้า

ประเภทเครื่องอุปโภค – บรโิ ภค ไมม่ ีกิจการค้าขายที่ใหญโ่ ต มีรา้ นคา้ ประมาณ 158 รา้ น ซง่ึ นบั วา่ เป็น
ชุมชนทีม่ ขี นาดเลก็ สนิ ค้าดา้ นการเกษตรส่วนใหญ่ จะมีพ่อค้าท้องถนิ่ มารบั ซ้ือถึงท่ตี ามหมบู่ ้านตา่ ง ๆ

2.19 การธนาคาร
มีธนาคาร 1 แหง่ คอื ธนาคารเพอื่ การเกษตรและสหกรณ์การเกษตร ให้บริการในการทำ

ธุรกรรมทางการเงิน บริการให้เกษตรกรกู้ยมื เงนิ ในการทำการเกษตร
2.20 ศักยภาพและโอกาสของตำบลคลองพไิ กร
ตำบลคลองพิไกร หากมองศักยภาพในภาพรวม พอทจ่ี ะสรุปศักยภาพและปจั จัย

ท่เี ก้อื หนนุ ตอ่ การพฒั นาในอนาคตไดด้ ังนี้
1) ทรัพยากรดนิ และนำ้ ที่มีความสมบรู ณส์ งู จนทำให้ตำบลคลองพิไกรมศี ักยภาพทาง

การเกษตรสงู ตามไปด้วย ตำบลคลองพิไกร มีพื้นท่ีเปน็ ทีร่ าบลุ่มดินเปน็ ดนิ ร่วนปนทราย มคี วามอุดม
สมบูรณ์สงู เหมาะแก่การเกษตรกรรมโดยเฉพาะการปลกู พืชไร่ทุกชนดิ เชน่ ออ้ ย มนั สําปะหลัง ขา้ วโพด
และกล้วยไข่



2) แรงงาน ประชากรอยู่ในวยั แรงงาน (อายุ 20–25 ป)ี มีจำนวนร้อยละ 55 ของ
ประชากรทั้งหมด

3) ผลผลติ ประชากรสว่ นใหญม่ ีอาชีพเกษตรกรรมเปน็ หลกั ซงึ่ เอื้ออำนวยต่อ
อตุ สาหกรรมแปรรูปอาหาร และผลผลิตทางการเกษตรด้านอื่นๆ

3. ข้อมูลนกั เรยี น

ตาราง 1 แสดงจำนวนนักเรียนแยกระดับชนั้ /ห้อง ปีการศึกษา 2564

ระดบั ชัน้ จำนวนนักเรยี นท้งั หมด จำนวนห้อง พุทธ นบั ถือศาสนา อ่ืนๆ หมายเหตุ
ชาย หญงิ รวม คริสต์ อิสลาม
3
ม.1 40 44 84 3 83 - 1 -
3
ม.2 47 43 90 3 89 1 - -
3
ม.3 42 37 79 2 79 - - -
17
ม.4 43 36 79 79 - - -

ม.5 19 26 45 45 - - -

ม.6 24 28 52 52 - - -

รวม 215 214 429 427 1 1 -

4. ข้อมูลบคุ ลากร

ตาราง 2 แสดงจำนวนบคุ ลากร จำแนกตามประเภท

สายงาน จำนวน ชาย หญิง ครผู ู้ช่วย ครู คศ.1 ตำแหนง่ ครู คศ.3 ครู คศ.4
ครู คศ.2

1. ขา้ ราชการครู -

- ผอู้ ำนวยการ 1 -1 - - - 1 -

- รองผูอ้ ำนวยการ 1 1- - - - 1 -

- ครู 24 7 17 3 3 10 8 -

2. พนกั งานราชการ(ครูผู้สอน) 3 2 1 - - - - -

3. ครอู ัตราจ้าง 2 11 - - - - -

4. ลูกจา้ งประจำ (นกั การภารโรง) 2 2 - - - - - -

5. ลกู จ้างช่วั คราว(ธรุ การ) 1 -1 - - - - -

รวม 34 13 21 3 3 10 10 -



5. คณะกรรมการสถานศกึ ษาขนั้ พืน้ ฐาน

ตาราง 3 แสดงรายชอ่ื ของคณะกรรมการสถานศึกษาขนั้ พ้ืนฐาน

ลำดับท่ี ชือ่ -สกุล ที่มา ตำแหน่ง
ผู้ทรงคณุ วฒุ ิ ประธานคณะกรรมการ
1 นายสมศกั ดิ์ ดอนไพรปาน ผู้แทนผู้ปกครอง รองประธานคณะกรรมการ
ผแู้ ทนครู กรรมการ
2 นางขวัญเรือน ใจไหม ผู้แทนองคก์ รชุมชน กรรมการ
ผแู้ ทนองค์กรปกครองท้องถน่ิ กรรมการ
3 นายโยธิน บญุ สุข ผแู้ ทนศษิ ย์เกา่ กรรมการ
ผแู้ ทนพระภิกษุสงฆ์ กรรมการ
4 นายไพรชั โพธบิ ลั ลังค์ ผแู้ ทนพระภิกษุสงฆ์ กรรมการ
ผทู้ รงคุณวฒุ ิ กรรมการ
5 นายสงิ ชัย แสงสังข์ ผู้ทรงคณุ วุฒิ กรรมการ
ผูท้ รงคณุ วุฒิ กรรมการ
6 นายปิยะพงษ์ มนั่ คง ผทู้ รงคุณวุฒิ กรรมการ
ผทู้ รงคุณวุฒิ กรรมการ
7 พระครูใบฎีกาสมนึก กิตตโิ ก ผทู้ รงคณุ วฒุ ิ กรรมการ
ผบู้ ริหารสถานศกึ ษา กรรมการและเลขานุการ
8 พระใส เทวธมฺโม

9 นางมลั ลกิ า คำบรรลือ

10 นายนาคนิ อุทร

11 นายสมชาย ลอื พฒั ธิมา

12 นายชูชาติ ถมทอง

13 นายกจิ จา รากจติ ร

14 นายสรพล ถาวร

15 นางสาวจฑุ ามาศ วงษ์เขยี ว

6. โครงสรา้ งบรหิ ารโรงเรยี นพไิ กรวทิ ยา
โรงเรยี นพิไกรวิทยามโี ครงสร้างการบริหารงาน ดงั นี้

โครงสรา้ งบรหิ ารงานโรงเรยี นพิไกรวทิ ยา



๑๐

7. ขอ้ มูลอาคารสถานที่

สนามฟตุ บอล

สระ
นำ้ ลานกฬี า

เอนกประสงค์

ภาพ 4 แสดงแผนผงั โรงเรียนพไิ กรวทิ ยา

7.1 ข้อมลู อาคารเรียนและอาคารประกอบ ปีการศึกษา 2564

ตาราง 4 แสดงข้อมลู อาคารเรยี น

อาคารเรียน จำนวน 5 หลงั ดังนี้

รายการ แบบ มหี ้อง สรา้ ง งบประมาณ สภาพอาคาร สร้างด้วยเงิน
ทั้งหมด พ.ศ. (บาท) ดี ชำรดุ

1 เบ็ดเสร็จ ก 10 2534 822,350  งปม.

2 เบ็ดเสร็จ ข 5 2535 4,223,500  งปม.

3 อาคาร 216 ล 15 2535 6,000,000  งปม.

4 เบด็ เสรจ็ ค 3 2537 600,000  งปม.

5 อาคารเรยี นช่ัวคราว 104 1 2532 -  งปม.

๑๑

ตาราง 5 แสดงขอ้ มลู อาคารประกอบ

อาคารประกอบ จำนวน 16 หลงั และส่งิ กอ่ สรา้ งตา่ ง ๆ แยกไดด้ ังนี้

รายการ แบบ มีหอ้ ง สร้าง งบประมาณ สภาพอาคาร สร้างดว้ ย
ทง้ั หมด พ.ศ. (บาท) ดี ชำรุด เงนิ
 งปม.
1 อาคารหอประชมุ 100/27 1 2545 1,141,000  งปม.
 งปม.
2 อาคารโรงฝึกงาน 102/27 - 2539 1,880,000  งปม.

3 บ้านพกั ครู 205/26 5 2534 367,000 นอก งปม.
 งปม.
4 บ้านพกั ครู 203/27 3 2535 380,000  งปม.
 งปม.
5 บ้านพักครพู ิเศษ 4 2558 700,000  งปม.
 -
6 บา้ นพักภารโรง 1 2538 60,000  -
 -
7 สว้ มมาตรฐาน 6 ทนี่ งั่ /27 4 2534 164,537  -
 งปม.
8 สว้ มมาตรฐาน 6 ทน่ี ่ัง/27 4 2535 164,537  งปม.
 งปม.
9 ส้วมมาตรฐาน 6 ทน่ี ง่ั /27 4 2544 158,232  งปม.

10 โรงเรอื นเพาะชำ - 2559 40,000  นอก งปม.
 นอก งปม.
11 บอ่ เลีย้ งปลา - 2539 20,000  บริจาค
 นอก งปม.
12 สนามฟตุ บอลแบบ ฟ.1 - 2534 100,000  นอก งปม.
 นอก งปม.
13 ทน่ี งั่ นักเรยี น - 2545 -
-
14 บา้ นพกั นักเรียน 2 2537 200,000

15 บา้ นพักนักเรียน 2 2537 200,000

16 บ้านพักนกั เรยี น 2 2537 200,000

17 บ้านพักนกั เรียน 2 2537 200,000

18 โรงผลติ นำ้ ดืม่ 1 2558 1,227,000

19 ถังเกบ็ น้ำ 1 2535 101,000

20 สนามกฬี าเอนกประสงค์ 1 2560 100,000

21 โรงอาหาร 500 ทนี่ ่งั - 2562 5,150,000

22 อาคารหอ้ งสมดุ - 2563 2,292,900

23 สว้ มมาตรฐาน ๖ ทนี่ ง่ั /49 ๔ ๒๕๖3 499,000

24 ทน่ี ัง่ นกั เรียน - 2562 -

๑๒

7.1.1 อาคารเบ็ดเสร็จ ก (ชอื่ อาคารราชพฤกษ์)

หอ้ งกลุ่มสาระฯ ห้องเกบ็ พสั ดุ ห้องเรยี น หอ้ งเรียน ห้องเรยี น หอ้ งเรยี น ห้องเก็บพสั ดุงาน หอ้ งเรยี นสังคมศึกษา 1
พลศึกษาสุขศึกษา กลุ่ม สุขศึกษา ภาษาอังกฤษ 5 นาฎศิลป์ งานอาชพี 2 ลกู เสอื - เนตรนารี

บรหิ ารงาน
ท่ัวไป

ห้องกลุ่ม ห้อง หอ้ งเรียน หอ้ งเรยี น ธนาคาร หอ้ งวิถพี ุทธ หอ้ งกลมุ่ ห้องเรยี นคณิตศาสตร์ 4
โรงเรยี น บริหารงาน หอ้ งแนะแนว
บรหิ ารงานทวั่ ไป พยาบาล สังคมศกึ ษา 2 งานอาชพี 1
บุคคล

ภาพ 5 แสดงแผนผังอาคารราชพฤกษ์
7.1.2 อาคารเบด็ เสรจ็ ข (ช่ืออาคารชยั พฤกษ์)

หอ้ งเรียน เคมี 2 ห้องเรยี น เคมี 1 ห้องเรียน ฟสิ ิกส์ หอ้ งเรียนชวี วทิ ยา 2 หอ้ งเรยี นชวี วิทยา 1

ภาพ 6 แสดงแผนผงั อาคารชัยพฤกษ์
7.1.3 อาคารอาคาร 216 ล (ช่ืออาคารปารชิ าติ)

331 332 333 334 335 336 337 338
กล่มุ สาระฯ หอ้ งเรียน หอ้ งเรียน หอ้ งเรียน ห้องเรยี น หอ้ งเรยี น ห้องเรยี น กลุ่มสาระฯ
ภาษาองั กฤษ ภาษจนี คณติ ศาสตร์ 3 คณิตศาสตร์
ช3้ัน ต่างประเทศ ภาษาองั กฤษ 2 คณติ ศาสตร์ 1 คณติ ศาสตร์ 2
1

321 322 323 324 325 326 327 328
ชัน้ กลมุ่ สาระฯ ห้องเรียน หอ้ งเรียน หอ้ งเรียน ห้องเก็บพสั ดุ หอ้ งคอมฯ 1 หอ้ งคอมฯ 2
ภาษาไทย หอ้ ง To Be ภาษาไทย 1 ภาษาไทย 2 ภาษาไทย 3
number 1 ร.ร.

2

ห้องประ ุชมปาริชาติ ห้องกลมุ่ บริหาร

ชั้น งบประมาณ ห้อง ูผ้อำนวยกำร หอ้ งกล่มุ บรหิ ารงานวิชาการ หอ้ งศนู ย์การเรียนรู้ หอ้ งโสตทัศนศึกษา
โครงการกองทุนการศกึ ษา
ล่าง

ภาพ 7 แสดงแผนผังอาคารปาริชาติ

๑๓

7.1.4 อาคารเบด็ เสรจ็ ค (ชือ่ อาคารอนิ ทนิล)

หอ้ งพักครู หอ้ งเรยี นศิลปะ
ห้องพักครู

ภาพ 8 แสดงแผนผงั อาคารอินทนลิ
7.1.5 อาคารเรียนช่ัวคราว 104

ห้องแสดงภมู ปิ ญั ญา
ท้องถ่ิน

ห้องแสดงภูมปิ ญั ญา ห้องแสดงภมู ปิ ญั ญา ห้องแสดงภูมิปญั ญา
ท้องถิ่น ท้องถน่ิ ท้องถน่ิ

ภาพ 9 แสดงแผนผังอาคารเรยี นชวั่ คราว 104
1.7.6 โรงฝกึ งาน 102/27 (ชือ่ อาคารนนทรี)

ห้องเรียนดนตรี 1 ห้องเรยี นดนตรี 2

ภาพ 10 แสดงแผนผังอาคารนนทรี

๑๔

1.7.7 หอประชุมเอนกประสงค์ (อาคารหอประชุมพุทธชาด)
เวทกี ารแสดง
สว่ นจดั กิจกรรม

ภาพ 11 แสดงแผนผังอาคารหอประชุมพุทธชาด

8. แหล่งเรยี นรูใ้ นทอ้ งถ่นิ

ตาราง 6 แสดงข้อมูลแหลง่ เรียนรใู้ นท้องถิน่ ทต่ี ัง้
ชอื่ แหล่งเรียนร้ใู นท้องถ่นิ
ต.คลองพิไกร อ.พรานกระต่าย จ.กำแพงเพชร
1. ท่ีทำการกำนันตำบลคลองพไิ กร ต.คลองพิไกร อ.พรานกระตา่ ย จ.กำแพงเพชร
2. ท่ีทำการผูใ้ หญบ่ า้ นหมูท่ ่ี 1-10 ต.คลองพิไกร อ.พรานกระตา่ ย จ.กำแพงเพชร
3. โรงพยาบาลสง่ เสริมสขุ ภาพตำบลคลองพิไกร ต.คลองพิไกร อ.พรานกระตา่ ย จ.กำแพงเพชร
4. สำนกั งานเทศบาลตำบลคลองพิไกร ต.คลองพิไกร อ.พรานกระตา่ ย จ.กำแพงเพชร
5. สถานตี ำรวจภูธรคลองพิไกร ต.คลองพิไกร อ.พรานกระตา่ ย จ.กำแพงเพชร
6. ธนาคารเพอ่ื การเกษตรและสหกรณ์การเกษตร ต.คลองพิไกร อ.พรานกระต่าย จ.กำแพงเพชร
7. โคกหนองนา โมเดล ต.คลองพิไกร อ.พรานกระต่าย จ.กำแพงเพชร
8. กลุ่มเกษตรอินทรยี ์ ต.เขาครี สิ อ.พรานกระต่าย จ.กำแพงเพชร
9. ผักปลอดภยั บ้านตะแบกงาม ต.คยุ บ้านโอง ต.วังตะแบก อ.พรานกระตา่ ย
10. กล่มุ หตั ถกรรม (งานจักรสาน) จ.กำแพงเพชร
104 หมู่ 2 ต.คลองพิไกร อ.พรานกระตา่ ย
11. งานหัตถกรรม (มีดศิลปะ) นายอานนท์ เนอ้ื ไม้ จ.กำแพงเพชร
หมู่ 3 ต.คลองพิไกร อ.พรานกระตา่ ย
12. วัดคลองพไิ กร จ.กำแพงเพชร
หมู่ 7 ต.คลองพิไกร อ.พรานกระตา่ ย
13. วดั วงั เฉลยี ง จ.กำแพงเพชร
หมู่ 10 ต.คลองพิไกร อ.พรานกระตา่ ย
14. วดั จำปากายงค์ จ.กำแพงเพชร

15

บทที่ 2

กรอบทิศทางนโยบายท่เี กย่ี วข้อง

1. พระบรมราโชบายด้านการศึกษา
พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรรามาธบิ ดีศรสี นิ ทรมหาวชริ าลงกรณ พระวชิรเกลา้ เจ้าอยูห่ ัว

ทรงพระราชทาน พระบรมราโชบายดา้ นการศกึ ษาไวว้ ่า การศกึ ษาต้องม่งุ สรา้ งพืน้ ฐานให้แก่ผเู้ รยี น 4 ดา้ น
ดังนี้

1) มที ศั นคติทถ่ี ูกต้องต่อบ้านเมอื ง
- มีความรคู้ วามเข้าใจต่อชาตบิ า้ นเมอื ง
- ยดึ มัน่ ในศาสนา
- มคี วามเอื้ออาทรต่อครอบครัว และชุมชนของตน

2) มีพื้นฐานชวี ติ ทม่ี น่ั คง – มคี ุณธรรม
- รู้จักแยกแยะสิ่งทีผ่ ดิ – ชอบ/ช่วั – ดี
- ปฏบิ ัติแต่ส่งิ ที่ชอบ สิง่ ทด่ี งี าม
- ปฏเิ สธสิง่ ทผี่ ดิ สงิ่ ทชี่ วั่
- ชว่ ยกนั สรา้ งคนดีให้แกบ่ า้ นเมอื ง

3) มีงานทำ – มีอาชีพ
- การเลีย้ งดูลกู หลานในครอบครวั หรือการฝึกฝนอบรมในสถานศึกษาต้องมงุ่ ใหเ้ ด็กและ

เยาวชนรักงาน สู้งานทำจนงานสำเร็จ
- การฝึกฝนอบรมทง้ั ในหลักสูตรและนอกหลกั สตู ร ต้องมจี ุดมุง่ หมายใหผ้ ู้เรียนทำงานและ
มงี านทำในท่ีสดุ

4) เปน็ พลเมืองดี
- การเป็นพลเมืองดี เป็นหน้าทขี่ องทกุ คน
- ครอบครวั – สถานศกึ ษาและสถานประกอบการต้องสง่ เสรมิ ใหท้ กุ คนมโี อกาสทำหนา้ ท่ี

เป็นพลเมืองดี
- การเปน็ พลเมืองดี คือ “เห็นอะไรท่จี ะทำเพอ่ื บ้านเมืองได้กต็ อ้ งทำ เช่น งานอาสาสมัคร

งานบำเพญ็ ประโยชน์ งานสาธารณกุศล ให้ทำดว้ ยความมนี ้ำใจและเอ้ืออาทร”

1.1 แนวทางการดำเนนิ งานโครงการกองทุนการศึกษา
พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรรามาธบิ ดศี รสี นิ ทรมหาวชิราลงกรณ พระวชิรเกลา้ เจา้ อย่หู ัว

ทรงมพี ระราชประสงค์ท่ีจะทรงสืบสานพระราชปณธิ านพระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภมู พิ ล
อดุลยเดชมหาราช ในการสร้างคนดขี องบ้านเมือง โดยสำนักงานโครงการกองทุนการศึกษาได้น้อมนำ
พระราโชบายโดยการสรา้ งคนไทยให้พร้อมดว้ ยคุณลักษณะ 4 ประการ มาเปน็ กรอบแนวทางของโครงการ
กองทนุ การศกึ ษา มาดำเนนิ งานพัฒนาเปน็ 3 เสาหลกั 5 กลยทุ ธ์ ดงั นี้

1) 3 เสาหลกั ได้แก่
1.1) ให้เด็กได้เรยี นในโรงเรียนท่ีมคี ณุ ภาพ

16

1.2) ใหเ้ ดก็ สำเร็จการศึกษาอยา่ งมคี ณุ ภาพ
1.3) ใหป้ ลูกฝังวนิ ัย คณุ ธรรมจริยธรรม
2) 5 กลยุทธ์ ไดแ้ ก่
2.1) การพัฒนาครใู ห้มีศักยภาพในการจดั กจิ กรรมการเรยี นการสอน
2.2) การยกระดบั ผลสมั ฤทธก์ิ ารเรียน
2.3) การพัฒนาคุณลกั ษณะของนกั เรยี นให้มวี ินัย คุณธรรม จรยิ ธรรม
2.4) การพฒั นาทักษะชีวิตและทกั ษะอาชีพ
2.5) การบรหิ ารจัดการโรงเรยี นคุณภาพ

2. ยทุ ธศาสตร์ชาติ (พ.ศ. 2561 - พ.ศ. 2580)
2.1 วสิ ัยทัศน์ประเทศไทย
“ประเทศไทยมีความมน่ั คง มั่งคงั่ ย่ังยนื เปน็ ประเทศพัฒนาแล้ว ดว้ ยการพฒั นาตาม

หลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง” หรือเปน็ คติพจนป์ ระจำชาตวิ ่า “ม่นั คง มั่งคั่ง ยง่ั ยนื ” เพือ่ สนองตอบ
ต่อผลประโยชน์แหง่ ชาติ อนั ไดแ้ ก่ การมีเอกราช อธิปไตย การดำรงอยอู่ ย่างมนั่ คง และย่ังยืนของสถาบัน
หลกั ของชาติและปราศจากภัยคกุ คามทุกรปู แบบ การอยู่ร่วมกันในชาติอยา่ งสันตสิ ุขเปน็ ปกึ แผ่น มคี วาม
ม่นั คงทางสังคมท่ามกลางพหุสังคมและการมีเกยี รติและศกั ดศ์ิ รีของความเป็นมนษุ ย์ความเจรญิ เตบิ โตของ
ชาติ ความเป็นธรรมและความอยู่ดมี ีสุขของประชาชน ความยง่ั ยืนของฐานทรัพยากรธรรมชาตสิ ่ิงแวดลอ้ ม
ความม่ันคงทางพลังงานและอาหาร ความสามารถในการรักษาผลประโยชน์ของชาติภายใต้การเปลยี่ นแปลง
ของสภาวะแวดล้อมระหวา่ งประเทศและการอยรู่ ว่ มกันอยา่ งสันตปิ ระสานสอดคล้องกนั ด้านความมั่นคงใน
ประชาคมอาเซียนและประชาคมโลกอย่างมเี กียรตแิ ละศกั ดิ์ศรี

ความมัน่ คง หมายถงึ การมีความมั่นคงปลอดภยั และการเปลีย่ นแปลงท้ังภายในประเทศ
และภายนอกประเทศในทุกระดับ ท้งั ระดบั ประเทศ สงั คม ชุมชน ครัวเรอื น และปัจเจกบคุ คล และมีความ
มัน่ คงในทกุ มิติ ท้ังมติ ทิ างการทหาร เศรษฐกจิ สังคม ส่งิ แวดล้อม และการเมือง เช่น ประเทศมคี วามม่ันคง
ในเอกราชและอธิปไตย มกี ารปกครองระบอบประชาธิปไตยทม่ี พี ระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข สถาบัน
ชาติ ศาสนา พระมหากษัตรยิ ์มีความเข้มแข็งเปน็ ศนู ย์กลางและเป็นที่ยดึ เหนย่ี วจติ ใจของประชาชน มรี ะบบ
การเมืองทมี่ ัน่ คงเปน็ กลไกท่ีนำไปส่กู ารบริหารประเทศท่ตี ่อเนื่องและโปร่งใสตามหลักธรรมาภิบาล สงั คมมี
ความปรองดองและสามัคคี สามารถผนกึ กำลังเพ่ือพัฒนาประเทศ ชมุ ชนมีความเข้มแข็ง ครอบครวั มีความ
อบอ่นุ ประชาชนมคี วามมัน่ คงในชวี ิต มีงานและรายไดท้ ี่มั่นคงพอเพียงกับการดำรงชีวิต มกี ารออมสำหรบั
วัยเกษยี ณ ความม่ันคงของ อาหาร พลังงาน และน้ำ มีที่อยู่อาศยั และความปลอดภยั ในชีวติ ทรพั ย์สิน

ความม่ังคัง่ หมายถงึ ประเทศไทยมกี ารขยายตวั ของเศรษฐกจิ อย่างต่อเน่อื งและมีความ
ย่ังยนื จนเข้าสู่กลมุ่ ประเทศรายไดส้ งู ความเหลือ่ มล้ำของการพัฒนาลดลง ประชากรมคี วามอยดู่ มี สี ุข ได้รบั
ผลประโยชน์จากการพัฒนาอย่างเทา่ เทียมกนั มากขึ้น และมกี ารพัฒนาอย่างทั่วถึงทุกภาคสว่ น มคี ุณภาพ
ชวี ิตตามมาตรฐานขององคก์ ารสหประชาชาติ ไม่มีประชาชนท่ีอยูใ่ นภาวะความยากจน เศรษฐกจิ ใน
ประเทศมคี วามเข้มแขง็ ขณะเดียวกันต้องมีความสามารถในการแขง่ ขันกับประเทศต่างๆ ท้งั ในตลาดโลก
และตลาดภายในประเทศเพื่อใหส้ ามารถสรา้ งรายได้ท้ังจากภายในและภายนอกประเทศ ตลอดจนมกี าร
สร้างฐานเศรษฐกิจและสังคมแห่งอนาคตเพื่อให้สอดรบั กบั บริบทการพัฒนาที่เปลีย่ นแปลงไปและประเทศ
ไทยมบี ทบาททส่ี ำคญั ในเวทโี ลก และมคี วามสมั พันธท์ างเศรษฐกจิ และการคา้ อย่างแน่นแฟ้นกบั ประเทศ

17

ในภมู ภิ าคเอเชยี เป็นจดุ สำคัญของการเชอ่ื มโยงภมู ิภาค ทั้งการคมนาคมขนสง่ การผลิต การคา้ การลงทนุ
และการทำธุรกจิ เพ่ือให้เปน็ พลังในการพัฒนา นอกจากนี้ ยงั มีความสมบูรณ์ในทุนท่จี ะสามารถสรา้ งการ
พฒั นาต่อเนื่องไปได้ ได้แก่ ทุนมนุษย์ ทนุ ทางปัญญา ทุนทางการเงนิ ทนุ ทเี่ ป็นเครื่องมือเคร่ืองจักร ทนุ ทาง
สงั คม และทุนทรัพยากรธรรมชาติและสง่ิ แวดล้อม

ความยั่งยนื หมายถงึ การพัฒนาท่สี ามารถสร้างความเจริญ รายได้ และคณุ ภาพชวี ิตของ
ประชาชนใหเ้ พิ่มข้นึ อย่างต่อเนอื่ ง ซงึ่ เป็นการเจรญิ เติบโตของเศรษฐกจิ ท่ีอยูบ่ นหลกั การใช้ การรักษาและ
การฟ้ืนฟฐู านทรัพยากรธรรมชาติอยา่ งย่งั ยนื ไมใ่ ชท้ รัพยากรธรรมชาติจนเกินพอดี ไม่สร้างมลภาวะต่อ
สง่ิ แวดลอ้ มจนเกินความสามารถในการรองรับและเยยี วยาของระบบนิเวศ การผลิตและการบรโิ ภคเป็นมติ ร
กบั สิง่ แวดล้อมและสอดคล้องกบั เป้าหมายการพฒั นาทยี่ งั่ ยืน ทรัพยากรธรรมชาติมีความอดุ มสมบูรณ์มาก
ขึน้ และสิ่งแวดล้อมมีคณุ ภาพดีข้ึน คนมีความรบั ผดิ ชอบต่อสงั คม มคี วามเอื้ออาทร เสยี สละเพื่อ
ผลประโยชนส์ ว่ นรวม รฐั บาลมี นโยบายทมี่ ่งุ ประโยชน์ส่วนรวมอย่างยง่ั ยนื และใหค้ วามสำคญั กบั การมสี ว่ น
ร่วมของประชาชน และทุกภาคส่วนในสังคมยึดถือและปฏบิ ัตติ ามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงเพ่ือการ
พฒั นาอยา่ งสมดลุ มเี สถยี รภาพและยงั่ ยืน

2.2 ประเดน็ ยุทธศาสตรช์ าติ
เพ่อื ใหป้ ระเทศไทยสามารถยกระดบั การพัฒนาให้บรรลตุ ามวสิ ยั ทัศน์ “ประเทศไทยมีความ

มนั่ คง มั่งคัง่ ยั่งยืน เปน็ ประเทศพฒั นาแล้ว ด้วยการพฒั นาตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง”
และเปา้ หมายการพฒั นาประเทศข้างต้น จงึ จำเป็นต้องกำหนดยุทธศาสตรก์ ารพัฒนาประเทศระยะยาวทจี่ ะ
ทำให้ประเทศไทยมีความมนั่ คงในเอกราชและอธิปไตย มีภมู ิคมุ้ กนั ต่อการเปลี่ยนแปลงจากปจั จยั ภายใน
และภายนอกประเทศในทกุ มิติทกุ รูปแบบและทุกระดบั ภาคเกษตรกรรม ภาคอุตสาหกรรม และภาค
บรกิ ารของประเทศไดร้ ับการพัฒนายกระดับไปสู่การใช้เทคโนโลยีและนวัตกรรมในการสรา้ งมูลคา่ เพิ่มและ
พฒั นากลไกทสี่ ำคญั ในการขับเคลื่อนเศรษฐกจิ ใหม่ทีจ่ ะสร้างและเพมิ่ ศักยภาพในการแข่งขันของประเทศ
เพื่อยกระดับฐานรายได้ของประชาชนในภาพรวมและการกระจายผลประโยชนไ์ ปสูภ่ าคส่วนตา่ งๆ ไดอ้ ย่าง
เหมาะสม คนไทยได้รับการพัฒนาให้เป็นคนดี เก่ง มวี ินัย คำนึงถงึ ผลประโยชน์ส่วนรวมและมศี ักยภาพใน
การคดิ วิเคราะหส์ ามารถ “รู้ รับ ปรบั ใช้” เทคโนโลยใี หมไ่ ดอ้ ยา่ งต่อเนือ่ ง สามารถเข้าถึงบรกิ ารพื้นฐาน
ระบบสวสั ดิการและกระบวนการยตุ ิธรรมได้อยา่ งเทา่ เทียมกัน โดยไม่มใี ครถูกทง้ิ ไวข้ ้างหลงั

การพฒั นาประเทศในชว่ งระยะเวลาของยุทธศาสตรช์ าติ จะมงุ่ เน้นการสร้างสมดุลระหว่าง
การพฒั นาความม่นั คง เศรษฐกจิ สงั คม และสิง่ แวดลอ้ ม โดยการมีสว่ นร่วมของทกุ ภาคส่วนในรปู แบบ
“ประชารฐั ” โดยประกอบดว้ ย 6 ยทุ ธศาสตร์ ไดแ้ ก่ ยุทธศาสตรช์ าติด้านความมั่นคง ยทุ ธศาสตรช์ าติดา้ น
การสร้างความสามารถในการแขง่ ขัน ยุทธศาสตรช์ าติด้านการพฒั นาและเสริมสรา้ งศักยภาพทรัพยากร
มนุษย์ ยทุ ธศาสตร์ชาตดิ า้ นการสร้างโอกาสและความเสมอภาคทางสงั คม ยทุ ธศาสตร์ชาติด้านการสร้างการ
เติบโตบนคุณภาพชีวติ ที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม และยุทธศาสตรช์ าตดิ ้านการปรับสมดลุ และพฒั นาระบบ
การบรหิ ารจดั การภาครฐั โดยแตล่ ะยทุ ธศาสตร์มเี ปา้ หมายและประเด็นการพัฒนา ดังนี้

1) ยุทธศาสตร์ด้านความมั่นคง
ยทุ ธศาสตรช์ าตดิ า้ นความม่ันคง มเี ปา้ หมายการพฒั นาทีส่ ำคญั คอื ประเทศชาตมิ ั่นคง

ประชาชนมคี วามสุข เน้นการบรหิ ารจดั การสภาวะแวดลอ้ มของประเทศให้มีความมั่นคง ปลอดภัย เอกราช
อธปิ ไตย และมคี วามสงบเรยี บร้อยในทุกระดบั ตั้งแต่ระดบั ชาติสงั คม ชุมชน มุ่งเน้นการพัฒนาคน เครื่องมือ
เทคโนโลยี และระบบฐานข้อมลู ขนาดใหญ่ให้มีความพร้อมสามารถรับมือกับภัยคุกคาม และภัยพบิ ัติได้ทุก

18

รูปแบบ และทุกระดบั ความรุนแรง ควบคไู่ ปกบั การปอ้ งกนั และแก้ไขปัญหา ดา้ นความมั่นคงทมี่ ีอยู่ใน
ปัจจบุ นั และท่อี าจจะเกดิ ขึ้นในอนาคต ใช้กลไกการแก้ไขปัญหาแบบบูรณาการ ทงั้ กับสว่ นราชการ
ภาคเอกชน ประชาสังคม และองค์กรทไ่ี ม่ใช่รฐั รวมถึงประเทศเพ่ือนบ้าน และมติ รประเทศทว่ั โลกบน
พนื้ ฐานของหลกั ธรรมาภิบาล เพ่ือเอื้ออำนวยประโยชน์ต่อการดำเนนิ การ ของยุทธศาสตรช์ าติด้านอนื่ ๆ
ให้สามารถขับเคลื่อนไปไดต้ ามทศิ ทางและเปา้ หมายที่กำหนด

2) ยุทธศาสตรช์ าติดา้ นการสรา้ งความสามารถในการแข่งขนั
มีเปา้ หมายการพฒั นา ที่มงุ่ เน้นการยกระดบั ศักยภาพของประเทศในหลากหลายมติ บิ น

พน้ื ฐานแนวคิด 3 ประการ ไดแ้ ก่ 1) “ต่อยอดอดตี ” โดยมองกลบั ไปท่ีรากเหง้าทางเศรษฐกจิ อตั ลักษณ์
วัฒนธรรม ประเพณี วิถีชีวิต และจดุ เดน่ ทางทรัพยากรธรรมชาติทหี่ ลากหลาย รวมทงั้ ความไดเ้ ปรียบ
เชงิ เปรยี บเทยี บของประเทศ ในดา้ นอน่ื ๆ นำมาประยุกตผ์ สมผสานกบั เทคโนโลยแี ละนวัตกรรม เพ่ือให้
สอดรับกบั บรบิ ทของเศรษฐกิจและสังคมโลกสมยั ใหม่ 2) “ปรับปจั จุบัน” เพ่ือปทู างสู่อนาคต ผ่านการ
พัฒนาโครงสร้างพน้ื ฐานของประเทศในมติ ติ ่างๆ ทงั้ โครงข่ายระบบคมนาคมและขนส่ง โครงสร้างพื้นฐาน
วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและดิจิทัล และการปรบั สภาพแวดล้อมให้เออ้ื ต่อการพัฒนาอตุ สาหกรรมและ
บริการอนาคตและ 3) “สรา้ งคณุ คา่ ใหมใ่ นอนาคต” ดว้ ยการเพ่ิมศักยภาพของผูป้ ระกอบการ พฒั นาคน
รนุ่ ใหม่รวมถงึ ปรบั รูปแบบธุรกิจ เพ่อื ตอบสนองต่อความต้องการของตลาด ผสมผสานกับยทุ ธศาสตร์
ทร่ี องรับอนาคตบนพ้นื ฐานของการตอ่ ยอดอดตี และปรับปจั จบุ ัน พร้อมทงั้ การส่งเสริมและสนบั สนนุ จาก
ภาครัฐใหป้ ระเทศไทยสามารถสรา้ งฐานรายได้และการจา้ งานใหม่ขยายโอกาสทางการค้าและการลงทนุ ใน
เวทีโลก ควบคไู่ ปกับการยกระดบั รายไดแ้ ละการกนิ ดีอย่ดู ีรวมถึงการเพม่ิ ข้นึ ของคนชั้นกลางและลดความ
เหลือ่ มล้ำของคนในประเทศได้ในคราวเดยี วกัน

3) ยุทธศาสตร์ชาติด้านการพฒั นาและเสริมสรา้ งศกั ยภาพทรัพยากรมนษุ ย์
มีเป้าหมาย การพฒั นาที่สำคัญเพอื่ พัฒนาคนในทุกมติ แิ ละในทกุ ชว่ งวยั ใหเ้ ปน็ คนดีเกง่

และมคี ุณภาพ โดยคนไทย มีความพร้อมทั้งกาย ใจ สติปญั ญา มีพัฒนาการทดี่ ีรอบด้านและมสี ขุ ภาวะที่ดีใน
ทกุ ช่วงวยั มจี ิตสาธารณะ รับผดิ ชอบตอ่ สังคมและผู้อ่นื มธั ยสั ถ์อดออม โอบอ้อมอารีมวี ินัยรกั ษาศีลธรรม
และเป็นพลเมืองดขี องชาตมิ หี ลกั คิดที่ถกู ต้อง มีทักษะทจี่ ำเปน็ ในศตวรรษท่ี 21 มที ักษะสอื่ สาร
ภาษาองั กฤษและภาษาทสี่ าม และอนุรักษ์ภาษาท้องถนิ่ มีนสิ ัยรกั การเรยี นรู้และการพัฒนาตนเองอย่าง
ต่อเนอ่ื งตลอดชีวิต สกู่ ารเป็นคนไทยทม่ี ีทักษะสงู เป็นนวตั กร นักคดิ ผู้ประกอบการ เกษตรกรยคุ ใหม่และ
อน่ื ๆ โดยมสี มั มาชีพตามความถนัดของตนเอง

4) ยุทธศาสตร์ชาติดา้ นการสรา้ งโอกาสและความเสมอภาคทางสงั คม
มเี ปา้ หมาย การพฒั นาท่ีใหค้ วามสำคญั กับการดงึ เอาพลังของภาคส่วนต่าง ๆ ทง้ั

ภาคเอกชน ประชาสงั คมชมุ ชน ท้องถิ่น มาร่วมขบั เคลื่อน โดยการสนับสนนุ การรวมตวั ของประชาชน
ในการร่วมคดิ รว่ มทำ เพื่อสว่ นรวมการกระจายอำนาจและความรบั ผิดชอบไปสู่กลไกบริหารราชการแผ่นดนิ
ในระดบั ท้องถน่ิ การเสริมสร้างความเข้มแขง็ ของชุมชนในการจดั การตนเอง และการเตรียมความพร้อมของ
ประชากรไทย ทั้งในมติ สิ ขุ ภาพเศรษฐกจิ สังคม และสภาพแวดลอ้ มให้เปน็ ประชากรที่มีคณุ ภาพ สามารถ
พ่งึ ตนเอง และทำประโยชน์แก่ครอบครวั ชมุ ชน และสังคมใหน้ านทส่ี ุด โดยรัฐใหห้ ลกั ประกันการเข้าถึง
บริการและสวสั ดกิ ารท่ีมีคุณภาพอยา่ งเป็นธรรมและทว่ั ถึง

19

5) ยุทธศาสตรช์ าติดา้ นการสรา้ งการเตบิ โตบนคณุ ภาพชวี ิตท่เี ป็นมิตรกับสงิ่ แวดลอ้ ม
มเี ปา้ หมายการพฒั นาท่ีสำคญั เพ่อื นำไปสกู่ ารบรรลเุ ป้าหมายการพฒั นาที่ยงั่ ยนื ในทุกมิติ

ทงั้ ด้านสังคม เศรษฐกิจ สงิ่ แวดล้อม ธรรมาภิบาล และความเปน็ หุ้นสว่ นความรว่ มมือระหว่างกนั ท้ังภายใน
และภายนอกประเทศอยา่ งบูรณาการ ใชพ้ ืน้ ทเี่ ป็นตวั ตั้งในการกำหนดกลยุทธ์และแผนงาน และการให้ทกุ
ฝา่ ยทเ่ี กย่ี วข้องไดเ้ ข้ามามสี ่วนรว่ มในแบบทางตรงใหม้ ากท่ีสุดเทา่ ที่จะเปน็ ไปได้โดยเปน็ การดำเนนิ การบน
พ้ืนฐานการเตบิ โตร่วมกัน ไม่ว่าจะเปน็ ทางเศรษฐกจิ ส่งิ แวดลอ้ ม และคณุ ภาพชีวิต โดยใหค้ วามสำคญั กับ
การสรา้ งสมดุลทัง้ 3 ดา้ น อนั จะนำไปสคู่ วามยัง่ ยนื เพือ่ คนรุ่นต่อไปอย่างแทจ้ รงิ

6) ยทุ ธศาสตร์ชาตดิ า้ นการปรับสมดุลและพัฒนาระบบการบรหิ ารจัดการภาครัฐ
มเี ปา้ หมายการพัฒนาทสี่ ำคญั เพอ่ื ปรบั เปล่ยี นภาครฐั ทย่ี ดึ หลัก “ภาครฐั ของประชาชน

เพ่อื ประชาชน และประโยชน์ส่วนรวม” โดยภาครัฐตอ้ งมขี นาดที่เหมาะสมกบั บทบาทภารกจิ แยกแยะ
บทบาท หนว่ ยงาน ของรฐั ทีท่ ำหนา้ ทใ่ี นการกำกับหรอื ในการให้บริการในระบบเศรษฐกจิ ทม่ี กี ารแขง่ ขัน
มสี มรรถนะสูง ยดึ หลัก ธรรมาภิบาล ปรบั วัฒนธรรมการทำงานให้มุ่งผลสัมฤทธิแ์ ละผลประโยชนส์ ่วนรวม
มีความทันสมยั และพร้อมท่ีจะปรับตวั ใหท้ ันต่อการเปล่ยี นแปลงของโลกอยู่ตลอดเวลา โดยเฉพาะอย่างย่งิ
การนำนวัตกรรม เทคโนโลยีข้อมลู ขนาดใหญ่ระบบการทางานทเี่ ป็นดจิ ิทลั เขา้ มาประยกุ ต์ใช้อยา่ งคุ้มคา่ และ
ปฏบิ ตั ิงานเทยี บได้กบั มาตรฐานสากล รวมทัง้ มีลักษณะเปิดกวา้ ง เช่ือมโยงถึงกนั และเปดิ โอกาสให้ทกุ
ภาคส่วนเข้ามามสี ่วนร่วมเพื่อตอบสนองความต้องการของประชาชนได้อย่างสะดวก รวดเร็วและโปรง่ ใส
โดยทกุ ภาคส่วนในสังคมต้องร่วมกันปลูกฝงั คา่ นิยมความซื่อสตั ยส์ ุจรติ ความมัธยัสถแ์ ละสรา้ งจติ สำนกึ ใน
การปฏเิ สธไมย่ อมรบั การทุจรติ ประพฤตมิ ิชอบอยา่ งส้ินเชิง นอกจากน้นั กฎหมายต้องมีความชดั เจน มีเพียง
เทา่ ทจ่ี ำเปน็ มีความทนั สมยั มคี วามเป็นสากล มปี ระสิทธภิ าพ และนำไปสู่การลดความเหลอื่ มล้ำและเอื้อ
ต่อการพฒั นา โดยกระบวนการยุตธิ รรมมีการบรหิ ารท่ีมปี ระสิทธภิ าพ เปน็ ธรรม ไมเ่ ลือกปฏบิ ัตแิ ละการ
อำนวยความยตุ ิธรรมตามหลกั นิตธิ รรม

3. แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสงั คมแหง่ ชาติ ฉบบั ท่ี 12 (พ.ศ. 2560-2564)
3.1 หลักการพฒั นาประเทศท่สี ำคญั ในระยะแผนพัฒนาฯ ฉบับท่ี 12 ยึดหลกั
“ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง” “การพฒั นาที่ยง่ั ยนื ” และ “คนเปน็ ศนู ยก์ ลางการพฒั นา”
3.2 จุดเปลย่ี นสำคัญในแผนพัฒนาเศรษฐกจิ และสังคมฉบบั ที่ 12
การเตรยี มพร้อมด้านกำลงั คนและการเสริมสรา้ งศักยภาพของประชากร ในทุกช่วงวยั

มงุ่ เน้นการยกระดบั คณุ ภาพทุนมนุษยข์ องประเทศ โดยพฒั นาคนใหเ้ หมาะสมตามชว่ งวยั เพ่ือให้เติบโต
อยา่ งมีคณุ ภาพ การหลอ่ หลอมใหค้ นไทยมีคา่ นยิ มตามบรรทดั ฐานท่ีดีทางสังคม เปน็ คนดี มีสขุ ภาวะทดี่ ี
มีคุณธรรมจรยิ ธรรม มรี ะเบยี บวนิ ัย และมีจิตสำนึกที่ดตี ่อสังคมสว่ นรวม การพัฒนาทกั ษะทีส่ อดคลอ้ งกับ
ความต้องการในตลาด แรงงานและทกั ษะที่จำเปน็ ต่อการดำรงชวี ติ ในศตวรรษที่ 21 ของคนในแต่ละชว่ งวยั
ตามความเหมาะสม การเตรยี มความพร้อมของกำลงั คนดา้ นวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยีที่จะเปลย่ี นแปลง
โลกในอนาคต ตลอดจนการยกระดับคุณภาพการศึกษาสู่ความเปน็ เลศิ การสร้างเสริมใหค้ นมีสุขภาพดที ่ี
เน้นการ ปรบั เปล่ียนพฤตกิ รรมทางสขุ ภาพและการลดปจั จัยเส่ยี งดา้ นสภาพแวดลอ้ มทส่ี ่งผลต่อสุขภาพ
การสรา้ งความเปน็ ธรรมและลดความเหลื่อมล้ำ ให้ความสำคัญกับการจัดบริการของรัฐท่ีมคี ุณภาพทั้งดา้ น
การศึกษา สาธารณสขุ ใหก้ บั ผทู้ ีด่ อ้ ยโอกาสและผทู้ ่ีอาศัยในพื้นทีห่ ่างไกล การจัดสรรท่ีดินทำกิน สนับสนุน
ในเรอื่ งการสร้างอาชีพ รายได้ และสนับสนนุ การเพิ่มผลิตภาพ ผดู้ อ้ ยโอกาส สตรี และผสู้ ูงอายุ รวมทง้ั
กระจายการจัดบรกิ ารภาครฐั ให้มคี วามครอบคลุมและทั่วถึงทง้ั ในเชิงปริมาณและคณุ ภาพ

20

3.3 การประเมินสภาพแวดลอ้ มการพัฒนาประเทศ
สถานการณ์และแนวโน้มของสังคมไทย โครงสรา้ งประชากรไทย เปล่ยี นแปลงเข้าสู่สงั คม

สูงวยั อย่างสมบรู ณ์เม่อื สิ้นสุดแผนพฒั นาฯ ฉบบั ท่ี 12 โดยปี 2557 ประชากรวยั แรงงานจะมจี ำนวนสูงสุด
และเรมิ่ ลดลงอยา่ งต่อเน่ือง คุณภาพคนไทยทุกกลุ่มวยั ยังมีปญั หา คุณภาพการศึกษา และการเรียนรขู้ อง
คนไทยยงั อยใู่ นระดับค่อนข้างตำ่ นอกจากน้ี คนไทยสว่ นใหญ่ยงั มีปญั หาดา้ นคุณธรรมจริยธรรม
และไม่ตระหนักถึงความสำคัญของระเบยี บวินัย ความซื่อสัตย์ และการมีจิตสาธารณะ

3.4 วตั ถุประสงค์และเปา้ หมายการพัฒนาในช่วงแผนพัฒนาฯ ฉบับท่ี 12
เพือ่ วางรากฐานให้คนไทยเปน็ คนท่ีสมบูรณ์ มีคุณธรรมจริยธรรม มรี ะเบียบ วนิ ัย ค่านยิ มที่ดี

มีจติ สาธารณะ และมีความสุข โดยมสี ขุ ภาวะและสุขภาพที่ดี ครอบครวั อบอุน่ ตลอดจน เป็นคนเกง่ ท่มี ี
ทกั ษะความรู้ความสามารถและพัฒนาตนเองไดต้ ่อเนอื่ งตลอดชีวติ

3.4.1 ยุทธศาสตร์ที่ 1 การเสริมสร้างและพัฒนาศกั ยภาพทุนมนษุ ย์
การเสริมสร้างและพฒั นาศักยภาพทนุ มนุษย์ของประเทศไทยยังมปี ัญหาในดา้ น

คุณภาพคน ในแตล่ ะช่วงวัย โดยผลลัพธท์ างการศึกษาของเด็กวัยเรียนค่อนข้างตำ่ การพัฒนาความรู้และ
ทักษะของแรงงานไม่ตรงกบั ตลาดงาน ในขณะท่ีคนไทยจำนวนไมน่ อ้ ยยงั ไมส่ ามารถคัดกรองและเลอื กรบั
วัฒนธรรมไดอ้ ยา่ งเหมาะสม ซึ่งสง่ ผลตอ่ วกิ ฤตคา่ นยิ ม ทัศนคติ และพฤติกรรมในการดำเนินชวี ิต การพัฒนา
ในระยะต่อไปจงึ ต้องใหค้ วามสำคัญกบั การวางรากฐานการพัฒนาคนให้มีความสมบรู ณ์ เพือ่ ให้คนไทยมี
ทศั นคติ และพฤตกิ รรมตามบรรทดั ฐานทด่ี ขี องสังคม ได้รบั การศกึ ษาท่ีมีคณุ ภาพสงู ตามมาตรฐานสากล
และสามารถเรยี นรู้ดว้ ยตนเองอย่างต่อเนือ่ ง มสี ุขภาวะทด่ี ีขึ้น คนทกุ ช่วงวยั มีทักษะ ความรู้ และ
ความสามารถเพิ่มขน้ึ รวมทงั้ สถาบนั ทางสงั คมมีความเข้มแขง็ และมีสว่ นรว่ มในการพัฒนาประเทศเพ่ิมข้ึน
แนวทางการพัฒนาท่ีสำคญั ประกอบดว้ ย 1) ปรับเปล่ียนค่านิยมคนไทยให้มีคณุ ธรรม จริยธรรม มวี ินัย จิต
สาธารณะและพฤติกรรมทีพ่ ึงประสงค์ อาทิ ส่งเสรมิ ใหม้ ีกิจกรรมการเรียนการสอนทั้งในและนอกหอ้ งเรียน
ทีส่ อดแทรกคุณธรรม จริยธรรม ความมรี ะเบยี บวินัย และจิตสาธารณะ 2) พฒั นาศักยภาพคนใหม้ ีทกั ษะ
ความรู้ และความสามารถในการดำรงชีวิตอยา่ งมี คุณคา่ อาทิ สง่ เสรมิ เด็กปฐมวัยใหม้ ีการพัฒนาทักษะทาง
สมองและทางสังคมทเี่ หมาะสม เด็กวัยเรียนและ วัยรุ่นมที ักษะการคดิ วิเคราะหอ์ ย่างเปน็ ระบบ 3) ยกระดบั
คณุ ภาพการศึกษาและการเรียนรตู้ ลอดชวี ติ อาทิ ปรบั ระบบบรหิ ารจดั การสถานศึกษาขนาดเล็กใหม้ ีการจดั
ทรัพยากรร่วมกันให้มีขนาดและจำนวนทเ่ี หมาะสม ปรับปรุงแหลง่ เรียนรใู้ นชุมชนให้เปน็ แหล่ง เรียนร้เู ชงิ
สรา้ งสรรค์และมชี วี ิต

เป้าหมายการพฒั นาที่ 1 คนไทยสว่ นใหญ่มีทศั นคติและพฤติกรรมตามบรรทัดฐาน
ทด่ี ขี องสงั คม

ตวั ชีว้ ดั 1.1 ประชากรอายุ 13 ปขี ้ึนไป มกี ิจกรรมการปฏิบัติตนทส่ี ะท้อนการมี
คุณธรรม จริยธรรมเพิม่ ขึน้

ตัวชีว้ ดั 1.2 คดีอาญามสี ัดส่วนลดลง
เปา้ หมายการพัฒนาท่ี 2 คนในสงั คมไทยทกุ ชว่ งวัยมีทักษะ ความรู้
และความสามารถเพมิ่ ข้ึน

1) เดก็ ปฐมวัยมพี ัฒนาการเต็มตามศักยภาพ
ตัวชว้ี ดั 1 เด็กมพี ัฒนาการสมวัยไม่นอ้ ยกว่ารอ้ ยละ 85

21

2) เดก็ วัยเรียนและวยั รนุ่ มสี ติปัญญาและความฉลาดทางอารมณเ์ พิ่มขน้ึ
ตวั ชว้ี ดั 2 คะแนน IQ เฉลี่ยไม่ต่ำกวา่ เกณฑ์มาตรฐาน
ตัวชว้ี ัด 3 เด็กรอ้ ยละ 70 มีคะแนน EQ ไม่ตำ่ กวา่ เกณฑ์มาตรฐาน
ตวั ชวี้ ัด 4 ผู้เรยี นในระบบทวิภาคเี พิ่มขึ้นเฉล่ียรอ้ ยละ 30 ต่อปี

เป้าหมายการพัฒนาท่ี 3 คนไทยมีการศกึ ษาที่มีคุณภาพตามมาตรฐานสากลและมี
ความสามารถเรยี นรูด้ ว้ ยตนเองอย่างตอ่ เนอื่ ง

ตัวชวี้ ดั 3.1 ผลคะแนนสอบ PISA ในแต่ละวิชาไมต่ ่ำกวา่ 500
ตัวช้ีวัด 3.2 การใช้อินเทอรเ์ น็ตเพอื่ การอ่านหาความรเู้ พ่ิมขน้ึ
ตวั ชีว้ ดั 3.3 การอ่านของคนไทยเพมิ่ ขึน้ เป็นร้อยละ 85
1) แนวทางการพัฒนา
1.1) ปรบั เปล่ียนคา่ นิยมคนไทยให้มีคณุ ธรรม จรยิ ธรรม มวี ินัย จติ สาธารณะ
และพฤติกรรมทพ่ี ึงประสงค์
- ส่งเสรมิ การเลีย้ งดใู นครอบครัวทเ่ี น้นการฝึกเด็กใหร้ ู้จกั การพง่ึ พาตวั เอง มีความซื่อสตั ย์ มวี นิ ัย
มีศลี ธรรม คณุ ธรรม จริยธรรม มีความรับผิดชอบ ในรูปแบบของกจิ กรรมทีเ่ ป็นกจิ วตั ร ประจำวนั และให้
พอ่ แมห่ รือผปู้ กครองเปน็ แบบอย่างท่ดี ีให้เด็กสามารถเรยี นรู้และยดึ ถือเป็นตน้ แบบในการดำเนินชวี ิต
- สง่ เสรมิ ใหม้ กี จิ กรรมการเรียนการสอนทง้ั ในและนอกหอ้ งเรยี นท่สี อดแทรกคุณธรรม จรยิ ธรรม
ความมีวนิ ยั จติ สาธารณะ รวมทง้ั เรง่ สร้างสภาพแวดลอ้ มภายในและโดยรอบสถานศึกษาให้ปลอดจาก
อบายมุขอย่างจริงจงั
1.2) พัฒนาศักยภาพคนใหม้ ที กั ษะความรแู้ ละความสามารถในการดำรงชีวิต
อยา่ งมีคุณค่า
- ส่งเสรมิ ใหเ้ ด็กปฐมวัยมีการพัฒนาทกั ษะทางสมองและทักษะทางสงั คมที่เหมาะสม พัฒนา
หลักสตู รการสอนที่องิ ผลงานวจิ ยั ทางวิชาการและปรบั ปรุงสถานพัฒนาเด็กปฐมวยั ให้มีคุณภาพตาม
มาตรฐานทเี่ น้นการพฒั นาทักษะสำคัญดา้ นต่างๆ อาทิ ทกั ษะทางสมอง ทกั ษะด้านความคิดความจำ ทกั ษะ
การควบคุมอารมณ์ ทักษะการวางแผนและการจัดระบบ ทักษะการรู้จกั ประเมินตนเอง ควบค่กู บั การ
ยกระดบั บุคลากรในสถานพฒั นาเดก็ ปฐมวยั ใหม้ ีความพร้อมทัง้ ทักษะ ความรู้ จรยิ ธรรม และความเป็นมือ
อาชพี สนับสนุนการผลิตสือ่ สร้างสรรคท์ ี่มีรปู แบบหลากหลายท่ใี ห้ความรใู้ นการเลยี้ งดู และพฒั นาเด็ก
ปฐมวยั อาทิ ครอบครวั ศกึ ษา อนามยั แม่และเด็ก วิธีการพัฒนาทักษะทางสมองและทักษะทาง สังคม
ผลกั ดันให้มกี ฎหมายการพฒั นาเดก็ ปฐมวยั ใหค้ รอบคลุมท้ังการพัฒนาทกั ษะ การเรียนรู้เน้นการเตรียม
ความพร้อมเข้าสรู่ ะบบการศึกษา การพฒั นาสุขภาพอนามยั ใหม้ พี ัฒนาการทีส่ มวยั และการเตรยี มทักษะ
การอยใู่ นสังคมให้มีพัฒนาการอยา่ งรอบดา้ น
- พฒั นาเด็กวยั เรยี นและวยั รุ่นใหม้ ที กั ษะการคดิ วิเคราะห์อยา่ งเป็นระบบ มีความคดิ สร้างสรรค์
มที กั ษะการทำงานและการใช้ชวี ิตท่ีพร้อมเข้าสู่ตลาดงาน ปรบั กระบวนการเรยี นรู้ที่ส่งเสริมใหเ้ ดก็ มีการ
เรยี นรู้จากการปฏิบัติจริง สอดคล้องกับพฒั นาการของสมองแต่ละชว่ งวยั เนน้ พฒั นาทักษะพื้นฐานดา้ น
วิทยาศาสตรเ์ ทคโนโลยี ดา้ นวศิ วกรรมศาสตร์ ดา้ นคณิตศาสตร์ ดา้ นศิลปะ และด้านภาษาตา่ งประเทศ
สนบั สนุนให้เด็กเขา้ ร่วมกจิ กรรมทงั้ ในและนอกห้องเรยี นทเี่ ออื้ ต่อการพฒั นา ทักษะชีวติ และทกั ษะการ
เรียนรอู้ ย่างต่อเนือ่ ง อาทิ การอ่าน การบำเพ็ญประโยชน์ทางสงั คม การดูแลสุขภาพ การทำงานรว่ มกนั

22

เปน็ กลุ่ม การวางแผนชวี ติ สรา้ งแรงจงู ใจให้เด็กเข้าสู่การศึกษาในระบบทวิภาคี และสหกิจศึกษาท่มี งุ่ การฝกึ
ทกั ษะอาชีพให้พรอ้ มเข้าสตู่ ลาดงาน

1.3) ยกระดับคุณภาพการศกึ ษาและการเรียนรตู้ ลอดชีวิต
- ปรบั ระบบบรหิ ารจดั การสถานศึกษาขนาดเล็กทม่ี ีขนาดและจำนวนผเู้ รยี นตำ่ กวา่ เกณฑ์
มาตรฐานใหม้ กี ารจัดทรัพยากรร่วมกันให้มีขนาดและจำนวนที่เหมาะสมตามความจำเปน็ ของพ้นื ท่ี และ
โครงสร้างประชากรที่มีสดั สว่ นวยั เด็กลดลงอย่างต่อเนื่อง
- ปรบั หลกั สตู รการผลิตครูท่ีเน้นสมรรถนะ มจี ติ วิญญาณความเปน็ ครู เป็นผแู้ นะนำ และสามารถ
กระตุน้ การเรียนรขู้ องผเู้ รยี น สร้างมาตรการจงู ใจใหผ้ ูม้ ีศักยภาพสงู เข้ามาเปน็ ครูปรบั ระบบ ประเมิน
วิทยฐานะทางวิชาชีพให้เชอื่ มโยงกบั พัฒนาการและผลสมั ฤทธข์ิ องผ้เู รียน และสร้างเครือขา่ ยแลกเปลยี่ น
เรยี นรู้ในการจดั การเรยี นการสอนที่เปน็ การพฒั นาสมรรถนะของครูอยา่ งต่อเน่ือง
- พฒั นาระบบประเมนิ คุณภาพมาตรฐานทส่ี ามารถวัดและประเมนิ ผลคณุ ภาพผเู้ รียน ท้ังดา้ น
ทกั ษะ ความรู้ ความสามารถ และสมรรถนะตามมาตรฐานการเรียนรแู้ ตล่ ะระดบั การศึกษา
- ส่งเสริมมาตรการสร้างแรงจูงใจใหส้ ถานประกอบการขนาดกลางท่ีมีศกั ยภาพ เขา้ รว่ มระบบ
ทวิภาคีหรือสหกจิ ศึกษา สรา้ งความรู้ความเข้าใจให้กับผ้ปู ระกอบการ ครูฝึกหรอื ครพู ีเ่ ลย้ี ง ให้รว่ ม
วางแผนการจดั การเรียนการสอน การฝึกปฏบิ ตั ิ และการตดิ ตามประเมนิ ผลผ้เู รียน
- ขยายความร่วมมือระหวา่ งสถาบันอาชวี ศึกษา สถาบนั อุดมศึกษา ภาคเอกชน และผู้เชี่ยวชาญ
ท้ังในและตา่ งประเทศ พฒั นาสาขาวิชาท่ีมคี วามเชี่ยวชาญเฉพาะดา้ นสคู่ วามเปน็ เลิศ การพัฒนางานวิจัย
ไปส่นู วัตกรรม รวมท้ังขยายการจัดทำและการใช้หลกั สูตรฐานสมรรถนะให้มากขึ้น
- จัดทำส่อื การเรียนรู้ ทีเ่ ป็นสื่ออเิ ล็กทรอนิกสแ์ ละสามารถใช้งานผ่านระบบอปุ กรณ์ สื่อสาร
เคลอื่ นทใี่ ห้คนทุกกลุ่มสามารถเขา้ ถึงได้ง่าย สะดวก ทั่วถึง ไม่จำกัดเวลาและสถานที่ และใชม้ าตรการทาง
ภาษีจงู ใจใหภ้ าคเอกชนผลิตหนงั สือ สอื่ การอ่านและการเรยี นรูท้ ีม่ คี ณุ ภาพและราคาถกู

3.4.2 ยทุ ธศาสตรท์ ่ี 2 การสร้างความเป็นธรรมและลดความเหลื่อมล้ำในสงั คม
เปา้ หมายที่ 2 เพิ่มโอกาสการเขา้ ถงึ บริการพน้ื ฐานทางสงั คมของภาครัฐ
ตวั ชวี้ ดั 2.1 อตั ราการเขา้ เรยี นสุทธิ (ทป่ี รับปรุง) ในระดับการศึกษาขัน้ พื้นฐาน

เทา่ กับร้อยละ 90 โดยไมม่ ีความแตกต่างระหวา่ งกลุ่มนกั เรียน/นกั ศกึ ษาที่ครอบครวั มีฐานะทางเศรษฐกิจ
สงั คมและระหว่างพน้ื ท่ี

ตัวชีว้ ัด 2.2 สัดส่วนนกั เรยี นท่ีมีผลสมั ฤทธ์ิทางการศึกษาทุกระดับช้ันผ่านเกณฑ์
คะแนนร้อยละ 50 มีจำนวนเพ่มิ ขึ้นและความแตกต่างของคะแนนผลสัมฤทธ์ิระหวา่ งพ้ืนท่ี และภมู ภิ าค
ลดลง

1) แนวทางการพัฒนา
ขยายโอกาสการเข้าถึงการศกึ ษาทมี่ ีคุณภาพใหแ้ ก่เดก็ และเยาวชนทด่ี ้อยโอกาส

ทางการศึกษาอยา่ งต่อเน่ืองโดยไมถ่ ูกจำกัดศักยภาพจากสภาพครอบครวั พน้ื ที่ และสภาพร่างกายการดูแล
นกั เรยี นยากจนท่ีอาศยั ในพ้ืนทีห่ า่ งไกลท่ีครอบคลุมต้ังแต่การสรา้ งรายไดข้ องครัวเรอื น การสนับสนนุ
ค่าเดินทางไปยังสถานศกึ ษา การปรบั ปรุงระบบคดั กรองและการให้เงินอดุ หนนุ ปจั จัยพื้นฐานนกั เรยี น
ยากจนของ สพฐ. ให้มีประสทิ ธิภาพมากขนึ้ และการให้ทุนการศกึ ษาต่อระดบั สงู เพื่อป้องกนั ไมใ่ ห้
เดก็ นกั เรยี นออกจากโรงเรยี นกลางคัน

23

4. แผนการศกึ ษาแหง่ ชาติ พ.ศ. 2560-2579
สำนักงานเลขาธกิ ารสภาการศึกษาไดจ้ ดั ทำแผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2560 – 2579 เพอ่ื ใช้

เปน็ แผนยุทธศาสตร์ระยะยาวสำหรบั หนว่ ยงานท่เี กีย่ วข้องกับการศึกษาของประเทศ ทัง้ ที่อยใู่ นกระทรวง
ศึกษาธิการและนอกกระทรวงศกึ ษาธิการ ไดน้ ำไปใช้เปน็ กรอบและแนวทางการพฒั นาการศกึ ษาและเรียนรู้
สำหรับพลเมอื งทกุ ชว่ งวยั ตัง้ แต่แรกเกิดจนตลอดชวี ิต โดยจุดมุ่งหมายท่สี ำคัญของแผนคือ การมงุ่ เน้นการ
ประกนั โอกาสและความเสมอภาคทางการศึกษา และการศึกษาเพอื่ การมงี านทำและสรา้ งงานได้ ภายใต้
บรบิ ทเศรษฐกิจและสังคมของประเทศและของโลกทีข่ ับเคลอื่ นด้วยนวัตกรรมและความคดิ สร้างสรรค์
รวมท้งั ความเปน็ พลวตั เพ่อื ให้ประเทศไทยสามารถก้าวข้ามกับดักประเทศท่ีมรี ายได้ปานกลาง ไปสู่ประเทศ
ทพี่ ัฒนาแล้ว ซึ่งภายใต้กรอบแผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2560 - 2579 ไดก้ ำหนดสาระสำคญั สำหรบั
บรรลุเปา้ หมาย ของการพัฒนาการศึกษาใน 5 ประการ ได้แก่ การเข้าถงึ (Access) ความเทา่ เทยี ม
(Equity) คณุ ภาพ (Quality) ประสิทธภิ าพ (Efficiency) และตอบโจทยบ์ ริบทท่เี ปลี่ยนแปลง (Relevancy)
ในระยะ 15 ปี ข้างหนา้ ดังนี้

4.1 วสิ ัยทัศน์ : คนไทยทกุ คนได้รบั การศกึ ษาและเรียนรตู้ ลอดชวี ิตอยา่ งมีคณุ ภาพ ดำรงชวี ิต
อยา่ งเปน็ สุข สอดคล้องกับหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง และเปลยี่ นแปลงของโลกศตวรรษที่ 21

4.2 วัตถุประสงค์
1) เพอ่ื พฒั นาระบบและกระบวนการจัดการศึกษาทมี่ ีคุณภาพและมีประสิทธภิ าพ
2) เพือ่ พฒั นาคนไทยให้เป็นพลเมืองดี มีคณุ ลกั ษณะ ทักษะและสมรรถนะทส่ี อดคล้องกบั

บทบญั ญัตขิ องรฐั ธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พระราชบญั ญัติการศกึ ษาแห่งชาติ และยทุ ธศาสตร์ชาติ
3) เพอ่ื พัฒนาสงั คมไทยใหเ้ ป็นสังคมแห่งการเรยี นรู้ และคุณธรรมจริยธรรม ร้จู ักสามคั คีและ

ร่วมมอื ผนึกกำลังม่งุ สู่การพัฒนาประเทศอยา่ งยงั่ ยนื ตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง
4) เพอื่ นำประเทศไทยก้าวข้ามกบั ดกั ประเทศท่ีมีรายได้ปานกลาง และความเหล่ือมล้ำ

ภายในประเทศลดลง
4.3 ยุทธศาสตร์
1) การจดั การศกึ ษาเพ่ือความมั่นคงของสงั คมและประเทศชาติ
2) การผลิตและพฒั นากำลงั คน การวจิ ยั และนวตั กรรม เพ่ือสร้างขีดความสามารถ

ในการแข่งขนั ของประเทศ
3) การพัฒนาศกั ยภาพคนทุกช่วงวยั และการสร้างสงั คมแห่งการเรียนรู้
4) การสรา้ งโอกาส ความเสมอภาค และความเท่าเทียมทางการศึกษา
5) การจดั การศกึ ษาเพ่ือสร้างเสริมคณุ ภาพชวี ติ ท่เี ปน็ มติ รกับสงิ่ แวดล้อม

6) การพัฒนาประสิทธภิ าพของระบบบริหารจัดการศึกษา

4.4 ปจั จยั และเงื่อนไขความสำเร็จ
การดำเนนิ การตามวัตถปุ ระสงค์ เปา้ หมายของแตล่ ะยทุ ธศาสตร์ตามท่กี ำหนดไว้ในแผน

การศกึ ษาแหง่ ชาติจะประสบผลสำเร็จตามทีร่ ะบุไว้ในแต่ละยุทธศาสตรแ์ ละแนวทางการพฒั นา หนว่ ยงาน
ทง้ั ระดับนโยบายและระดับปฏิบตั ิการ ท้งั ในสว่ นกลาง ส่วนภูมภิ าค จงั หวดั เขตพืน้ ที่การศึกษา และ
สถานศึกษาต้องยดึ ถือเปน็ แนวทางในการดำเนินงาน และมีการทบทวน ปรบั ปรงุ มาตรการ เปา้ หมาย
ความสำเรจ็ ให้ทันต่อการเปลี่ยนแปลงทีเ่ กดิ ขน้ึ ในแตล่ ะพ้นื ท่ีเพื่อการพัฒนาศักยภาพผู้เรียนในทกุ ช่วงวยั
ต้องดำเนินการ ดงั นี้

24

1) การสรา้ งการรับรู้ ความเข้าใจและการยอมรบั จากผู้มสี ่วนได้ส่วนเสียและประชาสงั คม
ในการสนับสนุนสง่ เสรมิ การพัฒนาการศึกษาในลักษณะต่างๆ อยา่ งกวา้ งขวาง ม่งุ เนน้ ที่การจัดระบบ
การศึกษาท่ีมปี ระสิทธิภาพ โปร่งใส ตรวจสอบได้ และมุ่งเน้นการพฒั นาคุณภาพของผเู้ รยี นในทกุ ระดบั

2) การสรา้ งความเขา้ ใจในเป้าหมายและยุทธศาสตรก์ ารดำเนินงานของแผนฯ
ของผูป้ ฏิบตั ิทุกหนว่ ยงานทุกระดบั เพื่อให้การขับเคลอ่ื นแผนฯ ไปสู่การปฏบิ ัติ มีการบรหิ ารจัดการ
และการเชื่อมโยงยุทธศาสตร์และแนวทางการพัฒนาให้บรรลเุ ป้าหมายและวสิ ยั ทัศน์ของการจดั การศกึ ษา
มคี ณะกรรมการกำกบั ดูแลแต่ละยทุ ธศาสตรใ์ ห้เกดิ การนำไปปฏบิ ัติ โดยมรี ะบบงบประมาณเป็นกลไก
สนับสนนุ ใหบ้ รรลผุ ลอยา่ งเปน็ รปู ธรรม

3) การปรับเปลย่ี นกระบวนทัศน์ของการจัดการศึกษา จากการเป็นผูจ้ ัดการศกึ ษาโดยรฐั
มาเปน็ การจดั การศึกษาโดยทุกภาคส่วนของสงั คม ที่มุ่งการจัดการศึกษาเพื่อความเท่าเทียมและทวั่ ถึง
(Inclusive Education) ตลอดจนการส่งเสรมิ การเรยี นรู้ตลอดชวี ิตสำหรบั ทุกคน ซึ่งสอดคลอ้ งกับ
เปา้ หมายการพัฒนาทยี่ ่ังยืน (Sustainable Development Goals)

4) การจัดใหแ้ ผนการศกึ ษาแห่งชาตเิ ป็นเสมอื นแผนงบประมาณดา้ นการจดั การศึกษาของ
รฐั ระบบการจดั สรรงบประมาณประจำปีใหย้ ดึ แผนงาน โครงการและเป้าหมายการพัฒนาท่ีกำหนดไวใ้ น
ยทุ ธศาสตร์และแนวทางการพัฒนาของแผนฯ เป็นหลกั ในการพจิ ารณา เพื่อใหก้ ารดำเนินงานพัฒนา
การศึกษาเป็นไปในทิศทางและเปา้ หมายการพฒั นาผู้เรยี นแตล่ ะช่วงวยั และการพัฒนากำลังคนตามความ
ตอ้ งการของตลาดงานและประเทศ เพ่ือการจดั การศึกษาบรรลผุ ลตามยุทธศาสตร์ ตวั ช้วี ดั ในชว่ งเวลาท่ี
กำหนด

5) การปรับระบบการบริหารจัดการภาครฐั ใหเ้ กิดประสทิ ธิภาพ โดยปรับโครงสร้างการบรหิ าร
งานใหม้ ีความชัดเจนในดา้ นบทบาท หนา้ ทแ่ี ละการกระจายอำนาจและการตัดสินใจ จากสว่ นกลางส่รู ะดบั
ภมู ภิ าคและสถานศกึ ษา รวมทัง้ การปรับระบบการบรหิ ารจัดการ และการบริหารงานบุคคลในแตล่ ะระดับ
ให้ส่งเสริม สนบั สนุนการจดั การศึกษาในสถานศึกษาให้เป็นไปอย่างมีคุณภาพผูเ้ รยี นได้รับบริการการศึกษา
ท่ีมีมาตรฐานอย่างเสมอภาคและเท่าเทียม

6) การสร้างระบบขอ้ มลู และสารสนเทศทบ่ี ูรณาการและเชือ่ มโยงกับระบบการประกนั
คณุ ภาพภายในและการประเมินคุณภาพภายนอกผา่ นระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศ และการรายงงาน
ตอ่ สาธารณชนจะเป็นกลไกในการสร้างการรบั รู้ของผจู้ ดั การศึกษาและผ้เู รยี น เพ่ือการปรับประสทิ ธิภาพ
การบริหารจดั การ และความรบั ผดิ ชอบตอ่ ผเู้ รยี น ผา่ นระบบการกำกบั ตรวจสอบ ตดิ ตามและประเมินผล

7) การปฏิรูประบบทรัพยากรและการเงินเพื่อการศึกษา เพื่อให้รฐั สามารถใช้เครอื่ งมือ
ทางการเงินในการกำกับการดำเนินงานของสถานศึกษาให้เป็นไปตามแผนการศึกษาแห่งชาติและนโยบาย
รัฐบาล

5. แผนปฏิบตั ริ าชการระยะ 3 ปี (พ.ศ. 2563 - 2565) ของกระทรวงศึกษาธกิ าร
กระทรวงศกึ ษาธิการ ได้จัดทำแผนปฏบิ ตั ริ าชการระยะ 3 ปี (พ.ศ. 2563 - 2565) ทส่ี อดคล้อง

เช่ือมโยงกบั ยุทธศาสตร์ชาติ พ.ศ. 2561 - 2580 แผนแมบ่ ทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ แผนการปฏริ ปู
ประเทศ แผนพฒั นาเศรษฐกิจและสงั คมแหง่ ชาติ ฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2560 - 2564) นโยบายและแผน
ระดบั ชาติ ว่าดว้ ยความม่นั คง เพือ่ ให้ทุกสว่ นราชการในสังกัดกระทรวงศึกษาธกิ าร ใช้เป็นกรอบแนวทางใน
การจัดทำแผนปฏิบตั ิราชการ ซ่งึ มีสาระสำคัญ 5 เรื่อง ไดแ้ ก่

25

1) การจดั การศกึ ษาเพ่ือความม่นั คงของสงั คมและประเทศชาติ
2) การผลติ และพฒั นากำลังคน การวจิ ัยและนวัตกรรมเพอ่ื สร้างขดี ความสามารถในการแขง่ ขัน
ของประเทศ
3) การพฒั นาศกั ยภาพคน ทุกชว่ งวัยและการสร้างสงั คมแห่งการเรียนรู้
4) การสร้างโอกาสความเสมอภาคและความเท่าเทียมทางการศกึ ษา
5) การพฒั นาประสทิ ธิภาพของระบบบรหิ ารจดั การศึกษา

6. นโยบายการจัดการศกึ ษาของกระทรวงศกึ ษาธิการ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 – 2565
กระทรวงศกึ ษาธกิ าร ตระหนักถงึ ความสำคัญของยุทธศาสตรช์ าตดิ า้ นการพฒั นาและเสริมสร้าง

ศกั ยภาพทรัพยากรมนษุ ย์ โดยเฉพาะแผนแมบ่ ทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ ประเดน็ การพฒั นาศักยภาพคน
ตลอดชว่ งชวี ิต การสรา้ งสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการพัฒนาและเสรมิ สรา้ งศักยภาพมนุษย์ การพฒั นาเด็ก
ตั้งแตช่ ่วงการตง้ั ครรภ์จนถงึ ปฐมวยั การพัฒนาช่วงวัยเรียน/วัยรุ่น การพฒั นาและยกระดับศกั ยภาพวยั
แรงงาน รวมถึงการสง่ เสริมศักยภาพวัยผูส้ ูงอายุ ประเด็นการพัฒนาการเรยี นรู้ทต่ี อบสนองต่อการ
เปลีย่ นแปลงในศตวรรษท่ี 21 และพหุปญั หาของมนษุ ย์ท่ีหลากลาย และประเด็นอ่นื ทเี่ กย่ี วข้อง จงึ กำหนด
นโยบายการจัดการศึกษาของกระทรวงศึกษาธิการ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 - 2565 ดงั น้ี

6.1 นโยบายการจัดการศกึ ษาของกระทรวงศึกษาธกิ าร ปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 - 2565
1) การปรับปรุงหลักสตู รและกระบวนการเรียนรใู้ ห้ทนั สมัยและทนั การเปลี่ยนแปลงของโลก

ในศตวรรษที่ 21 โดยมุ่งพัฒนาผู้เรยี นทุกระดับการศึกษาให้มีความรู้ ทกั ษะและคุณลักษณะที่เหมาะสมกับ
บรบิ ทสังคมไทย

2) การพฒั นาคุณภาพและประสทิ ธิภาพครูและอาจารย์ในระดบั การศกึ ษาข้นั พ้นื ฐาน
และอาชีวศกึ ษาให้มีสมรรถนะทางภาษาและดจิ ทิ ัล เพ่ือให้ครูและอาจารยไ์ ดร้ บั การพัฒนาให้มีสมรรถนะ
ทง้ั ดา้ นการจัดการเรียนรู้ด้วยภาษาและดิจิทลั สามารถปรับวธิ กี ารเรียนการสอนและการใช้ส่อื ทันสมัย
และมีความรับผดิ ชอบต่อผลลัพธท์ างการศึกษาทเี่ กิดกบั ผู้เรียน

3) การปฏิรูปการเรยี นรดู้ ว้ ยดิจทิ ลั ผา่ นแพลตฟอร์มการเรยี นรู้ดว้ ยดิจิทัลแหง่ ชาติ
(NDLP) และการสง่ เสรมิ การฝึกทักษะดิจทิ ลั ในชีวิตประจำวนั เพ่ือให้มหี น่วยงานรบั ผดิ ชอบพัฒนา
แพลตฟอรม์ การเรยี นรู้ดว้ ยดิจิทลั แห่งชาติ ท่ีสามารถนำไปใชใ้ นกระบวนการจัดการเรยี นรทู้ ่ที ันสมยั และ
เขา้ ถึงแหล่งเรียนรู้ได้อยา่ งกว้างขวางผา่ นระบบออนไลน์ และการนำฐานข้อมลู กลางทางการศกึ ษามาใช้
ประโยชน์ในการพฒั นาประสิทธิภาพการบรหิ ารและการจัดการศึกษา

4) การพฒั นาประสิทธิภาพการบรหิ ารและการจัดการศึกษา โดยการส่งเสริมสนบั สนนุ
สถานศกึ ษาให้มคี วามเป็นอสิ ระและคล่องตัว การกระจายอำนาจการบริหารและการจัดการศกึ ษาโดยใช้
จังหวัดเปน็ ฐาน โดยอาศยั อำนาจตามกฎหมายการศึกษาแห่งชาติทไ่ี ด้รบั การปรบั ปรงุ เพ่ือกำหนดให้มรี ะบบ
บรหิ ารและการจัดการ รวมถึงการจดั โครงสรา้ งหน่วยงานให้เอื้อต่อการจัดการเรียนการสอนให้มีคุณภาพ
สถานศึกษาใหม้ ีความเป็นอิสระและคล่องตัว การบริหารและการจัดการศึกษาโดยใช้จังหวัดเป็นฐาน
มีระบบการบรหิ าร งานบุคคลโดยยึดหลกั ธรรมาภิบาล

26

5) การปรบั ระบบการประเมินผลการศึกษาและการประกันคุณภาพ พร้อมจัดทดสอบวดั
ความรูแ้ ละทักษะทจ่ี ำเป็นในการศึกษาต่อระดับอุดมศกึ ษาทงั้ สายวชิ าการและสายวิชาชพี เพ่อื ให้ระบบ
การประเมินผลการศึกษาทุกระดับและระบบการประกันคุณภาพการศกึ ษา ไดร้ ับการปรับปรุงใหท้ นั สมยั
ตอบสนองผลลพั ธท์ างการศกึ ษาได้อยา่ งเหมาะสม

6) การจดั สรรและการกระจายทรพั ยากรให้ทว่ั ถึงทุกกลุ่มเป้าหมาย รวมถึงการระดม
ทรพั ยากรทางการศึกษาจากความร่วมมือทกุ ภาคสว่ น เพ่ือให้การจดั สรรทรัพยากรทางการศกึ ษามีความ
เปน็ ธรรมและสร้างโอกาสใหก้ ลุ่มเปา้ หมายได้เข้าถึงการศึกษาทีม่ ีคุณภาพทัดเทียมกล่มุ อ่ืน ๆ กระจาย
ทรัพยากรท้งั บคุ ลากรทางการศกึ ษา งบประมาณและสอื่ เทคโนโลยีได้อยา่ งทวั่ ถึง

7) การนำกรอบคณุ วฒุ แิ ห่งชาติ (NQF) และกรอบคณุ วุฒอิ า้ งอิงอาเซียน (AQRF)
สกู่ ารปฏบิ ตั ิเปน็ การผลติ และการพฒั นากำลังคนเพื่อการพัฒนาประเทศ โดยใชก้ รอบคุณวฒุ แิ ห่งชาติ
เชอ่ื มโยงระบบการศึกษาและการอาชีพ โดยใชก้ ลไกการเทียบโอนประสบการณ์ด้วยธนาคารหนว่ ยกติ และ
การจดั ทำมาตรฐานอาชีพในสาขาทสี่ ามารถอ้างอิงอาเซยี นได้

8) การพฒั นาเดก็ ปฐมวัยให้ไดร้ บั การดแู ลและพัฒนาก่อนเขา้ รับการศกึ ษาเพอ่ื พฒั นา
ร่างกาย จิตใจ วินัย อารมณ์ สงั คม และสติปญั ญาใหส้ มกบั วยั เพื่อเปน็ การขบั เคลื่อนแผนบูรณาการ
การพัฒนาเด็กปฐมวยั ตามพระราชบัญญัตกิ ารพัฒนาเด็กปฐมวัย พ.ศ. 2562 สู่การปฏบิ ัติเป็นรปู ธรรม
โดยหน่วยงานท่ีเก่ยี วข้องนำไปเปน็ กรอบในการจัดทำแผนปฏิบตั ิการเพ่ือพัฒนาเด็กปฐมวยั และมีการติดตาม
ความก้าวหน้าเป็นระยะ

9) การศึกษาเพ่ืออาชีพและสรา้ งขีดความสามารถในการแขง่ ขันของประเทศ เพื่อให้ผู้
จบการศึกษาระดบั ปรญิ ญาและอาชวี ศึกษามีอาชพี และรายได้ทีเ่ หมาะสมกับการดำรงชีพและคณุ ภาพชวี ิต
ท่ดี ี มีส่วนช่วยเพิม่ ขดี ความสามารถในการแขง่ ขนั ในเวทีโลกได้

10) การพลิกโฉมระบบการศกึ ษาไทยดว้ ยการนำนวตั กรรมและเทคโนโลยที ่ที นั สมยั มา
ใช้ในการจัดการศกึ ษาทกุ ระดบั การศกึ ษา เพื่อให้สถาบันการศกึ ษาทุกแห่งนำนวตั กรรมและเทคโนโลยที ่ี
ทนั สมยั มาใช้ในการจดั การศกึ ษาผ่านระบบดจิ ิทลั

11) การเพ่ิมโอกาสและการเข้าถึงการศกึ ษาทม่ี ีคุณภาพของกลมุ่ ผู้ด้อยโอกาสทาง
การศึกษาและผู้เรยี นที่มีความต้องการจำเปน็ พิเศษ เพ่ือเป็นการเพ่ิมโอกาสและการเขา้ ถงึ การศกึ ษาท่มี ี
คณุ ภาพของกล่มุ ผดู้ ้อยโอกาสทางการศกึ ษา และผเู้ รียนที่มีความตอ้ งการจำเปน็ พิเศษ

12) การจดั การศกึ ษาในระบบ นอกระบบ และตามอธั ยาศัย โดยยึดหลักการเรียนรู้
ตลอดชีวิตและการมีส่วนรว่ มของผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง เพื่อเพม่ิ โอกาสและการเขา้ ถึงการศกึ ษาทมี่ ีคุณภาพ
ของกลมุ่ ผดู้ ้อยโอกาสทางการศกึ ษาและผ้เู รียนท่ีมคี วามต้องการจำเปน็ พเิ ศษ

6.2 นโยบายระยะเร่งด่วน (Quick Win)
1) ความปลอดภยั ของผูเ้ รยี น โดยจดั ใหม้ ีรปู แบบ วธิ กี าร หรอื กระบวนการในการดูแล

ชว่ ยเหลอื นกั เรยี นเพื่อให้ผเู้ รียนเกิดการเรียนรู้อยา่ งมีคุณภาพ มคี วามสุข และไดร้ ับการปกป้องคมุ้ ครอง
ความปลอดภัยท้งั ดา้ นร่างกายและจิตใจ รวมถึงการสร้างทักษะให้ผเู้ รยี นมีความสามารถในการดแู ลตนเอง
จากภยั อันตรายต่าง ๆ ท่ามกลางสภาพแวดล้อมทางสังคม

2) หลกั สูตรฐานสมรรถนะ มงุ่ เนน้ การจัดการเรยี นร้ทู ห่ี ลากหลายโดยยึดความสามารถของ
ผ้เู รียนเป็นหลกั และพฒั นาผเู้ รยี นใหเ้ กดิ สมรรถนะท่ีต้องการ

27

3) ฐานข้อมลู Big Data มุ่งพฒั นาการจดั เก็บข้อมูลอยา่ งเป็นระบบและไม่ซำ้ ซอ้ น เพื่อให้
ไดข้ ้อมูลภาพรวมการศึกษาของประเทศทีม่ ีความครบถ้วน สมบูรณ์ ถกู ต้องเปน็ ปัจจบุ ัน และสามารถ
นำมาใชป้ ระโยชนไ์ ด้อย่างแท้จริง

4) ขับเคลอ่ื นศนู ย์ความเป็นเลิศทางการอาชีวศกึ ษา (Excellent Center) สนบั สนนุ การ
ดำเนนิ งานของศูนย์ความเปน็ เลศิ ทางการอาชีวศึกษา (Excellent Center) ตามความเลิศของแตล่ ะ
สถานศกึ ษาและตามบริบทของพื้นที่ สอดคลอ้ งกับความต้องการของประเทศทง้ั ในปจั จุบันและอนาคต
ตลอดจนมกี ารจดั การเรยี นการสอนดว้ ยเคร่ืองมือทีท่ นั สมัย สอดคลอ้ งกับเทคโนโลยีปัจจบุ ัน

5) พฒั นาทกั ษะทางอาชีพ ส่งเสรมิ การจัดการศกึ ษาทเี่ น้นพฒั นาทักษะอาชีพของผูเ้ รียน
เพื่อพัฒนาคุณภาพชวี ติ สรา้ งอาชีพและรายได้ที่เหมาะสม และเพ่ิมขีดความสามารถในการแข่งขันของ
ประเทศ

6) การศกึ ษาตลอดชีวิต การจัดการเรียนร้ตู ลอดชวี ติ สำหรับประชาชนทกุ ชว่ งวยั ใหม้ ี
คุณภาพและมาตรฐานประซาชนในแต่ละชว่ งวยั ไดร้ ับการศึกษาตามความต้องการอย่างมีมาตรฐาน
เหมาะสมและเต็มตามศักยภาพตงั้ แตว่ ยั เด็กจนถึงวัยชราและพัฒนาหลกั สูตรทเ่ี หมาะสมเพื่อเตรียมความ
พรอ้ มในการเข้าส่สู งั คมผสู้ งู วยั

7) การจัดการศกึ ษาสำหรับผู้ท่ีมีความต้องการจำเป็นพิเศษ สง่ เสริมการจัดการศกึ ษาใหผ้ ู้
ทีม่ คี วามต้องการจำเป็นพิเศษได้รบั การพฒั นาอย่างเตม็ ศกั ยภาพสามารถดำรงชวี ิตในสังคมอยา่ งมเี กียรติ
ศกั ดศิ์ รีเทา่ เทียมกับผู้อนื่ ในสงั คม สามารถชว่ ยเหลอื ตนเองและมสี ว่ นร่วมในการพัฒนาประเทศ

7. นโยบายสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาข้นั พ้ืนฐาน ปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 – 2565
สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาข้นั พื้นฐาน ไดก้ ำหนดนโยบาย ปีงบประมาณ พ.ศ. 2564

โดยยึดหลักของการพัฒนาที่ยั่งยืน และการสร้างความสามารถในการแขง่ ขันของประเทศในอนาคต
และมงุ่ สู่ Thailand 4.0 ทสี่ อดคล้องกบั แผนยทุ ธศาสตรช์ าติ พ.ศ. 2561 – 2580 และมีวิสยั ทัศน์
พันธกจิ เป้าประสงคแ์ ละนโยบาย ดงั น้ี

7.1 วิสัยทัศน์
สรา้ งคณุ ภาพทนุ มนุษย์ สสู่ งั คมอนาคตที่ยั่งยืน

7.2 พันธกิจ
1) จดั การศกึ ษาเพ่ือเสรมิ สร้างความมนั่ คงของสถาบนั หลักของชาติ และการปกครอง

ในระบอบประชาธปิ ไตย อันมีพระมหากษัตริยท์ รงเป็นประมุข
2) พัฒนาผูเ้ รียนใหม้ ีความสามารถและมีความเปน็ เลิศทางวิชาการ เพือ่ สรา้ งขีด

ความสามารถในการแข่งขัน
3) พัฒนาศักยภาพและคณุ ภาพผเู้ รียนใหม้ สี มรรถนะตามหลกั สตู รและคุณลกั ษณะใน

ศตวรรษท่ี 21
4) สร้างโอกาส ความเสมอภาค ลดความเหล่ือมลำ้ ใหผ้ ูเ้ รยี นทกุ คนไดร้ บั บรกิ ารทาง

การศกึ ษาอยา่ งทว่ั ถึงและเทา่ เทียม
5) พัฒนาผ้บู ริหาร ครู และบุคลากรการศึกษาใหเ้ ป็นมืออาชพี มีสมรรถนะดา้ นภาษาและ

การใชเ้ ทคโนโลยีดิจิทัล

28

6) จัดการศึกษาเพ่ือพฒั นาคุณภาพชีวิตท่ีเปน็ มิตรกบั สงิ่ แวดล้อม ยดึ หลักปรัชญาของ
เศรษฐกิจพอเพียงและเปา้ หมายการพัฒนาท่ยี ั่งยืน (Sustainable Development Goals: SDGs)

7) พฒั นาระบบการบริหารจัดการศึกษาทุกระดบั และจดั การศกึ ษา โดยใชเ้ ทคโนโลยดี ิจทิ ลั
(Digital Technology) เพื่อพัฒนามงุ่ สู่ Thailand 4.0

7.3 นโยบาย
7.3.1 ด้านความปลอดภัย
พฒั นาระบบและกลไกในการดูแลความปลอดภยั ให้กบั ผู้เรียน ครู และบุคลากร

ทางการศึกษาและสถานศึกษา จากภยั พิบัติและภยั คุกคามทุกรปู แบบ รวมถึงการจดั สภาพแวดล้อมทเ่ี อื้อ
ต่อการมสี ขุ ภาวะทด่ี สี ามารถปรบั ตัวตอ่ โรคอุบัติใหม่และโรคอุบตั ซิ ้ำ

7.3.2 ด้านโอกาส
1) สนับสนุน ใหเ้ ด็กปฐมวัยได้เขา้ เรียนทุกคน มีพัฒนาการทด่ี ี ท้ังทางร่างกาย จติ ใจ

วนิ ยั อารมณ์ สังคม และสติปัญญา ให้สมกับวยั
2) ดำเนนิ การ ให้เดก็ และเยาวชนได้รับการศึกษาจนจบการศึกษาขน้ั พืน้ ฐาน

อยา่ งมีคุณภาพ ตามมาตรฐาน วางรากฐานการศึกษาเพอื่ อาชีพ สามารถวเิ คราะห์ตนเองเพ่อื การศึกษาต่อ
และประกอบอาชพี ตรงตามศกั ยภาพและความถนดั ของตนเอง รวมทัง้ ส่งเสรมิ และพฒั นาผเู้ รียนทม่ี ี
ความสามารถพิเศษสูค่ วามเป็นเลิศ เพ่อื เพม่ิ ขีดความสามารถในการแขง่ ขนั ของประเทศ

3) พฒั นาระบบดูแลช่วยเหลอื เดก็ และเยาวชนทอี่ ยู่ในการศึกษาขั้นพืน้ ฐาน เพ่ือ
ป้องกนั ไม่ให้ออกจากระบบการศกึ ษา รวมทงั้ ชว่ ยเหลือเด็กตกหลน่ และเด็กออกกลางคันให้ไดร้ ับการศกึ ษา
ข้ันพ้นื ฐานอย่างเท่าเทยี มกัน

4) สง่ เสริมใหเ้ ดก็ พิการและผู้ดอ้ ยโอกาส ใหไ้ ดร้ ับโอกาสทางการศึกษาท่ีมีคุณภาพ
มีทกั ษะในการดำเนนิ ชีวติ มีพ้ืนฐานในการประกอบอาชีพ พึง่ ตนเองได้อย่างมีศักดิ์ศรีความเป็นมนษุ ย์
ตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง

7.3.3 ดา้ นคุณภาพ
1) ส่งเสริมการจัดการศึกษาใหผ้ ู้เรยี นมคี วามรู้ มีทักษะการเรยี นรแู้ ละทกั ษะที่

จำเปน็ ของโลกในศตวรรษท่ี 21 อย่างครบถ้วน เปน็ คนดี มีวินัย มีความรักในสถาบนั หลักของชาติ ยึดมัน่
การปกครองในระบอบประชาธปิ ไตยอันมีพระมหากษัตรยิ ท์ รงเปน็ ประมุข มีทัศนคตทิ ี่ถูกตอ้ งต่อบ้านเมือง

2) พฒั นาผู้เรียนใหม้ สี มรรถนะและทักษะดา้ นการอา่ น คณิตศาสตร์ การคิดขั้นสูง
นวัตกรรม วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีดจิ ิทลั และภาษาตา่ งประเทศ เพื่อเพิ่มขดี ความสามารถในการ
แข่งขนั และการเลอื กศึกษาต่อเพอ่ื การมีงานทำ

3) ปรับหลกั สูตรเป็นหลกั สูตรฐานสมรรถนะ ทเ่ี น้นการพัฒนาสมรรถนะหลกั ท่ี
จำเป็นในแต่ละระดบั จัดกระบวนการเรียนรู้แบบลงมือปฏบิ ัตจิ รงิ รวมทงั้ สง่ เสริมการจัดการเรยี นรทู้ ่สี รา้ ง
สมดุลทกุ ดา้ น ส่งเสริมการจดั การศกึ ษาเพอ่ื พัฒนาพหุปัญญา พัฒนาระบบการวดั และประเมนิ ผลผู้เรยี น
ทกุ ระดับ

4) พัฒนาครแู ละบคุ ลากรทางการศึกษา ใหเ้ ป็นครูยคุ ใหม่ มีศกั ยภาพในการจัดการ
เรยี นการสอนตามหลักสตู รฐานสมรรถนะ มีทักษะในการปฏิบัติหน้าทไ่ี ด้ดี มีความรคู้ วามสามารถในการใช้
เทคโนโลยดี ิจิทัล มกี ารพัฒนาตนเองทางวชิ าชพี อยา่ งต่อเน่ือง รวมทัง้ มีจิตวิญญาณความเปน็ ครู

29

7.3.4 ดา้ นประสทิ ธภิ าพ
1) พัฒนาระบบบรหิ ารจดั การโดยใช้พืน้ ทเี่ ปน็ ฐาน มนี วตั กรรมเป็นกลไกหลัก

ในการขบั เคล่ือน บนฐานข้อมูลสารสนเทศทถี่ ูกต้อง ทนั สมัย และการมสี ว่ นร่วมของทุกภาคสว่ น
2) พัฒนาโรงเรียนมธั ยมดสี มี่ ุมเมอื ง โรงเรยี นคุณภาพของชุมชน โรงเรียนขนาดเลก็

และโรงเรียนทส่ี ามารถดำรงอยู่ได้อยา่ งมคี ุณภาพ (Stand Alone) ใหม้ คี ณุ ภาพอยา่ งย่ังยืน สอดคลอ้ งกบั
บรบิ ทของพนื้ ที่

3) บริหารจัดการโรงเรียนขยายโอกาสทางการศึกษา ทีม่ จี ำนวนนกั เรยี นช้ัน
มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 1 - 3 น้อยกวา่ 20 คน ให้ได้รับการศึกษาอย่างมีคณุ ภาพ สอดคล้องกบั นโยบายโรงเรยี น
คณุ ภาพของชมุ ชน

4) สง่ เสริมการจดั การศกึ ษาที่มีคณุ ภาพในสถานศกึ ษาที่มีวตั ถปุ ระสงค์เฉพาะ
และสถานศึกษาทีต่ งั้ ในพืน้ ท่ลี ักษณะพิเศษ

5) สนับสนุนพน้ื ที่นวตั กรรมการศกึ ษาให้เปน็ ตน้ แบบการพฒั นานวตั กรรม
การศึกษาและการเพม่ิ ความคล่องตัวในการบรหิ ารและการจดั การศึกษาขั้นพ้นื ฐาน

6) เพิ่มประสิทธภิ าพการนิเทศ ตดิ ตาม และประเมนิ ผลการศึกษาขน้ั พื้นฐาน

8. นโยบายสำนักงานเขตพนื้ ท่กี ารศกึ ษามธั ยมศึกษากำแพงเพชร ปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 – 2565
8.1 วสิ ยั ทัศน์ (vision)
น้อมนำศาสตร์พระราชา สรา้ งคณุ ภาพการศึกษา สู่การพฒั นาท่ยี ่ังยืน
8.2 พันธกจิ (Mission)
1) จดั การศึกษาเพ่ือเสริมสร้างความม่ันคงของสถาบนั หลักของชาตแิ ละการปกครอง

ในระบอบ ประชาธปิ ไตย อันมพี ระมหากษัตริยท์ รงเปน็ ประมุข
2) พฒั นาศักยภาพผเู้ รียนให้มที ักษะการเรียนรใู้ นศตวรรษที่ 21 เพ่อื เพม่ิ ขดี ความสามารถ

ในการแข่งขัน
3) ส่งเสรมิ การพัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษาให้เปน็ มอื อาชพี ส่กู ารพฒั นาทยี่ ่งั ยืน
4) สร้างโอกาส ความเสมอภาคลดความเหล่ือมล้ำโดยใหผ้ เู้ รียนทุกคนไดร้ บั บรกิ าร

ทางการศกึ ษาอย่างท่วั ถึงและเทา่ เทียม
5) สง่ เสริมการจดั การศึกษาโดยนอ้ มนำศาสตรพ์ ระราชา เพ่ือพฒั นาคุณภาพชีวติ ทเี่ ป็นมิตร

กบั สิง่ แวดลอ้ ม
6) พฒั นาและส่งเสริมระบบบริหารจัดการแบบบรู ณาการ ใหท้ กุ ภาคสว่ นมีสว่ นรว่ ม

ในการจดั การศกึ ษา
8.3 เป้าประสงค์ (Goals)
1) ผู้เรียนมีทัศนคติท่ดี ตี ่อสถาบนั หลักของชาติและการปกครองในระบอบประชาธปิ ไตย

อันมี พระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข
2) ผ้เู รยี นเปน็ บคุ คลแห่งการเรยี นรู้ มีทกั ษะและคุณลักษณะในศตวรรษที่ 21 นำไปพัฒนา

ศักยภาพในการแขง่ ขนั สสู่ ากล
3) ครแู ละบคุ ลากรทางการศึกษา มีความเปน็ มืออาชพี ในมาตรฐานวิชาชีพ

30

4) ผู้เรียนได้รบั การศึกษาอย่างทวั่ ถงึ เทา่ เทยี ม และมคี ุณภาพตามหลักปรชั ญาของ
เศรษฐกจิ พอเพยี ง

5) สำนกั งานเขตพื้นท่ีการศึกษา และสถานศึกษา มีการขบั เคล่อื นนโยบายเพื่อสรา้ ง
จติ สำนกึ ทเ่ี ปน็ มติ รกับสง่ิ แวดลอ้ ม

6) สำนกั งานเขตพ้นื ที่การศึกษา และสถานศกึ ษา ยึดหลักธรรมมาภบิ าล ในระบบการ
บริหารจดั การ แบบบรู ณาการ โดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ (Big Data)

8.4 นโยบาย (Policy)
นโยบายท่ี ๑ การจดั การศึกษาเพือ่ ความมนั่ คงของสังคมและประเทศชาติ
นโยบายท่ี ๒ การจดั การศึกษาเพือ่ เพิ่มความสามารถในการแข่งขนั ของประเทศ
นโยบายที่ ๓ การพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพทรัพยากรมนุษย์
นโยบายท่ี ๔ การสรา้ งโอกาสในการเขา้ ถงึ บรกิ ารการศึกษาท่ีมคี ุณภาพมีมาตรฐานและลด

ความเหลื่อมล้ำทางการศกึ ษา
นโยบายที่ ๕ การจดั การศึกษาเพือ่ พฒั นาคุณภาพชวี ิตท่ีเป็นมิตรกบั สิง่ แวดลอ้ ม
นโยบายท่ี ๖ การปรบั สมดุลและพัฒนาระบบการบรหิ ารจดั การศึกษา

8.5 ค่านยิ มองคก์ ร MASTER
M = Moral การมีศีลธรรมและมคี วามซื่อสตั ย์
A = Accountability ความรับผดิ ชอบ
S = Save ประหยดั
T = Team การทำงานเป็นทีม
E = Efficiency ประสิทธภิ าพ
R = Relationship สมั พันธ์ภาพ

8.6 คติพจน์
ยม้ิ แย้มแจ่มใส รกั ใครป่ รองดอง สนองบริการ รวดเรว็ ประสาน พัฒนางานเป็นระบบ

8.7 ทศิ ทางพฒั นาคณุ ภาพการศึกษา ประจำปี 2564
8.7.1 นโยบาย
1) สถานศึกษาปลอดภยั
2) ระบบการดูแลชว่ ยเหลอื นักเรยี นมีความเขม้ แข็ง ให้ได้มาตรฐานทกุ โรงเรียน
3) ยกระดับคุณภาพการศึกษาขัน้ พน้ื ฐาน
4) พฒั นาผู้บรหิ าร ครู และบุคลากรทางการศึกษาใหม้ ีศกั ยภาพตามมาตรฐานวชิ าชีพ
5) พฒั นาระบบสารสนเทศและ ICT
6) พฒั นาระบบการบรหิ ารจัดการ 4 สร้าง
- สรา้ งเด็กดีมีคุณธรรม ใหบ้ า้ นเมอื ง
- สรา้ งครดู ี ให้ห้องเรียน
- สร้างผ้บู ริหารดี ใหโ้ รงเรยี น
- สรา้ งโรงเรยี นดี ใหช้ มุ ชน

31

8.7.2 จุดเนน้
1) พฒั นาระบบการดแู ลความปลอดภัยให้กบั ผ้เู รยี น ครู และบุคลากรทางการศกึ ษา
2) พัฒนาระบบการดูแลช่วยเหลอื นักเรียนเข้มแข็ง นักเรยี นไดร้ บั การศึกษาขน้ั พ้ืนฐาน

อยา่ งทัว่ ถึง
3) นกั เรยี นเป็นคนดี มวี ินยั มีคุณธรรมจริยธรรม เคารพรักในสถาบันหลักของชาติ
4) น้อมนำศาสตร์พระราชาในหลวงรัชกาลที่ 9 และพระบรมราโชบายด้านการศึกษา

ในหลวงรชั กาลท่ี 10 สู่การพัฒนาการศึกษาอยา่ งยั่งยนื
5) ผู้เรยี นมสี มรรถนะและทักษะท่จี ำเปน็ ในศตวรรษท่ี 21
6) ยกระดบั ผลการทดสอบการศกึ ษาระดบั ชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ใหส้ ูงขึ้น
7) ผบู้ ริหาร ครู และบคุ ลากรทางการศึกษาได้รับการพัฒนาสมรรถนะสมู่ ืออาชพี
8) สถานศึกษานำนวัตกรรม เทคโนโลยี แพลตฟอร์มดิจทิ ัลมาใชเ้ พื่อการศึกษา
9) พฒั นาระบบการบรหิ ารจัดการใหม้ ีประสิทธิภาพโดยยึดหลกั ธรรมาภิบาล

32

บทที่ 3

บทวเิ คราะห์

1. ผลการวิเคราะหส์ ภาพแวดลอ้ ม
1.1 ผลการวเิ คราะหส์ ภาพแวดลอ้ มภายใน
จากการวิเคราะหส์ ภาพแวดล้อมภายใน โดยพิจารณาจากปัจจัยทางดา้ นโครงสร้างและ

นโยบายของโรงเรียน การให้บริการและคณุ ลกั ษณะของผู้เรียน บุคลากร การเงนิ วัสดอุ ุปกรณ์
และการบริการจัดการ สรปุ ผลไดด้ งั นี้

1.1.1 ด้านโครงสรา้ งและนโยบายของโรงเรียน (S1)

ตาราง 7 แสดงผลการวิเคราะห์ด้านโครงสร้างและนโยบายของโรงเรยี น (S1)

จุดแข็ง (S) จุดอ่อน (W)

1) โรงเรียนมีวิสยั ทัศน์/พันธกิจ/เป้าประสงค/์ 1) ขาดระบบตดิ ตาม ประเมินผลที่เป็นระบบ

แผน กลยทุ ธ์และแผนปฏิบัติการจากการมสี ว่ นร่วม และไม่มีความต่อเนื่อง

ของบุคคลทุกฝ่าย 2) มกี ารเปลี่ยนแปลงโครงสรา้ งงาน และ

2) โรงเรียนมีโครงสรา้ งการบริหารงานที่ หัวหน้างานบ่อยครัง้ ทำให้การทำงานไมต่ อ่ เนื่อง

ชัดเจน ตอบสนองนโยบายของหนว่ ยงานตน้ สงั กดั 3) การปฏบิ ตั ิงานจริง ไม่เนน้ วงจรคุณภาพ

และสามารถปฏบิ ัติได้ประสบผลสำเรจ็ PDCA

3) โรงเรยี นเปน็ สถานศกึ ษาพอเพยี ง

1.1.2 ด้านการให้บริการและคุณลกั ษณะของผู้เรยี น (S2)

ตาราง 8 แสดงผลการวิเคราะห์ด้านการให้บริการและคุณลักษณะของผู้เรียน (S2)

จุดแข็ง (S) จดุ อ่อน (W)

1) โรงเรยี นจดั กจิ กรรมส่งเสรมิ การเรยี นรู้ของ 1) การบรกิ ารนำ้ ดมื่ ในโรงเรียนยงั ไม่ได้

นักเรยี นได้อย่างหลากหลาย นกั เรียนไดร้ บั การ คุณภาพและไมเ่ พยี งพอ

พัฒนาเต็มศกั ยภาพ 2) ขาดการนำเอาข้อเสนอแนะจากกจิ กรรม

2) โรงเรยี นมคี ูม่ อื นักเรียนที่ชีแ้ จงแนวปฏบิ ตั ทิ ี่ ระบบดแู ลชว่ ยเหลือนักเรยี นและการประชุม

ชัดเจน ผ้ปู กครองมาใช้ให้เกดิ ประโยชน์เพ่ือพัฒนาการ

3) โรงเรยี นมกี ารประชมุ ผปู้ กครองนักเรียน ปฏบิ ตั งิ าน

สมำ่ เสมอ

4) โรงเรียนดำเนินงานตามนโยบายการศึกษา

อย่างต่อเนือ่ ง

33

1.1.3 ด้านบุคลากร (M1)

ตาราง 9 แสดงผลการวิเคราะห์ดา้ นบุคลากร (M1)

จดุ แข็ง (S) จุดออ่ น (W)

1) บคุ ลากรมคี วามรูค้ วามสามารถและไดร้ ับ 1) ครบู างกลุ่มสาระมีไม่เพยี งพอทำใหม้ ี
การพฒั นาอยา่ งต่อเน่ือง จำนวนคาบสอนมากนอ้ ยแตกตา่ งกัน

2) มคี รูผสู้ อนตามสาระการเรยี นร้ทู ก่ี ำหนด 2) บุคลากรขาดความตระหนกั และความ
ตามหลกั สูตร รว่ มมือในการปฏบิ ัตหิ น้าท่ีที่ไดร้ บั มอบหมาย

3) โรงเรียนมคี ณะกรรมการสถานศกึ ษาขัน้ 3) ครจู ัดทำและพัฒนาส่ือใช้ในการจดั การ
พื้นฐานและกรรมการเครือข่ายผูป้ กครองนักเรยี น เรยี นรนู้ อ้ ย

1.1.4 ด้านการเงนิ (M2)

ตาราง 10 แสดงผลการวเิ คราะห์ดา้ นการเงนิ (M2)

จุดแขง็ (S) จดุ ออ่ น (W)

1) โรงเรยี นมกี ารจัดสรรงบประมาณตาม 1) การระดมทนุ จากองค์กรเอกชนมนี อ้ ย/ขาด
แผนงานโครงการอยา่ งเปน็ ระบบ ความต่อเน่ือง

2) โรงเรียนมีระบบการบรหิ ารงบประมาณ 2) บุคลากรขาดความรูเ้ ร่ืองการเงิน
อย่างมปี ระสิทธิภาพส่งผลให้การเบิกจา่ ยคลอ่ งตวั 3) โครงการตา่ ง ๆ คดั ลอกจากปีการศกึ ษา
และมคี วามโปร่งใสต่อการตรวจสอบ เดิม ไม่ได้เขยี นเพ่ือแกป้ ัญหาอยา่ งแทจ้ ริง

3) โรงเรยี นส่งเสริมสนับสนุนให้ชุมชนมีสว่ น
ร่วมในการจัดการศึกษา และการระดมทรพั ยากร
เพ่อื พฒั นาการจดั การศึกษาของโรงเรียน

1.1.5 ดา้ นวสั ดุอุปกรณ์ (M3)

ตาราง 11 แสดงผลการวิเคราะห์ด้านวสั ดุอุปกรณ์ (M3)

จดุ แขง็ (S) จุดอ่อน (W)

1) โรงเรียนมีความพร้อมดา้ นสถานทีใ่ หบ้ ริการ 1) อุปกรณ์/วสั ดบุ างอย่างเก่าและชำรุดไม่ได้

แก่ชุมชน รับการซ่อมบำรงุ ให้ใชง้ านได้

2) โรงเรยี นมีเครอื ข่ายอินเทอรเ์ นต็ 2) หอ้ งเรยี น/โต๊ะ/เกา้ อ้ีมีไมเ่ พียงพอต่อจำนวน

มีการพัฒนาเวบ็ ไซต์ของโรงเรียนเปน็ เครอื่ งมอื นกั เรียน/ชำรดุ เยอะไม่ได้รับการซ่อมแซม

ตดิ ตอ่ ส่ือสาร

34

1.1.6 ดา้ นการบรหิ ารจดั การ (M4)

ตาราง 12 แสดงผลการวเิ คราะห์ด้านการบริหารจดั การ (M4)

จดุ แข็ง (S) จุดออ่ น (W)

1) โรงเรยี นสง่ เสรมิ สนบั สนุนให้ครไู ด้จดั ทำ 1) การปลูกฝังและพฒั นาส่งเสริมใหผ้ ู้เรียน
ผลงานทางวชิ าการ มีจิตสาธารณะยงั ไม่ชดั เจน

2) โรงเรียนประชาสมั พันธ์และเผยแพร่ผลการ 2) ระบบการนเิ ทศ กำกบั ติดตามและ
ดำเนินงานตอ่ หนว่ ยงาน/สาธารณะอย่างต่อเน่ือง ประเมนิ ผล การจัดการศึกษา ในระดับโรงเรียนยัง
ไมต่ ่อเนอ่ื ง
3) โรงเรียนเปดิ โอกาสใหช้ ุมชนและบคุ ลากร
ทุกฝ่ายมีส่วนร่วมในการบรหิ ารจัดการ 3) ระบบและกระบวนการบรหิ ารจัดการของ
โรงเรยี นไม่ชัดเจนและไม่เปน็ เอกภาพเน่ืองจาก
โรงเรียนไม่มกี ารกำหนดมาตรฐานการปฏิบัตงิ าน
ของครู ในฝา่ ย/กลมุ่ สาระ/งาน ทำใหก้ ารวิเคราะห์
ภาระงานของครูไม่ชดั เจน และไม่มกี ารประเมินผล
การปฏบิ ัตงิ านของครูอย่างต่อเนอ่ื ง

1.2 ผลการวิเคราะห์สภาพแวดล้อมภายนอก
จากการวิเคราะหส์ ภาพแวดล้อมภายนอก โดยพิจารณาจากปัจจยั ทางดา้ นสงั คมและ

วฒั นธรรม เทคโนโลยี เศรษฐกจิ การเมืองและกฎหมาย สรุปผลได้ดังน้ี
1.2.1 ดา้ นสังคมและวฒั นธรรม (S)

ตาราง 13 แสดงผลการวิเคราะห์ดา้ นสงั คมและวฒั นธรรม (S)

โอกาส (O) อปุ สรรค (T)

1) ชมุ ชนมีแหลง่ เรียนรู้และภมู ปิ ัญญา 1) การประกอบอาชีพ/การยา้ ยถิ่นของ
ทหี่ ลากหลายสง่ เสรมิ ให้นกั เรียนได้เรียนรจู้ าก ผปู้ กครองมผี ลตอ่ การอบรมดูแลนกั เรยี นและ
ประสบการณ์จริง การประสานงานระหวา่ งโรงเรียนกบั ผู้ปกครอง

2) โรงเรยี นมีเครือขา่ ยผปู้ กครองนักเรยี น 2) ค่านยิ มทางสังคมท่ีเปลย่ี นไปส่งผล
ท่ีให้การสนบั สนนุ ในการพฒั นาโรงเรยี น ต่อการเลยี้ งดูบตุ รหลานเปน็ อุปสรรคในการพัฒนา
คณุ ลักษณะอันพึงประสงค์ ทำใหน้ กั เรยี นมี
3) ชุมชนมีความเขม้ แข็งทางวฒั นธรรม พฤติกรรมเสยี่ งทางเพศมากขึ้น
ประเพณีโดยใชห้ ลักศาสนายึดเหนีย่ วจติ ใจ
3) ผู้ปกครองบางกลุ่มยังมีทศั นคตทิ ไี่ มด่ แี ละ
ไม่มีความเช่อื ม่ันในการจัดการศกึ ษาของโรงเรียน
จึงส่งบตุ รหลานให้เข้าเรยี นในโรงเรยี นอ่นื

35

1.2.2 ดา้ นเทคโนโลยี (T)

ตาราง 14 แสดงผลการวิเคราะห์ด้านเทคโนโลยี (T)

โอกาส (O) อปุ สรรค (T)

1) การสอื่ สารและเทคโนโลยที ีท่ นั สมยั ส่งผล 1) เทคโนโลยีที่หลากหลายย่วั ยใุ ห้นักเรียนใช้
ให้โรงเรยี นมีความคล่องตวั ในการประสานงานกบั จา่ ยอยา่ งฟุม่ เฟอื ย สนใจการเรียนนอ้ ยลง สง่ ผล
ชุมชน กระทบต่อการเรยี นและการปกครองของโรงเรยี น

2) ความกา้ วหนา้ ทางเทคโนโลยชี ว่ ยสง่ เสริม 2) แหลง่ บรกิ ารด้านเทคโนโลยีและ
สนับสนุนการเรียนการสอน ใช้เป็นแหลง่ เรียนรู้ อินเทอร์เนต็ ขาดการติดตามควบคุมดูแลจาก
ของครแู ละนักเรยี น ตลอดจนเป็นเครือ่ งมอื หนว่ ยงานทร่ี ับผดิ ชอบอย่างจริงจังทำใหน้ ักเรียนใช้
ในการบริหารจัดการในโรงเรียน เทคโนโลยเี รยี นรใู้ นสิ่งทไ่ี ม่เหมาะสมถกู ต้อง เชน่
ตดิ เกม เปน็ ต้น

3) คอมพวิ เตอร์และอนิ เตอรเ์ น็ตในโรงเรียนมี
มากแตย่ ังนำมาใช้ไม่คุ้มค่าและท่ีชำรุดเสียหาย
ไมไ่ ด้รบั การซ่อมบำรุงให้ใช้ได้ทันเวลา

1.2.3 ด้านเศรษฐกจิ (E)

ตาราง 15 แสดงผลการวิเคราะห์ด้านเศรษฐกจิ (E)

โอกาส (O) อปุ สรรค (T)

1) ชุมชนนำหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจ 1) ผูป้ กครองมรี ายได้ไม่เพียงพอกับคา่ ใชจ้ ่าย
พอเพียงมาเปน็ แนวทางในการดำเนินชีวติ ทำให้ จงึ ตอ้ งไปประกอบอาชพี ต่างถ่ินทำให้นักเรียนขาด
นักเรียนมโี อกาสไดเ้ รียนรจู้ ากท้องถ่นิ และมรี ายได้ การดูแลเอาใจใส่ ทำใหน้ ักเรยี นขาดการอบรมดูแล
เสรมิ ระหว่างเรียน อย่างใกล้ชดิ ส่งผลตอ่ พฤตกิ รรมของนักเรียน

2) โรงเรียนไดน้ ้อมนำ “ปรัชญาของเศรษฐกจิ 2) ผูป้ กครองมรี ายไดไ้ ม่เพยี งพอกับค่าใช้จา่ ย
พอเพยี ง” มาเปน็ แนวทางปฏบิ ตั ิในการพฒั นา ส่งผลกระทบต่อโอกาสทางการศึกษาของนกั เรียน
โรงเรยี น
3) ระบบการศกึ ษาทเ่ี นน้ การเรยี นรเู้ น้น
3) ชุมชนพรอ้ มสนบั สนุนและมีสว่ นร่วมระดม แยกสว่ น ไม่เรยี นรูส้ ิง่ ที่อย่ใู กลต้ ัว มองขา้ ม
ทรัพยากรในการพัฒนาโรงเรียน ภมู ปิ ญั ญาท้องถ่นิ เปน็ อปุ สรรคต่อการครองชพี และ
การพงึ่ ตนเองของนักเรียน

36

1.2.4 ด้านการเมืองและกฎหมาย (P)

ตาราง 16 แสดงผลการวเิ คราะห์ด้านการเมืองและกฎหมาย (P)

โอกาส (O) อุปสรรค (T)

1) พรบ.การศกึ ษาแห่งชาติ เปดิ โอกาสให้ 1) การเมอื งขาดเสถยี รภาพ นโยบายการ

ทอ้ งถิน่ เขา้ มามสี ว่ นรว่ มในการจดั การศึกษามากขนึ้ บริหารเปลี่ยนบ่อยส่งผลต่อการบรหิ ารจดั การเชิง

2) มีกฎหมายและ พรบ. ทก่ี ำหนดโครงสร้าง นโยบายในโรงเรียน

การบรหิ าร/นโยบาย/ระเบยี บทสี่ ่งเสริมการจัด 2) นโยบายการจดั สรรงบประมาณรายหัวของ

การศกึ ษาที่ชดั เจน รฐั บาลไม่เพียงพอต่อการบริหารจัดการภายใน

3) นโยบายการปฏิรปู การศึกษา ทำให้นักเรียน โรงเรียน

มีโอกาสได้รับการพัฒนาตนเองเตม็ ตามศกั ยภาพ 3) การเมอื งในระดับชาติ และระดบั ทอ้ งถนิ่

แทรกแซงการจดั การศึกษาของโรงเรียน

2. ผลการประเมนิ สถานภาพ
จากการวเิ คราะหส์ ภาพแวดล้อมภายในและสภาพแวดลอ้ มภายนอก ปรากฏว่า โรงเรยี นพิไกรวิทยา

มจี ดุ แขง็ จากสภาพแวดล้อมภายในมากกว่าจุดอ่อนแต่มีอุปสรรคจากภายนอกมากกว่าโอกาส ดังนัน้ สถานะ
ของโรงเรยี นเมื่อไดท้ ำการวิเคราะหแ์ ล้วอยู่ในลักษณะที่ “ไมเ่ อือ้ แต่แขง็ ” (CASH COWS) ซงึ่ เปน็ ภาพ
รูปไข่ ได้ดังน้ี

O โอกาส

STARS Question
marks

S จดุ แขง็ 0.64 W จดุ อ่อน
CASH COWS
-0.45
DOG

T อปุ สรรค
ภาพ 12 แสดงกราฟผลการวิเคราะห์สภาพแวดลอ้ ม (SWOT) โรงเรียนพิไกรวิทยา

37

3. แนวทางการจัดการศกึ ษาโรงเรียนพิไกรวิทยา
3.1 วิสยั ทศั น์ (Vision)
โรงเรียนพิไกรวทิ ยา เปน็ สถานศกึ ษาทีส่ ร้างคนดี มีคณุ ภาพ โดยน้อมนำศาสตร์พระราชา

สู่การพฒั นาท่ยี ั่งยนื ภายในปี 2565
3.2 พนั ธกจิ (Mission)
1) สง่ เสรมิ สนบั สนนุ ครแู ละบุคลากรทางการศึกษาให้มีคุณธรรม และคุณภาพตามมาตรฐาน

วชิ าชพี พัฒนาตนเองในการจัดการเรียนรู้
2) พัฒนานกั เรยี นให้มีผลสมั ฤทธิท์ างการเรยี น ทกั ษะวิชาการ มีความสามารถด้านการใช้

เทคโนโลยี และการพัฒนานวตั กรรม
3) พฒั นานกั เรยี นให้มคี ุณธรรม จริยธรรม และคา่ นยิ มทพี่ ึงประสงค์ยดึ มนั่ ในสถาบันชาติ

ศาสนา พระมหากษตั ริย์ และการปกครองในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตรยิ ท์ รงเป็นประมุข
4) ส่งเสรมิ สนับสนุนให้นกั เรยี นมที กั ษะชวี ิต ทกั ษะอาชีพ และมีภมู คิ ุ้มกนั ในการดำรงชีวิต

นอ้ มนำศาสตรพ์ ระราชาในการดำเนินชีวิต สู่การพัฒนาที่ย่ังยืน
5) พฒั นาระบบบริหารจดั การคณุ ภาพสถานศกึ ษา

3.3 เป้าประสงค์ (Target)
1) ครูและบคุ ลากรทางการศึกษามีคุณธรรม และคณุ ภาพตามมาตรฐานวิชาชีพ พฒั นา

ตนเองในการจดั การเรยี นรู้
2) นกั เรียนมผี ลสมั ฤทธท์ิ างการเรยี น ทักษะวิชาการ มีความสามารถด้านการใชเ้ ทคโนโลยี

และการพฒั นานวัตกรรม
3) นักเรียนมคี ุณธรรม จริยธรรม และคา่ นิยมท่ีพงึ ประสงค์ยดึ ม่นั ในสถาบนั ชาติ ศาสนา

พระมหากษัตริย์ และการปกครองในระบอบประชาธปิ ไตยอันมีพระมหากษัตรยิ ท์ รงเปน็ ประมขุ
4) นักเรยี นมีทักษะชวี ิต ทกั ษะอาชีพ และมภี มู ิคุ้มกันในการดำรงชวี ติ นอ้ มนำศาสตร์

พระราชาในการดำเนินชีวติ สกู่ ารพัฒนาทย่ี ัง่ ยืน
5) โรงเรยี นมรี ะบบบริหารจัดการคณุ ภาพ

3.4 ยุทธศาสตรก์ ารพฒั นาโรงเรยี น
ยุทธศาสตรท์ ี่ 1 การจัดการศึกษาเพือ่ ความม่ันคง
ยทุ ธศาสตร์ที่ 2 พัฒนาคุณภาพผูเ้ รียน และสง่ เสริมการจดั การศึกษาเพ่ือสร้างขีด
ความสามารถในการแข่งขนั
ยุทธศาสตร์ที่ 3 สง่ เสริม สนบั สนุนการพฒั นาครแู ละบุคลากรทางการศึกษา
ยทุ ธศาสตร์ที่ 4 ขยายโอกาสการเขา้ ถึงบรกิ ารทางการศึกษาและการเรียนรู้
ยทุ ธศาสตร์ที่ 5 จัดการศึกษาเพือ่ เสริมสร้างคณุ ภาพชวี ิตท่ีเป็นมติ รกบั สง่ิ แวดล้อม
ยทุ ธศาสตร์ท่ี 6 พัฒนาระบบบริหารจดั การและส่งเสริมการมสี ่วนร่วมในการจัดการศึกษา

38

3.5 กลยทุ ธใ์ นการพฒั นาโรงเรยี น
กลยทุ ธท์ ี่ 1 การพัฒนาครใู หม้ ีศกั ยภาพในการจัดกจิ กรรมการเรียนการสอน
เสริมสรา้ งศักยภาพครูและบุคลากรทุกระดบั ใหเ้ ปน็ มอื อาชีพ มีภาวะผนู้ ำ มีทักษะใน

การปฏิบัตงิ าน สามารถจดั กระบวนการเรยี นรู้ และพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาอยา่ งมีประสิทธิภาพ
มวี ัฒนธรรมและค่านิยมท่ดี ี มีการจดั การความรู้ (Knowledge Management ) และเป็นองค์กร
แห่งการเรียนรู้อย่างแท้จริง

กลยทุ ธ์ที่ 2 การยกระดบั ผลสัมฤทธิท์ างการเรยี น
พัฒนานักเรียนให้มีความรู้ ความสามารถตามความถนัดและความสนใจ มีความสามารถ
ในการใช้ภาษาเพือ่ การสื่อสาร มคี วามสามารถในการคิด วเิ คราะห์ วจิ ยั แกป้ ญั หา การใช้ทักษะชวี ิต การใช้
เทคโนโลยแี ละมคี ุณลกั ษณะที่พึงประสงค์
กลยทุ ธท์ ่ี 3 การพัฒนาคุณลกั ษณะของผูเ้ รยี นให้มวี นิ ัย คุณธรรม จรยิ ธรรม
พฒั นานักเรยี นใหเ้ ป็นคนดีมีคุณธรรมตามแนววิถีพุทธ มจี ติ สำนึกในการอนุรกั ษธ์ รรมชาติ
ภมู ปิ ญั ญาท้องถ่ิน มีความเปน็ ไทย สบื สานวิถีวฒั นธรรมไทย และเปน็ พลเมืองทีด่ ีของสงั คม
กลยุทธท์ ี่ 4 การพฒั นาทักษะชวี ติ และทักษะอาชีพ
ส่งเสรมิ ใหน้ ักเรียนในเขตพน้ื ทบ่ี ริการได้รับการศกึ ษาอยา่ งท่ัวถงึ และมคี ุณภาพ มีพฤติกรรม
ท่ีดี หา่ งไกลยาเสพติด โดยเน้นการดแู ล พฒั นานักเรียนเป็นรายบคุ คล และปฏิบัตติ นตามหลกั ปรัชญาของ
เศรษฐกจิ พอเพยี ง
กลยุทธท์ ่ี 5 การบรหิ ารจดั การโรงเรียนคณุ ภาพ
บริหารจดั การอยา่ งมีประสทิ ธิภาพ มีความคล่องตัวโดยการปรับโครงสร้าง ลดขนั้ ตอน
การปฏิบตั งิ าน กระจายอำนาจและมอบอำนาจทกุ ระดบั พฒั นาแหล่งเรยี นรู้และโครงสรา้ งพื้นฐาน
ใหเ้ อือ้ ตอ่ การเรียนรูแ้ ละบรหิ ารจัดการให้เกิดประโยชนส์ งู สดุ แก่ผู้เรยี น สง่ เสริมการสร้างเครือข่ายทาง
การศกึ ษา การมสี ่วนร่วมของชมุ ชน องค์กร ผปู้ กครองในรูปแบบของผู้อุปถมั ภ์ และผรู้ ่วมคดิ รว่ มวางแผน
รว่ มปฏิบัติ รว่ มสง่ เสรมิ และพัฒนา
3.5.1 การขบั เคล่ือนกลยุทธ์

เพอ่ื ให้การดำเนนิ งานตามกลยทุ ธท์ ่ีกำหนดไว้ บรรลวุ ิสยั ทศั น์และพันธกจิ ตาม
เจตนารมณข์ องโรงเรยี น จึงได้กำหนดรูปแบบและแนวทางในการขับเคล่ือนกลยุทธส์ ่กู ารปฏิบตั อิ ย่างเป็น
รูปธรรมในทกุ ระดับ ดังนี้

1) แนวคิดในการขับเคลื่อนกลยทุ ธส์ กู่ ารปฏิบตั ิ ไดน้ ำแนวคิดในการกำหนด
ผลสำเรจ็ อย่างสมดุลรอบด้าน (Balanced Scorecard) มากำหนดมุมมองที่เกี่ยวข้องกับผลสำเรจ็ ของการ
ดำเนนิ งาน 6 ด้าน คือ

1.1) มมุ มองดา้ นนกั เรยี น (Student Perspective) เปน็ การพิจารณาคณุ ภาพ
ของผู้เรียนความตอ้ งการของผ้เู รียนทีต่ อ้ งการในทุกมติ ิทั้งในด้านคณุ ลกั ษณะตามวสิ ัยทัศน์ หลักสตู ร
แกนกลางการศึกษาขนั้ พน้ื ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 หลักสตู รสถานศึกษาและคุณลักษณะที่ต้องการของ
ชุมชน เพื่อใหเ้ กิดความพงึ พอใจแก่ผูม้ สี ่วนได้สว่ นเสีย

39

1.2) มุมมองดา้ นผูป้ กครองและชุมชน เป็นการพิจารณาถงึ ความพึงพอใจ
ความเขา้ ใจและการใหก้ ารสนับสนนุ และการมีส่วนรว่ มกบั การจัดการศกึ ษาของโรงเรยี น

1.3) มมุ มองด้านกระบวนการในโรงเรียน (Internal Process Perspective)
เปน็ การพิจารณาผลสำเรจ็ และแนวทางในการพัฒนาประสิทธิภาพ คณุ ภาพของกระบวนการบรหิ ารจดั การ
และการพัฒนาหลกั สตู ร กระบวนการเรียนการสอน เพื่อพัฒนาคุณภาพผเู้ รยี นอยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ

1.4) มุมมองด้านองค์กรแห่งการเรียนรู้ (Learning and Growth
Perspective) เปน็ การพิจารณาศกั ยภาพและทักษะของครู ผู้บริหารและบคุ ลากรท่ีเกยี่ วข้องกบั การศึกษา
ให้ได้รบั การพัฒนาตามท่ีคาดหวงั เพ่ือให้เปน็ บุคลากรมืออาชพี และมีภาวะผนู้ ำท้ังโรงเรียน

1.5) มมุ มองดา้ นโครงสร้างพืน้ ฐาน (Infar Structure Perspective) เป็นการ
พิจารณาถึงโครงสร้างพื้นฐานทางการจัดการศึกษาท่ีทนั สมัย สะดวกและเพียงพอกบั ความต้องการ เอ้ือต่อ
การบริหารจดั การและการจัดการพัฒนาผู้เรียน

1.6) มมุ มองด้านงบประมาณและทรัพยากร (Budget and Resource
Perspective) เปน็ การพจิ ารณาปจั จัยส่งเสรมิ ในการดำเนินงานประสบความสำเร็จตามทีค่ าดหวงั ในดา้ น
งบประมาณและทรัพยากร โดยคำนงึ ถงึ ผู้อุปถัมภ์ แหล่งสนับสนนุ อัตรากำลงั คา่ ใช้จา่ ย ความคมุ้ คา่ และ
การใช้ทรพั ยากรและงบประมาณท่เี หมาะสมและใช้อย่างมีประสทิ ธิภาพ

2) กำหนดวัตถุประสงคเ์ ชิงกลยทุ ธ์ (Strategic Objectives) ทจี่ ะนำไปสู่
ความสำเรจ็ โดยคำนึงถึงความครอบคลุมและสมดลุ ผ่านมมุ มองในด้านตา่ ง ๆ

3) จดั ทำแผนท่กี ลยทุ ธ์ (Strategy Map) เพ่อื ตรวจสอบระดับความสำคัญ
และความเหมาะสมของวตั ถปุ ระสงคเ์ ชงิ กลยทุ ธ์ท่ีกำหนดไว้ ผ่านมมุ มองดา้ นต่าง ๆ ว่ามีความสมั พันธ์
เปน็ เหตุเป็นผล เช่อื มโยงไปสู่ความสำเรจ็ ได้อยา่ งไร เพ่ือใช้เปน็ เครื่องมือในการบริหารจัดการ

4) จดั ทำกรอบกลยุทธ์ (Strategic Framework) โดยการนำวัตถปุ ระสงค์
เชิงกลยุทธ์มากำหนดตวั ชวี้ ัด (Measures) เป้าหมาย (Targets) และกลยทุ ธ์ริเริม่ (Strategic Initiatives)

ภาพ 13 แสดงรปู แบบการกำหนดผลสำเรจ็ อย่างสมดลุ รอบดา้ น (Balanced Scorecard) 40


Click to View FlipBook Version