The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

ปักสดึงกลึงไหม (เครื่องทอ)

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by sorn65210, 2021-03-30 02:42:38

ปักสดึงกลึงไหม (เครื่องทอ)

ปักสดึงกลึงไหม (เครื่องทอ)

ปกั สดงึ กรงึ ไหม

งานปกั โบราณท่ีใกลส้ ญู หาย

งานปักสะดึงกรึงไหม เปน็ งานศิลปหตั ถกรรมไทยแขนงหนง่ึ ทแี่ สดงถงึ หน้าท่ีของสตรใี นสังคมไทยในสมัยก่อน ทถ่ี ือวา่
สตรีเปน็ ช้างเท้าหลงั จะต้องอยกู่ บั เหยา้ เฝ้ากบั เรือน มหี นา้ ท่ใี นการทำ�งานบา้ นงานเรอื น เช่น ดูแลบา้ น ท�ำ ความสะอาด ทำ�อาหาร
และดูแลงานเย็บ ปัก ถัก รอ้ ย ในครอบครวั เปรียบเสมอื นบทบาทส�ำ คญั ของสตรีไทยทีไ่ ดถ้ ูกปลกู ฝังมาตง้ั แตเ่ กิด ดงั ปรากฏใน
บทประพันธ์มากมายที่ใช้สอนในเรอ่ื งบทบาทหน้าท่ีของสตรไี ทย
ในบทพระราชนพิ นธข์ องพระบาทสมเดจ็ พระมงกุฎเกลา้ เจา้ อยหู่ ัว ได้ประพนั ธ์ไว้วา่

ขอ้ ทส่ี องน้นั ทางชา่ งประดษิ ฐ์ หตั ถกจิ เยบ็ ปกั เปน็ มรรคผล
สรรพสิ่งข้นึ ช่ือฝีมอื ตน ตลอดจนหกั ฝา้ ยทำ�ด้ายปอ
ควรจะเพยี รเรยี นรอู้ ย่าอยเู่ ปล่า เป็นงานเบากจิ หญงิ จริงจริงหนอ
ยามธุระจะใชท้ �ำ ไดพ้ อ ไมต่ อ้ งง้อจ้างวานชาวบ้านเขา
ดว้ ยความรู้รู้ไวม้ ใิ ชว่ ่า เอาใสบ่ ่าแบกหามเลยงามข�ำ
ถงึ จะมเี งินทองไมต่ อ้ งคล�ำ ไว้แนะน�ำ วชิ าเป็นอาจารย์
ก็มคี ณุ จุนเจอื เหมือนเกอ้ื ชาติ ใหส้ ามารถรกู้ จิ โดยพิสดาร
เพอื่ วชิ าสารพดั หตั ถการ แผ่ไพศาลฟุ้งเฟอ่ื งในเมืองไทย

2

งานปักสะดึงกรึงไหมในสมัยพระบาทสมเด็จพระ ในอดีตงานปักสะดึงกรึงไหม ถูกสร้างสรรค์ข้ึนเพ่ือใช้
จลุ จอมเกลา้ เจา้ อยหู่ วั เปน็ ยคุ ทร่ี งุ่ เรอื งทส่ี ดุ ดว้ ยความสามารถใน ในงานราชส�ำ นกั เทา่ นน้ั เชน่ เครอ่ื งทรง เครอ่ื งใช ้ และเครอ่ื งแตง่
การเยบ็ ปกั ถกั รอ้ ย จนสามารถสรา้ งชอ่ื เสยี งโดง่ ดงั ไปทว่ั โลก ดว้ ย กายนาฏศลิ ปช์ น้ั สงู เปน็ ตน้ งานปกั สะดงึ กรงึ ไหมทถ่ี กู น�ำ มาใช้ เพอ่ื
ทกั ษะฝมี อื ของทา่ นผหู้ ญงิ เปลย่ี น ภาสกรวงศ์ ในการปกั ผา้ ทม่ี คี วาม เปน็ การเตมิ เตม็ องคป์ ระกอบของสง่ิ ของเครอ่ื งใช้ใหม้ คี วามสมบรู ณ์
วจิ ติ ร งดงามจนผลงานการปกั ผา้ ของทา่ นไดร้ งั รางวลั ทห่ี นง่ึ ของโลก แบบตามหลกั จารตี ประเพณโี บราณทไ่ี ดร้ บั การสบื ทอดสง่ ตอ่ กนั มา
เมอ่ื ถกู น�ำ ไปประกวดทป่ี ระเทศสหรฐั อเมรกิ า ในสมยั ประธานาธบิ ดี นานนบั หลายรอ้ ยปจี นถงึ ในปจั จบุ นั
ลนิ คอลน์ ดว้ ยผลงานปกั ผา้ ทม่ี คี วามประณตี หาใครเทยี บเทา่ และมี
เอกลกั ษณฉ์ พาะตวั จนสามารถสรา้ งชอ่ื เสยี งใหก้ บั สตรไี ทยใหเ้ ปน็ ท่ี
รจู้ กั ในระดบั โลกได้

3

คุณค่า ความส�ำ คญั
ทางวัฒนธรรมของงานปักสดึงกรงึ ไหม

ในอดตี ความเปน็ สตรตี อ้ งเพยี รพยายามแสวงหาความรู้ ในอดีตการท่ผี ้ชู ายจะเลือกสตรีมาเป็นค่คู รองน้นั จะต้อง
เกย่ี วกบั การท�ำ อาหาร งานบา้ นงานเรอื นและงานเยบ็ ปกั ถกั รอ้ ย พจิ ารณาจากฝมี อื การท�ำ อาหารและงานบา้ นงานเรอื น การเยบ็ ปกั
อยเู่ สมอ อนั เปรยี บกบั เปน็ หนา้ ทส่ี �ำ คญั ทจ่ี ะน�ำ ความรเู้ หลา่ นน้ั มาใช้ใน ถัก ร้อย ถ้าสตรีใดไม่มีฝีมือการทำ�อาหารหรือไม่เก่งงานบ้านงาน
การด�ำ เนนิ ชวี ติ ภายใครวั เรอื น เมอ่ื ไดแ้ ตง่ งานหรอื ออกเรอื นไปจะไดน้ �ำ เรอื น จะไมม่ ชี ายใดหมายปอง เพราะเปน็ เครอ่ื งแสดงถงึ ความไมเ่ อา
ความรทู้ ไ่ี ดร้ บั การฝกึ ฝนมาตง้ั แต่ในเยาวว์ ยั มาใชส้ �ำ หรบั การปรนนบิ ตั ิ ไหน เกยี จครา้ น ไรซ้ ง่ึ คณุ สมบตั ขิ องสตรที ด่ี ี ดงั นน้ั งานเยบ็ ปกั ถกั
ดแู ลความเปน็ อยขู่ องสมาชขกิ ในครอบครวั ทง้ั ในเรอ่ื งการท�ำ อาหาร รอ้ ย หรอื งานปกั สะดงึ กรงึ ไหมจงึ มคี วามผกู พนั อยู่ในวถิ ชี วี ติ สตรไี ทย
การกนิ และงานฝมี อื โดยเฉพาะงานเยบ็ ปกั ถกั รอ้ ย จดั ท�ำ ขา้ วของ มายาวยาวนานนบั หลายรอ้ ยปมี าแลว้
เครอ่ื งใชต้ า่ ง ๆ ภายในครวั เรอื น ดงั นน้ั ความสวยงามแคเ่ พยี งรปู กาย งานปกั สะดงึ กรงึ ไหม จงึ มคี วามส�ำ คญั กบั เครอ่ื งแตง่ กาย
อาจไมพ่ อส�ำ หรบั สภุ าพสตรใี นบคุ สมยั นน้ั การมคี วามรู้ ความสามารถ ของคนไทยมาตง้ั แตส่ มยั อดตี เปน็ หมอื นเครอ่ื งบง่ บอกถงึ ชนชน้ั และ
ทไ่ี ดถ้ กู ถา่ ยทอดออกมาจะเปน็ ตวั ก�ำ หนดคณุ คา่ ของสตรผี นู้ น้ั สถานะทางสงั คม สงั เกตไดจ้ ากเครอ่ื งแตง่ ของชนชน้ั พระมหากษตั รยิ ์
หรอื ขนุ นางขน้ั ผู้ใหญ่ จะสวมใสเ่ ครอ่ื งแตง่ กายทป่ี ระดบั ประดาดว้ ย
การปกั เยบ็ ดว้ ยเสน้ ไหม แลง่ เงนิ แลง่ ทอง หรอื ปกี แมลงทบั ตกแตง่
ดว้ ยเทคนคิ การตดั เยบ็ ชน้ั สง ใหผ้ นื ผา้ เกดิ ความงดงาม ตระการตาก
วา่ และมคี วามแตกตา่ งจากเครอ่ื งแตง่ กายของสามญั ชนทว่ั ไปทง้ั ใน
เรอ่ื งของลวดลายและวสั ดนุ �ำ มาปกั เยบ็ ลว้ นมคี วามแตกตา่ งกนั โดย
สน้ิ เชงิ

4

งานปกั สะดงึ กรงึ ไหม นยิ มตกแตง่ ดว้ ยวสั ดรุ าคาแพง เชน่
อญั มณี แลง่ เงนิ แลง่ ทอง เสน้ ไหมนอ้ ย ปกี แมลงทบั ลกู ปดั และ
พลอยสชี นดิ ตา่ ง ๆ เปน็ ตน้ จงึ ตอ้ งเปน็ ผมู้ กี �ำ ลงั ทรพั ย์ในการจดั หา
วสั ดเุ หลา่ นม้ี าใชง้ าน งานปกั สะดงึ กรงึ ไหมสว่ นมากจงึ เปน็ งานทถ่ี กู
สร้างสรรค์ขน้ึ เพอ่ื ใช้งานในราชส�ำ นัก หรือในผ้มู ีบรรดาศักด์ิ มีจดุ
ประสงคเ์ พอ่ื เพม่ิ ความงดงามลงบนผนื ผา้ ดว้ ยวธิ กี ารปกั เยบ็ แทน
การทอผา้ และการพมิ พผ์ า้ ลวดลายทป่ี กั จะมมี ติ ิ มลี กั ษณะทน่ี นู ออก
มาจากผนื ผา้ เลก็ นอ้ ย ทง้ั นข้ี น้ึ อยกู่ บั ลกั ษณะของเสน้ ไหมทใ่ี ช้ในการ
ปกั ซง่ึ สว่ นใหญจ่ ะใชก้ ารประดบั ตกแตง่ ดว้ ยวสั ดทุ ม่ี รี าคาใหส้ มฐานะ
และสมพระเกยี รตขิ องผนู้ �ำ ไปใช้ นยิ มปกั ลงบนเครอ่ื งนงุ่ หม่ สง่ิ ของ
เครอ่ื งใช้ และเครอ่ื งแตง่ กาย
งานปกั สะดงึ กรงึ ไหม จงึ กลายเปน็ งานทถ่ี กู สรา้ งสรรคข์ น้ึ
เฉพาะกลมุ่ ชนชน้ั สงู จงึ เปน็ สาเหตใุ หอ้ งคค์ วามรู้ และชา่ งงานปกั สะดงึ
กรงึ ไหม ถกู ถา่ ยทอดอยเู่ พยี งในราชส�ำ นกั ไมม่ กี ารจดบนั ทกึ มเี พยี ง
การสาธติ หรอื ปฏบิ ตั ใิ หช้ มเพอ่ื การเรยี นรู้ และจดจ�ำ เทคนคิ วธิ กี ารสบื
ตอ่ กนั เรอ่ื ยมา ดว้ ยกระบวนการทย่ี ากและซบั ซอ้ นทต่ี อ้ งใชเ้ วลาในการ
ฝกึ ฝนฝมี อื เปน็ ระยะเวลานาน ท�ำ ให้ในปจั จบุ นั เหลอื ชา่ งทย่ี งั คงท�ำ งาน
ปกั สะดงึ กรงึ ไหมตามแบบโบราณราชประเพณไี ทย คงเหลอื ไมม่ ากนกั
หากไม่ไดร้ บั การพฒั นาและสบื สานตอ่ งานปกั สะดงึ กรงึ ไหมอาจสญู
สน้ิ ไปจากแผน่ ดนิ ไทยได้ในอนาคต

5

เอกลักษณท์ างกายภาพ และเอกลกั ษณ์
ท่ีโดดเด่นในงานปกั สดึงกรึงไหม

เอกลักษณ์ท่ีสำ�คัญของงานปักสะดึงกรึงไหม เป็นการ การปักสะดึงกรึงไหมตามแบบราชสำ�นัก มีขั้นตอนและ
สรา้ งสรรคผ์ ลงานทไี่ ม่ใชแ่ คเ่ พยี งตอบสนองตอ่ ประโยชนก์ ารใชส้ อย วิธีการทล่ี ะเอียดอ่อน ต่างจากงานปักท่วั ไป เอกลักษณ์ส�ำ คญั อยู่
เพียงเท่านั้น แต่เป็นการเพิ่มคุณค่าให้กับข้าวของ เครื่องใช้และ ทวี่ ธิ กี ารปกั ของชา่ ง ท่ีจะตอ้ งลงฝีเขม็ ทลี ะครง้ั จนเกดิ เป็นลวดลาย
เครือ่ งแตง่ กาย ใหเ้ กดิ เปน็ ความงดงาม นา่ ใช้ ผลงานแฝงไปดว้ ย ข้นั ตอนเหลา่ นี้ได้ถกู ถา่ ยทอดสืบต่อกนั มาจากรุน่ ส่รู ่นุ ไมม่ กี ารจด
ความสามารถและทักษะความชำ�นาญของช่างที่ต้องใช้เวลาในการ บนั ทกึ มเี พยี งการจดจ�ำ จากการสาธติ และฝกึ ท�ำ ตามแบบผา้ ผนื เกา่
ฝึกฝน เรียนรู้ และอดทน จงึ จะสามารถท�ำ ชิ้นงานแตล่ ะช้นิ ออกมา เทา่ นนั้
ได้อยา่ งสมบรู ณ์

6

การปกั ชดุ โขนละคร กถ็ อื ไดว้ า่ เปน็ หนง่ึ ในงานปกั สดงึ กรงึ
ไหม ซง่ึ จะมคี วามโดดเดน่ เปน็ เอกลกั ษณด์ ว้ ยการปกั ตามแบบของ
ตวั ละครนนั้ ๆ สว่ นลายทใ่ี ช้ในการปกั จะมคี วามแตกตา่ งกนั ไปตาม
ช่อื ของตวั ละคร เช่น ลายกนก ใชส้ �ำ หรับพระลกั ษณ์ และพระราม
ลายหน้าสิงห์ ใช้สำ�หรับทศกัณฑ์ เป็นต้น ลวดลายท่ีปักได้ยาก
ที่สดุ คอื ลายหน้าสิงห์ ของทศกัณฑ์เน่ืองจากตอ้ งปักให้ใบหน้ามี
ความคลา้ ยคลึงตัวสิงห์ให้มากทสี่ ุด ด้วยการปักให้รายละเอยี ดคม
ชดั มเี ขย้ี ว มฟี นั สหี นา้ ดดุ นั ใหส้ อดคลอ้ งกบั บทบาทตวั รา้ ยของทศ
กณั ฐ์ในเรอื่ ง ซงึ่ ชา่ งปกั ตอ้ งใชท้ กั ษะความช�ำ นาญเปน็ อยา่ งมากจงึ
จะสามารถปกั ออกมาได้ให้ไดร้ ายละเอยี ดทสี่ วยงามลงตวั ลวดลาย
ท่ีปกั ได้ยากอีกลวดลายหนงึ่ คือ ลายผ้าห่มนางเป็นลวดลายท่ชี ่าง
ปักต้องมีความร้ดู า้ นการเขยี นลวดลายไทย จงึ จะสามารถบังคบั ฝี
เขม็ ใหอ้ อ่ นชอ้ ยเสมอื นกบั การวาดลายเสน้ อกี ทง้ั ยงั เปน็ ลวดลายที่
ตอ้ งใชพ้ น้ื ทมี่ ากในการปกั ชา่ งปกั จงึ ตอ้ งมที ง้ั ทกั ษะฝมี อื และความ
อดทนในการปกั ลวดลายให้แล้วเสร็จ

7

การปักพัสตราภรณ์ ก็มีความโดดเด่นเป็นเอกลักษณ์ ลักษณะเป็นผ้าสไบแถบ ปักลวดลายตามความยาวของสไบเช่น
ด้วยความประณีต และพิถีพิถันในการปักเย็บลวดลายตามแบบ ลายพุ่ม ลายกรวยเชิง ฯลฯ ปักลวดลายด้วยเทคนิคที่มีมาแต่
โบราณราชประเพณที สี่ บื ทอดตอ่ กนั มาอยา่ งยาวนานนบั หลายรอ้ ย โบราณดว้ ย ดน้ิ ข้อ ดิน้ มัน ดิน้ ด้นิ ด้าน ปกั นมสาว ปกั แลง่ ปัก
ปี งานปักพัสตราภรณ์หรือเส้ือผา้ เครอ่ื งนุ่งห่มเช่น เสือ้ หรือฉลอง ตาชุน เป็นต้น ด้วยกรรมวิธีที่หลากหลายช่างปักพัสตราภรณ์จึง
องค์ ในสมัยโบราณจะใช้เสื้อคอกลมผ่าด้านหน้าตลอด มีการต่อ ตอ้ งมีความร้แู ละความช�ำ นาญเชิงชา่ งชน้ั สงู จึงจะสามารถปักเยบ็
แขนเส้ือแบบตอ่ ตรงและเสรมิ เป้าส่ีเหล่ยี มตรงบรเิ วณใต้รกั แร้ แต่ ลวดลายเลยี นแบบโบราณไดอ้ ยา่ งสมบรู ณแ์ ละงดงาม
ปจั จบุ นั ไดม้ กี ารปรบั เปลยี่ นใหท้ นั ตามยคุ สมยั ปกั ลวดลาย ส�ำ หรบั
ตัวนางจะมผี า้ หม่ นางโดยเฉพาะ

8

การปักซอยแบบไทย เป็นอกี หนง่ึ เทคนคิ ในงานปกั สะดงึ
กรงึ ไหม เปน็ การน�ำ เสน้ ไหมนอ้ ยมาสรา้ งสรรค์ใหเ้ กดิ เปน็ ลวดลาย
ท่ีมคี วามวิจติ รงดงาม ราวกับภาพวาดหรือภาพถา่ ย โดดเดน่ ด้วย
ความสวยงามสมจริงท้ังสีสันและเทคนิคการปักท่ีมีความละเอียด
ปักด้วยความถ่ีมากกว่าปกติจึงเกิดเป็นผลงานที่สวยงามดูมีชีวิต
ชีวา เส้นไหมแนบชิดติดกันจนไม่เห็นช่องว่างระหว่างเส้นไหม ใน
การปักผ้าแต่ละคร้ังจะใช้เส้นไหมเพียงเส้นเดียวเพ่ือให้ผลงานมี
ความประณีตมากจึงได้ภาพผลงานท่ีสวยงามมีความคล้ายกับ
ภาพถ่ายหรอื ภาพวาดจติ รกรรม

9

ภมู ปิ ญั ญาทส่ี ะท้อนทกั ษะเชงิ ช่าง
และเทคนิค หรือขน้ั ตอน
กระบวนการในงานปกั สดึงกรงึ ไหม

การปกั สะดงึ กรงึ ไหม เปน็ งานทแี่ สดงออกถงึ ทกั ษะความ
ชำ�นาญ และความประณีตของช่าง ท่ีบรรจงใช้สองมือในการปัก
โดยใช้มือข้างหนง่ึ อยดู่ ้านบนและอกี ข้างหนึ่งอยดู่ ้านลา่ ง ใช้ทง้ั สอง
มอื คอยรับสง่ เข็มใหส้ ัมพนั ธ์กัน โดยในอดีตสะดงึ ที่ใชจ้ งึ มลี กั ษณะ
เปน็ สะดงึ ส่ีเหลี่ยมผนื ผา้ และตง้ั กับพนื้ เรียกว่า แม่สะดงึ มพี ้ืนทีใ่ น
การปักลวดลายท่ีกวา้ ง และทำ�ใหผ้ า้ ทปี่ ักนัน้ ไมเ่ กดิ รอยยับยน่ ซึ่ง
แตกต่างจากสะดึงในปัจจุบันท่ีมีลักษณะเป็นวงกลม พื้นที่กรอบ
แคบและจ�ำ กัด
การปกั ลวดลายใหเ้ กดิ ความสวยงามลงบนผนื ผา้ มดี ว้ ย
กันหลากหลายเทคนิค ขึ้นอยู่กับประสบการณ์ของช่างท่ีสั่งสมมา
โดยมีเทคนิคและวิธีการปักผ้าที่มีการเรียนรู้สืบทอดกันมาตามขั้น
ตอนตา่ งๆ ดงั น้ี
1. การปกั หนุน
ใช้ในการปักลวดลายบนพ้ืนที่เล็ก ๆ ด้วยวิธีการปักหนุนด้วย
เชือก เสน้ ไหม เส้นฝา้ ย หรือสำ�ลี ใหล้ วดลายนูนขึ้น เดน่ ชดั ชว่ ย
ให้ลวดลายดูมีมิติ สวยงาม โดยช่างปักต้องเลือกชนิดของดิ้นให้
เหมาะสมกบั ลวดลายทที่ �ำ การปกั โดยใชว้ ธิ กี ารปกั ทบึ เดนิ เปน็ เสน้
เกลยี ว เพื่อเช่ือมรอยต่อระหวา่ งสีพนื้ ผา้ กับสีขลิบริม และแบง่ ช่อง
บรรจตุ วั ลายโดยลายทนี่ ยิ มนำ�มาปัก ได้แก่ ลายพมุ่ ข้าวบณิ ฑ์ ลาย
ประจ�ำ ยาม ลายดอก ลายเถา ลายกนกเปลว ซงึ่ อาจจะใช้ เล่ือม
เพชร ลูกปดั ปกั ประดบั เพม่ิ เพือ่ เสรมิ ความงาม

10

2. การปกั เดินเส้น
เปน็ การปกั เดนิ เสน้ บรเิ วณขอบ หรอื ปกั ลวดลายทตี่ อ้ งการมคี วาม
ชัดเจนมากยิ่งข้ึน ช่างปักจะปักเดินเส้นในบริเวณขอบหลังจากท่ี
ปักลวดลายเสรจ็ เรยี บรอ้ ยแลว้ ด้วยการใชเ้ ส้นไหมสตี ่าง ๆ หรอื
ดิน้ เงิน ดิ้นทอง
3. การปกั ทึบ
เปน็ การน�ำ เสน้ ไหมปกั ลงบนผนื ผา้ ใหเ้ กดิ เปน็ ลวดลายตามทไี่ ดร้ า่ ง
แบบไว้ นิยมใช้ปกั บนลวดลายทีข่ นาดไม่ใหญ่มาก หากต้องการให้
ลวดลายนูนข้ึนมามากกว่าปกติ จะต้องปักหนุนด้านล่างก่อนแล้ว
จงึ จะปักทึบลงไป เร่ิมปักจากดา้ นหน่งึ ไปอกี ดา้ นหนึ่ง ตามรูปรา่ ง
ของลวดลายหรือปักแนวตรง ถ้าในพื้นที่ท่ีกว้างจะปักขึ้นลงด้วยฝี
เข็มทลี ะส้นั ๆ แลว้ ปักลงไปทลี ะเส้นต่อกนั เพ่อื เพิ่มความออ่ นชอ้ ย
เมอ่ื ปกั ไหมแตล่ ะเส้นต่อ ๆ กนั เสน้ ไหมจะมี ความละเอยี ดมากขน้ึ
ชา่ งปักจะไม่นิยมปักเสน้ ไหมในแนวขวาง เพราะท�ำ ให้ลวดลายดูไม่
พล้ิวไหว ขาดความเปน็ ธรรมชาติ

11

4. การปกั ซอย
วิธีการคล้ายคลึงกับการปักทึบ ด้วยวิธีการปักไหมลงไปให้เต็ม
ลวดลาย จะมีความแตกต่างกันตรงที่การปักซอยน้ันจะใช้กับ
ลวดลายทมี่ ขี นาดใหญแ่ ละตอ้ งการไลส่ สี นั ของเสน้ ไหม โดยใชร้ ะยะ
การเดนิ เขม็ สน้ั ๆ จากจดุ หนง่ึ ไปอกี จดุ หนงึ่ ปกั แบบสน้ั ยาวสลบั กนั
ไป นยิ มปกั ไลส่ เี สน้ ไหมจากโทนออ่ นไปโทนเขม้ ท�ำ ใหภ้ าพทปี่ กั ออก
มาดมู ีมติ ิราวกับภาพวาด
5. การปักด้ินเงนิ ด้นิ ทอง
เปน็ เทคนคิ การปกั เชงิ ชา่ งชน้ั สงู ทตี่ อ้ งใชค้ วามสามารถและใชเ้ วลา
นานในการปัก ลวดลายท่ีปักด้วยด้ินเงิน ดิ้นทองจะต้องใช้ความ
ประณีตมากเพื่อให้ลวดลายมีความละเอียด กลมกลืนกันตลอด
ทั้งลวดลาย ซึ่งเป็นขั้นตอนที่ยากและต้องใช้ความอดทนในการ
ท�ำ นยิ มปกั ประดบั รว่ มกบั วสั ดอุ ื่น ๆ เพ่อื ใหเ้ กิดความสวยงามยงิ่
ขึ้น เช่นเล่ือม ลกู ปดั ไขม่ ุก ปกี แมลงทบั อญั มณีสีตา่ ง ๆ เป็นต้น

12

การปักสะดงึ กรงึ ไหมเปน็ ศลิ ปะทีต่ อ้ งใช้ความละเอียด
ออ่ นในการปกั มกี รรมวธิ หี ลายขนั้ ตอน ชา่ งปกั ตอ้ งมคี วามละเอยี ด
อดทนเป็นอย่างมาก รูปแบบการปักจะต้องเน้นในการอนุรักษ์รูป
แบบภมู ปิ ญั ญาดงั้ เดมิ ทมี่ มี าตง้ั แตส่ มยั โบราณไวอ้ ยา่ งไมผ่ ดิ เพย้ี น
โดยมีวัสดอุ ุปกรณ์ และวิธกี ารปักดงั น้ี
• การเตรยี มวัสดอุ ุปกรณ์ ประกอบไปดว้ ย ด้นิ ขอ้ ดน้ิ โปร่ง เลอ่ื ม
เชือกป่าน หรือสำ�ลใี ชส้ ำ�หรบั หนุนลาย ดา้ ย กรรไกร เขม็ เย็บผ้า
(เบอร์ 7 ) สะดึงไม้ เทยี น(ทาด้าย)

13

• การเลือกลวดลายที่จะปัก แล้วจึงนำ�ผ้าไปขึงตึงบนสะดึงโดย
ทำ�การขึง 4 มุม ให้แน่นเพ่ือเตรียมการปัก โดยต้องทำ�ให้ผ้าตึง
ที่สุดแล้วเย็บตรึงผ้าให้เข้ากับสะดึงไปเรื่อย ๆ จนกว่าผ้าจะตึงท้ัง
ผืน ถือเป็นเทคนิคสำ�คัญท่ีสุดท่ีจะทำ�ให้งานปักออกมาสวยงาม
สมบรู ณ์แบบ
• น�ำ กระดาษวาดลายทท่ี �ำ การเลอื กลวดลายมาแลว้ มาวางลงบนผนื
ผ้า แลว้ จงึ วาดรา่ งแบบลวดลายโดยทาบทบั ลงไปบนผา้ ให้ปรากฏ
เปน็ ลวดลายทตี่ ้องการจะปัก
• ใช้ด้ินข้อปักลงไปบนลวดลายเพ่ือตัดเป็นการตัดเส้น ยึดตรึง
ลวดลายก่อนจะไปสู่ขน้ั ตอนการถมลายด้วยดิ้นโปรง่ เมื่อเสร็จขั้น
ตอนน้ีแล้วจึงแกะกระดาษวาดลายออก แล้วทำ�การหนุนลวดลาย
ด้วยเสน้ ฝ้ายหรือส�ำ ลี

14

• ปกั ถมลวดลายด้วยดนิ้ โปรง่ วสั ดทุ ่ใี ชถ้ มลายขน้ึ อยกู่ บั ลวดลาย
ทตี่ ้องการจะปกั โดยชา่ งปกั จะวดั ขนาดความยาวของดิน้ โปรง่ ใหม้ ี
ขนาดความยาวพอดกี บั ลวดลายที่ปัก หากลวดลายไม่เสมอกนั จะ
ท�ำ ใหล้ ายทอ่ี อกมานัน้ ไมส่ วยงาม

15

16

• พลกิ ดา้ นหลงั ของผนื ผา้ ทป่ี กั เสรจ็ แลว้ ทากาวใหย้ ดึ ตดิ ระหวา่ งดนิ้
และดา้ ย จากนน้ั จงึ น�ำ ไปประกอบกบั ผา้ ซบั ในเพอื่ น�ำ ไปตดั เยบ็ ตอ่ ไป

17

ครสู มคดิ หลาวทอง
ครศู ลิ ปข์ องแผน่ ดนิ ประจ�ำ ปี 2560

การอนรุ กั ษส์ ืบสานภูมปิ ัญญา
ของงานปักสดึงกรึงไหม

“ชา่ งปกั สะดงึ กรงึ ไหม” ผอู้ ยเู่ บอื้ งหลงั ความงดงามเครอ่ื ง งานปักสะดึงกรึงไหม เปน็ งานปักเชงิ ชา่ งชัน้ สูงทห่ี า
แตง่ กายแบบไทย ถอื ไดว้ า่ เปน็ งานหตั ถศลิ ปท์ ที่ รงคณุ คา่ ไมเ่ พยี ง ชมได้ยาก แต่ในชมุ ชนเขียนนวิ าสน์ ตรอกไก่แจ้ ชมุ ชนเกา่ แก่ใน
แคค่ วามสวย หรอื ลวดลายทง่ี ดงาม แตย่ งั แฝงไปดว้ ยเรอ่ื งราวของ ยา่ นบางลำ�พู บนถนนพระสเุ มรุ ยังคงเป็นสถานที่ ทรี่ ักษารูปงาน
ผทู้ �ำ ทต่ี อ้ งอาศยั ทกั ษะความช�ำ นาญ ความละเอยี ดรอบคอบ ความ ศิลปหตั ถกรรมโบราณเอาไว้ในรปู แบบการปกั ชุดโขน ละคร ตาม
วิริยะอุตสาหะเป็นที่ต้ังในการสร้างสรรค์ผลงานบนผืนผ้าแต่ละผืน แบบฉบบั โบราณเอาไว้ไดอ้ ยา่ งสมบรู ณ์ โดย นางสมคดิ หลาวทอง
ใหม้ คี วามวจิ ติ รงดงาม ในปจั จบุ นั จงึ ไมเ่ หลอื ชา่ งปกั ผมู้ ากฝมี อื มาก หรอื แมเ่ ปย๊ี ก เปน็ ทร่ี จู้ กั ในแวดวงงานนาฏศลิ ปไ์ ทยมาอยา่ งชา้ นาน
นกั เนอื่ งจากเป็นงานทีไ่ ด้เงนิ ช้า ประกอบกบั การแสดงวธิ กี ารท�ำ ท่ี นางสมคดิ เปรยี บเสมอื นครู ทเี่ ปน็ ตน้ แบบความรู้ในการปกั ชดุ โขน
ยากและสลบั ซบั ซอ้ น จงึ ไม่ไดร้ บั ความนยิ มอยา่ งแพรห่ ลายเฉกเชน่ ละครร�ำ เปน็ บคุ คลส�ำ คญั ในการผลกั ดนั ใหง้ านปกั ชดุ โขน ละครร�ำ
ในอดีต สง่ ผลให้ภมู ปิ ัญญางานปักชดุ โขนละครคอ่ ย ๆ เลือนหาย มีชวี ติ ขน้ึ มาในชมุ ชนแหง่ น้ี สรา้ งอาชีพและสรา้ งรายได้ใหก้ ับคนใน
ไปจากสงั คมไทย ครอบครัว และคนในชมุ ชน ใหม้ กี ินมีใชจ้ นถึงทุกวนั นี้ อีกทั้งยงั
เปน็ การรกั ษามรดกทางวฒั นธรรมการปกั สะดงึ กรงึ ไหม ในรปู แบบ
ชุดโขนละครไทยให้คงอยู่ในสงั คมไทยมาจนถึงทุกวันนี้

18

ครนู ธิ มิ า ธมิ ากลู
ครศู ลิ ปข์ องแผน่ ดนิ ประจ�ำ ปี 2563

19

สรพล ถรี ะวงษ์
ทายาทชา่ งศลิ ปหตั ถกรรม ประจ�ำ ปี 2560

เช่นเดยี วกับนายสรพล ถีรวงษ์ ทย่ี งั คงม่งุ มน่ั สืบสาน
ภมู ปิ ญั ญางานปกั สะดงึ กรงึ ไหม และยงั คงสรา้ งสรรคง์ านปกั เครอ่ื ง
ศริ าภรณ์ และพสั ตราภรณแ์ บบโบราณ ดว้ ยความสนใจใหร้ ากเหงา้
ของภมู ปิ ญั ญางานปกั สะดงึ กรงึ ไหม จงึ ไดศ้ กึ ษา คน้ ควา้ จากครผู ู้
ช�ำ นาญการ และจากผา้ โบราณผนื เกา่ น�ำ มาผนวกเขา้ กบั ความรู้ใน
ด้านการเขยี นลวดลายไทยท่ีได้ร่ำ�เรยี นมา มาออกแบบลวดลายลง
บนผนื ผ้าและท�ำ การปกั ถกั เย็บ ดว้ ยเทคนคิ การปกั สะดึงกรึงไหม
แบบโบราณ การปกั หนนุ ปกั เดินเส้น ปกั ทบึ ปักซอย และการปัก
ด้ินเงนิ ด้นิ ทอง จนสามารถสร้างสรรคเ์ ปน็ พัสตราภรณ์โบราณท่ี
มีความสวยงามตามแบบฉบับโบราณไดอ้ ยา่ งสมบูรณ์
ผลงานปักซอยแบบไทย กเ็ ปน็ อีกหนึ่งเทคนคิ ในงานปัก
สะดึงกรึงไหมแบบโบราณ ท่ีมีวิธีการทำ�ที่ยากและสลับซับซ้อน
ตอ้ งใช้การฝึกฝนและระยะเวลาท่ียาวนาน ทยี่ ังคงมนี างนิธิมา ธิมา
กูล หน่ึงในผูอ้ นุรกั ษ์งานแขนงนีด้ ้วยใจรกั และถ่ายทอดองคค์ วาม
รู้และทักษะความชำ�นาญผ่านลวดลายบนผืนผ้าท่ีมีความงดงาม
มีมิติด้วยเส้นไหมน้อยท่ีบรรจงปัก ด้วยเทคนิคการปักแบบไล่สี
เส้นไหม ให้ผลงานออกมาดูมีมิติเสมือนจริงราวกับภาพวาดหรือ
ภาพถ่าย และยังคงสร้างสรรค์ผลงานอย่างต่อเน่ือง เพียงเพื่อ
ต้องการอนุรักษ์ภูมิปัญญางานปักสะดึงกรึงไหมให้คงอยู๋ได้ต่อไป
ในแผ่นดินไทย

20

การถา่ ยทอดส่งตอ่ ภมู ปิ ัญญาเพอื่ อนรุ ักษ์สบื สาน
และพัฒนาสร้างสรรค์ตอ่ ยอดงานปักสดงึ กรึงไหม

ถงึ แม้ในปจั จบุ นั ยงั คงมโี รงเรยี นชา่ งฝมี อื ในวงั หญงิ ทย่ี งั คงเปดิ สอนวชิ าการปกั สะดงึ ใหก้ บั ผทู้ ม่ี คี วามสนใจอยากเรยี นรเู้ ทคนคิ และ
วธิ กี ารปกั สะดงึ กรงึ ไหม แตน่ อ้ ยคนนกั ทจ่ี ะสามารถฝกึ ฝน เรยี นรจู้ นส�ำ เรจ็ โดยเฉพาะเยาวชน คนรนุ่ ใหม่ ทล่ี ะเลยความส�ำ คญั ของคณุ คา่
ทางมรดกภมู ปิ ัญญาท่บี รรพบุรษุ ถ่ายทอดมาจนทำ�ใหง้ านปกั สะดงึ กรึงไหมไดก้ ลายเปน็ งานท่หี าชมได้ยากและแทบจะไมเ่ หลอื ผสู้ บื ทอด
เนอ่ื งจากเปน็ งานทต่ี อ้ งฝกึ ฝนทกั ษะฝมี อื ใหเ้ กดิ ความช�ำ นาญ ประกอบกบั ตอ้ งใชค้ วามอดทน จงึ จะสามารถท�ำ งานไดแ้ ลว้ เสรจ็ ผลงานทกุ
ชน้ิ ตอ้ งใชร้ ะยะเวลามาก จงึ เปน็ สาเหตใุ หง้ านปกั สะดงึ กรงึ ไหมใกลจ้ ะสญู หายไปจากสงั คมไทยในเวลาไมช่ า้

“การไดท้ �ำ งานปกั ชดุ โขนเปน็ ความภาคภมู ใิ จของแม่ ผลงานทกุ ชน้ิ ตง้ั ใจปกั ดว้ ยความละเอยี ด อาศยั ทกั ษะ
ฝมี อื ประสบการณท์ ส่ี ง่ั สมมานาน ถา้ ไมม่ คี วามรกั ความอดทน จะไมส่ ามารถท�ำ ได ้ อยากใหค้ นรนุ่ ใหมช่ ว่ ยกนั
อนรุ กั ษ์ ฟน้ื ฟ ู แม่ไม่ไดค้ ดิ วา่ เปน็ วชิ าของตวั เองแตเ่ ปน็ ของชาติ ตายไปเรากเ็ อาวชิ าความรต็ ดิ ตวั ไปไม่ได ้ แตเ่ รา
ถา่ ยทอดใหค้ นอน่ื ไดแ้ ละหวงั ใหง้ านแขนงนจ้ี ะตอ้ งมคี นสบื ตอ่ ไปชว่ั ลกู ชว่ั หลาน”

ครสู มคดิ หลาวทอง ครศู ลิ ปข์ องแผน่ ดนิ ปี พ.ศ.2560
“งานปกั ไหมนอ้ ย เปน็ งานทต่ี อ้ งใชจ้ ติ วญิ ญาณในการสรา้ งสรรคผ์ ลงานเปน็ อยา่ งมาก หากไมม่ ีใจรกั จะ
ไมส่ ามารถสรา้ งสรรคผ์ ลงานไดส้ �ำ เรจ็ เราอทุ ศิ ตนเพอ่ื รกั ษางานศลิ ปข์ องแผน่ ดนิ เอาไว้ และตง้ั ใจสง่ ตอ่ เปน็ ผา้ ผนื งาม
ฝากเอาไวใ้ หเ้ ปน็ มรดกของแผน่ ดนิ ตอ่ ไปชว่ั ลกู ชว่ั หลาน”

ครนู ธิ มิ า ธมิ ากลู ครศู ลิ ปข์ องแผน่ ดนิ ปี พ.ศ. 2563
“การรกั ษางานโบราณเอาไวใ้ หค้ งอยคู๋ แู่ ผน่ ดนิ เปน็ หนา้ ทข่ี องคนไทยทกุ คน บรรพบรุ ษุ สรา้ งสรรคส์ ง่ิ ทด่ี ี
งามมาเพอ่ื สง่ ตอ่ ใหล้ กู หลานตอ่ ยอดภมู ปิ ญั ญาเอาไว้ เราจงึ มหี นา้ ทธ่ี �ำ รงรกั ษาไว้ และสานตอ่ ใหง้ านโบราณเหลา่ น้ี
คงอยู๋ไดใ้ นยคุ สมยั ทเ่ี ปลย่ี นไปไดต้ อ่ ไปในอนาคต”

นายสรพล ถรี วงษ ์ ทายาทชา่ งศลิ ปหตั ถกรรม ปี พ.ศ. 2560

21

22

ครสู มคดิ หลาวทอง “มงุ่ มนั่ อนุรักษ์ ฟน้ื ฟู และ สืบสาน
ครศู ลิ ปข์ องแผน่ ดนิ งานปักตามแบบอยา่ งโบราณ
ประจ�ำ ปี 2560 ซึง่ มคี ณุ คา่ ถา่ ยทอดสง่ ตอ่
และหวังใหง้ านแขนงนี้คงอยู่
ตอ่ ไปช่ัวลกู ชัว่ หลาน”

สรพล ถรี ะวงษ์
ทายาทชา่ งศลิ ปหตั ถกรรม
ประจ�ำ ปี 2560
ครนู ธิ มิ า ธมิ ากลู
ครศู ลิ ปข์ องแผน่ ดนิ ประจ�ำ ปี 2563

23


Click to View FlipBook Version