The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

กระบวนการในการตรากฎหมาย

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Ness Natdanai, 2022-09-11 09:35:57

กระบวนการในการตรากฎหมาย

กระบวนการในการตรากฎหมาย

กระบวนการในการตรากฎหมาย

การตรากฎหมายแต่ละประเภท จะต้องเป็นไปตามบทบัญญัติ
แห่งกฎหมายที่ให้อำนาจในการตรากฎหมายไว้ ดังนี้

1.พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญ

กฎหมายที่ตราขึ้นในรูปแบบ
พระราชบัญญัติ เพื่อกำหนด
รายละเอียดที่เป็นกฎเกณฑ์
สำคัญเพิ่มเติมบทบัญญัติแห่ง
รัฐธรรมนูญ ให้มีความกระจ่าง
แจ้ง ชัดเจน และสมบูรณ์ยิ่งขึ้น

ผู้เสนอ

•คณะรัฐมนตรี โดยข้อเสนอแนะของ
ศาลฎีกา ศาลรัฐธรรมนูญ หรือองค์กร
อิสระที่เกี่ยวข้อง

•สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจำนวนไม่
น้อยกว่า 1 ใน 10 ของจำนวนสมาชิก
ทั้งหมดเท่าที่มีอยู่ของสภาผู้แทนราษฎร

กระบวนการในการตรากฎหมาย

การตรากฎหมายแต่ละประเภท จะต้องเป็นไปตามบทบัญญัติ
แห่งกฎหมายที่ให้อำนาจในการตรากฎหมายไว้ ดังนี้

2. พระราชบัญญัติ

กฎหมายที่พระมหากษัตริย์
ทรงตราขึ้นโดยคำแนะนำและ

ยินยอมของ
"รัฐสภา"

ผู้เสนอ

•คณะรัฐมนตรี
•สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไม่น้อย
กว่า 20 คน
•ผู้ที่มีสิทธิเลือกตั้งไม่น้อยกว่า
10,000 คน โดยเข้าชื่อเสนอได้เฉพาะ
หมวด 3 สิทธิเสรีภาพของปวงชนชาว
ไทย และหมวด 5 หน้าที่ของรัฐ

กระบวนการในการตรากฎหมาย

การตรากฎหมายแต่ละประเภท จะต้องเป็นไปตามบทบัญญัติ
แห่งกฎหมายที่ให้อำนาจในการตรากฎหมายไว้ ดังนี้

3. พระราชกำหนด

กฎหมายที่พระมหากษัตริย์
ทรงตราขึ้นตามคำแนะนำของ

"คณะรัฐมนตรี"
ใช้ในกรณีฉุกเฉิน
ที่มีความจำเป็นเร่งด่วน
เพื่อความปลอดภัยในประเทศ




4. พระราชกฤษฏีกา

กฎหมายที่พระมหากษัตริย์ทรงตรา
ขึ้นโดยคำแนะนำของ
"คณะรัฐมนตรี "
เฉพาะช่วงที่ไม่มีรัฐสภา
ในการออกกฎหมาย

กระบวนการในการตรากฎหมาย

การตรากฎหมายแต่ละประเภท จะต้องเป็นไปตามบทบัญญัติ
แห่งกฎหมายที่ให้อำนาจในการตรากฎหมายไว้ ดังนี้

5. กฎกระทรวง

กฎหมายที่ออกตามพระราช
บัญญัติ หรือพระราชกำหนด
ออกโดยฝ่ายบริหาร อันได้แก่

"รัฐมนตรีว่าการกระทรวง"
โดยได้รับความเห็นชอบจาก

คณะรัฐมนตรี




6. ข้อบัญญัติองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น

กฎหมายที่องค์กรปกครอง
ส่วนท้องถิ่นแต่ละแห่งตราขึ้น
และใช้ภายในเขตอำนาจขององค์กร

ปกครองส่วนท้องถิ่น

ขั้นตอนการตรา

"กฎหมาย"




รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยกำหนดไว้ว่า
ร่างพระราชบัญญัติให้เสนอต่อสถาผู้แทนราษฏรก่อน
โดยฝ่ายที่จะเสนอร่างพระราชบัญญัติได้นั้นมี 3 ฝ่าย
คือ คณะรัฐมนตรี สมาชิกผู้แทนราษฎรจำนวนไม่น้อย
กว่า 20 คน และผู้มีสิทธฺเลือกตั้งจำนวนไม่น้อยกว่า
10,000 คน ทำการเข้าชื่อเสนอกฎหมาย ซึ่งในกรณี
ผู้มีสิทธิเลือกตั้งเสนอกฎหมายนั้น จะสามารถเสนอ
กฎหมายเฉพาะหมวดสิทธิเสรีภาพของปวงชนชาวไทย

และหมวดหน้าที่ของรัฐเท่านั้น

ขั้นตอนการตรา
"กฎหมาย"


การตราพระราชบัญญัติ

คณะรัฐมนตรี สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง
ไม่น้อยกว่า 20 คน ไม่น้อยกว่า 10,000 คน



วาระที่ 1 ขั้นรับหลักการ กรณี สว. ไม่เห็นชอบ พระมหากษัตริย์
และส่งคืนแก้ไข ลงพระปรมาภิไธย
สภาผู้แทนราษฎร วาระที่ 2 ขั้นพิจารณารายละเอียด
นายกรัฐมนตรี
วาระที่ 3 ขั้นลงมติ


เห็นชอบ ประกาศใน
ราชกิจนุเบกษา
ไม่เห็นชอบ ส่งคืนผู้เสนอ


วุฒิสภา วาระที่ 1 ขั้นรับหลักการ

วาระที่ 2 ขั้นพิจารณารายละเอียด
วาระที่ 3 ขั้นลงมติ

เห็นชอบ

การพิจารณาในสภาผู้แทนราษฎร

วาระที่ 1 ขั้นรับหลักการ

สภาผู้แทนราษฎรจะเป็นผู้พิจารราและลงมติว่าจะรับหรือ
ไม่รับหลักการ โดยมีการอภิปรายของสมาชิกอย่างกว้าง
ขวาง ประธานสภาพจะเปิดโอกาสให้ผู้เสนอร่างชี้แจงหลักการ
ของร่าง พระราชบัญญัติในการประชุม เมื่อสภาลงมติรับร่าง
พระราชบัญญัตินั้นก็เข้าสู่การพิจารณาในล่าดับต่อไป แต่ถ้า

มีมติไม่รับร่างพระราชบัญญัตินั้นก็จะตกไป



วาระที่ 2 การพิจารณาในรายละเอียด
ของร่างพระราชบัญญัติ

จะท่าในรูปแบบคณะกรรมการเต็ม สภาคือ สมาชิกสภาผู้
แทนราษฎรทุกคนท่าหน้าที่กรรมาธิการพิจารณาร่าง

กฎหมายนั้น หรือจะท่าในรูปของ คณะกรรมาธิการที่สภาแต่ง
ตั้งจะแต่งตั้งจากสมาชิกบางคนเข้ามาเป็นกรรมาธิการ เพื่อ
ศึกษากฎหมายแล้วจึง น่าเสนอต่อสภา เพื่อให้พิจารณาต่อ

ไป โดยสมาชิกจะมีการพิจารณากว้างขวาง

การพิจารณาในสภาผู้แทนราษฎร

วาระที่ 3 ขั้นการลงมติเห็นชอบหรือไม่เห็นชอบ

การพิจารณาของสภาพผู้แทนราษฎร แต่มีระยะเวลาก่าหนดที่
ชัดเจน โดยจะต้องพิจารณาให้เห็นแล้วเสร็จภายในหกสิบวัน แต่ถ้า
วุฒิสภาพิจารณาไม่ทัน ตามก่าหนดถือว่าวุฒิสภาพได้ให้ความเห็น
ชอบ โดยถ้าพิจารณาเห็นชอบให้นายกรัฐมนตรีน่าร่างกฎหมายนั้น
ขึ้นทูลเกล้าพระมหากษัตริย์เพื่อลงพระลงปรมาภิไธยและประกาศใช้
เป็นกฎหมายต่อไป แต่ถ้าวุฒิสภาลงมติไม่ เห็นชอบให้ส่งร่างพระ

ราชบัญญัตินั้นคืนไปยังสภาพผู้แทนราษฎรเพื่อไปแก้ไขต่อไป

การมีส่วนร่วมของประชาชนใน
ตรากฎหมาย

ระดับชาติ

ประชาชนผู้มีสิทธิ์เลือกตั้ง
จำนวนไม่น้อยกว่า 10,000 คน

มีสิทธิเข้าชื่อเสนอกฎหมาย
สิทธิเสรีภาพของปวงชนชาว

ไทยและหน้าที่ของรัฐ



ระดับท้องถิ่น

ประชาชนผู้มีสิทธิเลือกตั้งใน
องค์กรปกครองท้องถิ่นมีสิทธิ
เข้าชื่อ เพื่อเสนอข้อบัญญัติ หรือ
เพื่อถอดถอนสมาชิกสภาท้องถิ่น

หรือผู้บริหารท้องถิ่น

แบบทดสอบก่อนเรียนและหลังเรียน
เรื่อง กระบวนการในการตรากฎหมาย


Click to View FlipBook Version