The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

สถานการณ์แรงงานจังหวัดลำปาง ไตรมาสที่ 3.2564

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by kaewchak, 2021-11-09 02:56:56

สถานการณ์แรงงานจังหวัดลำปาง ไตรมาสที่ 3.2564

สถานการณ์แรงงานจังหวัดลำปาง ไตรมาสที่ 3.2564

คำนำ

สำนักงำนแรงงำนจังหวัดลำปำง ได้จัดทำรำยงำนสถำนกำรณ์แรงงำนจงั หวัดลำปำง ไตรมำส 3 ปี 2564
(เดือนกรกฎำคม - กันยำยน 2564) ขึ้นโดยมีวัตถุประสงค์เพอ่ื รวบรวมข้อมูลและประมวลผลสถำนกำรณแ์ รงงำน
เผยแพรป่ ระชำสัมพันธ์ให้หน่วยงำนท้งั ภำครัฐและเอกชน ตลอดจนผู้สนใจทั่วไปไดท้ รำบและนำไปใช้ประโยชน์ใน
สว่ นท่ีเก่ียวข้องต่อไป โดยเนือ้ หำประกอบด้วย 3 สว่ นคอื

1. สถำนกำรณ์เศรษฐกจิ และสังคมของจังหวัดลำปำง
2. ตวั ชวี้ ดั ภำวะแรงงำน
3. สถำนกำรณแ์ รงงำนของจังหวัดลำปำง ประกอบดว้ ย

3.1 กำลงั แรงงำน กำรมีงำนทำ กำรวำ่ งงำน
3.2 กำรส่งเสรมิ กำรมีงำนทำ
3.3 กำรพัฒนำศกั ยภำพแรงงำน
3.4 กำรคุ้มครองแรงงำนและสวสั ดกิ ำร
3.5 กำรประกนั สังคม
3.6 ปญั หำด้ำนแรงงำนที่สำคญั
3.7 ผลกำรดำเนนิ งำนทีส่ ำคญั ตำมนดยบำยรัฐบำล/นโยบำยกระทรวงแรงงำน

สำนักงำนแรงงำนจังหวัดลำปำง ขอขอบคุณหน่วยงำนที่สนับสนุนข้อมูลในกำรจัดทำรำยงำนครั้งนี้
ประกอบด้วย สำนักงำนจัดหำงำนจังหวัดลำปำง สำนักงำนประกันสังคมจังหวัดลำปำง สำนักงำนสวัสดิกำรและ
คุ้มครองแรงงำนจังหวัดลำปำง สถำบันพัฒนำฝีมือแรงงำน 10 ลำปำง สำนักงำนสถิติจังหวดั ลำปำง สำนักงำนคลัง
จังหวัดลำปำง สำนักงำนอุตสำหกรรมจังหวดั ลำปำง สำนักงำนพำณิชย์จังหวัดลำปำง สำนักงำนพัฒนำธุรกิจกำรคำ้
จังหวัดลำปำง และหน่วยงำนอื่นๆ ท่ีเกี่ยวข้อง หำกมีข้อเสนอแนะหรือข้อคิดเห็นท่ีเป็นประโยชน์ ต่อกำรจัดทำ
รำยงำนสถำนกำรณ์แรงงำนจังหวัดลำปำง คณะผู้จดั ทำ จะนำไปปรับปรุงใหด้ ยี ่งิ ขึน้ ซ่งึ สำมำรถติดต่อได้ท่ีสำนักงำน
แรงงำนจังหวดั ลำปำง ศำลำกลำงจังหวดั ลำปำง ช้ัน 2 โทรศัพท์ 054-265058 โทรสำร 054-265059 หรือ E-mail :
[email protected]

สำนกั งำนแรงงำนจงั หวดั ลำปำง
พฤศจกิ ำยน 2564

สำรบญั หนำ้

บทสรุปสำหรับผ้บู รหิ ำร 1
รำยงำนประมำณกำรเศรษฐกิจของจงั หวัดลำปำง ปี 2564
5
บทท่ี 1 ข้อมลู ทั่วไปและสภำพเศรษฐกิจจงั หวดั ลำปำง 6
1. ข้อมูลท่ัวไปจังหวดั ลำปำง รปู แผนทจ่ี ังหวัดลำปำง 6
1.1 วสิ ยั ทัศน์และพนั ธกิจ 7
1.2 ท่ตี ง้ั อำณำเขต และขนำดพืน้ ที่ 7
1.3 ลักษณะภูมปิ ระเทศ 9
1.4 กำรปกครอง และจำนวนประชำกรจงั หวดั ลำปำง 10
2. ภำวะเศรษฐกจิ กำรคลังของจังหวัดลำปำง 10
2.1 ผลติ ภัณฑ์มวลรวมจังหวดั ลำปำง (GPP : Gross Provincial Product) 12
2.2 ดัชนรี ำคำผบู้ ริโภค 13
2.3 กำรจดทะเบยี นนิติบคุ คลตง้ั ใหม่
2.4 กำรจดทะเบยี นโรงงำน 14
15
บทที่ 2 ตวั ช้วี ัดภำวะแรงำนจังหวัดลำปำง 17
1. อตั รำกำรมสี ว่ นร่วมในกำลังแรงงำนของจงั หวดั ลำปำง 18
2. อัตรำกำรมงี ำนทำของจงั หวัดลำปำง 19
3. อตั รำกำรวำ่ งงำนของจงั หวัดลำปำง 20
4. อตั รำกำรเปลยี่ นแปลงของจำนวนผู้ประกนั ตนในระบบประกันสงั คม (มำตรำ 33)
5. อัตรำกำรบรรจงุ ำนของจังหวดั ลำปำง 20
6. อตั รำกำรจำ้ งแรงงำนตำ่ งด้ำวในจงั หวดั ลำปำง
7. อัตรำกำรปฏบิ ัตไิ มถ่ ูกตอ้ งตำมกฎหมำยคุ้มครองแรงงำนและกฎหมำยควำมปลอดภัย 21
ในกำรทำงำนของสถำนประกอบกำร 22
8. อัตรำกำรเกดิ ข้อพพิ ำทแรงงำน/ขอ้ ขัดแย้งในสถำนประกอบกำร
9. อตั รำแรงงำนทเ่ี ป็นผู้ประกันตน 23
23
บทท่ี 3 สถำนกำรณแ์ รงงำนจงั หวัดลำปำง 24
1. กำลงั แรงงำน กำรมีงำนทำ กำรวำ่ งงำน 27
1.1 โครงสร้ำงประชำกร 29
1.2 กำรมงี ำนทำ 29
1.3 แรงงำนนอกระบบ
2. กำรส่งเสริมกำรมงี ำนทำ
2.1 กำรจัดหำงำนในประเทศ

2.2 แรงงำนต่ำงด้ำว 34
2.2.1 คนต่ำงด้ำวทไี่ ด้รบั อนญุ ำตทำงำนตำม พรก.กำรบรหิ ำรกำรจัดกำรกำรทำงำน
ของคนต่ำงด้ำว พ.ศ. 2560 และฉบบั ที่ 2 พ.ศ. 2561 34
2.2.2 แรงงำนตำ่ งด้ำวทีย่ ืน่ ขอจดทะเบยี น ณ ศนู ยบ์ ริกำรแบบเบด็ เสร็จ (OSS)
จำแนกตำมสญั ชำติ 37

2.3 แรงงำนไทยในตำ่ งประเทศ 37
2.3.1 กำรแจ้งควำมประสงค์เดินทำงไปทำงำนต่ำงประเทศผำ่ นสำนักงำนจดั หำงำน
จังหวดั ลำปำง 37
2.3.2 แรงงำนไทยที่ไดร้ บั อนมุ ตั ิไปทำงำนต่ำงประเทศ
37
3. กำรพัฒนำศกั ยภำพแรงงำน 39
4. กำรตรวจแรงงำน 41
41
4.1 กำรตรวจแรงงำน 42
4.2 กำรตรวจควำมปลอดภยั ในกำรทำงำน 43
4.3 กำรแรงงำนสมั พันธ์ 43
43
4.3.1 องคก์ ำรนำยจำ้ ง/ลูกจำ้ ง 44
4.3.2 ขอ้ เรียกร้อง/ข้อพพิ ำท/ข้อขดั แยง้ ในจังหวดั ลำปำง ไตรมำสที่ 3 ปี 2564 44
4.4 สวสั ดิกำรแรงงำน 45
4.5 กำรเลิกจ้ำง 47
4.6 กำรประสบอันตรำย/เจ็บป่วยในกำรทำงำน (กองทุนเงนิ ทดแทน) 49
5. กำรประกนั สังคม 50
6. ปญั หำด้ำนแรงงำนท่ีสำคญั 50
7. ผลกำรดำเนนิ งำนท่สี ำคญั ตำมนโยบำยรฐั บำล/นโยบำยกระทรวงแรงงำน 50
7.1 กำรดำเนนิ งำนด้ำนกำรแกไ้ ขปัญหำกำรค้ำมนษุ ยด์ ำ้ นแรงงำน 51
7.2 กำรดำเนินงำนด้ำน TO BE NUMBER ONE 51
7.3 มำตรกำรปอ้ งกันและเฝำ้ ระวงั กำรแพรร่ ะบำดของโรคตดิ เช้อื ไวรสั โคโรนำ 2019 (COVID-19) 51
8. อน่ื ๆ 56
8.1 ควำมต้องกำรและกำรขำดแคลนแรงงำนจังหวัดลำปำง 57
8.2 ข้อมูลแรงงำนผู้สงู อำยุ 58
8.3 แรงงำนพกิ ำร 59
8.4 อัตรำคำ่ จ้ำงขนั้ ตำ่
8.5 สรปุ อตั รำค่ำจำ้ งตำมมำตรฐำนฝมี อื แรงงำน
ภำคผนวก

สำรบญั ตำรำง

หนำ้

ตำรำงที่ 1 สถติ ิประชำกรและครวั เรอื นรำยอำเภอและรำยเทศบำล 8
ตำรำงท่ี 2 ตำรำงแสดงอัตรำค่ำจ้ำงขั้นตำ่ ใหม่ ซ่งึ ไดป้ ระกำศให้มีผลใช้บังคับ ตัง้ แต่วนั ที่ 1 มกรำคม 2563 58
ตำรำงท่ี 3 อัตรำค่ำจ้ำงตำมมำตรฐำนฝีมือ (ฉบับที่ 9) 59
ภำคผนวก
ตำรำงที่ 1 ผลิตภัณฑ์มวลรวมจงั หวัดลำปำงไตรมำสที่ 3 ปี 2564 ณ รำคำคงที่ ปี 2562 จำแนกตำมสำขำกำรผลิต 64
ตำรำงท่ี 2 ดัชนรี ำคำผูบ้ ริโภคจังหวดั ลำปำง ณ เดือน กันยำยน 2563 จำแนกตำมประเภทของดชั นแี ละหมวดสนิ ค้ำ 65
ตำรำงท่ี 3 กำรจดทะเบียนของนติ บิ ุคคลตัง้ ใหม่ตำมหมวดธุรกิจจงั หวดั ลำปำง ไตรมำสที่ 3 ปี 2564 66
ตำรำงที่ 4 กำรจดทะเบียนโรงงำนอุตสำหกรรมที่ประกอบกิจกำรใหม่ของจงั หวัดลำปำง ไตรมำสท่ี 3 ปี 2564 66
ตำรำงที่ 5 อตั รำกำรมีสว่ นร่วมในกำลังแรงงำนของจังหวัดลำปำง 67
ตำรำงท่ี 6 อตั รำกำรมงี ำนทำใน/นอกภำคเกษตรของจังหวัดลำปำง 67
ตำรำงท่ี 7 อตั รำกำรมงี ำนทำในภำคอตุ สำหกรรมของจงั หวัดลำปำง 67
ตำรำงท่ี 8 อตั รำกำรว่ำงงำนของจงั หวัดลำปำง 68
ตำรำงที่ 9 อัตรำกำรเปล่ียนแปลงของจำนวนผปู้ ระกันตนในระบบประกนั สงั คม (ม.33) ,อัตรำกำรเปล่ียนแปลง
68
ของผู้ประกนั ตนทีข่ อรับประโยชน์ทดแทน และอตั รำกำรเลิกจำ้ งลูกจำ้ งในระบบประกนั สังคม
ตำรำงที่ 10 อตั รำกำรบรรจุงำนของจงั หวดั 68
ตำรำงท่ี 11 อตั รำกำรจำ้ งแรงงำนต่ำงดำ้ วในจงั หวดั 69
ตำรำงที่ 12 อัตรำกำรไม่ปฏบิ ตั ิตำมกฎหมำยคุ้มครองแรงงำน/ควำมปลอดภัยในกำรทำงำนของสถำนประกอบกำร 69
ตำรำงที่ 13 อัตรำกำรเกิดข้อพิพำท/ขอ้ ขดั แย้งแรงงำนต่อสถำนประกอบกำร 100,000 แหง่ 69
ตำรำงที่ 14 อัตรำแรงงำนที่เป็นผู้ประกนั ตนในจงั หวัด 70
ตำรำงท่ี 15 ประชำกรจงั หวัดลำปำงจำแนกตำมเพศ และสถำนภำพแรงงำนไทย ไตรมำสท่ี 2 ปี 2564 71
ตำรำงที่ 16 ผู้มงี ำนทำจงั หวดั ลำปำง จำแนกตำมช่วงอำยุและเพศ ไตรมำสที่ 2 ปี 2564 71
ตำรำงท่ี 17 ผูม้ งี ำนทำจงั หวัดลำปำง จำแนกตำมระดับกำรศึกษำและเพศ ไตรมำสที่ 2 ปี 2564 72
ตำรำงท่ี 18 ผู้มีงำนทำจงั หวดั ลำปำง จำแนกตำมอำชะและเพศ ไตรมำสที่ 2 ปี 2564 72
ตำรำงท่ี 19 ผมู้ ีงำนทำจังหวัดลำปำง จำแนกตำมประเภทอตุ สำหกรรมและเพศ ไตรมำสที่ 2 ปี 2564 73
ตำรำงท่ี 20 ผู้มีงำนทำจังหวดั ลำปำง จำแนกตำมสภำพกำรทำงำน ไตรมำสท่ี 2 ปี 2564 69
ตำรำงที่ 21 ผวู้ ่ำงงำนในจงั หวัดลำปำง จำแนกตำมช่วงอำยุและเพศ ไตรมำสท่ี 2 ปี 2564 69
ตำรำงที่ 22 ผวู้ ่ำงงำนในจงั หวัดลำปำงจำแนกตำมระดับกำรศกึ ษำและเพศ ไตรมำสท่ี 2 ปี 2564 75
ตำรำงท่ี 23 แรงงำนนอกระบบในจังหวัดลำปำงจำแนกตำมช่วงอำยุและเพศ ปี 2563 75
ตำรำงที่ 24 แรงงำนนอกระบบในจงั หวดั ลำปำง จำแนกตำมระดับกำรศกึ ษำและเพศ ปี 2563 76
ตำรำงท่ี 25 แรงงำนนอกระบบในจงั หวัดลำปำง จำแนกตำมอำชีพและเพศ ปี 2563 76
ตำรำงที่ 26 ตำแหน่งงำนวำ่ ง/ผู้สมัครงำน/กำรบรรจุงำน จงั หวัดลำปำง จำแนกตำมเพศ ไตรมำสที่ 3 ปี 2564 77
ตำรำงท่ี 27 ตำแหนง่ งำนวำ่ ง/ผู้สมัครงำน/กำรบรรจุงำน จังหวัดลำปำง จำแนกตำมชว่ งอำยุ ไตรมำสที่ 3 ปี 2564 77
ตำรำงที่ 28 ตำแหนง่ งำนว่ำง/ผู้สมัครงำน/กำรบรรจงุ ำนจงั หวดั ลำปำงจำแนกตำมระดับกำรศกึ ษำไตรมำสที่ 3ปี 2564 78

ตำรำงที่ 29 ตำแหน่งงำนว่ำง/ผูส้ มคั รงำน/กำรบรรจุงำน จงั หวดั ลำปำง จำแนกตำมอำชพี ไตรมำสท่ี 3 ปี 2564 78
79
ตำรำงที่ 30 ตำแหน่งงำนว่ำง/กำรบรรจงุ ำน จงั หวัดลำปำง จำแนกตำมประเภทอุตสำหกรรม ไตรมำสท่ี 3 ปี 2564 80
ตำรำงที่ 31 แรงงำนตำ่ งด้ำว จำแนกตำมลกั ษณะกำรเข้ำเมอื งและประเภทคนต่ำงด้ำว ไตรมำสที่ 3 ปี 2564 81
ตำรำงท่ี 32 แรงงำนดำ้ วประเภทท่ัวไป (มำตรำ 59) และชนกลุ่มนอ้ ย (มำตรำ 63) จงั หวดั ลำปำงจำแนกตำม
82
ประเภทอำชพี และสญั ชำตทิ เี่ ขำ้ มำทำงำนมำกท่ีสดุ (ยกเวน้ ประเภทตลอดชพี ) ไตรมำสท่ี 3 ปี 2564
ตำรำงที่ 33 แรงงำนต่ำงด้ำวที่ยื่นขอจดทะเบียน ณ ศูนย์บริกำรแบบเบ็ดเสร็จ (OSS) จังหวัดลำปำงจำแนกตำม 82

สญั ชำติ ไตรมำสท่ี 3 ปี 2564 (มติ ครม. 29 ธ.ค. 2563) 82
ตำรำงที่ 34 แรงงำนไทยท่ีลงทะเบยี นแจง้ ควำมประสงค์เดินทำงไปทำงำนต่ำงประเทศ จังหวดั ลำปำง จำแนกตำม
83
เพศและระดบั กำรศึกษำ ไตรมำสท่ี 3 ปี 2564
ตำรำงที่ 35 แรงงำนไทยจงั หวัดลำปำง ท่ีได้รับอนุมัติเดนิ ทำงไปทำงำนต่ำงประเทศ จำแนกตำมวธิ ีกำรเดินทำง 83
84
ไตรมำสท่ี 3 ปี 2564 85
ตำรำงท่ี 36 แรงงำนไทยจงั หวดั ลำปำงท่ีไดร้ ับอนมุ ัติเดนิ ทำงไปทำงำนต่ำงประเทศ จำแนกตำมภมู ภิ ำคท่ไี ปทำงำน
86
ไตรมำสที่ 3 ปี 2564 87
ตำรำงท่ี 37 กำรฝึกเตรียมเขำ้ ทำงำน/กำรฝึกยกระดบั ฝมี ือแรงงำน/กำรทดสอบมำตรฐำนฝีมอื แรงงำน 88
88
ในจังหวัดลำปำง จำแนกตำมกลุ่มอำชพี ไตรมำสท่ี 3 ปี 2564 89
ตำรำงท่ี 38 กำรตรวจแรงงำนในจังหวดั ลำปำง จำแนกตำมขนำดสถำนประกอบกำร ไตรมำสที่ 3 ปี 2564 89
ตำรำงท่ี 39 สถำนประกอบกจิ กำรทีผ่ ำ่ นกำรตรวจและปฏิบตั ไิ มถ่ กู ตอ้ ง จำแนกตำมอตุ สำหกรรม และเร่ืองที่
89
ปฏบิ ตั ไิ ม่ถกู ตอ้ งตำมกฎหมำยคุ้มครองแรงงำนในจงั หวดั ลำปำง ไตรมำสท่ี 3 ปี 2564
ตำรำงท่ี 40 กำรตรวจควำมปลอดภยั ในกำรทำงำนในจงั หวัดลำปำง จำแนกตำมขนำดสถำนประกอบกำร 90

ไตรมำสที่ 3 ปี 2564 90
ตำรำงที่ 41 กำรตรวจควำมปลอดภัยในกำรทำงำนในจังหวัดลำปำง จำแนกตำมอุตสำหกรรม ไตรมำสท่ี 3 ปี 2564
ตำรำงที่ 42 องค์กรนำยจำ้ ง/ลกู จ้ำงในจังหวัดลำปำง
ตำรำงท่ี 43 ขอ้ เรียกร้อง/ขอ้ พพิ ำท/ข้อขดั แย้ง ในจังหวดั ลำปำง ไตรมำสท่ี 3 ปี 2564
ตำรำงที่ 44 กำรสง่ เสริมกำรจดั สวสั ดกิ ำรแรงงำนจำแนกกจิ กรรมที่สง่ เสรมิ ในจังหวัดลำปำง ไตรมำสท่ี 3 ปี 2564
ตำรำงที่ 45 สถำนประกอบกำรท่เี ลกิ กจิ กำร และลกู จ้ำงท่ถี กู เลกิ จ้ำงในจงั หวดั ลำปำง จำแนกตำมขนำดสถำนประกอบกำร

ไตรมำสที่ 3 ปี 2564
ตำรำงที่ 46 สถำนประกอบกำรท่ีเลกิ กิจกำรและลกู จ้ำงทถี่ กู เลิกจ้ำงในจังหวัดลำปำงจำแนกตำมประเภทกิจกำร

ไตรมำสท่ี 3 ปี 2564
ตำรำงท่ี 47 กำรประสบอันตรำยหรือเจ็บปว่ ยเนอ่ื งจำกกำรทำงำนจำแนกตำมขนำดสถำนประกอบกำร

และควำมร้ำยแรงกำรประสบอนั ตรำย ไตรมำสที่ 3 ปี 2564
ตำรำงที่ 48 กำรประสบอันตรำยหรือเจบ็ ปว่ ยเนอ่ื งจำกกำรทำงำน จำแนกตำมสำเหตุและควำมร้ำยแรง

กำรประสบอนั ตรำย ไตรมำสที่ 3 ปี 2564

สำรบญั แผนภมู ิ

หนำ้

แผนภมู ิท่ี 1 จำนวนกำรจดทะเบยี นของนิติบุคคลต้ังใหม่จงั หวัดลำปำง จำแนกตำมหมวดธุรกิจ ไตรมำสที่ 3 ปี 2564 13

แผนภมู ทิ ี่ 2 อัตรำกำรมีส่วนร่วมในกำลังแรงงำนจังหวัดลำปำง 14

แผนภูมทิ ี่ 3 อัตรำกำรมีงำนทำใน/นอกภำคเกษตรจงั หวัดลำปำง 15

แผนภมู ิท่ี 4 อัตรำกำรมีงำนทำในอุตสำหกรรมกำรผลิตจงั หวัดลำปำง 16

แผนภมู ทิ ี่ 5 อัตรำกำรว่ำงงำนจงั หวัดลำปำง 17

แผนภูมิท่ี 6 อัตรำกำรเปล่ียนแปลงของจำนวนผู้ประกันตนในระบบประกนั สังคม (มำตรำ 33) ผู้ประกันตนที่ขอรับ 18
ประโยชนท์ ดแทนกรณีว่ำงงำน และกรณีเลกิ จ้ำงจงั หวัดลำปำง

แผนภูมทิ ี่ 7 อัตรำกำรบรรจงุ ำนต่อผู้สมัครงำน/ตำแหน่งงำนวำ่ งในจังหวดั ลำปำง 19

แผนภมู ิท่ี 8 อัตรำกำรจำ้ งแรงงำนต่ำงดำ้ วในจงั หวัดลำปำง 20

แผนภูมิท่ี 9 อัตรำกำรปฏิบัตไิ มถ่ กู ตอ้ งตำมกฎหมำยคุ้มครองแรงงำนและกฎหมำยควำมปลอดภยั ในกำรทำงำนของ 21
สถำนประกอบกำรจงั หวัดลำปำง

แผนภมู ทิ ี่ 10 อัตรำกำรเกิดข้อพิพำท/ขอ้ ขดั แย้งแรงงำนตอ่ สถำนประกอบกำรต่อ 100,000 แห่ง ในจงั หวัด 22

แผนภมู ทิ ี่ 11 อัตรำแรงงำนท่ีเป็นผู้ประกันตนในจังหวัดลำปำง 22

แผนภูมทิ ่ี 12 โครงสร้ำงประชำกรจังหวัดลำปำง ไตรมำสท่ี 2/2564 24

แผนภูมิท่ี 13 ผู้มีงำนทำจังหวัดลำปำง จำแนกตำมระดับกำรศกึ ษำ ไตรมำสที่ 2/2564 25

แผนภมู ิท่ี 14 ผูม้ งี ำนทำจังหวัดลำปำง จำแนกตำมอำชีพ ไตรมำสที่ 2/2564 (5 อันดับแรก) 25

แผนภูมิท่ี 15 ผมู้ ีงำนทำจงั หวัดลำปำงจำแนกตำมประเภทอุตสำหกรรมนอกภำคเกษตรกรรม ไตรมำส 2/2564 26
(5 อันดับแรก)

แผนภูมทิ ี่ 16 ผมู้ ีงำนทำจังหวัดลำปำง จำแนกตำมสถำนภำพกำรทำงำน ไตรมำสที่ 2/2564 27

แผนภมู ทิ ่ี 17 จำนวนผู้มงี ำนทำท่ีอยู่ในแรงงำนนอกระบบในจังหวัดลำปำง จำแนกตำมอำยุ ปี 2563* 27

แผนภมู ทิ ่ี 18 ผู้มงี ำนทำทอ่ี ยู่ในแรงงำนนอกระบบในจงั หวดั ลำปำงจำแนกตำมระดับกำรศกึ ษำ ปี 2563* 28

แผนภูมิที่ 19 จำนวนผูม้ งี ำนทำที่อยู่ในแรงงำนนอกระบบในจงั หวัดลำปำง จำแนกตำมอำชพี (5 อนั ดับแรก) ปี 2563* 28

แผนภมู ิท่ี 20 เปรยี บเทียบตำแหน่งงำนว่ำง/กำรสมัครงำน/กำรบรรจุงำน ไตรมำสท่ี 3/2564 29

แผนภมู ทิ ี่ 21 ตำแหนง่ งำนวำ่ ง ผู้สมัครงำน และกำรบรรจุงำนจงั หวัดลำปำง จำแนกตำมเพศ ไตรมำสท่ี 3/2564 30

แผนภมู ิท่ี 22 กำรบรรจงุ ำนจังหวัดลำปำง จำแนกตำมอำยุ ไตรมำสที่ 3/2564 30

แผนภูมิที่ 23 ตำแหน่งงำนว่ำง/ผู้สมัครงำน/กำรบรรจงุ ำนจงั หวัดลำปำงจำแนกตำมระดับกำรศึกษำไตรมำสท่ี 3/2564 31

แผนภมู ิท่ี 24 ตำแหนง่ งำนว่ำงจังหวัดลำปำงจำแนกตำมอำชพี ไตรมำสที่ 3/2564 (5 อนั ดับแรก) 32

แผนภมู ิท่ี 25 ผู้ลงทะเบียนสมัครงำนจังหวัดลำปำงจำแนกตำมอำชพี ไตรมำสท่ี 3/2564 (5 อันดับแรก) 32

แผนภมู ิที่ 26 กำรบรรจงุ ำนจงั หวดั ลำปำงจำแนกตำมอำชีพ ไตรมำสท่ี 3/2564 (5 อันดับแรก) 33

แผนภมู ทิ ่ี 27 ผู้ลงทะเบียนสมัครงำนจงั หวดั ลำปำงจำแนกตำมอุตสำหกรรม ไตรมำสที่ 3/2564 (5 อันดับแรก) 33

แผนภูมทิ ี่ 28 กำรบรรจุงำนจงั หวดั ลำปำงจำแนกตำมอุตสำหกรรม ไตรมำสท่ี 3/2564 (5 อนั ดับแรก ) 34

แผนภมู ทิ ี่ 29 แรงงำนต่ำงด้ำวจำแนกตำมลักษณะกำรเขำ้ เมืองและประเภทต่ำงด้ำว ไตรมำสที่ 3 ปี 2564 35

แผนภมู ทิ ่ี 30 แรงงำนด้ำวประเภททั่วไป (มำตรำ 59) และชนกลมุ่ นอ้ ย (มำตรำ 63) จงั หวัดลำปำงจำแนกตำม 36
ประเภทอำชีพและสญั ชำติที่เข้ำมำทำงำนมำกทสี่ ุด ไตรมำสท่ี 3 ปี 2564
36
แผนภมู ิที่ 31 แรงงำนต่ำงด้ำวประเภททั่วไป (มำตรำ 59) และชนกลุ่มนอ้ ย (มำตรำ 63) จังหวัดลำปำง จำแนกตำม
อำชีพท่ีเข้ำมำทำงำนมำกท่ีสุด (5 อันดับแรก) ไตรมำสที่ 3 ปี 2564 37

แผนภมู ทิ ่ี 32 แรงงำนไทยจังหวัดลำปำงที่แจง้ ควำมประสงค์เดินทำงไปทำงำนต่ำงประเทศ จำแนกตำมระดับ 38
กำรศกึ ษำ
38
ไตรมำสท่ี 3 ปี 2564 39
แผนภมู ทิ ่ี 33 แรงงำนไทยจงั หวัดลำปำงทไี่ ดร้ ับอนมุ ตั ิเดนิ ทำงไปทำงำนต่ำงประเทศ จำแนกตำมวิธกี ำรเดินทำง 40

ไตรมำสท่ี 3 ปี 2564 40
แผนภมู ิท่ี 34 แรงงำนไทยจงั หวัดลำปำงทไ่ี ด้รับอนมุ ตั ิเดินทำงไปทำงำนต่ำงประเทศ จำแนกตำมภมู ิภำค
41
ท่ีไปทำงำน ไตรมำสท่ี 3 ปี 2564
แผนภมู ท่ี 35 กำรฝึกเตรยี มเขำ้ ทำงำนและผ่ำนกำรฝึกในจงั หวัดลำปำง จำแนกตำมกลุ่มอำชีพ ไตรมำสที่ 3 ปี 2564 42
แผนภูมทิ ่ี 36 กำรฝึกยกระดับฝมี อื แรงงำนและผ่ำนกำรฝึกยกระดับฝีมอื แรงงำนในจงั หวดั ลำปำงจำแนกตำม 43
44
กลุ่มอำชีพ ไตรมำสที่ 3 ปี 2564 45
แผนภมู ิที่ 37 กำรทดสอบมำตรฐำนฝีมอื แรงงำนและผ่ำนกำรทดสอบมำตรฐำนฝีมือแรงงำนในจงั หวัดลำปำง
46
จำแนกตำมกลุ่มอำชีพ ไตรมำสท่ี 3 ปี 2564
แผนภูมทิ ่ี 38 เปรียบเทียบสถำนประกอบกำรท่ีปฏิบัติถูกต้อง/ไม่ถูกต้องตำมกฎหมำยค้มุ ครองแรงงำน 46

ไตรมำสที่ 3/2564 47
แผนภูมทิ ี่ 39 กำรตรวจควำมปลอดภยั ในสถำนประกอบกำรจงั หวัดลำปำง ไตรมำสท่ี 3/2564 จำแนกตำมขนำด
47
สถำนประกอบกำร 48
แผนภูมิท่ี 40 ผลกำรตรวจควำมปลอดภัยอัตรำกำรปฏิบัตไิ ม่ถกู ต้องตำมกฎหมำยจังหวัดลำปำง ไตรมำสที่ 3/2564 48
แผนภมู ทิ ี่ 41 สถำนประกอบกำรทีเ่ ลกิ กิจกำรสงู สุดในจังหวัดลำปำง ไตรมำสท่ี 3 ปี 2564 49
แผนภมู ทิ ่ี 42 สถำนประกอบกำรที่เลิกกิจกำร และลูกจ้ำงทีถ่ ูกเลิกจ้ำงในจังหวดั ลำปำง จำแนกตำมประเภทกิจกำร

ไตรมำสท่ี 3 ปี 2564
แผนภมู ิท่ี 43 ผู้ประสบอันตรำยหรือเจ็บป่วยเน่อื งจำกกำรทำงำน จำแนกตำมขนำดสถำนประกอบกำร

ไตรมำสที่ 3 ปี 2564
แผนภูมทิ ี่ 44 ผู้ประสบอันตรำยหรอื เจ็บป่วยเนอ่ื งจำกกำรทำงำนจงั หวดั ลำปำง จำแนกตำมควำมรำ้ ยแรง

กำรประสบอนั ตรำย ไตรมำสที่ 3 ปี 2564
แผนภูมทิ ่ี 45 ผู้ประสบอนั ตรำยหรือเจ็บป่วยเน่ืองจำกกำรทำงำนจงั หวดั ลำปำง จำแนกตำมสำเหตุกำรประสบ
อันตรำย

(5 อันดับแรก) ไตรมำสท่ี 3 ปี 2564
แผนภูมิท่ี 46 ผู้ประกนั ในจังหวัดลำปำง จำแนกตำมมำตรำ ไตรมำสท่ี 3 ปี 2564
แผนภมู ิท่ี 47 สถำนประกอบกำรและผู้ประกันตนในจงั หวัดลำปำงจำแนกตำมมำตรำ 33 ไตรมำสที่ 3 ปี 2564
แผนภูมทิ ี่ 48 ผู้ประกนั ตนในจังหวัดลำปำง ทใี่ ช้บรกิ ำรกองทนุ ประกนั สังคม จำแนกตำมประเภทประโยชนท์ ดแทน

ไตรมำสที่ 3 ปี 2564
แผนภมู ิที่ 49 กำรจ่ำยเงนิ ประโยชน์ทดแทนจงั หวัดลำปำง จำแนกตำมประเภทประโยชน์ทดแทน ไตรมำสท่ี 3 ปี 2564





สภาพเศรษฐกิจโดยรวมของจังหวัดลาปาง

เศรษฐกิจของจังหวัดลำปำง ไตรมำสที่ 3 ปี 2564 พบว่ำ อุตสำหกรรมท่ีมีผลิตภัณฑ์มวลรวมสูงสุด 3 อันดับแรก
ได้แก่ 1. กำรทำเหมืองแร่และเหมืองหิน มูลค่ำ 12,196 ล้ำนบำท (ร้อยละ 17.08 ของ GPP) 2. กำรผลิต มูลค่ำ
8,806 ล้ำนบำท (ร้อยละ 12.33 ของ GPP) 3. อุตสำหกรรมกำรขำยส่งและกำรขำยปลีก กำรซ่อมแซมยำนยนต์
และจักรยำนยนต์ มูลค่ำ 8,688 ล้ำนบำท (ร้อยละ 12.17 ของ GPP) ดัชนีรำคำผู้บริโภคของจังหวัดลำปำง
เดือนกันยำยน 2564 เท่ำกับ 102.0 (ปีฐำน 2562) และเดือนสิงหำคม 2564 เท่ำกับ 101.8 เมื่อเทียบกับระยะเวลำ
กำรเปลี่ยนแปลง 1. เดือนสิงหำคม 2564 (MoM) สูงขึ้น 0.2 2. เดือนกันยำยน 2563 (YoY) สูงขึ้น 2.4 3. เฉลี่ย 9 เดือน
(ม.ค. - ก.ย.) ปี 2564 เทีบบกับช่วงเดียวกันของปี 2563 (AoA) สูงข้ึน 1.9 ในส่วนกำรจดทะเบียนนิติบุคคลต้ังใหม่ตำม
หมวดธรุ กิจจงั หวัดลำปำง จำนวน 115 แหง่ ทนุ กำรจดทะเบยี น 170.91 ลำ้ นบำท แยกเป็นบรษิ ทั จำกัด 47 แหง่ ทนุ กำรจด
ทะเบยี น 84.55 ลำ้ นบำท ห้ำงหุ้นส่วนจำกดั 68 แห่ง ทนุ กำรจดทะเบียน 86.36 ลำ้ นบำท

สถานการณ์แรงงานจังหวัดลาปาง ไตรมาสที่ 2 ปี 2564

จำกกำรสำรวจภำวกำรณท์ ำงำนของประชำกรในจังหวัดลำปำงของสำนักงำนสถิติจังหวัดลำปำงพบว่ำ
ประชากรวัยแรงงาน ไตรมำสท่ี 2 ปี 2564 จังหวัดลำปำง มีประชำกรท่ีอยู่ในวัยแรงงำนหรือผู้ที่มีอำยุ 15 ปีขึ้นไป
จำนวน 631,852 คน เป็นผู้อยู่ในกาลังแรงงาน 370,374 คน ประกอบด้วย ผู้มีงำนทำ 358,828 คน ผู้ว่ำงงำน 9,879 คน
และผ้รู อฤดกู ำล 1,666 คน และเป็นผู้อยนู่ อกกาลังแรงงาน 261,478 คน
การมีงานทา ผู้มีงำนทำในจังหวัดลำปำง จำนวน 358,828 คน (ร้อยละ 96.88) ผู้มีงำนทำในภำคเกษตร
จำนวน 128,205 คน (ร้อยละ 35.73) นอกภำคเกษตร จำนวน 230,623 คน (ร้อยละ 64.27) โดยทำงำนในสำขำ
กำรขำยส่งและกำรขำยปลีก กำรซ่อมแซมยำนยนต์และรถจักรยำนยนต์ มำกที่สุด จำนวน 55,142 คน (ร้อยละ
23.91) รองลงมำ คอื กำรผลิต จำนวน 41,743 คน (รอ้ ยละ 18.10) กำรก่อสรำ้ ง 27,575 คน (ร้อยละ 11.96) ที่พักแรม
และบริกำรด้ำนอำหำร 23,537 คน (ร้อยละ 10.21) และกำรบริหำรรำชกำร กำรป้องกันประเทศ ประกันสังคมภำคบังคับ
22,071 คน (ร้อยละ 9.57) ตำมลำดับ และผู้มีงำนทำส่วนใหญ่มีกำรศึกษำต่ำกว่ำประถมศึกษำ จำนวน 183,972 คน
(ร้อยละ 29.12) รองลงมำ คือ ระดับอดุ มศึกษำ 124,073 คน (รอ้ ยละ 19.64)
การว่างงาน จงั หวัดลำปำง มผี ู้วำ่ งงำน 9,879 คน หรอื มอี ตั รำกำรวำ่ งงำนร้อยละ 2.67
แรงงานนอกระบบ จำกข้อมูลเบ้ืองต้น ปี 2563 มีแรงงำนนอกระบบจำนวน 265,392 คน (ร้อยละ 65.24)
ของประชำกรที่มีงำนทำ โดยส่วนใหญ่จะทำงำนในภาคเกษตร จำนวน 167,397 คน (ร้อยละ 63.08) นอกภาคเกษตร
จำนวน97,996คน (ร้อยละ36.93)อุตสาหกรรมท่ีมีแรงงำนนอกระบบสูงสุดคือ กำรขำยส่ง กำรขำยปลีกกำรซ่อมแซมยำนยนต์ ฯลฯ
จำนวน 36,798 คน (รอ้ ยละ 37.55) รองลงมำ คอื กำรผลิต จำนวน 22,188 คน (รอ้ ยละ 22.64) สว่ นอาชพี ทมี่ ีกำรทำงำน
นอกระบบสูงสุด คือ ผู้ปฏิบัติงำนที่มีฝีมือด้ำนเกษตรและประมง จำนวน 161,392 คน (ร้อยละ 60.81) สำหรับ
ดา้ นการศึกษาแรงงำนนอกระบบสว่ นใหญม่ กี ำรศกึ ษำในระดับต่ำกว่ำประถมศึกษำ จำนวน 99,177 คน (ร้อยละ 37.37)

สถานการณ์แรงงานจงั หวดั ลาปาง ไตรมาส 3/2564 (กรกฎาคม - กนั ยายน) 1

จำกข้อมูลของสำนกั งำนจัดหำงำนจังหวัดลำปำง พบวำ่
การบริการจัดหางานในประเทศ ในชว่ งไตรมำสท่ี 3 ปี 2564 นำยจำ้ ง/สถำนประกอบกำรได้แจ้งตำแหนง่ งำนว่ำง
จำนวน 1,781 อัตรำ โดยมีผู้สมัครงำน 763 คน และกำรบรรจุงำน จำนวน 559 คน อัตรำบรรจุงำนต่อตำแหน่งงำนว่ำง
ร้อยละ 31.39 ส่วนตำแหน่งงำนว่ำงตำมระดับกำรศึกษำที่ต้องกำรสูงสุดคือ ระดับมัธยมศึกษำ มีควำมต้องกำรมำกที่สุด
จำนวน 651 อัตรำ (ร้อยละ 36.55) รองลงมำเป็นระดับ ปวส. จำนวน 360 อัตรำ (ร้อยละ 20.21) และระดับ ปวช.
จำนวน 322 อัตรำ (ร้อยละ 18.08) ตำมลำดับ และอุตสำหกรรมที่มีตำแหน่งงำนวำ่ งมำกท่ีสุด คือ กำรผลิต จำนวน
767 อตั รำ (รอ้ ยละ 43.07) และอำชพี ท่ีมีกำรบรรจงุ ำนมำกทส่ี ุด คอื อำชีพงำนพื้นฐำนต่ำง ๆ จำนวน 286 คน (ร้อยละ 51.16)
ความต้องการแรงงาน ในจังหวัดลำปำงข้อมูลปีงบประมำณ 2564 จำกกลุ่มตัวอย่ำงทั้งหมด 217 ตัวอย่ำง
ชีใ้ หเ้ ห็นว่ำ รอ้ ยละ 3.68 ของกลุ่มตัวอย่ำง ระบถุ งึ ควำมต้องกำรแรงงำนและกำรขำดแคลนแรงงำน ณ ปี ปัจจุบันทท่ี ำกำร
สำรวจ และประมำณร้อยละ 20.28 ระบุถึงควำมต้องกำรท่ีจะเกิดข้ึนภำยใน 1 ปี โดยสถำนประกอบกำรมีควำมต้องกำร
แรงงำนในประเภทอุตสำหกรรมกอ่ สร้ำง กำรขำยส่งขำยปลีก กำรซอ่ มยำนยนต์และจักรยำนยนต์ กำรผลติ กจิ กรรมโรงแรม
และบริกำรดำ้ นอำหำร ตำมลำดับ แรงงำนที่ตอ้ งกำรสว่ นใหญ่ต้องกำรระดับช้ันมัธยมศกึ ษำตอนตอนตน้ มำกท่ีสดุ รองลงมำ
คือ วฒุ กิ ำรศกึ ษำระดบั ต่ำกว่ำมัธยมศึกษำตอนต้น และระดบั ปวช. หำกจำแนกตำมกลุ่มอุตสำหกรรม พบว่ำมปี ระเภท
อุตสำหกรรมจำนวน 6 กลุ่ม ท่ีมีควำมต้องกำรแรงงำน ได้แก่ 1. กำรผลิต 2. กำรขำยส่ง และกำรขำยปลีก กำรซ่อมยำน
ยนต์และรถจักรยำนยนต์ 3. กำรก่อสร้ำง 4. กิจกรรมกำรบริหำรและกำรบริกำรสนับสนุน 5. กิจกรรมโรงแรมและบริกำร
ด้ำนอำหำร 6. กำรทำเหมืองแรแ่ ละเหมืองหิน
การใช้แรงงานต่างด้าว จำนวนคนต่ำงด้ำวที่ได้รับอนุญำตทำงำนคงเหลือจำนวน 3,443 คน จำแนกเป็นกลุ่ม
ต่ำง ๆ ดังนี้

1. คนต่างด้าวตลอดชีพ ได้แก่ คนต่ำงด้ำวที่ได้รับอนุญำตให้อยู่ในรำชอำณำจักร และทำงำนตำม
ประกำศของคณะปฏบิ ัติ ฉบบั ที่ 322 ลงวันท่ี 13 ธันวำคม 2515 จำนวน 0 คน

2. คนต่างด้าวมาตรา 59 ประเภทท่ัวไป ได้แก่ คนต่ำงด้ำวท่ีมีถ่ินที่อยู่ในรำชอำณำจักร หรือได้รับ
อนุญำตให้เข้ำมำในรำชอำณำจักรเป็นกำรชั่วครำวตำมกฎหมำยว่ำด้วยคนเข้ำเมืองโดยมิใช่ได้รับอนุญำตให้เข้ำมำ
ในฐำนะนกั ทอ่ งเทย่ี ว หรอื ผเู้ ดนิ ทำงผ่ำน และไมม่ ลี ักษณะตอ้ งห้ำมตำมท่กี ำหนดในกฎกระทรวง จำนวน 141 คน

3. คนต่างด้าวมาตรา 59 พิสูจน์สัญชาติ ได้แก่ คนต่ำงด้ำวสัญชำติเมียนมำ ลำว และกัมพูชำ
ท่ีหลบหนีเข้ำเมืองได้รับผ่อนผันให้ทำงำนและอยู่ในรำชอำณำจักรเป็นกำรช่ัวครำว ตำมมติคณะรัฐมนตรี ได้ผ่ำน
กำรพสิ จู น์สญั ชำตแิ ละปรบั สถำนะกำรเข้ำเมอื งถูกกฎหมำยเรียบรอ้ ยแลว้ จำนวน 0 คน

4. คนต่างด้าวมาตรา 59 นาเข้าตาม MOU ได้แก่ คนต่ำงด้ำวสัญชำติเมียนมำ ลำว และกัมพูชำ
ท่เี ขำ้ มำทำงำนตำมควำมตกลงระหวำ่ งรฐั บำลไทย กบั รัฐบำลประเทศตน้ ทำง จำนวน 3,097 คน

- คนต่างดา้ วมาตรา 59 นาเข้าตาม MOU จำนวน 175
- คนต่างด้าวมาตรา 59 นาเข้าตาม MOU (มติ ครม. 20 ส.ค. 2562) จำนวน 1,919 คน
- คนต่างดา้ วมาตรา 59 นาเขา้ ตาม MOU (มติ ครม. 4 ส.ค. 2563) จำนวน 97 คน
- คนตา่ งด้าวมาตรา 59 นาเข้าตาม MOU (มติ ครม. 10 พ.ย. 2563) MOU ครบ 4 ปี จำนวน 28 คน
- คนตา่ งดา้ ว มติ ครม. 29 ธ.ค. 2563 และ 26 ม.ค. 2564 จำนวน 878 คน

สถานการณ์แรงงานจังหวดั ลาปาง ไตรมาส 3/2564 (กรกฎาคม - กันยายน) 2

5. คนต่างด้าวมาตรา 62 ประเภทส่งเสริมการลงทุน ได้แก่ คนต่ำงด้ำวที่เข้ำมำทำงำน
ในรำชอำณำจกั รตำมกฎหมำยวำ่ ดว้ ยกำรส่งเสริมกำรลงทุน กฎหมำยปิโตเลยี ม หรือกฎหมำยอนื่ จำนวน 0 คน

6. คนต่างด้าวมาตรา 63 ประเภทชนกลุ่มน้อย ได้แก่ คนต่ำงด้ำวที่ไม่ได้รับสัญชำติไทยตำมกฎหมำย
วำ่ ด้วยสัญชำติ และกระทรวงมหำดไทยได้ออกเอกสำรเพือ่ รอพสิ ูจนส์ ถำนะยืน่ ขอใบอนญุ ำตทำงำน จำนวน 205 คน

7. คนต่างด้าวมาตรา 64 ได้แก่ คนต่ำงด้ำวสัญชำติเมียนมำ ลำว และกัมพูชำ ที่เข้ำมำทำงำน
บริเวณชำยแดนในลักษณะไป-กลับ หรือตำมฤดูกำลในพื้นท่ีควำมตกลงว่ำด้วยกำรสัญจรข้ำมแดน ระหว่ำง
รำชอำณำจักรไทยกับประเทศท่ตี ิดกับรำชอำณำจักรไทย จำนวน 0 คน

คนต่างด้าว 3 สัญชาติ (เมียนมา ลาว กัมพูชา) มติ ครม. 29 ธ.ค. 2563 จดทะเบียนแรงงำนต่ำงด้ำว
ณ ศูนยบ์ ริกำรจดทะเบียนแรงงำนต่ำงด้ำว (One Stop Service : OSS) จังหวดั ลำปำงจำนวนไม่มกี ำรดำเนินกำร

แรงงานไทยในต่างประเทศ ในช่วงไตรมำสที่ 3 ปี 2564 จังหวัดลำปำงมีผู้แจ้งควำมประสงค์
ไปทำงำนต่ำงประเทศจำนวน 16 คน โดยแรงงำนท่ที ำงำนในตำ่ งประเทศ สว่ นใหญ่เปน็ ผูม้ กี ำรศกึ ษำระดบั มธั ยมศกึ ษำ
จำนวน 10 คน (ร้อยละ 62.50 ของผู้แจ้งควำมประสงค์ทง้ั หมด) รองลงมำ คอื ระดับ ปวช. ปวส. ปวท. อนุปริญญำ จำนวน
6 คน คิดเป็นร้อยละ 37.50 ส่วนวิธีกำรเดินทำงพบว่ำ ไปโดยนำยจ้ำงพำไปทำงำนมีมำกที่สุด จำนวน 123 คน (ร้อยละ
44.24) รองลงมำคือ เดนิ ทำงด้วยตนเอง 47 คน (ร้อยละ 16.91) กรมกำรจัดหำงำนจดั สง่ 42 คน (รอ้ ยละ 15.11) Re-Entry
คือกลับไปทำงำนอีกคร้ังหน่ึงโดยกำรต่ออำยุสัญญำ 38 คน (ร้อยละ 13.67) และบริษัทจัดหำงำนจัดส่ง 28 คน (ร้อยละ
10.07) ส่วนภูมิภำคท่ีแรงงำนไทยไปทำงำนส่วนใหญ่จะกระจุกตัวในภูมิภำคเอเชีย ได้แก่ ไต้หวัน สิงคโปร์ มำเลเซีย
และสำธำรณรัฐเกำหลี จำนวน 214 คน (ร้อยละ 76.98) ของแรงงำนท่ไี ปทำงำนต่ำงประเทศทั้งหมด

จำกข้อมูลของสถำบนั พฒั นำฝมี ือแรงงำน 10 ลำปำง พบวำ่

การพัฒนาศักยภาพแรงงาน กำรฝึกเตรยี มเข้าทางาน ในช่วงไตรมำสที่ 3/2564 (เดือนกรกฎำคม - กันยำยน 2564)
ไม่มีผู้เข้ำรับการฝึกเตรียมเข้าทางาน เนื่องจำกเป็นช่วงสิ้นสุดงบประมำณของรำชกำร จึงไม่มีกำรเปิดฝึกเตรียมเข้ำทำงำน
สำหรับกำรฝกึ ยกระดบั ฝีมอื แรงงาน พบว่ำมีผเู้ ขำ้ รับกำรฝึกยกระดับฝีมอื แรงงำนทง้ั สิ้น 219 คน พจิ ำรณำตำมกลมุ่ อำชีพ
ท่ีฝึกพบว่ำกลุ่มอำชีพธุรกิจและบริกำร มีกำรฝึกยกระดับฝีมือแรงงำนสูงสุด 90 คน (ร้อยละ 41.40) ของผู้เข้ำรับกำรฝึก
ยกระดบั ฝมี อื แรงงำน รองลงมำไดแ้ ก่ กล่มุ ชำ่ งไฟฟ้ำ อิเล็กทรอนิกส์ คอมพวิ เตอร์ 78 คน (รอ้ ยละ 35.62) ชำ่ งอุตสำหกำร
31 คน (ร้อยละ 14.16) และช่ำงก่อสร้ำง 20 คน (รอ้ ยละ 9.13) สว่ นกำรทดสอบมาตรฐานฝีมือแรงงาน ในไตรมำสนี้
พบว่ำมีผู้เข้ำรับกำรทดสอบมำตรฐำนฝีมือแรงงำนท้ังส้ิน 65 คน พิจำรณำตำมกลุ่มอำชีพที่เข้ำรับกำรทดสอบมำตรฐำน
ฝีมือแรงงำนพบว่ำกลุ่มช่ำงไฟฟ้ำอิเล็กทรอนิกส์ คอมพิวเตอร์ มีกำรทดสอบมำตรฐำนฝีมอื แรงงำนสูงสุด 55 คน (ร้อยละ
84.62) ของผู้เข้ำรับกำรทดสอบมำตรฐำนฝมี ือแรงงำน และชำ่ งอุตสำหกำร 10 คน (ร้อยละ 15.38)

จำกข้อมลู ของสำนกั งำนสวัสดิกำรและค้มุ ครองแรงงำนจังหวดั ลำปำง พบวำ่

การคุ้มครองแรงงาน จำกกำรตรวจสถำนประกอบกำรท้ังส้ิน 47 แห่ง มีลูกจ้ำงท่ีผ่ำนกำรตรวจ จำนวน 1,909 คน
ซ่ึงสถำนประกอบกำรที่ตรวจส่วนใหญ่เป็นสถำนประกอบกำรขนำดเล็ก (ลูกจ้ำง 20 - 49 คน) จำนวน 18 แห่ง (ร้อยละ 38.30)
ซึ่งสถำนประกอบกำรท่ผี ่ำนกำรตรวจท้ังหมด 47 แหง่ ปฏิบตั ถิ ูกตอ้ งตำมกฎหมำยฯ ทั้งหมด

การตรวจความปลอดภัยในการทางาน มีกำรตรวจควำมปลอดภัยในสถำนประกอบกำรทั้งส้ิน 54 แห่ง
ลูกจำ้ งทผ่ี ำ่ นกำรตรวจ จำนวน 2,586 คน โดยท้งั 54 แห่ง ปฏบิ ตั ถิ กู ต้องตำมกฎหมำยควำมปลอดภัยทั้งหมด

สถานการณ์แรงงานจงั หวดั ลาปาง ไตรมาส 3/2564 (กรกฎาคม - กนั ยายน) 3

การประสบอนั ตราย/เจ็บปว่ ยจากการทางาน ในช่วงไตรมำสท่ี 3 ปี 2554 จังหวดั ลำปำงมีผปู้ ระสบอนั ตรำย
หรือเจ็บป่วยเน่ืองจำกกำรทำงำน จำนวน 65 คน โดยประเภทของควำมร้ำยแรงพบว่ำ ส่วนใหญ่จะหยุดงำนไม่เกิน3 วัน จำนวน
36 คน (รอ้ ยละ 55.38) และหยุดงำนเกิน 3 วัน จำนวน 28 คน (ร้อยละ 43.08) และตำย จำนวน 1 คน (ร้อยละ 1.54)

การเกิดข้อเรียกร้อง/ข้อพิพาทแรงงานและข้อขัดแย้งภายในจังหวัดลาปาง ในช่วงไตรมำสที่ 3 ปี 2564
จงั หวัดลำปำงไม่มีกำรแจ้งขอ้ เรยี กร้อง/ข้อพพิ ำทแรงงำนและข้อขดั แย้งภำยในจังหวัดลำปำงแต่อยำ่ งใด

สำหรับขอ้ พพิ ำทสำนักงำนสวสั ดิกำรและคุ้มครองแรงงำนจงั หวัดลำปำงไม่ได้รบั ข้อเรียกร้อง/ขอ้ พพิ ำทแรงงำน

การเลิกจ้างแรงงาน สถำนประกอบกำรในจังหวัดลำปำง ท่ีเลิกกิจกำรมีจำนวน 56 แห่ง ลูกจ้ำงถูกเลิกจ้ำง 119 คน
ส่วนใหญ่เป็นสถำนประกอบกำรขนำดเล็ก 1 - 9 คน จำนวน 55 แห่ง (ร้อยละ 98.21) มีลูกจ้ำงถูกเลิกจ้ำงจำนวน 112 คน
(ร้อยละ 94.12) ของจำนวนลูกจ้ำงท่ีถูกเลิกจ้ำงท้ังหมด โดยประเภทกิจกำรที่มีกำรเลิกจ้ำงสูงสุด คือ ประเภทอ่ืน ๆ
จำนวน 35 แห่ง (ร้อยละ 62.50) รองลงมำคือ ประเภทกิจกำรร้ำนสินค้ำเบ็ดเตล็ด กำรค้ำอ่ืน ๆ จำนวน 8 แห่ง (ร้อยละ 14.29)
และประเภทกจิ กำรก่อสร้ำง จำนวน 6 แห่ง (ร้อยละ 10.71)

การสวัสดิการ กิจกรรมที่ช่วยสนับสนุนส่งเสริมให้ผู้ใช้แรงงำนมีคุณภำพชีวิตที่ดีข้ึนนอกจำกกำรตรวจ
สถำนประกอบกำรเพื่อให้กำรคุ้มครองผู้ใชแ้ รงงำนตำมท่ีได้กล่ำวมำแลว้ สำนักงำนสวสั ดกิ ำรและคมุ้ ครองแรงงำนจังหวัดลำปำง
มกี ำรสง่ เสรมิ กำรจัดสวัสดิกำรแรงงำนในสถำนประกอบกำร โดยในไตรมำสท่ี 3 ปี 2564 (เดือนกรกฎำคม - กนั ยำยน 2564)
ไมม่ กี ำรส่งเสริมควำมร้เู ก่ียวกบั สวสั ดิกำรแรงงำนนอกเหนือจำกท่ีกฎหมำยกำหนด เนื่องจำกเป็นชว่ งสิน้ สุดปงี บประมำณ

จำกข้อมูลของสำนักงำนประกนั สังคมจงั หวัดลำปำง พบว่ำ
จังหวัดลำปำงมีสถำนประกอบการที่ข้ึนทะเบียนประกันสังคม จำนวน 3,381 แห่ง ผู้ประกันตนทั้งส้ิน
124,916 คน แยกเป็น ผู้ประกันตนมำตรำ 33 จำนวน 48,440 คน ผู้ประกันตนมำตรำ 39 จำนวน 16,181 คน
และ ผูป้ ระกันตนมำตรำ 40 จำนวน 60,295 คน และมีสถำนพยำบำลในสงั กดั ประกันสงั คมท่เี ปน็ สถำนพยำบำลของ
รัฐบำล ได้แก่ โรงพยำบำลลำปำง และโรงพยำบำลค่ำยสุรศักดิ์มนตรี และโรงพยำบำลประจำอำเภอ และ รพ.สต. ทุกแห่ง
ในจังหวัดลำปำง และประเภทสถำนพยำบำลเอกชน จำนวน 8 แห่ง ได้แก่ คลินิกหมอพิศำล คลินิกหมอณรงค์
คลินิกหมอวรวิทย์ คลินิกหมอศุภสิทธิ์ คลินิกหมออรรณพ-หมอนพสมร บดินทร์กำรแพทย์และกำยภำพบำบัด
คลินิกหมอเลือก และคลนิ ิกหมอเลอปรัชญ์
ในช่วงไตรมำสที่ 3 ปี 2564 (เดือนกรกฎำคม - กันยำยน 2564) จำนวนการใช้บริการของกองทุนประกันสังคม
พิจำรณำตำมประเภทของประโยชน์ทดแทน ซ่ึงมี 7 กรณี ได้แก่ เจ็บป่วย คลอดบุตร ทุพลภำพ ตำย สงเครำะห์บุตร ชรำภำพ
และว่ำงงำน พบว่ำ จำนวนผู้ใช้บริกำรมีท้ังส้ิน 12,235 รำย คิดเป็นร้อยละ 25.26 ของผู้ประกันตนทั้งหมด สำหรับประเภท
ประโยชน์ทดแทนที่ผู้ประกันตนใช้บริกำรสูงสุดในไตรมำสน้ีได้แก่ กรณีเจ็บป่วย จำนวน 3,328 รำย คิดเป็นร้อยละ 27.20
ของผู้ใช้บริกำรทั้งหมดรองลงมำได้แก่ กรณีสงเครำะห์บุตรจำนวน2,941 รำย คิดเป็นร้อยละ24.04 กรณีว่ำงงำนจำนวน2,429 รำย
คิดเปน็ รอ้ ยละ 19.85
หำกพิจำรณำตำมปริมำณการจ่ายเงินประโยชน์ทดแทน พบว่ำ มีกำรจำ่ ยเงินทงั้ ส้ิน 85,934,038.36 บำท โดยกรณี
ว่ำงงำนมีกำรจ่ำยเงินสงู สุดถึง 30,193,761.75 บำท จำนวน 2,429 รำย คดิ เปน็ ร้อยละ 35.14 ของเงินประโยชน์ทดแทนที่จ่ำย
รองลงมำ คือ กรณีชรำภำพ จ่ำยเงินประโยชน์ทดแทน 28,471,944.66 จำนวน 1,588 รำย คิดเป็นร้อยละ 33.13 และ
กรณีคลอดบตุ ร จำ่ ยเงินประโยชนท์ ดแทน 12,404,769.50 บำท จำนวน 1,183 รำย คิดเปน็ รอ้ ยละ 14.44 ของเงินทดแทนที่จำ่ ย



สถานการณ์แรงงานจังหวัดลาปาง ไตรมาส 3/2564 (กรกฎาคม - กนั ยายน) 4

บทท่ี 1 ขอ้ มูลทวั่ ไปและสภาพเศรษฐกิจจงั หวดั ลาปาง

1. ขอ้ มลู ทวั่ ไปจงั หวัดลาปาง
รปู แผนที่จังหวดั ลาปาง

จังหวัดลำปำง มีพื้นท่ีประมำณ 12,533,961 ตำรำงกิโลเมตร หรือประมำณ 7,833,726 ไร่ ต้ังอยู่ในภำคเหนือ
ของประเทศไทย มีพน้ื ที่ใหญเ่ ปน็ อนั ดบั 5 ของภำคเหนือ รองจำกจังหวัดเชียงใหม่ ตำก แม่ฮอ่ งสอนและเพชรบรู ณ์

1 สำมำรถตรวจสอบพิกดั ได้โดยพมิ พ์ 18.289299, 99.502459 ในชอ่ งคน้ หำของ Google Search/Maps/Earth

สถานการณ์แรงงานจงั หวัดลาปาง ไตรมาส 3/2564 (กรกฎาคม - กันยายน) 5

1.1 วิสัยทัศน์และพันธกิจ

2. “ลาปางเมอื งนา่ อยู่ นครแห่งความสุข”

3. นิยำม : จังหวัดลำปำงมุ่งไปสู่เมอื งนำ่ อยู่ดว้ ยกำรพัฒนำเศรษฐกิจบนพ้ืนฐำนของเศรษฐกิจเชิงสร้ำงสรรค์
โดยครอบคลุมท้ังทำงด้ำนกำรท่องเที่ยว กำรค้ำ กำรบรกิ ำร และกำรเกษตร และเป็นนครแห่งควำมสุขดว้ ยคุณภำพชีวิต
ท่ีดีขึ้นของประชำชนทุกกลุ่มทุกช่วงวัย ภำยใต้กำรจัดระบบสวัสดิกำรทำงสังคมถ้วนหน้ำ กำรเป็นสังคมแห่ง
กำรเรียนรู้ ประชำชนมีควำมมั่นคงปลอดภัย มีทรัพยำกรธรรมชำติที่อุดมสมบูรณ์และสภำพแวดล้อมที่ดีโดยยึด
แนวทำงกำรพัฒนำภำยใต้แนวคิด “ชุมชนวิถีพอเพียง เมืองเศรษฐกิจสร้างสรรค์” และระยะท่ี 2 พัฒนาไปสู่
เมืองวัฒนธรรมท่ีมีความทันสมัย พัฒนาบนฐานของทุนทางสังคมวัฒนธรรมของชุมชนท้องถิ่นเพื่อศักยภาพ
และขีดความสามารถส่กู ารแข่งขันในตลาดโลก Local Global
4. พันธกจิ

1. สนับสนุนอำนวยควำมสะดวกและเสริมสร้ำงบรรยำกำศท่ีเอ้ือต่อกำรพัฒนำเศรษฐกิจภำยใน
จังหวัดให้สำมำรถเพ่ิมมูลค่ำทำงเศรษฐกิจบนพื้นฐำนของเศรษฐกจิ เชงิ สร้ำงสรรค์

2. พัฒนำยกระดับขีดควำมสำมำรถในกำรประกอบกำรของวิสำหกิจขนำดกลำง ขนำดย่อมและ
วิสำหกิจชุมชนใหม้ ปี ระสิทธภิ ำพสำมำรถแขง่ ขนั ไดใ้ นตลำดกำรคำ้ ประชำคมเศรษฐกิจอำเซยี นและตลำดโลก

3. ส่งเสริมและพัฒนำช่องทำงจัดจำหนำ่ ยผลติ ภัณฑแ์ ละบรกิ ำรของวสิ ำหกิจขนำดกลำง ขนำดยอ่ ม
และวิสำหกิจชุมชนท้ังภำคผลติ ภำคบรกิ ำร และพำณชิ ยกรรมทัง้ ภำยในและภำยนอกประเทศ

4. ส่งเสริมให้มีกำรผลิตและจำหนำ่ ยสินค้ำเกษตรและเกษตรแปรรูปคุณภำพสำกลสร้ำงมลู ค่ำเพ่ิม
สอดคลอ้ งกบั ควำมต้องกำรของตลำดทงั้ ภำยในและตำ่ งประเทศ

5. กำหนดนโยบำยจัดทำแผนงำนเตรียมควำมพร้อมด้ำนโครงสร้ำงทำงกำยภำพบุคลำกรและ
กำรบริหำรจัดกำรในกำรพัฒนำพนื้ ทีข่ องจังหวดั ใหเ้ ปน็ ศูนย์กระจำยสนิ ค้ำทไ่ี ด้มำตรฐำน

6. พฒั นำคณุ ภำพชีวิตของประชำชนและสงั คมลำปำงใหม้ ีควำมเข้มแขง็ มีภมู คิ ้มุ กนั รักวัฒนธรรม
ท้องถิน่ และถนิ่ กำเนดิ ตำมวถิ ลี ำปำงโดยดำรงชวี ติ ตำมหลกั ปรัชญำของเศรษฐกิจพอเพยี ง

7. เสริมสร้ำงพัฒนำขีดควำมสำมำรถในกำรรักษำชีวิตทรัพย์สินและควำมม่ันคงของคนในจังหวัด
ส่งเสริมกำรมีส่วนร่วมของภำคประชำชนและชุมชนในกำรสร้ำงควำมเข้มแข็งมั่นคงตลอดจนกำรเ ฝ้ำระวังและ
ปอ้ งกันภยั ในชุมชน

8. สนับสนุนส่งเสริมให้ทุกภำคส่วนในสังคมมีกำรดำเนินงำนกำรบริหำรจัดกำรในทุกระดับ
ใหโ้ ปรง่ ใสและเป็นธรรมภำยใตห้ ลักธรรมำภิบำล

1.2 ที่ตงั้ อาณาเขต และขนาดพ้ืนที่

จังหวัดลำปำงต้ังอยู่ภำคเหนือตอนบนของประเทศไทย ห่ำงจำกกรุงเทพฯ ตำมทำงหลวงแผ่นดิน
สำยพหลโยธินประมำณ 602 กิโลเมตร ตำมทำงรถไฟประมำณ 625 กิโลเมตร ทำงเคร่ืองบินประมำณ 45 นำที
จำกกรงุ เทพฯ มพี ิกัดบริเวณใจเมือง หรือ จดุ ตงั้ เสำหลักเมือง ณ เสน้ รุง้ ที่ 18 องศำ 17 ลิปดำ 21.5 ฟิลปิ ดำเหนือ
เส้นแวงท่ี 99 องศำ 30 ลิปดำ 8.9 ฟลิ ิปดำตะวันออก1 อยู่สงู จำกระดับนำ้ ทะเล 268.80 เมตร

จงั หวัดลำปำงมีพน้ื ท่ตี ดิ ต่อกบั จังหวดั อน่ื ๆ ดงั นี้
ทิศเหนอื ตดิ กับ จงั หวัดเชียงใหม่ เชียงรำย และพะเยำ
ทิศตะวันออก ตดิ กบั จังหวัดพะเยำ แพร่ และสโุ ขทยั
ทศิ ใต้ ติดกบั จังหวดั สโุ ขทัยและตำก
ทศิ ตะวันตก ตดิ กับ จงั หวดั เชยี งใหม่ ลำพนู และตำก

สถานการณ์แรงงานจังหวัดลาปาง ไตรมาส 3/2564 (กรกฎาคม - กนั ยายน) 6

1.3 ลกั ษณะภูมิประเทศ

จังหวัดลำปำงเป็นรูปยำวรี ลักษณะภูมิประเทศโดยท่ัวไปเป็นท่ีรำบสูง มีภูเขำสูงอยู่ท่ัวไป ทอดตัวยำวตำม
แนวทิศเหนือไปทำงใต้ของจังหวัดลำปำง และมที ่รี ำบลมุ่ รมิ ฝัง่ แมน่ ำ้ เปน็ บำงสว่ นในบริเวณตอนกลำงของจงั หวัดตำม
ลักษณะทำงกำยภำพทำงด้ำนธรณี สัณฐำนวิทยำ จังหวัดลำปำงมีพ้ืนที่เป็นที่รำบล้อมรอบด้วยภูเขำ มีลักษณะ
เป็นแอ่งแผ่นดนิ หรืออ่ำงเรียกวำ่ “อำ่ งลำปำง” เป็นอำ่ งทยี่ ำวและกวำ้ งท่สี ุดในภำคเหนอื ดว้ ยลักษณะพื้นที่ซง่ึ เป็น
แอ่งก้นกระทะดังกล่ำว จึงทำให้มีอำกำศอบอ้ำวแบบฝนเมืองร้อนเฉพำะฤดู โดยได้รับอิทธิพลจำกลมมรสุม
ตะวันตกเฉียงใต้และลมมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือ จึงมีอำกำศแตกต่ำงกันมำกตำมฤดกู ำล ฤดูหนำวค่อนข้ำง
หนำวจัด ฤดรู ้อนยำวนำน

ลำปำงเป็นเมืองในหุบเขำรูปแอ่งกระทะรำยล้อมด้วยเทือกเขำสูงชัน บำงส่วนผุดเป็นแนวหินแกรนิต
บนเทือกเขำผีปันน้ำด้ำนตะวันตก ในบำงยุคเกิดกำรเคลื่อนตัวของเปลือกโลกอย่ำงรุนแรงจนทำให้เกิดแอ่งท่ีรำบ
ขนำดใหญแ่ ละทวิ เขำมำกมำยทบั ซอ้ นกัน เมื่อผ่ำนกำลเวลำมำยำวนำนส่วนที่เปน็ แอ่งกก็ ลำยเปน็ แอ่งนำ้ ขนำดใหญ่
เกดิ กำรทับถมของตะกอนดนิ และซำกพืชซำกสัตว์จนเป็นผืนดินทรี่ ำบ แหล่งนำ้ มัน และถ่ำนหนิ ลิกไนตแ์ ทรกตัวอยู่
ในอำเภอแม่เมำะ บริเวณตอนกลำงของเมอื งลำปำง

บริเวณที่รำบภูเขำสูงและท่ีรำบลุ่มริมฝั่งแม่น้ำอันเป็นที่รำบดินตะกอนเก่ำ ผืนดินมีควำมอุดมสมบูรณ์
ปำนกลำง และมีแม่น้ำวังไหลผ่ำนทำให้บริเวณตอนกลำงของจังหวัด อำเภอแม่พริก อำเภอเถิน และบำงส่วนของ
อำเภอสบปรำบเป็นแหล่งทำเกษตรกรรมตลอดท้ังปี ส่วนบริเวณอำเภอเมืองลำปำง อำเภอเกำะคำ อำเภอแม่ทะ
อำเภองำว อำเภอห้ำงฉัตร และบริเวณตอนกลำงของอำเภอแจ้ห่มจะเป็นท่ีรำบสูงและภูเขำสลับซับซ้อน
บริเวณตอนบนและพ้ืนท่ีโดยรอบจังหวัด ด้ำนอำเภอวังเหนือ อำเภอแจ้ห่ม อำเภองำว และบริเวณตอนใต้
ของอำเภอแจ้ห่มส่วนใหญเ่ ป็นภเู ขำสงู ปกคลุมดว้ ยผนื ปำ่ อุดมสมบรู ณอ์ ันเป็นแหลง่ ตน้ นำ้ ท่ีสำคัญของเมืองลำปำง

1.4 การปกครอง และจานวนประชากรจังหวดั ลาปาง

กำรปกครองของจังหวัดลำปำงแบ่งออกเป็น 13 อำเภอ ได้แก่ อำเภอเมอื งลำปำง อำเภอแม่เมำะ อำเภอเกำะคำ
อำเภอเสริมงำม อำเภองำว อำเภอแจ้ห่ม อำเภอวังเหนือ อำเภอเถิน อำเภอแม่พริก อำเภอแม่ทะ อำเภอสบปรำบ
อำเภอห้ำงฉตั ร อำเภอเมอื งปำน แยกเป็น 100 ตำบล 931 หมู่บ้ำน

สำหรับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมีองค์กำรบริหำรส่วนจังหวัด 1 แห่ง เทศบำลนคร 1 แห่ง เทศบำลเมือง
3 แหง่ เทศบำลตำบล 39 แหง่ อบต. 62 แห่ง (สำนักงำนสง่ เสริมกำรปกครองท้องถ่นิ จงั หวัดลำปำง, กนั ยำยน 2559)

จำกข้อมูลของศูนย์บริหำรกำรทะเบียนภำค 5 สำขำจังหวัดลำปำง พบว่ำ ณ เดือนกันยำยน 2564 จังหวัดลำปำง
มปี ระชำกรทั้งสนิ้ 725,923 คน แยกเปน็ เพศชำย จำนวน 353,601 คน ร้อยละ 48.71 ของจำนวนประชำกรทั้งหมด เพศหญงิ
จำนวน 372,322 คน รอ้ ยละ 51.29 ของจำนวนประชำกรท้ังหมด อำเภอท่ีมีประชำกรมำกทีส่ ุด คอื อำเภอเมืองลำปำง
มีประชำกรท้ังส้ิน 222,612 คน (ร้อยละ 30.67 ของจำนวนประชำกรทั้งหมด) ส่วนอำเภอที่มีประชำกรน้อยท่ีสดุ
คือ อำเภอแมพ่ ริก มปี ระชำกรเพยี ง 15,800 คน เท่ำนั้น (ร้อยละ 2.18 ของประชำกรท้งั หมด)

สถานการณ์แรงงานจงั หวดั ลาปาง ไตรมาส 3/2564 (กรกฎาคม - กนั ยายน) 7

ตารางท่ี 1 สถติ ปิ ระชากรและครัวเรอื นรายอาเภอและรายเทศบาล

อาเภอ/เทศบาล ชาย หญิง รวม จานวนบา้ น

รวมทงั้ ส้ิน 353,601 372,322 725,923 298,119
อำเภอเมืองลำปำง 44,457 46,041 90,498 38,567
เทศบำลเมอื งพิชัย 6,196 7,025 13,221 6,456
เทศบำลตำบลบ่อแฮ้ว 4,303 48,444 9,147 4,196
เทศบำลเมอื งเขลำงค์นคร 28,099 31,246 59,345 26,022
เทศบำลนครลำปำง 22,707 27,694 50,401 29,659
อำเภอแมเ่ มำะ 12,125 11,991 24,116 9,061
เทศบำลตำบลแมเ่ มำะ 7,489 7,822 15,311 8,706
อำเภอเกำะคำ 17,453 18,651 36,104 13,271
เทศบำลตำบลนำแกว้ 4,335 4,547 8,882 3,134
เทศบำลตำบลลำปำงหลวง 7,396 4,832 9,228 3,341
เทศบำลตำบลเกำะคำ 2,108 2,403 4,511 2,353
อำเภอเสริมงำม 11,076 11,036 22,112 7,669
เทศบำลตำบลเสริมงำม 4,103 4,170 8,173 3,012
อำเภองำว 24,411 24,452 48,863 18,117
เทศบำลตำบลหลวงเหนือ 1,952 2,173 4,125 2,342
อำเภอแจ้ห่ม 17,243 17,676 34,919 13,201
เทศบำลตำบลแจห้ ่ม 1,640 1,817 3,457 1,671
อำเภอวังเหนือ 18,461 18,359 36,820 13,326
เทศบำลตำบลวงั เหนอื 2,019 2,006 4,025 1,968
เทศบำลตำบลบ้ำนใหม่ 1,267 1,284 2,551 887
อำเภอเถิน 16,510 16,938 33,448 11,460
เทศบำลตำบลเวียงมอก 5,086 5,152 10,238 3,524
เทศบำลเมอื งล้อมแรด 6,606 7,610 14,216 7,120
อำเภอแม่พรกิ 4,606 4,769 9,375 3,219
เทศบำลตำบลแมพ่ ริก 1,232 1,349 2,581 1,127
เทศบำลตำบลแมป่ ุ 1,819 2,025 3,844 1,341
อำเภอแม่ทะ 13,907 14,147 28,054 10,753
เทศบำลตำบลนำ้ โจ้ 4,721 4,866 9,587 3,524
เทศบำลตำบลแมท่ ะ 3,239 3,328 6,567 2,981
เทศบำลตำบลสิรริ ำช 2,353 2,248 4,601 1,589
เทศบำลตำบลปำ่ ตนั นำครัว 3,792 4,017 7,809 2,977
อำเภอสบปรำบ 10,439 10,764 21,203 6,648
เทศบำลตำบลสบปรำบ 2,614 2,890 5,504 2,080
อำเภอห้ำงฉัตร 23,255 24,287 47,542 19,467
เทศบำลตำบลหำ้ งฉัตร 1,246 1,523 2,769 1,295
อำเภอเมืองปำน 16,336 16,340 32,676 12,055

ที่มา : สำนักทะเบียนจังหวดั ลำปำง
*** ข้อมลู ณ เดอื นกนั ยำยน 2564

สถานการณ์แรงงานจังหวัดลาปาง ไตรมาส 3/2564 (กรกฎาคม - กันยายน) 8

2. ภาวะเศรษฐกจิ การคลงั ของจงั หวดั ลาปาง

รำยงำนประมำณกำรเศรษฐกิจของจงั หวดั ลำปำง สำนักงำนคลังจังหวดั ลำปำง ได้ประเมนิ ภำวะเศรษฐกิจ
จังหวดั ลำปำง ปี 2564 ว่ำเศรษฐกจิ จงั หวดั ลำปำงคำดว่ำจะขยำยตวั ร้อยละ 2.5 ผลจำกแรงขบั เคล่ือนกำรขยำยตัว
ทำงเศรษฐกิจด้ำนกำผลิตและกำรใช้จ่ำย ปรับตัวดีข้ึนจำกท่ีหดตัวร้อยละ -4.7 ในปีก่อน และขยำยตัวจำก
ที่ประมำณกำรครั้งก่อนท่ีคำดว่ำจะหดตัวร้อยละ 2.4 และคำดว่ำมีแนวโน้มขยำยตัวร้อยละ 2.7 ในปี 2565
ด้านการผลิต (อุปทาน) ปี 2564 คำดว่ำจะขยำยตัวร้อยละ 1.9 ปรับตัวดีขึ้นจำกที่หดตัวร้อยละ -17.5 ในปีก่อน
การผลิตภาคเกษตรกรรม คำดว่ำจะขยำยตัวร้อยละ 1.9 จำกที่หดตัวร้อยละ -21.6 ในปีก่อน เน่ืองจำกแรงจูงใจ
ทำงดำ้ นรำคำที่เกษตรกรขำยได้อยู่ในเกณฑด์ ี และปริมำณนำ้ ฝนเพยี งพอตอ่ กำรเจริญเติบโตของพชื ผลทำงกำรเกษตร
ประกอบกับภำครัฐมีนโยบำยช่วยเหลือเกษตรกรอย่ำงต่อเน่ือง ส่งผลให้เกษตรกร มีควำมต้องกำรเพำะปลูกพืชเพม่ิ
มำกขึ้นทำให้ปริมำณผลผลิตเพ่ิมข้ึน การผลิตภาคอุตสาหกรรม คำดว่ำจะขยำยตัวร้อยละ 2.7 จำกที่หดตัวร้อยละ
-9.8 ในปีก่อน สะท้อนจำกควำมต้องกำรใช้ปริมำณหินอุตสำหกรรม (หินปูน-ก่อสร้ำง) เพ่ิมขึ้น จำกกำรก่อสร้ำง
ภำครัฐและตำมปริมำณลิกไนต์เพื่อใช้ผลิตกระแสไฟฟ้ำ และปริมำณกำรใช้ไฟฟ้ำภำคอุตสำหกรรมเพ่ิมข้ึน
ภาคบริการ คำดว่ำจะขยำยตัวร้อยละ 1.6 จำกท่หี ดตวั ร้อยละ -7.0 ในปีก่อน จำกสินเช่ือรวมและพื้นท่ีใหอ้ นุญำต
ก่อสร้ำงท่ีอยู่อำศัยเพิ่มข้ึนปัจจัยหนุนจำกเศรษฐกิจท่ีทยอยฟ้ืนตัวและมำตรกำรภำครัฐช่วยกระตุ้นกำลังกำรซ้ือ
ด้านการใชจ้ ่าย (อปุ สงค์) ปี 2564 คำดวำ่ จะขยำยตัวรอ้ ยละ 2.5 ขยำยตวั จำกท่ีหดตัวต้อยละ -2.0 ในปีก่อน โดย
การใช้จ่ายภาครัฐ คำดว่ำขยำยตัวร้อยละ 3.3 ผลจำกกำรเบิกจ่ำยเงินงบประจำและงบลงทุนของส่วนรำชกำร
เพ่ิมข้ึน รวมถึงงบประมำณท่ีได้รบั กำรจัดสรรเพิม่ ข้ึน และมำตรกำรติตำมเรง่ รัดกำรใช้จ่ำยเงนิ งบประมำณในกำร
ก่อหน้ีผูกพันและกำรเบิกจ่ำยเงินให้เป็นไปตำมเป้ำหมำยที่กำหนด ตลอดจนมำตรกำรกำรคลังด้ำนกำรใช้จ่ำย
ภำครัฐ ในกำรยกเว้นกำรปฏิบัติตำมระเบียบกระทรวงกำรคลังว่ำด้วยกำรจัดซ้ือจัดจ้ำงและบริหำรพัสดุภำครัฐ
พ.ศ. 2560 สำหรบั กำรจัดหำพัสดุในปีงบประมำณ พ.ศ. 2564 และกฎกระทรวงกำหนดพัสดุและวิธกี ำรจัดซือ้ จัดจ้ำง
พัสดุท่ีรัฐต้องกำรส่งเสริมหรือสนับสนุน (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2563 ส่งผลให้กำรจัดหำพัสดุมีควำมคล่องตัว รวดเร็ว
กำรใช้จ่ำยภำครัฐลงสู่ระบบเศรษฐกิจในพื้นท่ีได้อย่ำงรวดเร็ว รวมถึงกำรใช้จ่ำยเงินกู้ภำยใต้พระรำชกำหนดให้
อำนำจกระทรวงกำรคลังกู้เงินเพ่ือแก้ไขปัญหำ เยียวยำ และฟื้นฟูเศรษฐกิจและสังคมที่ไ ด้รับผลกระทบจำก
สถำนกำรณก์ ำรแพรร่ ะบำดของโรคติดเชอ้ื ไวรสั โคโรนำ 2019 (COVID-19) พ.ศ. 2564 จังหวัดลำปำงเบิกจ่ำยเป็น
จำนวน 476.48 ล้ำนบำท การบริโภคภาคเอกชน คำดวำ่ จะขยำยตวั รอ้ ยละ 1.6 ปรับตวั จำกท่ีหดตัวร้อยละ -11.8
จำกปีก่อน ยอดขำยรถของบริษัทขำยรถที่เพิ่มขึ้น เนื่องจำกผู้ประกอบกำรมีกลยุทธ์ โดยจัดกิจกรรมส่งเสริมกำรขำย
เพือ่ กระตุ้นยอดจำหนำ่ ย และมกี ำรจดั โปรโมช่ันที่จงู ใจอยำ่ งตอ่ เน่ือง ด้ำนภำษีมูลคำ่ เพิม่ หมวดกำรขำยส่ง ขำยปลกี
ปรับตัวดีข้ึน เน่ืองจำกสถำนกำรณ์กำรแพร่ระบำดของโรคเช้ือไวรัสโคโรนำ 2019 (COVID-19) ภำครัฐได้มี
มำตรกำรและโครงกำรต่ำง ๆ เพ่ือช่วยเหลือประชำชนและผู้ประกอบกำรให้มีสภำพคล่องและมีเงินทุนหมุนเวียน
ในกำรประกอบธุรกิจ ไดแ้ ก่ โครงกำรคนละคร่ึง โครงกำรเพ่มิ กำลังซ้ือให้ผู้ถอื บัตรสวัสดกิ ำรแห่งรัฐ โครงกำรเรำเทยี่ วด้วยกัน
โครงกำรเรำชนะ และโครงกำร ม.33เรำรักกัน และปริมำณกำรใช้ไฟฟ้ำในครัวเรือนท่ีเพ่ิมขึ้น จำกกำรท่ีจังหวัด
ขอควำมร่วมมือให้ประชำชนอยู่บ้ำน และสถำนศึกษำปิดให้มีกำรเรียนกำรสอนออนไลน์ และส่วนรำชกำร
หน่วยงำนต่ำง ๆ มีมำตรกำรกำหนดให้มีกำรทำงำนที่บ้ำน (Work From Home) เพ่ือควบคุมและลดควำมเส่ียง

สถานการณ์แรงงานจงั หวดั ลาปาง ไตรมาส 3/2564 (กรกฎาคม - กันยายน) 9

กำรแพร่ระบำดของสถำนกำรณ์โรคเชื้อไวรัสโคโรนำ 2019 (COVID-19) การลงทุนภาคเอกชน คำดว่ำจะขยำยตัว
ร้อยละ 2.0 ปรับตัวจำกที่หดตัวร้อยละ -1.6 จำกปีก่อน จำกเคร่ืองช้ีเศรษฐกิจ สินเช่ือเพื่อกำรลงทุน ยอดขำยวัสดุ
และอุปกรณ์กำรก่อสร้ำงและพื้นที่อนุญำตก่อสร้ำงรวม ขยำยตัวร้อยละ 2.0 1.3 และ 0.80 ตำมลำดับ จำกแนวโน้มภำวะ
เศรษฐกจิ ท่ีเร่ิมฟน้ื ตัว รวมท้งั มำตรกำรกระต้นุ เศรษฐกิจของภำครฐั เพอื่ กระตุ้นกำรใช้จำ่ ยและกำรลงทนุ ในประเทศ

สำหรบั อัตรำเงนิ เฟ้อทัว่ ไปของจงั หวัดลำปำง ในปี 2564 อตั รำเงนิ เฟอ้ ทวั่ ไปในปี 2564 คำดว่ำจะอยทู่ ่ีร้อยละ
0.9 ต่อปี จำกที่ขยำยตัวร้อยละ 0.6 ในปีก่อน ตำมทิศทำงกำรฟ้ืนตัวของเศรษฐกจิ โลกและเศรษฐกจิ ไทย รวมทั้ง
กำรปรับตัวของรำคำสินค้ำสูงขึ้น ตำมรำคำน้ำมันท่ีเพิ่มข้ึน และจำกมำตรกำรช่วยเหลือของภำครัฐในกำรลดค่ำ
กระแสไฟฟำ้ และนำ้ ประปำ

2.1 ผลิตภัณฑ์มวลรวมจังหวัดลาปาง (GPP : Gross Provincial Product)

จังหวดั ลำปำงมีผลิตภณั ฑ์มวลรวม ณรำคำประจำปี 2562 จำนวน 71,417 ลำ้ นบำท เปล่ียนแปลงเพ่ิมขน้ึ จำกปี 2561
(70,894 ล้ำนบำท) ร้อยละ 0.74 หำกพิจำรณำจำกมูลค่ำเพ่ิม ณ รำคำประจำปี 2562 ภำคเกษตรมีสัดส่วนร้อยละ 10.78
(7,696 ล้ำนบำท) ภำคอตุ สำหกรรมมีสดั ส่วนร้อยละ 34.72 (24,795 ล้ำนบำท) โดยสำขำกำรผลติ หลัก ไดแ้ ก่ สำขำกำรทำ
เหมืองแร่และเหมืองหิน มีสัดส่วนร้อยละ 17.08 (12,196 ล้ำนบำท) ส่วนภำคบริกำรมีสัดส่วนร้อยละ 54.51
(38,926 ล้ำนบำท) โดยสำขำบริกำรหลัก ได้แก่ สำขำกำรขำยส่งและกำรขำยปลีก กำรซ่องแซมยำนยนต์และ
จักรยำนยนต์ ร้อยละ 12.17 (8,688 ล้ำนบำท) สำหรับสำขำที่มีกำรบริกำรน้อยท่ีสุดคือสำขำกิจกรรมทำงวิชำชีพ
วทิ ยำศำสตร์ และเทคนคิ ร้อยละ 0.05

สำขำอตุ สำหกรรมที่สำคญั 5 อันดบั แรก ไดแ้ ก่ กำรทำเหมืองแร่และเหมืองหนิ มูลค่ำ 12,196 ลำ้ นบำท
(ร้อยละ 17.08 ของ GPP) กำรผลิต มูลค่ำ 8,806 ล้ำนบำท (ร้อยละ 12.33 ของ GPP) อุตสำหกรรม กำรขำยส่ง
และกำรขำยปลีก กำรซ่อมแซมยำนยนต์และจักรยำนยนต์ มูลค่ำ 8,688 ล้ำนบำท (ร้อยละ 12.17 ของ GPP)
เกษตรกรรม กำรลำ่ สัตว์ และป่ำไม้ มลู คำ่ 7,696 ลำ้ นบำท (รอ้ ยละ 10.78 ของ GPP) และกำรศึกษำ มูลค่ำ 6,514
ล้ำนบำท (ร้อยละ 9.12 ของ GPP) รำยละเอียดดังภำคผนวกตำรำงที่ 1

ทีม่ า : สำนักงำนคลังจังหวดั ลำปำง

2.2 ดัชนรี าคาผ้บู รโิ ภค

สำนักงำนพำณิชยจ์ งั หวดั ลำปำงรว่ มกับกองสำรสนเทศและดัชนเี ศรษฐกจิ กำรค้ำ สำนักนโยบำยและยุทธศำสตร์
กำรค้ำกระทรวงพำณิชย์ ขอรำยงำนควำมเคล่อื นไหวดชั นีรำคำผู้บริโภคของจังหวัดลำปำง เดือนกนั ยำยน 2564
โดยสรุปดงั นี้

ในกำรประมวลผลดัชนีรำคำผู้บริโภคของประเทศรำยกำรสินค้ำและบริกำรที่คำนวณมีจำนวน 430 รำยกำร
สำหรับจังหวัดลำปำงมีจำนวน 241 รำยกำร ครอบคลุมหมวดอำหำรและเคร่ืองดื่มไม่มีแอลกอฮอล์เคร่ืองนุ่งห่ม
และรองเท้ำ เคหสถำน กำรตรวจรักษำและบริกำรส่วนบุคคล พำหนะ กำรขนส่งและกำรสื่อสำร กำรบันเทิง
กำรอ่ำนกำรศึกษำและกำรศำสนำ ยำสูบและเครื่องด่ืมมีแอลกอฮอล์เพ่ือนำมำคำนวณดัชนีรำคำผู้บริโภคของ
จังหวดั ลำปำง ไดผ้ ลดงั นี้

สถานการณ์แรงงานจังหวดั ลาปาง ไตรมาส 3/2564 (กรกฎาคม - กนั ยายน) 10

1. ดชั นีราคาผู้บรโิ ภคของจังหวัดลาปาง เดือนกันยายน 2564 เท่ากบั 102.0
ปีฐำน 2562 ดัชนรี ำคำผบู้ ริโภคของจังหวัดลำปำง เทำ่ กับ 100 เดือนกันยำยน 2564 เทำ่ กบั 102.0

(เดอื นสิงหำคม 2564 เท่ำกบั 101.8)

1.1 การเปลยี่ นแปลงดชั นรี าคาผบู้ ริโภคของจังหวัดลาปางเดือนมถิ ุนายน 2564
เมื่อเทยี บกบั ระยะเวลำ กำรเปลย่ี นแปลง รอ้ ยละ
(1) เดือนสิงหำคม 2564 (MoM) สงู ขึน้ 0.2
(2) เดือนกนั ยำยน 2563 (YoY) สูงขนึ้ 2.4
(3) เฉล่ีย 9 เดือน (ม.ค. - ก.ย.) ปี 2564 เทีบบกับช่วงเดยี วกนั ของปี 2563 (AoA) สงู ข้นึ 1.9

1.2 เทยี บกับเดอื นสิงหาคม 2564 สงู ขน้ึ รอ้ ยละ 0.2 โดยมีกำรเปล่ยี นแปลงของรำคำสนิ ค้ำและบริกำรดงั นี้
- หมวดอ่ืน ๆ ไม่ใช่อำหำรและเครื่องดื่ม สูงข้ึนร้อยละ 0.2 จำกกำรสูงขึ้นของหมวด หมวดพำหนะ

กำรขนส่งและกำรสื่อสำร (น้ำมันเบนซิน 95 น้ำมันดีเซล B7 (ดีเซลธรรมดำเดิม) แก๊สโซฮอล์ 91,95 แก๊สโซฮอล์
E20 แกส๊ โซฮอล์ E85 น้ำมนั ดเี ซล B10) สงู ขน้ึ ร้อยละ 0.6

- ส่วนหมวดอำหำรและเครื่องดื่มไม่มีแอลกอฮอล์ สูงข้ึน ร้อยละ 0.2 จำกกำรสูงข้ึนของหมวด
เนื้อสัตว์ เป็ด ไก่และสัตว์น้ำ (ไก่ย่ำง) สูงข้ึนร้อยละ 0.4 หมวดไข่และผลิตภัณฑ์จำกนม (ไข่ไก่) สูงข้ึนร้อยละ 0.5
และหมวดผักและผลไม้ (ผักชี มะเขือ มะเขือเทศ ฟักเขียว พริกสด ข้ึนฉ่ำย ต้นหอม ถั่วงอก หัวหอมแดง มะละกอสุก)
สูงขึ้นรอ้ ยละ 0.2

1.3 เทยี บกับเดอื นกนั ยายน 2563 สงู ขน้ึ ร้อยละ 2.4 โดยมกี ำรเปลยี่ นแปลงของรำคำสินค้ำและบรกิ ำร ดังน้ี
- หมวดอนื่ ๆ ไม่ใช่อำหำรและเครื่องดื่ม สงู ขึน้ ร้อยละ 4.6 จำกกำรสงู ข้ึนของหมวดเครื่องนุ่งห่ม

และรองเท้ำ (เครื่องแบบนักเรียนมัธยมหญิง) สูงขึ้นร้อยละ 0.1 หมวดพำหนะ กำรขนส่งและกำรสื่อสำร (น้ำมัน
เบนซิน 95 น้ำมนั ดีเซล B7 (ดเี ซลธรรมดำเดิม) แก๊สโซฮอล์ 91,95 แก๊สโซฮอล์ E20 แก๊สโซฮอล์ E85 นำ้ มันดีเซล
B10) สูงขึ้นร้อยละ 11.7 และหมวดกำรบันเทิงกำรอ่ำน กำรศึกษำและกำรศำสนำ (ค่ำเล่ำเรียน - ค่ำธรรมเนียม
ประถมศกึ ษำภำคเอกชน) สูงข้ึนรอ้ ยละ 0.1

- ส่วนหมวดอำหำรและเครื่องด่ืมไม่มีแอลกอฮอล์ ลดลงร้อยละ -0.5 จำกกำรลดลงของหมวด
ผกั และผลไม้ (กะหลำ่ ปลี แตงกวำ ผักกำดขำว ผกั คะน้ำ ผกั บงุ้ ผกั ชี มะเขือ มะเขอื เทศ ถ่วั ฝกั ยำว บวบ มะละกอดิบ
ข้ึนฉ่ำย ต้นหอม ขิง ผักกวำงตุ้ง ข้ำวโพดหวำน ชะอม หัวหอมแดง กระเทียม พริกแห้ง หน่อไม้ต้ม กล้วยน้ำว้ำ
สบั ปะรด แตงโม ฝร่งั มงั คดุ ลองกอง) ลดลงร้อยละ -6.6 และหมวดเคร่ืองดื่มไมม่ ีแอลกอฮอล์ (กำแฟผงสำเร็จรูป
ผลติ ภณั ฑ์เสริมอำหำร) ลดลงร้อยละ -0.2

1.4 เฉลี่ย 9 เดือน (ม.ค. - ก.ย.) 2564 เทียบกับชว่ งเดียวกัน ปี 2563 (AoA) สูงข้นึ รอ้ ยละ 1.9
โดยมกี ำรเปลยี่ นแปลงของรำคำสินคำ้ และบรกิ ำร ดงั น้ี

- หมวดอื่น ๆ ไม่ใช่อำหำรและเคร่ืองด่ืม สูงข้ึนร้อยละ 3.3 จำกกำรสูงข้ึนของเครื่องนุ่งห่มและรองเท้ำ
(เสื้อยดื บุรษุ เครอื่ งแบบนักเรยี นมัธยมหญิง เสื้อยดื สตรี เครอ่ื งแบบนกั เรียนอนบุ ำล รองเทำ้ แตะสตรี รองเท้ำแตะหนงั สตรี)
สูงข้นึ รอ้ ยละ 0.1 หมวดเคหสถำน (กระเบ้ืองซีเมนต์ใยหนิ มุงหลงั คำ ชุดก๊อกนำ้ ซิงค์ คำ่ กระแสไฟฟำ้ ผลติ ภัณฑซ์ ักผ้ำ

สถานการณ์แรงงานจังหวดั ลาปาง ไตรมาส 3/2564 (กรกฎาคม - กันยายน) 11

(น้ำยำซักแหง้ ) สงู ขนึ้ รอ้ ยละ 0.2 หมวดพำหนะ กำรขนสง่ และกำรสอื่ สำร (ยำงนอก รถจกั รยำนยนต์ นำ้ มันเบนซนิ 95
นำ้ มนั ดเี ซล B7 (ดีเซลธรรมดำเดมิ ) แก๊สโซฮอล์ 91,95 แก๊สโซฮอล์ E20 แกส๊ โซฮอล์ E85 น้ำมันดเี ซล B10) สงู ขนึ้
ร้อยละ 7.9 และหมวดยำสูบและเคร่อื งด่ืมมแี อลกอฮอล์ (บหุ ร่ี เบียร์ สุรำ) สูงขึ้นร้อยละ 0.5

- ส่วนหมวดอำหำรและเครื่องด่ืมไม่มีแอลกอฮอล์ สูงข้ึนร้อยละ 0.1 จำกกำรสูงข้ึนของหมวด
ข้ำวแปง้ และผลิตภัณฑ์จำกแปง้ (ขำ้ วสำรเจ้ำ ข้ำวสำรเหนยี ว วนุ้ เส้น เต้ำหู)้ สูงข้นึ รอ้ ยละ 0.8 หมวดเนื้อสัตว์ เป็ด
ไกแ่ ละสตั ว์น้ำ (เนื้อหมู เนื้อหมบู ด กระดูกซ่ีโครงหมู เครือ่ งในหมู เนื้อโค ไส้กรอก กุนเชียง ปลำหมกึ กลว้ ย ปลำร้ำ)
สูงข้ึนร้อยละ 2.1 หมวดเคร่ืองประกอบอำหำร (น้ำมันพืช เกลือป่น น้ำปลำ ซีอ๊ิว ซอสหอยนำงรม กะปิ ผงชูรส)
สูงขึ้นร้อยละ 5.7 หมวดเครื่องด่มื ไม่มีแอลกอฮอล์ (นำ้ อัดลม น้ำหวำน นำ้ ด่มื บริสทุ ธ์ิ อำหำรสำเรจ็ รปู ) สูงขน้ึ รอ้ ยละ 1.5
หมวดอำหำรบริโภค-ในบ้ำน (ข้ำวผัด ก๋วยเตี๋ยว ปลำกระป๋อง อำหำรว่ำง ส้มตำ ยำประเภทต่ำงๆ ผัดซีอ้ิว/
รำดหนำ้ ) สงู ข้ึนรอ้ ยละ 1.1 และหมวดอำหำรบรโิ ภค-นอกบ้ำน (อำหำรเย็น (อำหำรตำมส่งั )) สงู ข้ึนร้อยละ 0.3

อัตราเงินเฟ้อเดือนกันยายน 2564 เมื่อเทียบกับเดือนเดียวกันของปีก่อนสูงข้ึนร้อยละ 1.68 (YoY)
เป็นกำรกลบั มำขยำยตัวอีกครั้งหลังจำกท่ลี ดลงรอ้ ยละ -0.02 ในเดอื นกอ่ นหนำ้ โดยมปี จั จัยสำคญั จำกกำรสิ้นสุดลง
ของมำตรกำรช่วยเหลือค่ำครองชีพ ด้ำนสำธำรณูปโภค (ค่ำกระแสไฟฟ้ำและค่ำน้ำประปำ) ขณะที่รำคำขำยปลีก
น้ำมันเชื้อเพลิง ยังสูงกว่ำปีก่อนอย่ำงต่อเนื่อง อย่ำงไรก็ตำม รำคำสินค้ำกลุ่มอำหำรสดส่วนใหญ่ยังต่ำกว่ำปีก่อน
โดยเฉพำะข้ำวสำรเจ้ำ ข้ำวสำรเหนียว เน้ือสุกร ไก่สด ผักสดและผลไม้สด ยกเว้น ไข่ไก่ ท่ียังมีรำคำสูงเมื่อเทียบกับปีก่อน
สำหรับรำคำสินค้ำและบริกำรอ่ืน ๆ ยงั คงเคลือ่ นไหว สอดคลอ้ งกบั ปรมิ ำณผลผลิตและควำมต้องกำรในกำรบริโภค
เมอื่ หกั อำหำรสดและพลงั งำนออกแล้ว เงนิ เฟ้อพน้ื ฐำนขยำยตัวท่ีรอ้ ยละ 0.19 เฉล่ยี 9 เดือน (ม.ค.- ก.ย.) ปี 2564
เงนิ เฟอ้ ทว่ั ไปสงู ขน้ึ รอ้ ยละ 0.83 (AoA) และเงนิ เฟอ้ พื้นฐำน สูงข้ึนร้อยละ 0.23 (AoA)

ทั้งนี้ เงินเฟ้อไตรมำสที่ 3 ปี 2564 สูงขึ้นจำกไตรมำสเดียวกันของปีก่อนร้อยละ 0.70 (YoY) และสูงข้ึน
จำกไตรมำสก่อนหนำ้ รอ้ ยละ 0.23 (QoQ)

ทีม่ า : สำนกั งำนพำณชิ ยจ์ ังหวดั ลำปำง

2.3 การจดทะเบียนนิติบคุ คลตั้งใหม่

ในไตรมำสท่ี 3 (กรกฎำคม - กันยำยน) ปี 2564 ข้อมูลจำกสำนักงำนพำณิชย์จังหวัดลำปำง พบว่ำ มีกำรจด
ทะเบียนนิติบุคคลต้ังใหม่ตำมหมวดธุรกิจจังหวัดลำปำง จำนวน 115 แห่ง เพ่ิมข้ึนจำกไตรมำสท่ี 2 (เมษำยน - มิถุนำยน)
ปี 2564 (76 แห่ง) ร้อยละ 51.32 โดยแยกเป็นบริษัทจำกัด 47 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 40.87 และห้ำงหุ้นส่วนจำกัด 68 แห่ง
คิดเป็นร้อยละ 59.13 หำกพิจำรณำตำมประเภทของอุตสำหกรรมแล้ว อุตสำหกรรมท่ีมีกำรจดทะเบียนนิติบุคคลต้ังใหม่
สูงที่สดุ 3 อนั ดับแรก ไดแ้ ก่ 1. กำรขำยส่ง กำรขำยปลกี กำรซอ่ มแซมยำนยนต์ รถจกั รยำนยนต์ ของใชส้ ่วนบุคคลและ
ของใช้ในครัวเรือนจำนวน43แห่ง(ร้อยละ37.39) 2.กำรก่อสร้ำงจำนวน28แห่ง(ร้อยละ24.35) 3.กิจกรรมกำรบริกำรด้ำนอ่ืนๆ
จำนวน 19 แห่ง (รอ้ ยละ 16.52)

เมือ่ พิจำรณำทนุ จดทะเบียนของนิตบิ ุคคลตงั้ ใหม่ ในไตรมำสที่ 3 (กรกฎำคม - กันยำยน) ปี 2564 มกี ำรจดทะเบียน
ทั้งสิ้น 170.91 ล้ำนบำท โดยแยกเป็นบริษัทจำกัด 84.55 ล้ำนบำท คิดเป็นร้อยละ 49.47 ห้ำงหุ้นส่วนจำกัด 86.36
ล้ำนบำท คิดเป็นร้อยละ 50.53 หำกพิจำรณำตำมประเภทของอุตสำหกรรมท่ีมีทุนจดทะเบียนมำกที่สุด ได้แก่
อุตสำหกรรมกำรขำยส่ง กำรขำยปลีก กำรซ่อมแซมยำนยนต์ รถจักรยำนยนต์ ของใช้ส่วนบุคคลและของใช้ในครัวเรือน
มีทุนจดทะเบียนท้ังสิ้น 62.11 ล้ำนบำท แยกเป็นทุนจดทะเบียนของบริษัทจำกัด 23.7 ล้ำนบำท และทุนจดทะเบียน
ของห้ำงหุน้ สว่ นจำกัด 38.41 ล้ำนบำท รำยละเอยี ดดงั ภำคผนวกตำรำงที่ 3

สถานการณ์แรงงานจังหวัดลาปาง ไตรมาส 3/2564 (กรกฎาคม - กนั ยายน) 12

แผนภูมทิ ่ี 1 จานวนการจดทะเบียนของนติ ิบคุ คลตงั้ ใหม่จังหวัดลาปาง จาแนกตามหมวดธุรกิจ ไตรมาสท่ี 3 ปี 2564

7 แห่ง 12 แหง่ บริษัทจากดั หา้ งห้นุ สว่ นจากัด
กิจกรรมกำรบริกำรด้ำนอ่นื ๆ

กิจกรรมด้ำนสขุ ภำพและงำนสงั คม…

กำรศึกษำ

กิจกำรทเ่ี กยี่ วกบั อสงั หำรมิ ทรัพย์ 1 แหง่

กจิ กำรทำงกำรเงินและกำรประกันภยั 4 แหง่ 2 แห่ง
กำรขนสง่ และสถำนท่ีเก็บสนิ ค้ำ

ท่ีพักแรมและบรกิ ำรดำ้ นอำหำร 2 แหง่ 19 แห่ง 26 แหง่
กำรขำยส่ง กำรขำยปลกี กำรซอ่ มแซม… 17 แหง่ 30 40 50

กำรกอ่ สร้ำง 9 แหง่

กำรไฟฟำ้ กำ๊ ซไอน้ำ และระบบปรบั … 7 แห่ง
4 แหง่

กำรผลติ

กำรทำเหมอื งแร่ และเหมอื งหิน
4 แห่ง
เกษตรกรรม กำรปำ่ ไม้และกำรประมง
1 แหง่

0 10 20

ท่มี า : สำนกั งำนพำณชิ ย์จังหวดั ลำปำง

2.4 การจดทะเบยี นโรงงาน

สำหรับกำรจดทะเบียนโรงงำนใหม่ในจังหวัดลำปำง ไตรมำสท่ี 3 (กรกฎำคม - กันยำยน) ปี 2564 พบว่ำ
มีกำรจดทะเบียนรวม 6 โรงงำน รวมเงินลงทุน 44.33 ล้ำนบำท กำรจดทะเบียนโรงงำนดังกล่ำวทำให้เกิดกำรจ้ำงงำน
เพิ่มขึ้นถึง 24 คน หำกพิจำรณำตำมประเภทของอุตสำหกรรมแล้ว อุตสำหกรรมท่ีมีกำรจดทะเบียนสูงสุด ได้แก่
อุตสำหกรรมกำรผลิตอื่น ๆ จำนวน 4 โรงงำน เงินลงทุน 28.53 ล้ำนบำท กำรจ้ำงงำน 11 คน รองลงมำมี 2
ประเภทอตุ สำหกรรมท่มี กี ำรจดทะเบียนโรงงำนเท่ำกัน คือ 1 แหง่ ได้แก่ อุตสำหกรรมแปรรูปไมแ้ ละผลติ ภณั ฑจ์ ำกไม้
จำนวน 1 โรงงำน เงนิ ลงทุน 0.80 ล้ำนบำท กำรจำ้ งงำน 10 คน และอุตสำหกรรมผลิตภัณฑ์อโลหะ จำนวน 1 โรงงำน
เงนิ ลงทุน 15.00 ล้ำนบำท กำรจำ้ งงำน 3 คน ในส่วนโรงงำนทปี่ ิดกิจกำรไตรมำสนี้ จงั หวดั ลำปำง มีกำรเลิกกิจกำร
ของโรงงำนอตุ สำหกรรมทั้งส้ิน จำนวน 3 โรงงำน รำยละเอยี ดดังภำคผนวกตำรำงที่ 4

สถานการณ์แรงงานจงั หวัดลาปาง ไตรมาส 3/2564 (กรกฎาคม - กันยายน) 13

บทท่ี 2 ตวั ช้ีวดั ภาวะแรงงานจังหวดั ลาปาง

ภำวะด้ำนแรงงำนมีกำรเคล่ือนไหวเปล่ียนแปลงเนื่องจำกปัจจัยทำงเศรษฐกิจ สถำนกำรณ์ภัยธรรมชำติ
เช่น ภำวะน้ำท่วม สถำนกำรณ์เศรษฐกิจ ได้แก่ กำรปรับข้ึนลดลงของรำคำน้ำมัน รำคำสินค้ำอุปโภคบริโภค
ที่เพิม่ สงู ข้ึน เปน็ ต้น ซง่ึ ปัจจัยเหล่ำน้ีจะส่งผลถึงควำมเช่ือมน่ั ของนักธุรกิจ นักลงทนุ ทง้ั ในและต่ำงประเทศ ทำให้เกิด
กำรชะลอกำรลงทุน ชะลอกำรขยำยกิจกำรรวมถึงชะลอกำรจ้ำงงำนในขณะที่ภำคกำรศึกษำมีกำรผลิตคนเพื่อเข้ำสู่
ตลำดแรงงำนอย่ำงต่อเน่ือง มิอำจชะลอตัว ตำมภำวะกำรด้ำนเศรษฐกิจจึงส่งผลต่อกำรว่ำงงำน นอกจำกนี้ยังมีปัจจัย
กำรเปลี่ยนแปลงทำงเทคโนโลยีกำรผลิต ต้นทุนกำรผลิต ฤดูกำล ทัศนคติท้ังฝ่ำยนำยจ้ำงและผู้ใช้แรงงำนเหล่ำนี้
ล้วนเป็นปัจจัยที่นำไปสู่กำรเปล่ียนแปลงของภำวะด้ำนแรงงำนไม่ว่ำจะเป็นรูปแบบกำรจ้ำงงำน กำรย้ำยแรงงำน
กำรพัฒนำทักษะฝีมอื แรงงำน มำตรฐำนแรงงำน ฯลฯ ดังน้ัน กำรจะทรำบควำมเคลื่อนไหวหรือกำรเปลี่ยนแปลง
ของภำวะด้ำนแรงงำน จึงต้องมีกำรพิจำรณำศึกษำกำหนดตัวช้ีวัด พร้อมท้ังติดตำมกำรเปลี่ยนแปลงเพ่ือวิเครำะห์ถึง
สำเหตขุ องปัญหำ รวมถงึ ทำนำยหรือคำดกำรณ์อนำคตอันเอื้อประโยชนต์ ่อกำรตัดสินใจในกำรกำหนดแผนงำนที่จะต้องทำ
ให้ตอบสนองควำมต้องกำรของทุกกลุ่มท้ังนำยจ้ำง ผู้ใช้แรงงำน องค์กำรต่ำง ๆ ทั้งภำครัฐและเอกชน สถำนกำรณ์แรงงำน
จงั หวดั ลำปำง ไตรมำสที่ 3 (เดือนกรกฎำคม - กนั ยำยน) ปี 2564 ฉบับน้ขี อนำเสนอตวั ชีว้ ัดภำวะดำ้ นแรงงำน ดงั น้ี

1. อตั ราการมสี ว่ นรว่ มในกาลังแรงงานของจังหวดั ลาปาง

อัตรำส่วนกำรมีส่วนร่วมในกำลังแรงงำน เป็นตัวชี้วัดที่แสดงให้เห็นถึงสภำพกำลังแรงงำนในตลำดแรงงำน
ของจังหวัดลำปำง เม่ือเทยี บกับประชำกรวยั แรงงำนท้ังหมด โดยคำนวณกำลงั แรงงำนในจังหวัดเทยี บกับประชำกร
ทมี่ อี ำยุ 15 ปีขึ้นไปในจงั หวัดลำปำงจะพบว่ำไตรมำสที่ 2 ปี 2564 อัตรำส่วนกำลงั แรงงำนจังหวัดลำปำง มีอัตรำรอ้ ยละ
58.62 ซึ่งลดลงร้อยละ -5.37 จำกไตรมำสที่ 1 ปี 2564 ที่มีอัตรำ 63.99 เมื่อเปรียบเทียบกับไตรมำสเดียวกัน
ของปีท่ีผ่ำนมำ พบว่ำมีอัตรำท่ีลดลงร้อยละ 0.43 จำกไตรมำสที่ 2 ปี 2564 ท่ีมีอัตรำร้อยละ 59.05 เมื่อพิจำรณำจำก
แผนภูมิที่ 2 จะพบว่ำไตรมำสท่ี 2/2564 มีกำรปรับตัวลดลงจำกไตรมำสท่ี 1/2564 มำจำกปัจจัยฤดูกำล
และเป็นช่วงท่ีมีกำรแพร่ระบำดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนำ 2019 (COVID – 19) จึงส่งผลต่อกำรมีงำน ทำ
ของกำลงั แรงงำนและมีกำลังแรงงำนในจังหวดั เพม่ิ ขึ้น (แผนภูมทิ ี่ 2)

แผนภูมิท่ี 2 อตั ราการมีส่วนรว่ มในกาลงั แรงงานจงั หวัดลาปาง

รอ้ ยละ 62.58 63.84 64.33 63.99

70.00

65.00

60.00 59.05 58.62

55.00

50.00 ไตรมาส

1/2563 2/2563 3/2563 4/2563 1/2564 2/2564

ทีม่ า : สำนกั งำนสถิติจงั หวดั ลำปำง (ใชข้ ้อมูลผู้มงี ำนทำในจังหวดั ของไตรมำสที่ 2/2564 เนอื่ งจำกข้อมูลไตรมำสที่ 3/2564 ทำงสำนกั งำนสถติ ิ

จังหวดั ลำปำงยงั ไมม่ ีกำรเผยแพร่) กำลงั แรงงำนในจงั หวดั X 100
ประชำกรท่มี อี ำยุ 15 ปขี ึน้ ไปในจงั หวดั
หมายเหตุ : อตั รำสว่ นร่วมในกำลังแรงงำน =

สถานการณ์แรงงานจังหวัดลาปาง ไตรมาส 3/2564 (กรกฎาคม - กันยายน) 14

2. อัตราการมีงานทาของจงั หวัดลาปาง

อัตรำกำรมีง ำน ท ำต่ อก ำ ลัง แรง ง ำน เ ป็น ตัว ช้ีวั ด ที่ แ สดง ใ ห้ เห็น ภ ำว ะ ก ำร มีง ำน ทำ ใน ต ล ำด แร ง ง ำ น
ของจังหวัดลำปำงวำ่ มีสัดสว่ นมำกนอ้ ยเพยี งใดในไตรมำสที่ 2 ปี 2564 พบว่ำ อตั รำกำรมงี ำนทำในภำคเกษตรของ
จังหวัดลำปำงมีอัตรำร้อยละ 35.73 โดยเมื่อเปรียบเทียบกับ ไตรมำสที่ 1 ปี 2564 (33.67) ที่ผ่ำนมำจะพบว่ำ
อัตรำกำรมีงำนทำในภำคเกษตรจังหวัดลำปำง มีสัดส่วนเพ่ิมขึ้นร้อยละ 2.06 และเม่ือเปรียบเทียบกับไตรมำส
เดียวกันของปีที่ผ่ำนมำ (35.65) มีสัดส่วนเพิ่มขึ้นร้อยละ 0.08 ส่วนอัตรำกำรมีงำนทำนอกภำคเกษตรในไตรมำสที่ 2
ปี 2564 มีอตั รำร้อยละ 64.27 ลดลงจำกไตรมำสท่ี 1 ปี 2564 (ทีม่ อี ตั รำ 66.33) รอ้ ยละ -2.06 และเมอื่ เทียบกับ
ไตรมำสเดยี วกนั ของปีท่ีผ่ำนมำ (62.08) มีสัดส่วนเพิม่ ขนึ้ รอ้ ยละ 2.19 ท้ังน้ี สำเหตุท่แี รงงำนนอกภำคเกษตรลดลง
เน่ืองจำกเป็นช่วงท่ีเกิดกำรแพร่ระบำดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนำ 2019 (COVID – 19) ทำให้แรงงำนนอกภำค
เกษตรลดลง และเรม่ิ เคลอื่ นย้ำยเขำ้ สู่แรงงำนในภำคเกษตรแทน (แผนภูมิที่ 3)

แผนภูมิท่ี 3 อัตราการมงี านทาใน/นอกภาคเกษตรจังหวดั ลาปาง

80

64.15 62.88 62.08 63.84 64.33 6662..6333 64.27
60 52.33 59.05 564.63.4 57.13 56.79
61.76 35.65
40 47.67 37.12
42.87 33.67 35.73

20

0 1/2563 2/2563 3/2563 4/2563 1/2564 2/2564
4/2562

อัตรำกำรมงี ำนทำของจังหวดั อัตรำกำรมงี ำนทำในภำคเกษตรของจังหวัด อัตรำกำรมีงำนทำนอกภำคเกษตรของจงั หวัด

ท่ีมา : สำนกั งำนสถติ จิ งั หวดั ลำปำง (ใชข้ ้อมูลผู้มีงำนทำในจงั หวัดของไตรมำสที่ 2/2564 เนือ่ งจำกขอ้ มูลไตรมำสท่ี 3/2564 ทำงสำนกั งำนสถติ ิ
จังหวัดลำปำงยังไม่มีกำรเผยแพร)่

หมายเหตุ : อตั รำกำรจำ้ งงำนใน/นอกภำคเกษตรในจงั หวัด = ผ้มู ีงำนทำใน / นอกภำคเกษตรในจังหวัด X 100

ผู้มีงำนทำในจงั หวดั

เมื่อพิจำรณำอัตรำกำรจ้ำงงำนเฉพำะในส่วนภำคอุตสำหกรรมกำรผลิต โดยคำนวณจำกผู้มีงำนทำ
ในภำคอตุ สำหกรรมกำรผลติ เปรียบเทียบกับผู้มีงำนทำทั้งหมดพบว่ำอตั รำกำรจ้ำงงำนในภำคกำรผลติ ไตรมำสท่ี 2
ปี 2564 มีอัตรำร้อยละ 11.63 ซึ่งลดลง -3.22 จำกไตรมำสท่ี 1 ปี 2564 ท่ีมีอัตรำร้อยละ 14.85 อันเน่ืองมำจำก
สถำนกำรณ์เกิดกำรแพร่ระบำดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนำ (COVID - 19) ขึ้นอีก ส่งผลให้ภำคอุตสำหกรรม
กำรผลิตปรับลดฐำนกำรผลิตทำให้แรงงำนในภำคอุตสำหกรรมกำรผลิตเกิดกำรว่ำงงำน และเมื่อเปรียบเทียบกับไตรมำส
เดยี วกันของปีทีผ่ ำ่ นมำ (13.48) พบวำ่ ยังมีสัดส่วนลดลง รอ้ ยละ -1.85 (แผนภมู ิท่ี 4)

สถานการณ์แรงงานจงั หวัดลาปาง ไตรมาส 3/2564 (กรกฎาคม - กันยายน) 15

แผนภูมิท่ี 4 อตั ราการมีงานทาในอุตสาหกรรมการผลติ จังหวัดลาปาง

รอ้ ยละ 14.29 13.48 12.46 12.34 อตั ราการจ้างงาน
16.00 14.85
14.00 1/2563 2/2563 3/2563 4/2563
12.00 11.63
10.00
1/2564 ไตรมาส
10.07
8.00 2/2564
6.00
4.00
2.00
0.00

4/2562

ทม่ี า : สำนักงำนสถติ ิจังหวดั ลำปำง (ใชข้ ้อมูลผู้มีงำนทำในจังหวดั ของไตรมำสท่ี 2/2564 เนื่องจำกข้อมลู ไตรมำสท่ี 3/2564 ทำงสำนกั งำนสถติ ิ
จังหวัดลำปำงยังไมม่ กี ำรเผยแพร)่

หมายเหตุ : อตั รำกำรจ้ำงงำนใน/นอกภำคเกษตรในจงั หวดั = ผู้มีงำนทำในภำคอตุ สำหกรรมกำรผลติ ในจงั หวดั X 100

ผู้มงี ำนทำในจงั หวัด

โดยสรุปในภำพรวมจะพบว่ำ อัตรำกำรจ้ำงงำนหรืออัตรำกำลังแรงงำนของจังหวัดลำปำง จะมีลักษณะ
กำรเคลื่อนย้ำยแรงงำนแบบเป็นวัฏจักร ทั้งน้ีเพรำะพ้ืนท่ีจังหวัดลำปำงเป็นเขตเกษตรกรรม ประชำกรซึ่งเป็นกำลัง
แรงงำนของจังหวัดลำปำงจะอยู่ในภำคส่วนของเกษตรกรรมและช่วยครัวเรือนทำกำรเกษตรเม่ือ เสร็จสิ้นฤดูเก็บ
เกย่ี วกจ็ ะเคล่อื นย้ำยไปทำงำนในภำคอุตสำหกรรมและเคลื่อนย้ำยกลับมำภำคเกษตรอีกครงั้ ในฤดูเพำะปลูกวนเวียน
ในลกั ษณะเชน่ นี้อยำ่ งเป็นวฏั จกั รทุกปี จงึ อำจส่งผลต่อกำรขำดแคลนแรงงำนในบำงฤดกู ำล

สถานการณ์แรงงานจังหวดั ลาปาง ไตรมาส 3/2564 (กรกฎาคม - กนั ยายน) 16

3. อัตราการว่างงานของจงั หวัดลาปาง

กำรศึกษำอัตรำกำรว่ำงงำนในปีที่ผ่ำนมำจะพบว่ำอัตรำกำรว่ำงงำนของจังหวัดลำปำงแต่ละไตรมำส
จะปรับตัวสูงขึ้นและลดลงตำมปัจจัยในเร่ืองฤดูกำล เนื่องจำกจังหวัดลำปำงเป็นพื้นที่เกษตรกรรม ดังน้ัน หำกเป็น
ช่วงไตรมำสท่ี 4 จะเป็นช่วงฤดูเก็บเก่ียวจะส่งผลให้แรงงำนในภำคอุตสำหกรรมของจังหวัดลำปำง ย้ำยเข้ำไปอยู่ใน
ภำคเกษตรกรรมมำกข้ึน และในช่วงไตรมำสที่ 4 เป็นช่วงเก็บเก่ียวผลผลิต แรงงำนในภำคอุตสำหกรรมย้ำยเข้ำมำใน
ภำคกำรเกษตรมำกขึ้น ดังนั้น อัตรำกำรว่ำงงงำนในไตรมำสที่ 4 จึงเริ่มสูงและจะลดลงในไตรมำสที่ 1 และไตรมำสที่ 2
เนื่องจำกเป็นช่วงที่เสร็จสิ้นฤดูกำรเก็บเก่ียวผลผลิต ดังนั้น ภำคเกษตรจึงเป็นปัจจัยที่มีผลต่ออัตรำกำรว่ำงงำน
ที่เพิ่มขึ้นและลดลง จำกข้อสังเกตพบว่ำอัตรำกำรว่ำงงำนเป็นเคร่ืองชี้วัดที่เกยี่ วข้องกับปัจจัยฤดูกำล กล่ำวคือ
แรงงำนจะมีกำรเคลื่อนย้ำยสภู่ ำคเกษตรในไตรมำสที่เปน็ ฤดเู พำะปลกู โดยจังหวัดที่เปน็ พ้ืนท่ีกำรเกษตรจะมีอัตรำ
ว่ำงงำนต่ำขณะที่จังหวัดในพื้นทีต่ ง้ั ของอุตสำหกรรมจะมอี ตั รำว่ำงงำนสูง

สำหรับอัตรำกำรว่ำงงำนในจังหวัดลำปำงไตรมำสที่ 2/2564 มีอัตรำร้อยละ 2.67 ซ่ึงเพิ่มข้ึนจำกไตรมำสที่ 1/2564
รอ้ ยละ 0.94 เนอ่ื งจำกไตรมำสที่ 2/2564 พบวำ่ ตัวเลขของผวู้ ่ำงงำนจงั หวดั ลำปำงมีผู้ว่ำงงำน จำนวน 9,879 คน
หำกเปรียบเทียบกับไตรมำสท่ี 2/2563 (6,978 คน) พบว่ำจำนวนผู้ว่ำงงำนเพ่ิมขึ้น ร้อยละ 0.39 และเมื่อ
เปรียบเทียบกับไตรมำสที่ 1/2564 (6,978 คน) พบว่ำผู้ว่ำงงำนเพม่ิ ขึ้น ร้อยละ 0.94 สำเหตุท่ีไตรมำสท่ี 2/2564
มีอัตรำกำรว่ำงงำนเพิ่มข้ึนเนื่องจำกสถำนกำรณ์กำรแพร่ระบำดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนำ 2019 (COVID - 19)
ภำคอุตสำหกรรมบำงส่วนเริ่มปรับตวั เพือ่ ให้อุตสำหกรรมสำมำรถดำรงอยไู่ ด้ จึงทำใหม้ กี ำรจ้ำงงำนลดลง (แผนภมู ทิ ่ี 5)

แผนภมู ิท่ี 5 อัตราการว่างงานจังหวดั ลาปาง

ร้อยละ

3.00
2.50 2.67

2.00 2.28 1.81 1.73
1.50

1.00 1.31 0.87
0.50

0.00 ไตรมาส
1/2563
2/2563 3/2563 4/2563 1/2564 2/2564

ท่ีมา : สำนักงำนสถติ ิจงั หวัดลำปำง (ใชข้ ้อมูลผู้มีงำนทำในจงั หวัดของไตรมำสที่ 2/2564 เนอื่ งจำกข้อมลู ไตรมำสท่ี 3/2564 ทำงสำนกั งำนสถิติ

จังหวดั ลำปำงยงั ไม่มีกำรเผยแพร)่
หมายเหตุ : อตั รำกำรวำ่ งงำนในจังหวดั = ผู้ว่ำงงำนจงั หวัด X 100

กำลงั แรงงำนในจงั หวัด

สถานการณ์แรงงานจังหวดั ลาปาง ไตรมาส 3/2564 (กรกฎาคม - กนั ยายน) 17

4. อัตราการเปล่ียนแปลงของจานวนผปู้ ระกันตนในระบบประกันสงั คม (มาตรา 33)

จำนวนผู้ประกันตนมำตรำ 33 ของสำนักงำนประกันสังคมจังหวัดลำปำงไตรมำสที่ 3/2564 มีจำนวน
48,440 คน เมื่อเทียบกับไตรมำสที่ 3/2563 (49,033 คน) มีอัตรำกำรเปลี่ยนแปลงของจำนวนผู้ประกันตน
(มำตรำ 33) (YoY) ลดลงร้อยละ -1.21 และลดลงจำกไตรมำสที่ 2/2564 (49,039 คน) ร้อยละ -1.22
จำนวนผู้ประกันตนที่ขอรับประโยชน์ทดแทนกรณีว่ำงงำน มีจำนวน 1,211 คน เมื่อเปรียบเทียบกับไตรมำสที่
3/2563 (1,737 คน) มีอตั รำกำรเปลย่ี นแปลงของผู้ประกนั ตนท่ีขอรับประโยชนท์ ดแทนกรณวี ่ำงงำนลดลง (YoY)
ร้อยละ -30.28 และเม่ือเทียบกับไตรมำสท่ี 2/2564 (1,384 คน) มีอัตรำลดลง ร้อยละ -12.50 สำหรับจำนวนผู้ประกันตน
ท่ีข้ึนทะเบียนขอรับประโยชน์ทดแทนกรณีเลิกจ้ำง มีจำนวน 103 คน เมื่อเทียบกับไตรมำสที่ 3/2563 (137 คน)
มีอัตรำกำรเปลี่ยนแปลงลดลงร้อยละ -24.82 และเมื่อเทียบกับไตรมำสที่ 2/2564 (16 คน) มีอัตรำเพิ่มขึ้น
ร้อยละ 543.75 (แผนภูมิท่ี 6)

แผนภมู ทิ ่ี 6 อัตราการเปลีย่ นแปลงของจานวนผู้ประกันตนในระบบประกันสังคม (มาตรา 33) ผปู้ ระกันตนที่ขอรบั
ประโยชน์ทดแทนกรณีว่างงาน และกรณเี ลิกจา้ งจังหวัดลาปาง

อตั รำกำรเปลี่ยนแปลงของจำนวน ผปต. ในระบบประกนั สงั คม (มำตรำ 33) YOY

อตั รำกำรเปลย่ี นแปลงของจำนวน ผปต. ทข่ี อรับประโยขนท์ ดแทนกรณีวำ่ งงำน YOY

302.94

200

111.63 103.45

17.13 28.62
-6.20
-7.06-11.13 -6.81 -0.07 -0.27-9.29 -1.31 -1.21
หห -29.30 -8.25 -30.28

-63.03 -24.82
-82.42

ทมี่ า : 1. สำนักงำนประกันสังคมจงั หวัดลำปำง 2. สำนักงำนจดั หำงำนจังหวดั ลำปำง

สถานการณ์แรงงานจังหวดั ลาปาง ไตรมาส 3/2564 (กรกฎาคม - กนั ยายน) 18

5. อัตราการบรรจุงานของจงั หวดั ลาปาง

อัตรำกำรบรรจุงำนในแต่ละไตรมำสเป็นตัวช้ีวัดที่แสดงให้เห็นถึงกำรเคลื่อนไหวของภำวะกำรด้ำนแรงงำน
ซึ่งสำมำรถศึกษำวิเครำะห์กับจำนวนตำแหน่งงำนว่ำง และจำนวนผู้สมัครงำน โดยเม่ือวิเครำะห์จำนวนกำรบรรจุงำน
ท่ีสำนักงำนจัดหำงำนจังหวัดลำปำงดำเนินกำรเทียบกับจำนวนตำแหน่งงำนว่ำงที่แจ้งผ่ำนสำนักงำนจัดหำงำน
จังหวัดลำปำง พบว่ำ อัตรำกำรบรรจุงำนต่อผู้สมัครงำนไตรมำสที่ 3/2564 อยู่ท่ีร้อยละ 73.26 โดยมีอัตรำ เพ่ิมขึ้น
จำกไตรมำสท่ี 2/2564 (69.21) ร้อยละ 4.05 และอัตรำกำรบรรจุงำนต่อผู้สมัครงำนไตรมำสน้ีมีสัดส่วนที่ ลดลง
เมอ่ื เทียบกับไตรมำสเดียวกนั ของปีทผ่ี ่ำนมำ (144.68) รอ้ ยละ -71.42 และเมอื่ เปรยี บเทียบสดั สว่ นของผูบ้ รรจุงำน
ต่อตำแหน่งงำนว่ำงมีอัตรำร้อยละ 31.39 จะพบว่ำมีอัตรำที่ลดลงจำกไตรมำสที่ 2/2564 (ที่มีอัตรำ 104.22)
ร้อยละ -72.83 และอตั รำกำรบรรจุงำนต่อตำแหน่งงำนว่ำงไตรมำสนี้มีสัดส่วนท่ีลดลงเมือ่ เทียบกับไตรมำสเดียวกันของ
ปีที่ผ่ำนมำ (34.21) ร้อยละ -2.82 สำเหตุที่ไตรมำสท่ี 3 ปี 2564 มีกำรบรรจุงำนน้อยกว่ำตำแหน่งงำนว่ำงเนื่องจำก
เกิดกำรแพรร่ ะบำดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนำ 2019 (COVID - 19) จึงทำใหม้ กี ำรบรรจงุ ำนทน่ี อ้ ยลง (แผนภูมิท่ี 7)

แผนภมู ทิ ่ี 7 อัตราการบรรจุงานต่อผู้สมคั รงาน/ตาแหน่งงานวา่ งในจังหวัดลาปาง

อัตราการบรรจุงานตอ่ ผสู้ มคั รงานจังหวดั ลาปาง อตั ราการบรรจงุ านตอ่ ตาแหนง่ งานวา่ งจังหวัดลาปาง

ไตรมำส

1/2563 2/2563 3/2563 4/2563 1/2564 2/2564 3/2564

ทีม่ า : สำนักงำนจดั หำงำนจงั หวดั ลำปำง

หมายเหตุ : 1. อตั รำกำรบรรจงุ ำนตอ่ ผู้สมัครงำนจังหวดั = ผ้ไู ดร้ ับกำรบรรจุงำนจังหวดั ×100
ผู้สมัครงำนจงั หวดั

2. อตั รำกำรบรรจงุ ำนต่อตำแหนง่ งำนว่ำงจงั หวัด = ผู้ได้รับกำรบรรจงุ ำนจงั หวดั ×100
ตำแหน่งงำนว่ำงในจังหวัด

สถานการณ์แรงงานจงั หวดั ลาปาง ไตรมาส 3/2564 (กรกฎาคม - กนั ยายน) 19

6. อัตราการจา้ งแรงงานต่างด้าวในจังหวัดลาปาง

อัตรำกำรจ้ำงแรงงำนต่ำงด้ำว (ม.59 ท่ัวไป ม.63/1 ชนกลุ่มน้อย และแรงงำน 3 สัญชำติ(กัมพูชำ ลำว
และเมียนมำ)) ตอ่ จำนวนผ้มู ีงำนทำทัง้ หมดของไตรมำสที่ 3/2564 คดิ เปน็ รอ้ ยละ 0.96 หมำยถึงผมู้ งี ำนทำ ทุก ๆ
100 คน จะมีกำรจ้ำงแรงงำนต่ำงด้ำวประมำณ 0 - 1 คน และอัตรำกำรจ้ำงแรงงำนต่ำงด้ำว 3 สัญชำติ (กัมพูชำ
ลำว เมียนมำ) ต่อจำนวนผูม้ ีงำนทำทงั้ หมดของไตรมำสท่ี 3/2564 อยทู่ ่รี ้อยละ 0.86 แสดงว่ำ ผมู้ งี ำนทำทกุ ๆ 100 คน
อำจจะไม่มีกำรจ้ำงงำนของแรงงำนต่ำงด้ำว 3 สัญชำติ หรืออำจจะมีกำรจ้ำงแรงงำนต่ำงด้ำวสัญชำติพม่ำ ลำว
กมั พชู ำ จำนวน 0 - 1 คน

แผนภมู ทิ ่ี 8 อตั ราการจ้างแรงงานต่างด้าวในจังหวัดลาปาง อตั รำแรงงำนต่ำงดำ้ ว 3 สญั ชำติ

อตั รำแรงงำนต่ำงดำ้ วตอ่ ผมู้ งี ำนทำ

1.16 1.10 1.22

0.95 0.90 1.04 0.96

0.87 0.95 0.92 0.86
0.81 0.68 0.63

1/2563 2/2563 3/2563 4/2563 1/2564 2/2564 ไตรมาส
3/2564

ทมี่ า : สำนักงำนจัดหำงำนจังหวัดลำปำง, สำนกั งำนสถิตจิ ังหวัดลำปำง (ใชข้ ้อมูลไตรมำสที่ 2/2564 เนอื่ งจำกข้อมลู ไตรมำสท่ี 3/2564 ทำงสำนกั งำนสถติ ิยงั ไมม่ ีกำรเผยแพร่)
หมายเหตุ : ประมวลข้อมูลโดยสำนักงำนแรงงำนจงั หวดั ลำปำง

7. อตั ราการปฏบิ ตั ิไม่ถกู ต้องตามกฎหมายคุ้มครองแรงงานและกฎหมายความปลอดภัย
ในการทางานของสถานประกอบการ

อัตรำกำรปฏิบัติไม่ถูกต้องตำมกฎหมำยคุ้มครองแรงงำนสถำนประกอบกำรเป็นตัวบ่งบอกที่แสดงให้เห็นถึง
ภำวะกำรด้ำนแรงงำน หำกนำยจ้ำงไม่ปฏิบัติตำมกฎหมำยสูงขึ้นย่อมส่งผลกระทบต่อควำมเป็นอยู่ของลูกจ้ำง ผู้ใช้แรงงำน
และสง่ ผลถงึ คุณภำพชีวิตของผู้ใช้แรงงำนตำมมำ ซึง่ พบวำ่ อัตรำกำรปฏิบัตไิ ม่ถูกต้องตำมกฎหมำยคุ้มครองแรงงำน
ของสถำนประกอบกำรในจังหวัดต่อจำนวนสถำนประกอบกำรที่ผ่ำนกำรตรวจทั้งหมดของจังหวัดลำปำงในปี 2564 พบว่ำ
ไตรมำสที่ 3/2564 มีกำรปฏิบัติไม่ถูกต้องตำมกฎหมำยคุ้มครองแรงงำน จำนวน 0 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 0 เมื่อเปรียบเทียบกับ
ไตรมำสที่ 2/2564 อัตรำกำรปฏิบัติไม่ถูกต้องตำมกฎหมำยคุ้มครองแรงงำนของสถำนประกอบกำรลดลง ร้อยละ
-12.04 และเท่ากับไตรมำสเดียวกันของปีที่ผ่ำนมำ (0) ร้อยละ 0 ส่วนอัตรำกำรปฏบิ ัติไมถ่ ูกต้องตำมข้อกฎหมำย
ควำมปลอดภัยในกำรทำงำน พบว่ำไตรมำสท่ี 3/2564 พบว่ำมีกำรปฏิบัติไม่ถูกต้องจำนวน 0 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 0
เมือ่ เปรียบเทียบกบั ไตรมำสที่ 2/2564 อัตรำกำรปฏิบตั ไิ ม่ถูกต้องตำมข้อกฎหมำยควำมปลอดภัยในกำรทำงำนลดลง
ร้อยละ -15.28 และลดลงจำกไตรมำสเดียวกันของปีทผี่ ่ำนมำ (3.70) ร้อยละ -3.70 (แผนภูมิท่ี 9)

สถานการณ์แรงงานจงั หวัดลาปาง ไตรมาส 3/2564 (กรกฎาคม - กนั ยายน) 20

แผนภูมทิ ่ี 9 อัตราการปฏิบตั ิไม่ถูกตอ้ งตามกฎหมายคุ้มครองแรงงานและกฎหมายความปลอดภยั ในการทางานของ
สถานประกอบการจังหวัดลาปาง

อัตราการปฏบิ ัติไม่ถกู ต้องตามกฎหมายคมุ้ ครองแรงงานจงั หวัด
อตั ราการปฏิบตั ไิ ม่ถกู ตอ้ งตามกฎหมายความปลอดภัยในการทางานจังหวัด

20

15

10

5

0 2/2563 3/2563 4/2563 1/2564 2/2564 3/2564
1/2563

ทม่ี า : สำนักงำนสวัสดิกำรและค้มุ ครองแรงงำนจงั หวัดลำปำง
หมายเหตุ : 1. อตั รำกำรปฏิบัติไมถ่ กู ต้องตำมกฎหมำยคุ้มครองแรงงำนของสถำนประกอบกำรจังหวัด = จำนวนสถำนประกอบกำรท่ที ำผดิ กฎหมำยคุม้ ครองฯ x 100

จำนวนสถำนประกอบกำรท่ผี ำ่ นกำรตรวจคมุ้ ครองฯ

2. อัตรำกำรปฏิบตั ไิ มถ่ ูกตอ้ งตำมกฎหมำยควำมปลอดภัยในกำรทำงำนจังหวัด = จำนวนสถำนประกอบกำรทที่ ำผิดกฎหมำยควำมปลอดภยั ฯ x 100

จำนวนสถำนประกอบกำรทีผ่ ่ำนกำรตรวจควำมปลอดภยั ฯ

8. อตั ราการเกดิ ข้อพิพาทแรงงาน/ขอ้ ขัดแย้งในสถานประกอบการ

กำรเกิดข้อพพิ ำทแรงงำนและขอ้ ขดั แยง้ ในสถำนประกอบกำร เป็นตัวชี้วดั ทีแ่ สดงถึงควำมสมั พันธ์ระหว่ำง
นำยจ้ำงและลูกจ้ำง กำรเปล่ียนแปลงของอัตรำกำรเกิดข้อพพิ ำทแรงงำนจะแสดงให้เห็นถึงทิศทำงควำมสมั พันธ์
ระหว่ำงนำยจ้ำงและลกู จ้ำงว่ำมีทศิ ทำงหรือแนวโน้มไปในทำงใด กำรเกิดข้อพิพำทแรงงำนนัน้ มีผลมำจำก
กำรที่ลูกจ้ำงได้แจ้งข้อเรียกร้องต่อนำยจ้ำง และหำกไม่สำมำรถยุติหรือตกลงกันได้ก็จะเกิดเป็นข้อพิพำทแรงงำนขึ้น
สำหรับอัตรำสถำนประกอบกำรที่เกิดข้อพิพำทแรงงำนในจังหวัดต่อสถำนประกอบกำร 100,000 แห่ง พบว่ำ ในช่วง
ไตรมำสที่ 1 ปี 2563 ถึงปัจจุบัน สำนักงำนสวัสดิกำรและคุ้มครองแรงงำนจังหวัดลำปำงไม่ได้รับข้อเรียกร้อง/
ข้อพพิ ำทแรงงำน (แผนภูมิที่ 10)

สำหรับข้อขัดแย้งในสถำนประกอบกำรซ่ึงเกิดจำกควำมขัดแย้งระหว่ำงนำยจ้ำง ลูกจ้ำง ท่ีมิใช่ข้อพิพำท
แรงงำนตำมกฎหมำยแรงงำน เป็นตัวช้ีวัดอีกตัวหนึ่งท่ีบ่งบอกถึงควำมสัมพันธ์ระหว่ำงนำยจ้ำงและลูกจ้ำงได้
โดยอัตรำกำรเกิดข้อขัดแย้งในสถำนประกอบกำรต่อสถำนประกอบกำร 100,000 แห่ง ในรอบปีที่ผ่ำนมำนับจำก
ไตรมำสที่ 1ปี 2563 จนถึงปัจจุบัน สำนักงำนสวัสดิกำรและคุ้มครองแรงงำนจังหวัดลำปำง ไม่ได้รับข้อขัดแย้ง
ในสถำนประกอบกำร (แผนภมู ิที่ 10)

สถานการณ์แรงงานจงั หวัดลาปาง ไตรมาส 3/2564 (กรกฎาคม - กันยายน) 21

แผนภูมทิ ่ี 10 อตั ราการเกิดขอ้ พพิ าท/ข้อขดั แย้งแรงงานต่อสถานประกอบการต่อ 100,000 แห่ง ในจงั หวัด

1

0.5

0 2/2563 3/2563 4/2563 1/2564 2/2564 3/2564 ไตรมำส
1/2563

อัตราการเกดิ ข้อมพิพาทแรงงานตอ่ สถานประกอบการ 100,000 แหง่ อัตราการเกิดขอ้ ขดั แยง้ ตอ่ สถานประกอบการ 100,000 แหง่

ทม่ี า : สำนักงำนสวัสดิกำรและค้มุ ครองแรงงำนจงั หวดั ลำปำง

หมายเหตุ : 1. อตั รำกำรเกิดข้อพิพำทในจังหวดั ลำปำงตอ่ สถำนประกอบกำร 100,000 แหง่ = สถำนประกอบกำรทเี่ กดิ ขอ้ พิพำทท้งั หมดในจงั หวดั x 100

สถำนประกอบกำรทัง้ หมดในจังหวดั

2. อตั รำกำรเกิดข้อขดั แย้งในจงั หวัดต่อสถำนประกอบกำร 100,000 แห่ง = สถำนประกอบกำรที่เกดิ ขอ้ ขัดแย้งทั้งหมดในจงั หวัด x 100

สถำนประกอบกำรทง้ั หมดในจงั หวดั

9. อัตราแรงงานทเ่ี ป็นผ้ปู ระกันตน

อัตรำแรงงำนท่ีเป็นผู้ประกันตน คดิ จำกจำนวนผปู้ ระกันตนของกองทุนประกนั สงั คมตำมมำตรำ 33, 39 และ 40
ต่อจำนวนผู้มีงำนทำของสำนักงำนประกันสังคมจังหวัดลำปำง ไตรมำสที่ 3/2564 คิดเป็นร้อยละ 34.81 อัตรำ
เปลีย่ นแปลงเพ่มิ ขน้ึ จำกไตรมำสที่แล้ว (34.02) รอ้ ยละ 0.79 และเพม่ิ ขน้ึ จำกไตรมำสเดยี วกนั ของปที ่ีแล้ว (29.41)
ร้อยละ 5.40 ท้ังน้ี สำนักงำนประกันสงั คมจงั หวัดลำปำงได้ขยำยควำมคุ้มครองไปสู่กลุ่มผู้ใช้แรงงำนนอกระบบเพ่ือจูงใจ
ให้ผู้ใช้แรงงำนเข้ำมำอยู่ในระบบประกันสังคมเพื่อนำไปสู่กำรมีหลักประกันควำมม่ันคงในชีวิตเพิ่มมำกข้ึน
จึงทำใหอ้ ัตรำแรงงำนทเี่ ปน็ ผปู้ ระกนั ตนมแี นวโนม้ เพม่ิ ข้ึนเรื่อย ๆ (แผนภมู ิที่ 11)

แผนภูมทิ ่ี 11 อัตราแรงงานทเ่ี ป็นผปู้ ระกันตนในจังหวัดลาปาง

36.00รอ้ ยละ 34.02 34.81
34.00

32.00 31.31 30.73
29.41 29.47
30.00
29.68

28.00

26.00 2/2563 3/2563 4/2563 1/2564 2/2564 ไตรมาส
1/2563 3/2564

ที่มา : สำนักงำนประกันสังคมจังหวัดลำปำง, สำนักงำนสถิติจังหวัดลำปำง (ใช้ข้อมูลไตรมำสท่ี 2/2564 เนื่องจำกข้อมูลไตรมำสท่ี 3/2564 ทำงสำนักงำนสถิติ
ยังไมม่ กี ำรเผยแพร)่

หมายเหตุ : ประมวลข้อมลู โดยสำนักงำนแรงงำนจงั หวัดลำปำง

สถานการณ์แรงงานจงั หวดั ลาปาง ไตรมาส 3/2564 (กรกฎาคม - กนั ยายน) 22

บทที่ 3 สถานการณแ์ รงงานจังหวดั ลาปาง

สถำนกำรณ์แรงงำนจังหวดั ลำปำงไตรมำสท่ี 3 ปี 2564 ช่วงเดือนกรกฎำคม - กันยำยน 2564 นำเสนอ
ข้อมูลในประเด็นต่ำง ๆ ตำมลำดับคือ 1) กำลังแรงงำน กำรมีงำนทำ กำรว่ำงงำน 2) กำรส่งเสริมกำรมีงำนทำ
3) กำรพัฒนำศักยภำพแรงงำน 4) กำรคุ้มครองแรงงำนและสวัสดิกำร 5) กำรประกันสังคม 6) ปัญหำด้ำนแรงงำนที่สำคัญ
7) ผลกำรดำเนนิ งำนทีส่ ำคัญตำมนโยบำยรัฐบำล/นโยบำยกระทรวงแรงงำน

1. กาลงั แรงงาน การมงี านทา การวา่ งงาน

1.1 โครงสร้างประชากร
สำนักงำนสถิติจังหวัดลำปำงได้ดำเนินกำรสำรวจภำวะกำรทำงำนของประชำกร โดยในไตรมำสที่ 2 ปี 2564

สรุปรำยละเอียดได้ดังน้ี จังหวัดลำปำงมีประชำกรเฉล่ียท้ังส้ิน 723,604 คน โดยสัดส่วนของประชำกรเพศชำย
มีน้อยกวำ่ เพศหญงิ กล่ำวคอื เพศชำยมจี ำนวน 354,823 คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ 49.04 ขณะทเี่ พศหญิงมีจำนวน 368,781 คน
คิดเป็นร้อยละ 50.96 โดยประชำกรท้ังหมดพบว่ำ เป็นผู้อยู่ในวัยทำงำนหรืออำยุ 15 ปีขึ้นไป มีจำนวน 631,852 คน
คิดเป็นรอ้ ยละ 87.32 ขณะทผี่ ทู้ ี่ไม่อยูใ่ นวยั ทำงำน (มีอำยุต่ำกวำ่ 15 ป)ี มีจำนวน 91,752 คน คิดเปน็ ร้อยละ 12.68
(แผนภูมทิ ี่ 12 และภำคผนวกตำรำงท่ี 15)

ในกลุ่มผู้อยู่ในวัยทำงำน (ผู้มีอำยุ 15 ปีข้ึนไป) จำนวน 631,852 คน พบว่ำเป็นผู้อยใู่ นกำลังแรงงำน
370,374 โดยจำแนกเป็นผู้มีงำนทำ 358,828 คน คิดเป็นร้อยละ 96.88 ของผู้อยู่ในกำลังแรงงำน ขณะที่เป็น
ผูว้ ่ำงงำน 9,879 คน คิดเปน็ ร้อยละ 2.67 และผู้รอฤดกู ำร 1,666 คน คิดเปน็ รอ้ ยละ 0.45 เม่อื เปรียบเทียบกับกำรมงี ำนทำ
ระหวำ่ งเพศในไตรมำสน้ี พบวำ่ เพศหญิงมีอัตรำส่วนกำรทำงำนหรอื อัตรำกำรจำ้ งงำนมำกกว่ำเพศชำย (คำนวณจำกผู้มีงำนทำ
จำแนกตำมเพศต่อผู้อยู่ในกำลังแรงงำนจำแนกเพศ) กล่ำวคือ เพศชำยมีอัตรำร้อยละ 96.62 ขณะท่ีเพศหญิงมีร้อยละ
97.21 และเมื่อพิจำรณำในภำพรวมจะพบว่ำอัตรำกำรมงี ำนทำซงึ่ คำนวณจำกสดั ส่วน ผูม้ งี ำนทำตอ่ ผู้อยู่ในกำลังแรงงำน
มอี ัตรำร้อยละ 96.88 นั่นหมำยควำมว่ำ ผอู้ ยู่ในกำลงั แรงงำน 100 คน จะมีงำนทำประมำณ 96 - 97 คน (แผนภูมิท่ี 12
และภำคผนวกตำรำงที่ 15)

ส่วนอัตรำกำรว่ำงงำนซ่ึงคำนวณจำกผู้ว่ำงงำนต่อผู้อยู่ในกำลังแรงงำนมีอัตรำ 2.67 โดยเพศชำยจะมีอัตรำ
กำรว่ำงงำนมำกกว่ำเพศหญิง กล่ำวคือเพศชำยร้อยละ 3.27 ขณะที่เพศหญิงร้อยละ 1.92 ท้ังนี้ อัตรำกำรว่ำงงำน
ในไตรมำสท่ี 2/2564 เพิม่ ขน้ึ จำกไตรมำสท่ี 1/2564 (1.73) ร้อยละ 0.94 สำหรับตัวเลขในกลุ่มของผู้ที่ไม่อยู่ในกำลัง
แรงงำนซ่ึงมีจำนวน 261,478 คน พบว่ำ เป็นผทู้ ำงำนบำ้ น จำนวน 54,261 คน คิดเปน็ ร้อยละ 20.75 เรยี นหนังสอื
จำนวน 53,124 คน คิดเป็นร้อยละ 20.32 และอ่ืน ๆ จำนวน 154,093 คน คิดเป็นร้อยละ 58.93 ท่ีไม่สำมำรถ
ทำงำนได้ของผ้ไู ม่อย่ใู นกำลงั แรงงำนตำมลำดับ (แผนภมู ทิ ่ี 12 และภำคผนวกตำรำงที่ 15)

สถานการณ์แรงงานจังหวัดลาปาง ไตรมาส 3/2564 (กรกฎาคม - กันยายน) 23

แผนภมู ิท่ี 12 โครงสรา้ งประชากรจงั หวดั ลาปาง ไตรมาสท่ี 2/2564

ประชากรรวม ผู้ไมอ่ ยู่ในวยั ทางาน (อายุตา่ กว่า 15 ปี)
723,604 คน 91,752 คน (12.68%)
ชาย = 354,823 คน (49.04%)
หญงิ = 368,781 คน (50.96%) ชาย = 46,832 คน (51.04%)
หญงิ = 44,920 คน (48.96%)
ผ้อู ยู่ในวัยทางาน (อายุ 15 ปขี ้นึ ไป)
631,852 คน (87.32%)

ชาย = 307,991 คน (48.74%)
หญงิ = 323,861 คน (51.26%)

ผู้อยใู่ นกาลงั แรงงาน ผู้ไมอ่ ยู่ในกาลงั แรงงาน
370,374 คน (58.62%) 261,478 คน (36.01%)

ชาย = 204,395 คน (55.19%) ชาย = 103,596 คน (39.62%)
หญงิ = 165,979 คน (44.81%) หญงิ = 157,882 คน (60.38%)

ผู้มงี านทา ผวู้ ่างงาน ทางานบา้ น เรยี นหนงั สอื
358,828 คน (96.88%) 9,879 คน (2.67%) 54,261 คน (20.75%) 53,124 คน (20.32%)
ชาย = 197,486 คน (55.04%) ชาย = 6,685 คน (67.67%) ชาย = 4,523 คน (8.34%) ชาย = 24,558 คน (46.23%)
หญงิ = 161,342 คน (44.96%) หญิง = 3,194 คน (32.33%) หญงิ = 49,738 คน (91.66%) หญงิ = 28,566 คน (53.77%)

ผ้รู อฤดกู าล อนื่ ๆ
1,666 คน (0.45%) 154,093 (58.93%)
ชาย = 224 คน (13.45%) ชาย = 74,515 คน (48.36%)
หญิง = 1,442 คน (86.55%) หญงิ = 79,578 คน (51.64%)

ท่มี า : สำนักงำนสถติ ิจงั หวัดลำปำง (ใชข้ ้อมูลไตรมำสที่ 2/2564 เน่ืองจำกขอ้ มลู ไตรมำสที่ 3/2564 ทำงสำนักงำนสถติ ิยงั ไม่มีกำรเผยแพร่)
หมายเหตุ : 1. ยอดรวมอำจไม่เทำ่ กนั เนื่องจำกกำรปัดจุดทศนิยม

2. อัตรำกำรจ้ำงงำนตอ่ กำลังแรงงำนจงั หวัด = ผู้มีงำนทำในจงั หวัด X 100
ผ้อู ยใู่ นกำลังแรงงำนในจงั หวัด

3. อัตรำกำรว่ำงงำนจังหวัด = ผู้ว่ำงงำนในจงั หวัด X 100
ผู้อยใู่ นกำลังแรงงำนในจังหวดั

1.2 การมีงานทา

หำกพิจำรณำถึงระดับกำรศึกษำของผู้มีงำนทำ พบว่ำ ผู้มีงำนทำส่วนใหญ่มีกำรศึกษำต่ำกว่ำ
ประถมศึกษำ จำนวน 183,972 คน (ร้อยละ 29.12) รองลงมำเป็นผู้มีกำรศึกษำระดับอุดมศึกษำ จำนวน 124,073 คน
(ร้อยละ 19.64) ระดับประถมศึกษำ จำนวน 100,754 คน (รอ้ ยละ 15.95) ระดับมัธยมศึกษำตอนปลำย จำนวน 94,153 คน
(ร้อยละ 14.90) ระดับมัธยมศึกษำตอนต้น จำนวน 93,520 คน (ร้อยละ 14.80) และไม่มีกำรศึกษำ จำนวน 35,381 คน
(รอ้ ยละ 5.60) ตำมลำดบั (ภำคผนวกตำรำงท่ี 17 และแผนภมู ทิ ี่ 13)

สถานการณ์แรงงานจังหวัดลาปาง ไตรมาส 3/2564 (กรกฎาคม - กันยายน) 24

แผนภูมิท่ี 13 ผู้มีงานทาจงั หวัดลาปาง จาแนกตามระดับการศึกษา ไตรมาสท่ี 2/2564

200,000
150,000
100,000
50,000

0

ที่มา : สำนกั งำนสถติ จิ งั หวัดลำปำง (ใช้ข้อมลู ไตรมำสท่ี 2/2564 เนอื่ งจำกข้อมลู ไตรมำสท่ี 3/2564 ทำงสำนักงำนสถิติยงั ไมม่ ีกำรเผยแพร)่

เม่อื พิจำรณำผู้มงี ำนทำจำแนกตำมอำชพี ในไตรมำสท่ี 2 ปี 2564 พบวำ่ อำชีพทม่ี ีผมู้ ีงำนทำมำกท่ีสุด 5
อนั ดบั อนั ดับแรกคอื

1. ผู้ปฏบิ ัตงิ ำนที่มฝี ีมือในด้ำนกำรเกษตรและกำรประมง 116,644 คน (ร้อยละ 32.51%)
2. พนักงำนบริกำรและพนกั งำนในรำ้ นค้ำและตลำด 71,933 คน (ร้อยละ 20.05%)
3. ผปู้ ฏบิ ตั ิงำนดำ้ นควำมสำมำรถทำงฝมี อื และธรุ กจิ กำรค้ำท่เี กี่ยวข้อง 56,074 คน (ร้อยละ 15.63%)
4. อำชพี ขนั้ พนื้ ฐำนต่ำง ๆ ในดำ้ นกำรขำยและกำรใหบ้ ริกำร 39,400 คน (ร้อยละ 10.98%)
5. ผปู้ ฏบิ ัติกำรโรงงำนและเครื่องจักรและผูป้ ฏิบัติงำนด้ำนกำรประกอบ 23,211 คน (รอ้ ยละ 6.47%)
(รำยละเอียดตำมภำคผนวกตำรำงท่ี 18 และแผนภูมิท่ี 14)
แผนภมู ิท่ี 14 ผ้มู ีงานทาจงั หวดั ลาปาง จาแนกตามอาชีพ ไตรมาสท่ี 2/2564 (5 อนั ดับแรก)

140,000
120,000
100,000

80,000
60,000
40,000
20,000

0

ทีม่ า : สำนกั งำนสถิติจงั หวัดลำปำง (ใชข้ ้อมลู ไตรมำสท่ี 2/2564 เน่ืองจำกข้อมูลไตรมำสท่ี 3/2564 ทำงสำนักงำนสถติ ิยังไม่มกี ำรเผยแพร)่

สถานการณ์แรงงานจงั หวัดลาปาง ไตรมาส 3/2564 (กรกฎาคม - กันยายน) 25

สำหรับผู้มีงำนทำ 358,828 คน พบว่ำ ทำงำนในภำคเกษตรกรรม 128,205 คน คิดเป็นร้อยละ 35.73
ของผู้มีงำนทำท้ังหมดและมีจำนวนเพิ่มขึ้นจำกไตรมำสที่ 1/2564 (33.67) ร้อยละ 2.06 ส่วนผู้ทำงำนนอกภำคเกษตรกรรม
มีจำนวน 230,623 คน (ร้อยละ 64.27 ของผู้มีงำนทำท้ังหมด) ลดลงจำกไตรมำสท่ีแล้ว (66.33) ร้อยละ -2.06
เน่ืองจำกไตรมำสน้เี ป็นฤดูร้อนไม่เหมำะแก่กำรเพำะปลูกพชื เกษตรกรจึงย้ำยจำกทำงำนในภำคเกษตรกรรมไปอยู่
ในภำคอุตสำหกรรมแทน ท้ังนี้เน่ืองจำกเกิดสถำนกำรณ์กำรแพร่ระบำดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนำ 2019 (COVID - 19)
ทำให้แรงงำนนอกภำคเกษตรกรรมบำงส่วนเกิดกำรว่ำงงำน เป็นเหตุให้แรงงำนภำคเกษตรกรรมเพ่ิมข้ึน สำหรับ
ผู้ทำงำนนอกภำคเกษตรกรรมจะทำงำนประเภทกำรขำยส่งและกำรขำยปลีก กำรซ่อมแซมยำนยนต์และจักรยำนยนต์
จำนวน 55,142คน คิดเป็นร้อยละ23.91 ของผู้มีงำนทำนอกภำคกำรเกษตรทั้งหมดรองลงมำคือกำรผลิต จำนวน 41,743 คน
คิดเป็นร้อยละ 18.10 กำรก่อสร้ำง จำนวน 27,575 คน คิดเป็นร้อยละ 11.96 ที่พักแรมและบริกำรด้ำนอำหำร
จำนวน 23,537 คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ 10.21 และกำรบริหำรรำชกำร กำรป้องกันประเทศ และประกันสงั คมภำคบังคับ
จำนวน 22,071 คน คดิ เปน็ ร้อยละ 9.57 (รำยละเอียดตำมตำรำงภำคผนวกตำรำงที่ 19 และแผนภมู ิท่ี 15)

แผนภมู ทิ ่ี 15 ผมู้ งี านทาจังหวัดลาปางจาแนกตามประเภทอุตสาหกรรมนอกภาคเกษตรกรรม ไตรมาสท่ี 2/2564
(5 อันดับแรก)

ประเภทอุตสาหกรรม

การบรหิ ารราชการฯ 22,071 คน (9.57%)

ที่พักแรมฯ 23,537 คน (10.21%)
กอ่ สร้าง 27,575 คน (11.96%)
การผลติ 41,743 คน (18.10%)
55,142 คน (23.91%)
การขายสง่ การขายปลีกฯ

ที่มา : สำนักงำนสถิติจังหวัดลำปำง (ใชข้ ้อมลู ไตรมำสที่ 2/2564 เน่ืองจำกข้อมลู ไตรมำสท่ี 3/2564 ทำงสำนักงำนสถิติยังไม่มีกำรเผยแพร่)

สถานการณ์แรงงานจังหวดั ลาปาง ไตรมาส 3/2564 (กรกฎาคม - กนั ยายน) 26

ในดำ้ นสถำนภำพกำรทำงำนของผมู้ ีงำนทำ พบวำ่ สว่ นใหญท่ ำงำนสว่ นตัว จำนวน 137,781 คน (รอ้ ยละ 38.40)
รองลงมำคือ เป็นลูกจ้ำงเอกชน จำนวน 107,437 คน (รอ้ ยละ 29.94) ชว่ ยธุรกิจครอบครวั จำนวน 57,280 คน
(ร้อยละ 15.96) ลูกจ้ำงรัฐบำล จำนวน 49,914 คน (ร้อยละ 13.91) นำยจ้ำง จำนวน 6,150 คน (ร้อยละ 1.71)
และกำรรวมกลุ่ม จำนวน 266 คน (รอ้ ยละ 0.07) (รำยละเอยี ดตำมตำรำงภำคผนวกตำรำงท่ี 20 และแผนภมู ทิ ่ี 16)

แผนภมู ิท่ี 16 ผ้มู งี านทาจงั หวดั ลาปาง จาแนกตามสถานภาพการทางาน ไตรมาสท่ี 2/2564

ลูกจ้างเอกชน นายจ้าง ทางานส่วนตัว
107,437 คน 6,150 คน 137,781 คน
(29.94%) (1.71%) (38.40%)

ลูกจา้ งรัฐบาล ช่วยธรุ กิจครอบครวั
49,914 คน 57,280 คน
(13.91%) (15.96%)

การรวมกล่มุ
266 คน
(0.07%)

ทม่ี า : สำนกั งำนสถติ จิ งั หวัดลำปำง (ใช้ข้อมลู ไตรมำสท่ี 2/2564 เน่ืองจำกข้อมูลไตรมำสที่ 3/2564 ทำงสำนักงำนสถิติยังไมม่ ีกำรเผยแพร)่

1.3 แรงงานนอกระบบ

สำหรับแรงงำนนอกระบบ ข้อมูลปี 2563 จำกผลกำรศึกษำของสำนักงำนสถิติจังหวัดลำปำง พบว่ำปัจจุบัน
ผู้มีงำนทำอยู่ในแรงงำนนอกระบบ จำนวน 265,392 คน คิดเป็นร้อยละ 65.24 ของผู้มีงำนทำท้ังหมด (406,764 คน)
เม่ือพิจำรณำแรงงำนนอกระบบ จำแนกตำมอำยุ พบว่ำส่วนใหญ่มีอำยุในช่วง 60 ปีข้ึนไป กล่ำวคือ ผู้มีอำยุ 60 ปีข้ึนไป
จำนวน 71,127 คน (ร้อยละ 26.80) รองลงมำ คือ ผู้มีอำยุ 55 - 59 ปี จำนวน 44,334 คน (ร้อยละ 16.71) ช่วงอำยุ 45 - 49 ปี
จำนวน 37,512 คน (รอ้ ยละ 14.13) และชว่ งอำยุ 15 – 19 ปี มนี อ้ ยท่ีสดุ จำนวน 1,265 คน (รอ้ ยละ 0.48) (รำยละเอยี ดตำม
ตำรำงภำคผนวกตำรำงที่ 23 และแผนภมู ิท่ี 17)

แผนภมู ิท่ี 17 จานวนผ้มู งี านทาท่ีอยใู่ นแรงงานนอกระบบในจงั หวัดลาปาง จาแนกตามอายุ ปี 2563*

45-49 ปี 50-54 ปี 55-59 ปี
37,512 คน 35,665 คน 44,334 คน
14.13% 13.44% 16.71%

40-44 ปี 30-34 ปี 25-29 ปี 20-24 ปี 60 ปขี ึ้นไป
22,399 คน 12,074 คน 15,300 คน 11,851 คน 71,127 คน
26.80%
8.44% 35-39 ปี 4.55% 5.77% 4.47%
13,867 คน 15-19 ปี
5.22% 1,265 คน
0.48%

ทมี่ า : สำนกั งำนสถิตจิ ังหวัดลำปำง ปี 2563* เปน็ ข้อมลู รำยปี

สถานการณ์แรงงานจงั หวัดลาปาง ไตรมาส 3/2564 (กรกฎาคม - กนั ยายน) 27

สำหรับด้ำนกำรศึกษำ พบว่ำ แรงงำนนอกระบบส่วนใหญ่มีกำรศึกษำในระดับต่ำกว่ำประถมศึกษำ
คือมีจำนวน 99,177 คน (รอ้ ยละ 37.37) รองลงมำ คือ ระดบั ประถมศึกษำ จำนวน 59,480 คน (ร้อยละ 22.41)
และระดับมัธยมศึกษำตอนต้น จำนวน 34,660 คน (ร้อยละ 13.06) (รำยละเอียดตำมตำรำงภำคผนวกตำรำงที่ 24
และแผนภมู ิท่ี 18)

แผนภูมทิ ่ี 18 ผ้มู งี านทาทอ่ี ยใู่ นแรงงานนอกระบบในจงั หวดั ลาปางจาแนกตามระดบั การศกึ ษา ปี 2563*

ประถมศึกษา มธั ยมศกึ ษาตอนตน้
59,480 คน 34,660 คน
(22.41%) (13.06%)

ตา่ กว่าประถมศึกษา มัธยมศกึ ษาตอนปลาย
99,177 คน 32,262 คน
(37.37%) (12.16%)

ไม่มีการศกึ ษา ไมท่ ราบ อดุ มศกึ ษา
12,120 คน 236 คน 27,457 คน
(4.57%) (0.09%) (10.35%)

ทีม่ า : สำนกั งำนสถิติจังหวัดลำปำง ปี 2563* เปน็ ขอ้ มลู รำยปี

เม่ือพจิ ำรณำแรงงำนนอกระบบจำแนกตำมอำชีพ พบวำ่ แรงงำนนอกระบบมงี ำนทำในอำชพี ตำ่ งๆสูงสดุ 5 อันดบั แรก คอื
1) ผ้ปู ฏบิ ัติงำนท่ีมฝี มี ือในด้ำนกำรเกษตรและกำรประมง จำนวน 161,392 คน (รอ้ ยละ 60.81)
2) พนกั งำนบริกำรและพนักงำนในร้ำนคำ้ และตลำด จำนวน 46,424 คน (รอ้ ยละ 17.49)
3) ผู้ปฏบิ ัติงำนดำ้ นควำมสำมำรถทำงฝมี อื และธรุ กิจกำรค้ำที่เก่ยี วข้อง จำนวน 28,234 คน (ร้อยละ 10.64)
4) อำชพี ข้นั พนื้ ฐำนตำ่ ง ๆ ในดำ้ นกำรขำยและกำรให้บริกำร จำนวน 17,186 คน (รอ้ ยละ 6.48)
5) ผปู้ ฏิบตั กิ ำรโรงงำนและเครอ่ื งจักรและผู้ปฏบิ ตั งิ ำนด้ำนกำรประกอบ จำนวน 4,327 คน (รอ้ ยละ 1.63)

(รำยละเอยี ดตำมภำคผนวกตำรำงท่ี 25 และแผนภูมิท่ี 19)

แผนภูมิท่ี 19 จานวนผ้มู ีงานทาท่ีอยใู่ นแรงงานนอกระบบในจงั หวัดลาปาง จาแนกตามอาชพี

(5 อนั ดับแรก) ปี 2563 *

โรงงำนและเคร่ืองจักรฯ 4,327 คน (1.63%)

อำชพี ขน้ั พน้ื ฐำนต่ำงฯ 17,186 คน (6.48%)

ด้ำนควำมสำมำรถทำงฝมี ือฯ 28,234 คน (10.64%)

พนักงำนบรกิ ำรฯ 46,424 คน (17.49%)

ดำ้ นกำรเกษตรและกำร… 161,392 คน (60.81%)

ท่ีมา : สำนกั งำนสถติ ิจังหวดั ลำปำง ปี 2563* เปน็ ขอ้ มลู รำยปี

สถานการณ์แรงงานจังหวดั ลาปาง ไตรมาส 3/2564 (กรกฎาคม - กันยายน) 28

2. การสง่ เสริมการมงี านทา

2.1 การจดั หางานในประเทศ

ภำรกิจกำรส่งเสริมให้ประชำชนมีงำนทำเป็นภำรกิจหลักของกระทรวงแรงงำน ซึ่งดำเนินกำร
โดยสำนักงำนจัดหำงำนจงั หวัดลำปำง กำรส่งเสริมกำรมีงำนทำในรูปแบบกำรจดั หำงำนมที ง้ั กำรหำงำนในประเทศ
และตำ่ งประเทศ โดยกำรจัดหำงำนในจงั หวดั ลำปำง ในชว่ งไตรมำสท่ี 3 (กรกฎำคม - กนั ยำยน 2564) มีตำแหน่งงำนว่ำง
ทแ่ี จง้ ผำ่ นสำนักงำนจัดหำงำนจังหวัดลำปำง จำนวน 1,781 อัตรำ ซ่ึงมีสัดสว่ นเพ่ิมขนึ้ รอ้ ยละ 317.10 จำกไตรมำสท่ี 2/2564
ที่มีจำนวน 427 อัตรำ ในส่วนของผู้ลงทะเบียนสมัครงำนไตรมำสที่ 3/2564 พบว่ำมีจำนวน 763 คน มีสัดส่วนที่เพิ่มข้ึน
รอ้ ยละ 18.66 จำกไตรมำสทแี่ ลว้ ทม่ี ีจำนวน 643 และผูไ้ ด้รับกำรบรรจุงำนในไตรมำสท่ี 3/2564 จำนวน 559 คน ซงึ่ เพ่มิ ข้นึ
จำกไตรมำสที่ 2/2564 (445 คน) ร้อยละ 25.62 ทั้งน้ี กำรท่ีจำนวนตำแหน่งงำนว่ำงและผู้สมัครงำนในไตรมำสนี้มี
สัดส่วนท่ีเพิ่มขึ้นเนื่องจำกช่วงเดือนกรกฎำคม 2564 ทำงสำนักงำนจัดหำงำนมีกำรจัดงำนวันมหกรรมอำชีพ
"สร้ำงอำชีพ สรำ้ งรำยได้ สู้ภัยโควิด - 19" ขนึ้ จึงทำให้ตำแหนง่ งำนวำ่ และผสู้ มัครงำนเพิ่มขน้ึ จำกไตรมำสท่ี 2/2564
(รำยละเอียดตำมภำคผนวกตำรำงที่ 26 และแผนภูมิท่ี 20)

แผนภูมิท่ี 20 เปรียบเทียบตาแหนง่ งานว่าง/การสมคั รงาน/การบรรจุงาน ไตรมาสท่ี 3/2564

Q1/2563 Q2/2563 Q3/2563 Q4/2563

3000 Q1/2564 Q2/2564 Q3/2564

2000

1000

0 ผลู้ งทะเบยี นสมคั รงาน การบรรจุงาน
ตาแหนง่ งานวา่ ง

ทม่ี า : สำนักงำนจัดหำงำนจงั หวัดลำปำง

สำหรับตำแหน่งงำนว่ำงไตรมำสท่ี 3/2564 พบว่ำ สถำนประกอบกำรผู้ทำงำนเพศชำย จำนวน
286 อัตรำ (ร้อยละ 16.06) เพศหญิง จำนวน 37 อัตรำ (ร้อยละ 2.08) และไม่ระบุเพศ จำนวน 1,458 อัตรำ (ร้อยละ 81.86)
กำรท่ีตำแหน่งงำนว่ำงส่วนใหญ่ไม่ได้ระบุเพศแสดงให้เห็นว่ำสถำนประกอบกำรหรือนำยจ้ำง พิจำรณำเห็นว่ำ
งำนโดยทั่วไปไม่ว่ำชำยหรือหญิงก็สำมำรถทำได้เช่นกัน หรือไม่มีควำมแตกต่ำงกันในเรื่องเพศ อีกประกำรหนึ่ง
นำยจำ้ งพิจำรณำเห็นว่ำกำรไม่ระบุเพศจะมีผลดีในด้ำนโอกำสกำรคัดเลือกมำกกว่ำกำรระบุเพศ (รำยละเอยี ดตำม
ภำคผนวกตำรำงท่ี 26 และแผนภูมิที่ 22)

เม่ือพิจำรณำจำนวนผู้มำลงทะเบียนสมัครงำนในไตรมำสนี้ พบว่ำ มีจำนวนทั้งสิ้น จำนวน 763 คน
เป็นเพศชำย จำนวน 303 คน คิดเป็นร้อยละ 39.71 เพศหญิง จำนวน 460 คน คิดเป็นร้อยละ 60.29 และมีผู้ได้รับกำรบรรจุ
ให้มีงำนทำท้ังส้ิน จำนวน 559 คน เป็นเพศชำย จำนวน 220 คน คิดเป็นร้อยละ 39.36 เพศหญิง จำนวน 339 คน
คิดเป็นร้อยละ 60.64 (รำยละเอยี ดตำมภำคผนวกตำรำงที่ 26 และแผนภมู ิท่ี 21)

สถานการณ์แรงงานจังหวดั ลาปาง ไตรมาส 3/2564 (กรกฎาคม - กนั ยายน) 29

แผนภมู ทิ ่ี 21 ตาแหนง่ งานว่าง ผ้สู มคั รงาน และการบรรจุงานจงั หวดั ลาปาง จาแนกตามเพศ ไตรมาสท่ี 3/2564

ชาย หญงิ ไม่ระบุ
2,000

1,000

- ผู้สมัครงาน บรรจงุ าน
ตาแหนง่ งานว่าง

ที่มา : สำนกั งำนจดั หำงำนจงั หวัดลำปำง

ช่วงอำยุท่ีเป็นควำมต้องกำรของตลำดแรงงำนในไตรมำสนี้ส่วนใหญ่เป็นผู้ท่ีมีอำยุ 18 - 24 ปี นำยจ้ำง/
สถำนประกอบกำรต้องกำรมำกที่สุด จำนวน 499 อัตรำ (ร้อยละ 28.02) รองลงมำคือ อำยุ 25 - 29 ปี จำนวน 388 อัตรำ
(ร้อยละ 21.79) และอำยุ 30 - 39 ปี จำนวน 347 อัตรำ (ร้อยละ 19.48) ขณะเดียวกันผู้สมัครงำนส่วนใหญ่
จะมีอำยุ 18 - 24 ปี จำนวน 271 คน (ร้อยละ 35.52) รองลงมำเป็นผู้สมัครงำนที่มีอำยุ 30 - 39 ปี จำนวน 200 คน
(ร้อยละ 26.21) และ อำยุ 25 - 29 ปี จำนวน 124 คน (ร้อยละ 16.25) ขณะที่ผู้มีอำยุ 30 - 39 ปี ได้รับกำรบรรจุงำน
มำกท่ีสุด จำนวน 169 คน (ร้อยละ 30.23) รองลงมำคือ อำยุ 18 - 24 ปี จำนวน 160 คน (ร้อยละ 28.62) และอำยุ 40 - 49 ปี
จำนวน 103 คน (ร้อยละ 18.43) (รำยละเอียดตำมภำคผนวกตำรำงท่ี 27 และแผนภมู ิท่ี 22)

แผนภมู ิท่ี 22 การบรรจงุ านจงั หวดั ลาปาง จาแนกตามอายุ ไตรมาสท่ี 3/2564

60 ขึ้นไป 241 คน (13.53%) 56 คน (7.34%) 54 คน (9.66%)
50-59 ปี 306 คน (17.18%)
40-49 ปี 347 คน (19.48%) 112 คน (14.68%) 103 คน (18.43%)
30-39 ปี
25-29 ปี 388 คน (21.79%) 200 คน (26.21%) 169 คน (30.23%)
18-24 ปี 499 คน (28.02%)
15-17 ปี 124 คน (16.25%) 73 คน (13.06%)

271 คน (35.52%) 160 คน (28.62%)

ตาแหน่งงานวา่ ง ผู้ลงทะเบยี นสมคั รงาน บรรจงุ าน

ท่มี า : สำนกั งำนจดั หำงำนจงั หวดั ลำปำง

สถานการณ์แรงงานจงั หวดั ลาปาง ไตรมาส 3/2564 (กรกฎาคม - กันยายน) 30

ตาแหน่งงานว่างตามระดับการศึกษาไตรมำสนี้ พบว่ำส่วนใหญ่เป็นระดับระดับมัธยมศึกษำสำหรับปริญญำเอก และ
ปริญญำโท ไม่มีควำมต้องกำร โดยเม่ือพจิ ำรณำรำยละเอยี ดพบว่ำนำยจ้ำง/สถำนประกอบกำร ตอ้ งกำรผ้จู บกำรศกึ ษำ คอื
1. ระดับมัธยมศึกษำ มำกท่ีสุด จำนวน 651 อัตรำ (ร้อยละ 36.55) 2. รองลงมำ ระดับ ปวส. จำนวน 360 อัตรำ (ร้อยละ
20.21) 3. ระดับ ปวช. จำนวน 322 อัตรำ (ร้อยละ 18.08) 4. ระดับประถมศึกษำและต่ำกว่ำ จำนวน 286 อัตรำ (ร้อยละ
16.06) 5. ระดับปริญญำตรี จำนวน 91 อตั รำ (รอ้ ยละ 5.11) 6. ระดบั อนุปริญญำ นอ้ ยทสี่ ุด จำนวน 71 อตั รำ (ร้อยละ 3.99)
(รำยละเอยี ดตำมภำคผนวกตำรำงท่ี 28 และแผนภมู ทิ ี่ 24)

สาหรับผู้สมัครงานไตรมำสน้ี จำแนกตำมระดับกำรศึกษำแล้ว ผู้สมัครงำนส่วนใหญ่ คือ 1. ระดับมัธยมศึกษำ
มำกทส่ี ุด จำนวน 264 คน (ร้อยละ 34.60) 2. ระดับปรญิ ญำตรี จำนวน 203 คน (ร้อยละ 26.61) 3. ระดับ ปวส.
จำนวน 185 คน (ร้อยละ 24.25) 4. ระดับประถมศึกษำและตำ่ กวำ่ จำนวน 61 คน (ร้อยละ 7.99) 5. ระดับ ปวช.
จำนวน 47 คน (ร้อยละ 6.16) 6. ระดับอนุปริญญำ จำนวน 2 คน (ร้อยละ 0.26) และ7. ระดับปริญญำโท จำนวน 1 คน
(รอ้ ยละ 0.13) (รำยละเอยี ดตำมภำคผนวกตำรำงที่ 28 และแผนภมู ิที่ 24)

ส่วนผู้บรรจุงานไตรมำสน้ี จำแนกตำมระดับกำรศึกษำแล้ว ผู้บรรจุงำนส่วนใหญ่ คือ 1. ระดับมัธยมศึกษำ
มำกท่ีสุด จำนวน 235 คน (ร้อยละ 42.04) 2. ระดับ ปวส. จำนวน 138 คน (ร้อยละ 24.69) 3. ระดับปริญญำตรี
จำนวน 90 คน (ร้อยละ 16.10) 4. ระดับประถมศึกษำและต่ำกว่ำ จำนวน 57 คน (ร้อยละ 10.20) 5. ระดับ ปวช.
จำนวน 39 คน (รอ้ ยละ 6.98) (รำยละเอยี ดตำมภำคผนวกตำรำงท่ี 28 และแผนภูมิท่ี 23)

แผนภมู ทิ ่ี 23 ตาแหนง่ งานว่าง/ผู้สมคั รงาน/การบรรจงุ านจงั หวัดลาปางจาแนกตามระดับการศกึ ษา ไตรมาสท่ี 3/2564

ปริญญาโท บรรจุงาน ตาแหน่งงานว่าง ผู้ลงทะเบยี นสมคั รงาน

ปริญญาตรี

อนุปริญญา

ปวส.

ปวช.

มธั ยมศกึ ษา

ประถมศึกษา
และตา่ กวา่

0 200 400 600 800 1,000 1,200 1,400

ทีม่ า : สำนกั งำนจดั หำงำนจงั หวดั ลำปำง

สถานการณ์แรงงานจงั หวัดลาปาง ไตรมาส 3/2564 (กรกฎาคม - กนั ยายน) 31

ด้ำนอำชีพ พบว่ำไตรมำสนี้ อาชพี ท่ีมีตาแหน่งงานว่างสูงสุด 5 อนั ดับแรกคือ 1. อำชีพงำนพ้ืนฐำน 1,200 อัตรำ
(ร้อยละ 67.38) 2. ช่ำงเทคนิคและผู้ปฏิบัติงำนท่ีเก่ียวข้อง 159 อัตรำ (ร้อยละ 8.93) 3. ผู้ปฏิบัติงำนในโรงงำน
ผู้ควบคุมเครื่องจักรและผู้ปฏิบัติงำนด้ำนกำรประกอบ 130 อัตรำ (ร้อยละ 7.30) 4. ผู้ปฏิบัติงำนโดยใช้ฝีมือในธุรกิจต่ำง ๆ
109 อตั รำ (รอ้ ยละ 6.12) 5. พนกั งำนบริกำร พนกั งำนขำยในร้ำนค้ำและตลำด 97 อัตรำ (ร้อยละ 5.45) (รำยละเอียดตำม
ภำคผนวกตำรำงท่ี 29 และแผนภมู ทิ ่ี 24)

แผนภมู ิท่ี 24 ตาแหนง่ งานว่างจงั หวดั ลาปางจาแนกตามอาชพี ไตรมาสท่ี 3/2564 (5 อนั ดบั แรก)

พนกั งานบริการ พนักงานขายในร้านคา้ … 97 อตั รา (5.45%)

ผปู้ ฏิบัตงิ านโดยใช้ฝีมือในธุรกจิ ต่าง ๆ 109 อตั รา (6.12%)

ผูป้ ฏิบตั งิ านในโรงงาน ผ้คู วบคุม… 130 อตั รา (7.30%)

ชา่ งเทคนิคและผูป้ ฏิบตั งิ านทเ่ี กีย่ วขอ้ ง 159 อตั รา (8.93%)

อาชีพงานพื้นฐาน 1,200 อัตรา (67.38%)

- 200 400 600 800 1,000 1,200

ทม่ี า : สำนกั งำนจัดหำงำนจังหวดั ลำปำง

สำหรับอาชพี ท่ีมผี ลู้ งทะเบียนสมัครงานสูงสดุ ในไตรมำสน้ี คือ 1. อำชพี งำนพนื้ ฐำน 295 คน (รอ้ ยละ 38.66)
2. ช่ำงเทคนิคและผู้ปฏิบัติงำนท่ีเก่ียวข้อง 157 คน (ร้อยละ 20.58) 3. เสมียน เจ้ำหน้ำท่ี 127 คน (ร้อยละ 16.64)
4. พนักงำนบริกำร พนักงำนขำยในร้ำนค้ำและตลำด 72 คน (ร้อยละ 9.44) 5.ผู้ประกอบวิชำชีพด้ำนต่ำง ๆ 34 คน (ร้อยละ 4.46)
(รำยละเอียดตำมภำคผนวกตำรำงท่ี 29 และแผนภมู ทิ ่ี 25)

แผนภมู ิท่ี 25 ผู้ลงทะเบยี นสมคั รงานจงั หวัดลาปางจาแนกตามอาชีพ ไตรมาสท่ี 3/2564 (5 อนั ดบั แรก)

ผู้ประกอบวชิ าชพี ด้านต่าง ๆ 34 คน (4.46%)
พนกั งานบริการ พนกั งานขายในรา้ นคา้ 72 คน (9.44%)
127 คน (16.64%)
และตลาด 157 คน (20.58%)
เสมยี น เจ้าหนา้ ท่ี 295 คน (38.66%)

ชา่ งเทคนคิ และผปู้ ฏบิ ตั งิ านทเ่ี กี่ยวขอ้ ง 50 100 150 200 250 300 350

อาชพี งานพื้นฐาน

-
ที่มา : สำนักงำนจัดหำงำนจงั หวัดลำปำง

สถานการณ์แรงงานจังหวดั ลาปาง ไตรมาส 3/2564 (กรกฎาคม - กันยายน) 32

ส่วนอำชีพที่ได้รับกำรบรรจุงำนสูงสุดในไตรมำสน้ี คือ 1. อำชีพงำนพื้นฐำน 286 คน (ร้อยละ 51.16)
2. ช่ำงเทคนิคและผู้ปฏิบัติงำนท่ีเกี่ยวข้อง 108 คน (ร้อยละ 19.32) 3. เสมียน เจ้ำหน้ำท่ี 58 คน (ร้อยละ 10.38)
4. พนักงำนบริกำร พนักงำนขำยในร้ำนค้ำและตลำด 54 คน (ร้อยละ 9.66) 5. ผู้ปฏิบัติงำนในโรงงำน ผู้ควบคุมเคร่ืองจักร
และผปู้ ฏิบตั ิงำนดำ้ นกำรประกอบ 22 คน (ร้อยละ 3.94) (รำยละเอยี ดตำมภำคผนวกตำรำงที่ 29 และแผนภมู ิท่ี 26)

แผนภมู ิท่ี 26 การบรรจุงานจงั หวัดลาปางจาแนกตามอาชพี ไตรมาสท่ี 3/2564 (5 อันดบั แรก)

ผู้ปฏบิ ตั ิงานในโรงงาน ผู้ควบคุมเครอ่ื งจักรฯ 22 คน (3.94%)

พนักงานบรกิ าร พนักงานขายในรา้ นคา้ และตลาด 54 คน (9.66%)

เสมยี น เจ้าหน้าท่ี 58 คน (10.38%)

ชา่ งเทคนิคและผูป้ ฏบิ ตั งิ านที่เกย่ี วข้อง 108 คน (19.32%)

อาชีพงานพ้นื ฐาน 286 คน (51.16%)

- 50 100 150 200 250 300

ทีม่ า : สำนกั งำนจดั หำงำนจงั หวดั ลำปำง

เม่ือพิจำรณำทำงด้ำนอุตสำหกรรม พบว่ำ อุตสาหกรรมท่ีมีตาแหน่งงานว่างสูงสุด 5อันดับแรก คือ 1.กำรผลิต
767 อัตรำ (ร้อยละ 43.07) 2. กจิ กรรมวชิ ำชพี วิทยำศำสตร์ และกจิ กรรมทำงวชิ ำกำร 265 อตั รำ (ร้อยละ 14.88) 3. กำรขำยส่ง
กำรขำยปลีก กำรซ่อมแซมยำนยนต์ รถจักรยำนยนต์ ของใช้ส่วนบุคคลและของใช้ในครัวเรือน 189 อัตรำ (ร้อยละ 10.61)
4. เกษตรกรรม กำรลำ่ สัตว์ และกำรป่ำไม้ 165 อัตรำ (ร้อยละ 9.26) 5. กำรทำเหมอื แร่ และเหมอื งหนิ 150 อตั รำ (ร้อยละ 8.42)
(รำยละเอยี ดตำมภำคผนวกตำรำงท่ี 30 และแผนภมู ิที่ 27)

แผนภมู ิท่ี 27 ผลู้ งทะเบยี นสมคั รงานจังหวัดลาปางจาแนกตามอตุ สาหกรรม ไตรมาสท่ี 3/2564 (5 อนั ดับแรก)

การทาเหมอื งแร่ และเหมอื งหิน 150 คน (8.42%)
เกษตรกรรม การลา่ สตั ว์ และการป่าไม้ 165 คน (9.26%)
189 คน (10.61%)
การขายสง่ การขายปลีกฯ
กิจกรรมวชิ าชพี วิทยาศาสตร์ ฯ 265 คน (14.88%)

การผลติ 767 คน (43.07%)

- 200 400 600 800 1,000
ทม่ี า : สำนักงำนจดั หำงำนจังหวัดลำปำง

สถานการณ์แรงงานจังหวัดลาปาง ไตรมาส 3/2564 (กรกฎาคม - กนั ยายน) 33

สว่ นอุตสาหกรรมท่ีมีการบรรจุงานสูงสุดคือ 1) กำรผลิต 209 คน (รอ้ ยละ 37.39) 2) กิจกรรมวชิ ำชีพ วิทยำศำสตร์
และกจิ กรรมทำงวิชำกำร 83 คน (รอ้ ยละ 14.85) 3) กำรขำยส่ง กำรขำยปลีก กำรซ่อมแซมยำนยนต์ รถจกั รยำนยนต์
ของใชส้ ว่ นบุคคล และของใชใ้ นครวั เรอื น 74 คน (ร้อยละ 13.24) 4) กำรบรหิ ำรรำชกำร และกำรปอ้ งกันประเทศ
รวมท้ังกำรประกนั สังคมภำคบังคับ 58 คน (ร้อยละ 10.38) และ 5) กำรทำเหมืองแร่ และเหมืองหิน 46 คน (ร้อยละ
8.23) (รำยละเอยี ดตำมภำคผนวกตำรำงท่ี 30 และแผนภูมทิ ่ี 28)

แผนภมู ิท่ี 28 การบรรจงุ านจังหวัดลาปางจาแนกตามอตุ สาหกรรม ไตรมาสท่ี 3/2564 (5 อนั ดับแรก )

การทาเหมอื งแร่ฯ 46 คน (8.23%)
การบรหิ ารราชการฯ 58 คน (10.38%)
การขายส่ง การขายปลีกฯ 74 คน (13.24%)
83 คน (14.85%)
กิจกรรมวิชาชีพ ฯ
การผลติ 209 คน (37.39%)

- 50 100 150 200 250

ท่มี า : สำนักงำนจดั หำงำนจังหวัดลำปำง

2.2 แรงงานตา่ งดา้ ว

2.2.1 คนต่างด้าวท่ีได้รับอนุญาตทางานตาม พรก.การบริหารการจัดการการทางานของคนต่างด้าว

พ.ศ. 2560 และฉบบั ที่ 2 พ.ศ. 2561

จำนวนคนตำ่ งด้ำวทไี่ ด้รบั อนุญำตทำงำนคงเหลอื จำนวน 3,443 คน จำแนกเปน็ กลมุ่ ตำ่ ง ๆ ดงั น้ี
1. คนต่างด้าวตลอดชีพ ได้แก่ คนต่ำงด้ำวท่ีได้รับอนุญำตให้อยู่ในรำชอำณำจักร และทำงำน
ตำมประกำศของคณะปฏิบตั ิ ฉบับท่ี 322 ลงวนั ท่ี 13 ธนั วำคม 2515 จำนวน 0 คน
2. คนต่างด้าวมาตรา 59 ประเภทท่ัวไป ได้แก่ คนต่ำงด้ำวท่ีมีถิ่นที่อยู่ในรำชอำณำจักร หรือได้รบั
อนุญำตให้เขำ้ มำในรำชอำณำจักรเป็นกำรช่ัวครำวตำมกฎหมำยว่ำด้วยคนเข้ำเมืองโดยมิใช่ได้รบั อนญุ ำตให้เข้ำมำ
ในฐำนะนกั ทอ่ งเที่ยว หรือผู้เดินทำงผำ่ น และไมม่ ีลักษณะตอ้ งห้ำมตำมที่กำหนดในกฎกระทรวง จำนวน 141 คน
3. คนต่างด้าวมาตรา 59 พิสูจน์สัญชาติ ได้แก่ คนต่ำงด้ำวสัญชำติเมียนมำ ลำว และกัมพูชำ
ที่หลบหนีเข้ำเมืองได้รับผ่อนผันให้ทำงำนและอยู่ในรำชอำณำจักรเป็นกำรชั่วครำว ตำมมติคณะรัฐมนตรี ได้ผ่ำน
กำรพสิ ูจน์สญั ชำตแิ ละปรบั สถำนะกำรเข้ำเมืองถูกกฎหมำยเรยี บร้อยแล้ว จำนวน 0 คน
4. คนตา่ งดา้ วมาตรา 59 นาเข้าตาม MOU ไดแ้ ก่ คนต่ำงด้ำวสญั ชำตเิ มียนมำ ลำว และกัมพชู ำ
ทเ่ี ขำ้ มำทำงำนตำมควำมตกลงระหวำ่ งรัฐบำลไทย กับ รฐั บำลประเทศต้นทำง จำนวน 3,097 คน

- คนต่างดา้ วมาตรา 59 นาเขา้ ตาม MOU จำนวน 175
- คนต่างด้าวมาตรา 59 นาเข้าตาม MOU (มติ ครม. 20 ส.ค. 2562) จำนวน 1,919 คน
- คนตา่ งด้าวมาตรา 59 นาเขา้ ตาม MOU (มติ ครม. 4 ส.ค. 2563) จำนวน 97 คน
- คนตา่ งดา้ วมาตรา 59 นาเข้าตาม MOU (มติ ครม. 10 พ.ย. 2563) MOU ครบ 4 ปี จำนวน 28 คน
- คนตา่ งดา้ ว มติ ครม. 29 ธ.ค. 2563 และ 26 ม.ค. 2564 จำนวน 878 คน

สถานการณ์แรงงานจงั หวดั ลาปาง ไตรมาส 3/2564 (กรกฎาคม - กันยายน) 34

5. คนต่างด้าวมาตรา 62 ประเภทส่งเสริมการลงทุน ได้แก่ คนต่ำงด้ำวท่ีเข้ำมำทำงำน
ในรำชอำณำจกั รตำมกฎหมำยว่ำด้วยกำรส่งเสริมกำรลงทุน กฎหมำยปิโตเลยี ม หรอื กฎหมำยอื่น จำนวน 0 คน

6. คนต่างด้าวมาตรา 63 ประเภทชนกลุ่มน้อย ได้แก่ คนต่ำงด้ำวท่ีไม่ได้รับสัญชำติไทย
ตำมกฎหมำยว่ำด้วยสัญชำติ และกระทรวงมหำดไทยได้ออกเอกสำรเพื่อรอพิสูจน์สถำนะย่ืนขอใบอนุญำตทำงำน
จำนวน 205 คน

7. คนต่างด้าวมาตรา 64 ได้แก่ คนต่ำงด้ำวสัญชำติเมียนมำ ลำว และกัมพูชำ ท่ีเข้ำมำทำงำน
บริเวณชำยแดนในลักษณะไป-กลับ หรือตำมฤดูกำลในพื้นที่ควำมตกลงว่ำด้วยกำรสัญจรข้ำมแดนระหว่ำง
รำชอำณำจักรไทยกับประเทศทตี่ ิดกับรำชอำณำจักรไทย จำนวน 0 คน

คนต่างด้าว 3 สัญชาติ (เมียนมา ลาว กัมพูชา) มติ ครม. 29 ธ.ค. 2563 จังหวัดลำปำงไม่มี
กำรจดทะเบียนแรงงำนต่ำงด้ำว ณ ศูนย์บริกำรจดทะเบียนแรงงำนต่ำงด้ำว (One Stop Service : OSS) แต่อย่ำงใด
(รำยละเอยี ดตำมภำคผนวกตำรำงท่ี 31 และแผนภมู ทิ ี่ 29)

แผนภมู ทิ ่ี 29 แรงงานต่างด้าวจาแนกตามลักษณะการเขา้ เมืองและประเภทต่างดา้ ว ไตรมาสท่ี 3 ปี 2564

7. ประเภทตา่ งดา้ วทเี่ ขา้ มาทางานในลักษณะไป - กลับ หรอื ตามฤดูกาล 205 คน (5.95%)
6. ประเภทชนกล่มุ นอ้ ย

5. ประเภทสง่ เสรมิ การลงทุน 3,097 คน (89.95%)
4. ประเภทนาเขา้ ตาม MOU

3. ประเภทพิสูจนส์ ญั ชาติ 141 คน (4.10%)
2. ประเภททว่ั ไป

1 ประเภทตลอดชีพ
0 500 1,000 1,500 2,000 2,500 3,000 3,500

ท่มี า : สำนกั งำนจัดหำงำนจังหวดั ลำปำง

สถานการณ์แรงงานจงั หวัดลาปาง ไตรมาส 3/2564 (กรกฎาคม - กนั ยายน) 35

แผนภูมทิ ่ี 30 แรงงานด้าวประเภทท่ัวไป (มาตรา 59) และชนกลุ่มนอ้ ย (มาตรา 63) จังหวดั ลาปางจาแนกตาม
ประเภทอาชพี และสญั ชาตทิ ่เี ข้ามาทางานมากทีส่ ดุ ไตรมาสท่ี 3 ปี 2564

3,000
2,500
2,000
1,500
1,000

500
0

ทมี่ า : สำนกั งำนจัดหำงำนจังหวดั ลำปำง

เมื่อศึกษำแรงงำนต่ำงด้ำวจงั หวัดลำปำง จำแนกตำมประเภทอำชีพ ทงั้ หมด 3,443 คน อำชีพที่คนต่ำงด้ำว
ทำมำกท่ีสุด 5 อำชพี ได้แก่ อำชีพงำนพน้ื ฐำน 3,300 คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ 95.85 รองลงมำคือ ผ้ปู ระกอบวิชำชีพด้ำนต่ำง ๆ
123 คน คิดเป็นร้อยละ 3.57 ช่ำงเทคนิคและผู้ปฏิบัติงำนท่ีเก่ียวข้อง 18 คน คิดเป็นร้อยละ 0.52 และเสมียน
เจ้ำหนำ้ ที่ 2 คน คิดเปน็ ร้อยละ 0.06 (รำยละเอยี ดตำมภำคผนวกตำรำงท่ี 32 และแผนภมู ิที่ 31)

แผนภูมทิ ่ี 31 แรงงานต่างด้าวจังหวัดลาปาง จาแนกตามอาชพี ท่เี ข้ามาทางานมากท่สี ุด(5อนั ดบั แรก) ไตรมาสท่ี 3 ปี

เสมียน เจา้ หน้าที่ 2 คน (0.06%)

ช่างเทคนคิ และผูป้ ฏิบตั ิงานทีเ่ ก่ียวข้อง 18 คน (0.52%)

ผู้ประกอบวิชาชีพต่าง ๆ 123 คน (3.57%)
อาชพี งานพนื้ ฐาน
3,300 คน (95.85%)

- 500 1,000 1,500 2,000 2,500 3,000 3,500

2564

ทมี่ า : สำนักงำนจดั หำงำนจังหวัดลำปำง

สถานการณ์แรงงานจังหวดั ลาปาง ไตรมาส 3/2564 (กรกฎาคม - กนั ยายน) 36

2.2.2 แรงงานตา่ งด้าวที่ยืน่ ขอจดทะเบยี น ณ ศูนยบ์ ริการแบบเบด็ เสร็จ (OSS) จาแนกตามสญั ชาติ

คนต่างด้าว 3 สัญชาติ (เมียนมา ลาว กัมพูชา) มติ ครม. 29 ธ.ค. 2563 จดทะเบียนแรงงำนต่ำงด้ำว
ณ ศูนย์บริกำรจดทะเบียนแรงงำนต่ำงด้ำว (One Stop Service : OSS) จังหวัดลำปำงไม่มีกำรจัดต้ังศูนย์บริกำร
จดทะเบยี นแรงงำนต่ำงดำ้ ว (One Stop Service : OSS))

2.3 แรงงานไทยในต่างประเทศ

2.3.1 การแจ้งความประสงคเ์ ดนิ ทางไปทางานต่างประเทศผ่านสานักงานจัดหางานจังหวัดลาปาง

แรงงำนไทยที่ลงทะเบยี นไปทำงำนต่ำงประเทศในไตรมำสนจ้ี ำนวน 16 คน เมอ่ื เปรียบเทียบกบั
ไตรมำสท่แี ลว้ (28 คน) พบว่ำมีจำนวนลดลงคดิ เป็นร้อยละ -42.86 ผ้แู จ้งควำมประสงคไ์ ปทำงำนต่ำงประเทศเปน็
เพศชำย จำนวน 15 คน เพศหญิง จำนวน 1 คน สว่ นใหญเ่ ปน็ ผูม้ ีกำรศึกษำระดับ มธั ยมศึกษำ จำนวน 10 คน (ร้อยละ
62.50 ของผ้แู จง้ ควำมประสงค์ทั้งหมด) รองลงมำ คือ ระดบั ปวช. ปวส. ปวท. อนปุ รญิ ญำ จำนวน 6 คน คิดเป็นรอ้ ยละ
37.50 (รำยละเอียดตำมภำคผนวกตำรำงท่ี 34 และแผนภูมทิ ี่ 33) ขอ้ มูลดงั กลำ่ วสะทอ้ นให้เหน็ วำ่ แรงงำนสว่ นใหญ่
ทนี่ ยิ มไปทำงำนตำ่ งประเทศจะเป็นแรงงำนระดับลำ่ งหรอื ไรฝ้ มี อื ซ่ึงอำจจะมีผลมำจำกประเทศเหล่ำน้ันขำดแคลน
แรงงำนไรท้ กั ษะฝีมือ เช่น งำนก่อสรำ้ ง กรรมกร หรือผูร้ บั ใชใ้ นบ้ำนน่นั เอง

แผนภูมิท่ี 32 แรงงานไทยจังหวัดลาปางที่แจ้งความประสงค์เดินทางไปทางานต่างประเทศ จาแนกตาม
ระดบั การศกึ ษา ไตรมาสท่ี 3 ปี 2564

ปวช. ปวส. ปวท.
อนปุ ริญญา 6 คน

37.50%

มธั ยมศึกษา 10 คน
62.50%

ท่ีมา : สำนกั งำนจดั หำงำนจังหวดั ลำปำง

2.3.2 แรงงานไทยท่ีได้รับอนมุ ัติไปทางานต่างประเทศ
ในส่วนของกำรอนญุ ำตใหไ้ ปทำงำนต่ำงประเทศไตรมำสท่ี 3 ปี 2564 พบวำ่ มีจำนวนทั้งสิ้น 278 คน

หำกพิจำรณำตำมวิธีกำรเดินทำงพบว่ำส่วนใหญ่ไปโดยนำยจ้ำงพำไปทำงำน 123 คน (ร้อยละ 44.24) รองลงมำคือ
เดนิ ทำงดว้ ยตนเอง 47 คน (ร้อยละ 16.91) กรมกำรจัดหำงำนจัดส่ง 42 คน (รอ้ ยละ 15.11) Re-Entry คือกลับไปทำงำน
อีกครั้งหนึ่งโดยกำรต่ออำยุสัญญำ 38 คน (ร้อยละ 13.67) และบริษัทจัดหำงำนจัดส่ง 28 คน (ร้อยละ 10.07)
(รำยละเอียดตำมภำคผนวกตำรำงท่ี 35 และแผนภูมทิ ่ี 33)

สถานการณ์แรงงานจงั หวัดลาปาง ไตรมาส 3/2564 (กรกฎาคม - กนั ยายน) 37

แผนภูมิที่ 33 แรงงานไทยจังหวัดลาปางที่ได้รับอนุมัติเดินทางไปทางานต่างประเทศ จาแนกตามวิธีการเดินทาง
ไตรมาสท่ี 3 ปี 2564

เดินทางดว้ ยตนเอง 47 คน บริษทั จัดหางานจดั ส่ง 28 คน
16.91% 10.07%

Re-Entry 38 คน
13.67%

กรมการจดั หางานจดั สง่ 42 คน
15.11%

นายจา้ งพาไปทางาน 123 คน
44.24%

ทม่ี า : สำนักงำนจัดหำงำนจังหวดั ลำปำง

แรงงำนไทยเดินทำงไปทำงำนตำมท่ไี ดร้ บั อนญุ ำตในไตรมำสท่ี 3 ปี 2564 สว่ นใหญ่จะไปทำงำนในภมู ภิ ำค
เอเชีย ได้แก่ ไต้หวัน สิงคโปร์ มำเลเซีย เกำหลี โดยภูมิภำคเอเชีย มีจำนวน 214 คน (ร้อยละ 76.98) ของแรงงำนไทย
ที่ไปทำงำนต่ำงประเทศท้ังหมด รองลงมำ คือ ภูมิภำคอื่น ๆ 25 คน (ร้อยละ 8.99) แอฟริกำ 22 คน (ร้อยละ 7.91)
ตะวันออกกลำง 14 คน (ร้อยละ 5.04) และอเมรกิ ำ 3 คน (รอ้ ยละ 1.08) (รำยละเอียดตำมภำคผนวกตำรำงที่ 36
และแผนภมู ทิ ่ี 34)

แผนภูมิท่ี 34 แรงงานไทยจังหวัดลาปางท่ีได้รับอนุมัติเดินทางไปทางานต่างประเทศ จาแนกตามภูมิภาค
ท่ไี ปทางาน ไตรมาสท่ี 3 ปี 2564

แอฟริกา 22 คน อเมรกิ า 3 คน ภมู ภิ าคอื่น ๆ 25 คน
(7.91%) (1.08%) (8.99%)

ตะวันออกกลาง 14 คน เอเชีย 214 คน
(5.04%) (76.98%)

ทมี่ า : สำนกั งำนจดั หำงำนจงั หวดั ลำปำง

สถานการณ์แรงงานจงั หวัดลาปาง ไตรมาส 3/2564 (กรกฎาคม - กนั ยายน) 38

3. การพฒั นาศักยภาพแรงงาน

ในรอบไตรมำสท่ี 3 ปี 2564 (เดือนกรกฎำคม - กันยำยน 2564) สถำบันพัฒนำฝีมือแรงงำน 10 ลำปำง
ได้ดำเนินกำรฝึกอบรมพัฒนำผู้ใช้แรงงำนในรูปแบบต่ำง ๆ ได้แก่ กำรฝึกเตรียมเข้ำทำงำน กำรฝึกยกระดับฝีมือแรงงำน
และกำรทดสอบมำตรฐำนฝีมือแรงงำน เพ่ือเพ่ิมศักยภำพฝีมือแรงงำนไทยให้มีมำตรฐำนฝีมือทัดเทียมประเทศต่ำง ๆ
ขณะเดียวกันเป็นกำรพัฒนำทักษะให้สอดคล้องกบั ควำมต้องกำรขอตลำดแรงงำน โดยภำพรวมของกำรฝึกต่ำง ๆ
(รำยละเอียดตำมภำคผนวกตำรำงท่ี 37)

หำกพิจำรณำตำมกลุ่มอำชีพพบว่ำ ในช่วงไตรมำสที่ 3/2564 (เดือนกรกฎำคม - กันยำยน 2564) ไม่มีผู้เข้ำรับ
การฝึกเตรียมเข้าทางาน เนอ่ื งจำกเป็นช่วงสิน้ สุดงบประมำณของรำชกำร จงึ ไมม่ กี ำรเปิดฝกึ เตรียมเข้ำทำงำน (รำยละเอยี ด
ตำมภำคผนวกตำรำงท่ี 37 และแผนภมู ิท่ี 35)

แผนภูมท่ี 35 การฝึกเตรยี มเขา้ ทางานและผา่ นการฝกึ ในจังหวัดลาปาง จาแนกตามกลุ่มอาชพี ไตรมาสท่ี 3 ปี 2564

ธรุ กิจและบริการ จบการฝกึ เข้ารับการฝึก
เกษตรอตุ สาหกรรม
ชา่ งอุตสาหกรรมศลิ ป์ *** ไตรมาสท่ี 3 ปี 2564 เป็นช่วงสิน้ สดุ งบประมาณของราชการ จงึ ไม่มกี ารเปดิ ฝกึ เตรยี มเข้าทางาน

ชา่ งไฟฟา้ ฯ
ชา่ งเครอื่ งกล
ชา่ งอตุ สาหการ
ชา่ งกอ่ สร้าง

0 0.1 0.2 0.3 0.4 0.5 0.6 0.7 0.8 0.9 1

ทมี่ า : สถำบนั พฒั นำฝมี ือแรงงำน 10 ลำปำง

สำหรับการฝกึ ยกระดับฝมี ือแรงงานในไตรมำสที่ 3 ปี 2564 พบวำ่ มีผู้เข้ำรบั กำรฝึกยกระดับฝีมือแรงงำน
ทั้งส้ิน 219 คน พิจำรณำตำมกลุ่มอำชีพท่ีฝึกพบว่ำกลุ่มอำชีพธุรกิจและบริกำร มีกำรฝึกยกระดับฝีมือแรงงำนสูงสุด 90 คน
(ร้อยละ 41.40) ของผู้เข้ำรับกำรฝึกยกระดับฝีมือแรงงำน รองลงมำได้แก่ กลุ่มช่ำงไฟฟ้ำ อิเล็กทรอนิกส์ คอมพิวเตอร์
78 คน (รอ้ ยละ 35.62) ชำ่ งอตุ สำหกำร 31 คน (ร้อยละ 14.16) และช่ำงกอ่ สรำ้ ง 20 คน (ร้อยละ 9.13) ตำมลำดับ
ผู้ผ่ำนกำรฝึกยกระดับฝีมือแรงงำนในไตรมำสนี้ 214 คน พบว่ำกลุ่มอำชีพที่มีผู้ผ่ำนกำรฝึกยกระดับฝีมือแรงงำน
สงู สุด คือ กลมุ่ อำชีพธุรกิจและบรกิ ำร 90 คน (รอ้ ยละ 42.06) ของผ้ผู ำ่ นกำรฝึกยกระดับฝีมือแรงงำนทง้ั หมด รองลงมำ
ได้แก่ ช่ำงไฟฟ้ำ อิเล็กทรอนิกส์ คอมพิวเตอร์ 75 คน (ร้อยละ 35.05) ช่ำงอุตสำหกำร 29 คน (ร้อยละ 13.55)
และชำ่ งกอ่ สรำ้ ง 20 คน (ร้อยละ 9.35) ตำมลำดบั (รำยละเอียดตำมภำคผนวกตำรำงท่ี 37 และแผนภูมิที่ 36)

สถานการณ์แรงงานจังหวัดลาปาง ไตรมาส 3/2564 (กรกฎาคม - กันยายน) 39

แผนภูมิท่ี 36 การฝึกยกระดับฝีมือแรงงานและผ่านการฝึกยกระดับฝีมือแรงงานในจังหวัดลาปางจาแนกตาม
กลมุ่ อาชีพ ไตรมาสท่ี 3 ปี 2564

ธุรกิจและบรกิ าร จบการฝกึ เข้ารับการฝึก
เกษตรอุตสาหกรรม 9900 คคนน ((4412..4006%%))

ชา่ งอตุ สาหกรรม 75 คน (35.05%)
ชา่ งไฟฟา้ ฯ 78 คน (35.62%)

ช่างเคร่อื งกล 29 คน (13.55%)
ชา่ งอตุ สาหกรรม 31 คน (14.16%)

ชา่ งกอ่ สรา้ ง 2200 คคนน ((99..3135%%))

0 10 20 30 40 50 60 70 80 90

ท่ีมา : สถำบันพฒั นำฝีมือแรงงำน 10 ลำปำง

ส่วนการทดสอบมาตรฐานฝีมือแรงงานในไตรมำสที่ 3 ปี 2564 พบว่ำมีผู้เข้ำรับกำรทดสอบมำตรฐำน
ฝมี ือแรงงำนทั้งสิ้น 65 คน (2 กลุ่มอำชีพ) พิจำรณำตำมกลุ่มอำชีพที่เข้ำรับกำรทดสอบมำตรฐำนฝีมือแรงงำนพบว่ำกลุ่ม
ช่ำงไฟฟำ้ อเิ ล็กทรอนกิ ส์ คอมพวิ เตอร์ มกี ำรทดสอบมำตรฐำนฝีมือแรงงำนสูงสดุ 55 คน (รอ้ ยละ 84.62) ของผเู้ ข้ำรับ
กำรทดสอบมำตรฐำนฝีมือแรงงำน และช่ำงอุตสำหกำร 10 คน (ร้อยละ 15.38) ตำมลำดับ ผู้ผ่ำนกำรทดสอบ
มำตรฐำนฝมี อื แรงงำนในไตรมำสน้ี 48 คน คอื ช่ำงไฟฟำ้ อเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ คอมพิวเตอร์ 48 คน (รอ้ ยละ 100) ของผผู้ ่ำน
กำรทดสอบมำตรฐำนฝมี ือแรงงำนท้ังหมด (รำยละเอยี ดตำมภำคผนวกตำรำงท่ี 37 และแผนภูมทิ ี่ 37)

แผนภูมิท่ี 37 การทดสอบมาตรฐานฝีมือแรงงานและผ่านการทดสอบมาตรฐานฝีมือแรงงานในจังหวัดลาปาง
จาแนกตามกลมุ่ อาชพี ไตรมาสท่ี 3 ปี 2564

เข้ำรับกำรฝกึ จบกำรฝกึ

ท่ีมา : สถำบนั พฒั นำฝมี ือแรงงำน 10 ลำปำง

สถานการณ์แรงงานจังหวดั ลาปาง ไตรมาส 3/2564 (กรกฎาคม - กันยายน) 40


Click to View FlipBook Version