The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

คู่มือการปฏิบัติงานวิชาการ

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by krutuk.wss, 2022-09-15 02:37:35

คู่มือการปฏิบัติงานวิชาการ

คู่มือการปฏิบัติงานวิชาการ

ค่มู ือการปฏบิ ตั ิงาน
กลุ่มบริหารงานวชิ าการ

โรงเรยี นวดั สงิ ห์ อาเภอวดั สงิ ห์ จังหวดั ชยั นาท
สานกั งานเขตพนื้ ทกี่ ารศกึ ษามธั ยมศกึ ษา เขต 5
สานกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พนื้ ฐาน

กระทรวงศกึ ษาธกิ าร

คู่มอื ปฏบิ ตั งิ านฝ่ายวชิ าการโรงเรยี นวดั สงิ ห์ 1

คมู่ ือปฏิบตั ิงานฝา่ ยวิชาการ

แนวคดิ หลกั ในการบรหิ ารวิชาการ
งานวชิ าการเป็นภารกจิ หลกั ของสถานศึกษาที่ พ.ร.บ. การศึกษาแหง่ ชาติ พ.ศ. 2542 และแก้ไขเพิ่มเติม

( ฉบบั 2 ) พ.ศ.2545 มงุ่ ให้กระจายอานาจในการบริหารจัดการไปให้สถานศึกษาให้มากท่ีสุดด้วยเจตนารมณ์ที่จะให้
สถานศึกษาดาเนินการได้โดยอิสระ คล่องตัวรวดเร็ว สอดคล้องกับความต้องการของผู้เรียน สถานศึกษา ชุมชน
ท้องถ่ิน และ การมีส่วนร่วมจากผู้ท่ีมีส่วนได้เสียทุกฝ่าย ซึ่งจะเป็นปัจจัยสาคัญทาให้สถานศึกษามีความเข้มแข็งใน
การบริหารจัดการสามารถพัฒนาหลักสูตร และกระบวนการเรียนรู้ตลอดจนการวัดผล ประเมินผล รวมทั้งวัด
ปัจจัย เกอื้ หนนุ การพัฒนาคณุ ภาพนกั เรยี น ชุมชน ทอ้ งถน่ิ ได้อย่างมีคณุ ภาพ และ มปี ระสทิ ธิภาพ

วตั ถุประสงค์
1. เพื่อให้การบริหารงานด้านวชิ าการมีอิสระ คลอ่ งตวั รวดเรว็ และ สอดคลอ้ งกบั ความต้องการของ
นกั เรียน สถานศึกษา ชมุ ชน ท้องถิ่น
2. เพอ่ื ใหก้ ารบริหาร และ การจัดการศึกษาของโรงเรยี นได้มาตรฐาน และ มีคุณภาพสอดคล้องกบั ระบบ
ประกันคุณภาพการศึกษา และ ประเมินคณุ ภาพภายในเพื่อพฒั นาตนเอง และ จากการประเมิน
หนว่ ยงานภายนอก
3. เพอ่ื ใหโ้ รงเรียนพฒั นาหลกั สตู ร และ กระบวนการเรียนรู้ ตลอดจนปัจจยั หนุนการเรยี นรู้ทีส่ นองต่อ
ความต้องการของผู้เรียน ชุมชน และ ทอ้ งถิ่น โดยยึดผู้เรียนเปน็ สาคัญได้อยา่ งมคี ณุ ภาพ และ
ประสทิ ธภิ าพ
4. เพอื่ ให้โรงเรยี นไดป้ ระสานความรว่ มมือในการพัฒนาคุณภาพการศกึ ษาของสถานศึกษา และ ของ
บคุ คล ครอบครัว องค์กร หนว่ ยงาน และ สถาบันอนื่ ๆอย่างกว้างขวาง

ขอบขา่ ยภารกิจ
1. การพฒั นาหลกั สตู รและกระบวนการเรียนรู้
2. การจัดทาทะเบยี นและวดั ผล-ประเมินผล
3. การบริหารกล่มุ สาระการเรยี นรู้และกิจกรรมพัฒนาผ้เู รยี น
4. การส่งเสริมคุณภาพการจัดการศึกษา
5. การสง่ เสรมิ พัฒนาส่ือนวัตกรรมและเทคโนโลยีทางการศกึ ษา
6. การพฒั นาห้องสมดุ และแหลง่ เรยี นรู้
7. การสรา้ งเครือข่ายพฒั นาหลักสูตรและการจดั การเรียนการสอน

คมู่ ือปฏิบัตงิ านฝา่ ยวชิ าการโรงเรยี นวดั สิงห์ 2

งานในฝ่ายวชิ าการ
1. งานธุรการฝ่ายวิชาการ
2. งานหลักสูตรและการสอน
3. งานกลมุ่ สาระการเรยี นรู้และกิจกรรมพัฒนาผู้เรยี น
4. งานทะเบยี น
5. งานวัดผล
6. งานศูนยส์ ่ือและแหลง่ เรยี นรู้
7. งานโรงเรียนมาตรฐานสากล
8. งานศนู ย์ ICT
9. งานห้องสมดุ
10. งานแนะแนว
11. งานโรงเรียนเศรษฐกจิ พอเพียง
12. งานประกันคุณภาพการศกึ ษา
13. งานวิจยั และพัฒนาการศกึ ษา
14. งานนเิ ทศและบรกิ ารทางการศึกษา

งานธุรการฝ่ายวิชาการ/ธรุ การกลมุ่ สาระการเรยี นรู้
1. จดั ทาทะเบียนคมุ และจดั ทาแฟ้มเอกสารหนังสือรบั -สง่ ของฝา่ ยวิชาการ กลมุ่ สาระการเรียนรู้
2. ประสานงาน แจง้ หนงั สือเวียนตา่ งๆ ให้ผู้เกีย่ วข้องทราบ
3. จัดทาวาระการประชมุ บนั ทึกและรายงานการประชมุ ของฝ่ายวชิ าการเสนอผ้เู กี่ยวข้องทราบตามลาดับ
4. รบั ผิดชอบการเบกิ -จ่ายพสั ดุ ตรวจสอบและรายงานพสั ดุครุภณั ฑ์ประจาปีของสานกั งานฝา่ ยวชิ าการ
5. ควบคมุ การออกเกียรติบัตรของฝ่ายวิชาการ
6. อืน่ ๆ ตามที่ได้รบั มอบหมาย

งานหลักสูตรและการสอน
1. หลกั สูตรสถานศึกษา
1.1 ศกึ ษาวิเคราะหเ์ อกสารหลักสตู รการศึกษาข้นั พ้ืนฐาน พ.ศ. 2551 สาระแกนกลางของ

กระทรวงศกึ ษาธกิ าร ข้อมลู สารสนเทศเก่ยี วกับสภาพปญั หา และความต้องการของสงั คม ชุมชน และทอ้ งถน่ิ
1.2 วเิ คราะห์สภาพแวดลอ้ ม และ ประเมนิ สถานภาพสถานศกึ ษาเพ่ือกาหนดวสิ ยั ทัศน์ ภารกจิ เป้าหมาย

คุณลักษณะทพี่ ึงประสงค์โดยมสี ่วนรว่ มของทุกฝ่ายในโรงเรียน และชุมชน
1.3 จดั ทาโครงสร้างหลักสตู รและสาระต่าง ๆ ที่กาหนดให้มใี นหลกั สตู รสถานศึกษาที่สอดคลอ้ งกบั

วิสยั ทศั น์ เป้าหมาย และคณุ ลักษณะที่พงึ ประสงค์ โดยพยายามบรู ณาการเน้อื หาสาระทัง้ ในกลมุ่ สาระการเรยี นรู้
เดียวกนั และระหว่างกล่มุ สาระการเรียนรูต้ ามความเหมาะสม

ค่มู อื ปฏบิ ัติงานฝ่ายวิชาการโรงเรยี นวดั สิงห์ 3

1.4 นาหลักสูตรไปใช้ในการจัดการเรียนการสอน และบรหิ ารจดั การการใช้หลกั สูตรให้เหมาะสม
1.5 เสนอแต่งต้ังคณะกรรมการบรหิ ารหลักสตู ร
1.6 จดั ทาหลักสตู รและแนวปฏิบัตกิ ารใช้หลกั สูตร
1.7 ตรวจสอบเกี่ยวกับการโอน/ย้าย หลักสูตรระหวา่ งโรงเรียนและหลักสตู รอนื่
1.8 สารวจความต้องการของผู้รบั บรกิ ารในการจัดการเรียนการสอนนอกระบบโรงเรียน การเรียนแบบ
อธั ยาศัย รวมทัง้ กาหนดแนวทางการใชห้ ลกั สูตร เสนอแนะกลุ่มงาน งาน ทเ่ี กี่ยวข้องในการดาเนนิ งาน
2. การจดั ตารางสอน/จดั ครเู ข้าสอน/จดั สอนแทน
2.1 สารวจความรู้ ความสามารถของครู และความสอดคลอ้ งของครูกบั หลกั สตู รของโรงเรียน ประสานกับ
กล่มุ บรหิ ารงานบคุ คลเพ่ือจดั สรรอตั รากาลงั
2.2 วิเคราะห์โครงสรา้ งหลกั สูตร สารวจความต้องการ ความถนัดความสนใจร่วมกับกลุ่มงานแนะแนว และ
เสนอแนะต่อคณะกรรมการบรหิ ารหลักสตู รเพอ่ื จดั รายวชิ าให้นักเรียนลงทะเบียน
2.3 จัดตารางสอนนกั เรยี น ครู ตารางการใชห้ ้อง และติดตาม ควบคุมให้การดาเนินการตามตารางสอนให้
ถูกต้อง ท้งั การเรียนและการสอน
2.4 กาหนดแนวปฏิบตั ใิ นการจดั สอนแทน ตดิ ตามผลการปฏิบตั ิ

งานกล่มุ สาระการเรยี นร้แู ละกิจกรรมพฒั นาผ้เู รียน
1. งานกลุม่ สาระการเรียนรู้
1.1 จดั โครงสรา้ งการบริหารกลุ่มสาระการเรียนรู้
1.2 บรหิ ารกลุ่มสาระการเรียนรใู้ หเ้ ป็นไปตามหลักสูตรของโรงเรียน สอดคล้องกบั นโยบาย วิสัยทศั น์

พันธกจิ และเป้าหมายของโรงเรยี น และของหลกั สตู ร
1.3 ควบคุม ดูแล กากับการใช้หลักสูตรของกลุ่มสาระการเรียนรู้ ประเมินผลการใช้หลักสูตรอย่างต่อเน่ือง

รวมท้งั เสนอขอปรับปรุงหลกั สูตรเม่อื พบข้อบกพร่อง หรอื จดุ ทค่ี วรพัฒนา
1.4 จดั ทาเอกสารแผนงาน/โครงการตามฝ่ายธรุ การโรงเรยี นกาหนดและสอดคล้องกับแผนงานโรงเรียน
1.5 ควบคมุ ดูแล กากบั ให้ครูในกลุ่มสาระการเรยี นรู้ทุกคนจัดทาหลักสตู รช้นั เรยี น แผนการจัดการเรียนรู้

และสอนตามแผนการจัดการเรยี นรู้ การตรวจสมุด ปพ.5 ข้อสอบกลางภาค ข้อสอบปลายภาค การประเมินการอา่ น
คิดวิเคราะห์และเขียน สมรรถนะของผ้เู รยี นและคณุ ลกั ษณะอันพึงประสงค์

1.6 กากบั ตดิ ตามให้ครูเข้าสอนตามตารางสอนทุกคาบ จดั สอนซอ่ มเสริม สอนชดเชยและสอนแทนเม่ือครู
ในกลุม่ สาระลาหรือไปราชการ

1.7 จดั ให้มกี ารนิเทศงานวชิ าการในกล่มุ สาระการเรยี นรู้ ประชุมครใู นสังกดั อย่างนอ้ ยเดือนละ 1 ครัง้
เพื่อปรับปรุงแก้ปัญหาและพัฒนาการเรยี นการสอน การวจิ ัยในชัน้ เรียน และการพัฒนาครูโดยการประชุมสัมมนา ศึกษา
ดงู าน

1.8 จัดกจิ กรรมเสรมิ หลักสูตร และร่วมกับงานกจิ กรรมพัฒนาผ้เู รยี นจัดกิจกรรมพฒั นาผู้เรียน

ค่มู ือปฏบิ ัติงานฝ่ายวิชาการโรงเรยี นวัดสงิ ห์ 4

1.9 ประสานงานระหว่างกลมุ่ สาระการเรยี นรู้ และกจิ กรรมพฒั นาผ้เู รียน ในการบรู ณาการการเรยี นการ
สอนระหวา่ งกลุ่มสาระ และกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน

1.10 จดั ทาหลกั สูตรสถานศึกษาของกลมุ่ สาระ
1.11 ประสานงานให้มีการจดั หา ผลิต และใชส้ อื่ การเรยี นการสอน ปรับซอ่ มสอื่ การเรียนการสอน
1.12 จดั ใหม้ ีการพฒั นาครูด้านวิชาการในรปู แบบต่างๆ เพื่อใหค้ รสู ามารถจัดการเรียนการสอนได้อยา่ งมี
ประสิทธภิ าพ
1.13 สง่ เสรมิ ให้มีการจัดกจิ กรรมทางวชิ าการรปู แบบต่าง ๆ เชน่ การประกวด แขง่ ขันและสาธิต
1.14) จดั ระบบขอ้ มลู สถิติ เอกสารสารสนเทศของกลุ่มสาระการเรียนรู้
1.15 กากบั ดูแลกจิ กรรมชุมชน และโครงการพเิ ศษที่อยใู่ นความรบั ผดิ ชอบของกลุ่มสาระการเรียนรู้
1.16 จดั ทาเอกสารสรปุ ผลการดาเนินงานของกลุม่ สาระการเรยี นรู้ เสนอตอ่ โรงเรยี นเม่ือสน้ิ ภาคเรียน/ปี
2. งานกจิ กรรมพัฒนาผ้เู รียน
2.1 กาหนดแผนการจดั กิจกรรมพฒั นาผูเ้ รียนใหเ้ ป็นไปตามหลกั สตู รสถานศกึ ษา และนโยบายของ
สถานศึกษา
2.2 จดั ทาคมู่ ือ แนวปฏบิ ัติทีเ่ กยี่ วข้องกับการจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรยี น
2.3 กากบั ตดิ ตาม ดูแลการจดั กจิ กรรมพฒั นาผเู้ รยี นของครูและนักเรยี นให้เปน็ ไปด้วยความเรียบรอ้ ย
และมปี ระสทิ ธภิ าพ
2.4 ประสานงานในการจดั กิจกรรมพฒั นาผูเ้ รยี นของสถานศกึ ษาทุกรปู แบบกบั ทกุ ฝ่ายใหเ้ กดิ ประสิทธผิ ล
สงู สดุ
2.5 ประเมินผลการจดั กิจกรรมพัฒนาผเู้ รยี นของครูและนักเรียน สรุปรายงานเสนอตอ่ โรงเรยี นและฝา่ ย
ท่เี กยี่ วข้อง

งานทะเบยี น
1. จัดหาวัสดุ อุปกรณ์ เอกสาร ระเบียบ คูม่ ือ เกย่ี วกบั งานทะเบยี นและจัดเกบ็ เป็นแฟ้มอย่างเป็นระบบ
2. ดาเนินการกรอกข้อมลู นักเรียน ลงทะเบียนข้อมูลลงในโปรแกรม Student 51 ในระบบงานทะเบียน
3. เก็บรักษาเอกสาร/หลักฐานท่ีเกีย่ วข้องตามระเบียบสานักนายกรัฐมนตรี
4. จัดทาแบบฟอรม์ แบบคาร้องต่างๆ ท่ีเก่ียวข้องกบั งานทะเบียน
5. แนวปฏิบัติทเ่ี กีย่ วข้องกับงานทะเบียน
5.1 การลาออก
5.1.1 ผูป้ กครองนักเรยี นมาติดต่อโดยตรงทง่ี านทะเบยี น
5.1.2 ขอแบบคารอ้ งใบลาออกและกรอกรายละเอียด
5.1.3 ผูป้ กครองนักเรยี นหรอื บดิ า มารดา ลงช่อื รับทราบการลาออก
5.1.4 เตรยี มรูปถ่ายขนาด 1.5 นิ้ว 2 รูป เพ่ือจดั ทาเอกสาร (รูปถ่ายเปน็ รปู ปัจจบุ นั เครื่องแบบ

นกั เรยี น ไมเ่ ป็นรูปที่อดั ด้วยระบบโพลารอยด์)

คูม่ ือปฏบิ ัติงานฝา่ ยวิชาการโรงเรยี นวัดสงิ ห์ 5

5.2 การขอรบั หลักฐาน รยบ.1/ปพ.1
5.2.1 รบั คาร้องที่ห้องทะเบียน
5.2.2 ยื่นคาร้องขอหลักฐาน
5.2.3 ถ้าเป็นการขอ รบ.1-ต, รบ.1-ป, ปพ.1 ฉบับที่2
รบ.1-ต, รบ.1-ป (จบการศึกษาก่อนปี 2547) ใช้รูปถ่ายขนาด 4x5 ซม. จานวน 2 รูป
ปพ.1 (จบการศึกษาต้งั แตป่ ี 2547) ใชร้ ปู ถา่ ยขนาด 3x4 ซม. จานวน 2 รปู (รูปถ่ายทั้ง 2

ขนาด เป็นรปู หนา้ ตรง สวมเสอื้ เชิ้ตขาว ไม่สวมแว่นตาดา ไมส่ วมหมวก)
- ถ้าเป็นการขอแทนฉบบั ทห่ี าย ให้แจ้งความและนาหลักฐานแจง้ ความมาแสดง ถา้ เป็น

การขอใบรบั รอง
- นกั เรยี นท่ีกาลงั เรียนในโรงเรียนต้องใหผ้ ปู้ กครองทม่ี ีชอ่ื ในทะเบยี นบา้ นมายน่ื คารอ้ งดว้ ย

ตนเอง
- ใชร้ ปู ถ่ายขนาด 3x4 ซม.แต่งเคร่อื งแบบนกั เรียน จานวน 1 รปู

งานวดั ผล
1. จัดหาวัสดุ อุปกรณ์ เอกสาร ระเบยี บ ค่มู ือ เกย่ี วกับงานวัดผลและจดั เก็บเปน็ แฟม้ อย่างเป็นระบบ
2. ประสาน ดาเนนิ การลงทะเบียนเรียนในรายวิชาต่างๆ ตามท่ีนกั เรยี นลงทะเบยี นเรียนไวใ้ นแต่ละภาคเรยี น

ลงในโปรแกรม Student 51 ในระบบงานทะเบยี น-วดั ผล
3. จดั ทาแบบฟอร์ม แบบคาร้องต่างๆ ทีเ่ ก่ยี วข้องกบั งานวดั ผล
4. เก็บรักษาเอกสาร/หลกั ฐานทีเ่ กี่ยวข้องตามระเบียบสานักนายกรฐั มนตรี
5.จดั ทาและตรวจสอบระเบยี บแสดงผลการเรยี น ( ปพ1 ) ให้ถกู ต้องและเปน็ ปจั จุบนั อยู่เสมอออกใหร้ ะเบยี น

แสดงผลการเรียนให้แก่นักเรียนทจ่ี บหลกั สตู รและประสงค์จะลาออก
6. จัดทารายงานผลการเรียนของผ้เู รียนทจ่ี บหลักสตู ร ( ปพ1 ) ใหเ้ สรจ็ สิน้ เรียบร้อยภายใน 30 วนั นับแตว่ นั

อนมุ ตั ผิ ลการเรียนส่งหน่วยงานเจา้ ของสังกัด ใหถ้ ูกต้องตามระเบยี บ
7. ดาเนนิ การในการออกประกาศนยี บัตรแก่ผ้สู าเรจ็ การศกึ ษา จัดทาทะเบยี นคุมและการจา่ ยประกาศนยี บัตร

แกผ่ ูส้ าเร็จการศึกษา
8. ดาเนนิ การในการออกเอกสารรับรองผลการเรียน รับรองการเป็นนกั เรยี น เอกสารแสดงผลการเรยี น

ภาษาอังกฤษและเอกสารรบั รองอืน่ ๆ ทน่ี ักเรียนร้องขอ
9. ใหค้ วามรว่ มมอื กบั สถานศึกษาอื่นทีข่ อตรวจคณุ วุฒแิ ละดาเนินการในการขอตรวจสอบคณุ วฒุ ิของนกั เรยี น
10. ดาเนินการเกยี่ วกับการขอผ่อนผนั การเรียน การหยดุ พักการเรยี น การเปลีย่ นแปลงวิชาเรียน การถอน

การขอเพิ่มวชิ าเรยี น
11. การควบคุมดูแล กากับ ตดิ ตาม งานด้านวัดผลประเมินผลใหเ้ ป็นไปตามแนวปฏบิ ตั แิ ละปฏิทินท่กี าหนด
12. ดาเนนิ การเกยี่ วกบั หลักฐานการเรยี นการประเมนิ ผลการเรยี นให้ถกู ต้องเปน็ ปจั จบุ นั มกี ารจดั เกบ็ อย่าง

เป็นระบบ สะดวกแก่การสบื ค้นและให้บริการ

คู่มือปฏบิ ตั ิงานฝา่ ยวชิ าการโรงเรยี นวดั สงิ ห์ 6

13. ดาเนินการเกยี่ วกบั นักเรียนทีม่ ีเวลาเรยี นไม่ถงึ ร้อยละ 80 ประกาศรายช่อื ผู้ท่ีมีเวลาเรียนไม่ครบร้อยละ
80 การผอ่ นผนั ให้เข้าประเมนิ ผลปลายภาคเรยี น รวมทงั้ ประกาศรายชอ่ื ผไู้ ม่มีสิทธิเขา้ รบั การประเมนิ ผลปลายภาค
เรยี น แจ้งผู้เกยี่ วขอ้ งทราบ

14. ดาเนนิ การจัดทาตารางสอบกลางภาค ปลายภาค ประสานงานกับงานธุรการฝา่ ยวิชาการในการออกคาส่งั
การสอบตา่ ง ๆ จัดเตรียมอุปกรณ์การสอบ เก็บรักษาข้อสอบไว้ 1 ภาคเรยี น และดาเนินการจาหนา่ ยใหถ้ ูกต้องตาม
ระเบียบ

15. ดาเนนิ การเก่ยี วกับการเปล่ียนแปลงผลการเรยี นของนักเรียนที่ไม่ผา่ นรายวิชา และการลงทะเบียนเรยี นซ้า
16. จัดทาสารสนเทศผลการวัดและประเมนิ ความร,ู้ คุณลักษณะฯ, การอ่าน คิดวิเคราะห์และเขยี น, สมรรถนะ
กิจกรรมพฒั นาผเู้ รียน
17. แจง้ แนวปฏิบตั ิเกย่ี วกับงานวัดผลให้ผู้เกย่ี วขอ้ งทราบ

งานศนู ยส์ ่อื และแหลง่ เรียนรู้
1. สารวจสือ่ การสอนของครูทุกคน ทกุ กลมุ่ สาระ รวบรวมเปน็ ระบบ เพื่อใชส้ ื่อการสอนร่วมกันได้
2. สารวจ/จดั อบรม/เผยแพร่ ส่อื นวัตกรรมของครูทุกกลุม่ สาระ
3. สารวจแหลง่ เรยี นรู้และภมู ปิ ัญญาท้องถ่นิ ทง้ั ในสถานศกึ ษา ชุมชน ทอ้ งถ่ินทเ่ี กย่ี วข้องกับการพฒั นา

คุณภาพการศึกษา
4. จัดทาเอกสารเผยแพร่แหล่งเรียนร้แู ละภูมปิ ญั ญาท้องถนิ่ .ใหแ้ ก่ครู สถานศึกษาอื่น บุคคลองค์กร หนว่ ยงาน
5. จัดต้งั และพัฒนาแหลง่ การเรยี นรแู้ ละภูมปิ ัญญาทอ้ งถนิ่ รวมทงั้ พัฒนาใหเ้ กิดองค์ความรู้
6. ส่งเสรมิ สนับสนนุ ให้ครใู ช้แหล่งเรยี นรู้ท้งั ใน และนอกโรงเรยี นการจัดกระบวนการเรียนรใู้ ห้ครอบคลมุ ภมู ิ

ปญั ญาท้องถ่นิ
7. ร่วมกบั ฝ่าย/งาน/กลุ่มสาระ ในการสรา้ งและพัฒนาแหล่งเรยี นรูภ้ ายในโรงเรียน
8. ประเมิน/สรปุ ผล การใช้ส่ือและแหลง่ เรยี นร้ขู องครูจากนักเรียน ผูป้ กครอง ชมุ ชน

งานโรงเรยี นมาตรฐานสากล
กระทรวงศึกษาธิการโดยสานกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขนั้ พ้ืนฐานไดข้ ับเคล่ือนโรงเรียนมาตรฐานสากล

มาต้ังแต่ปีการศึกษา 2553 มีเป้าหมายเพื่อพัฒนานักเรียนให้มีคุณภาพเทียบเคียงมาตรฐานสากล โรงเรียน
มาตรฐานสากลจึงเป็นนวัตกรรมการจัดการศึกษาที่สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐานนามาใช้เป็น
มาตรการในการยกระดับคุณภาพการศึกษาโดยมีองค์ประกอบหลัก 2 ส่วน ได้แก่ การจัดการเรียนการสอน
เทียบเคียงมาตรฐานสากลและการบริหารจัดการด้วยระบบคุณภาพเพื่อให้การขับเคล่ือนดังกล่าวเป็นไปตาม
เป้าหมายสาคัญ “คุณภาพการบริหารจัดการท่ีเป็นเลิศ” สานักบริหารงานการมัธยมศึกษาตอนปลายสานักงาน
คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน จึงได้จัดทาเกณฑ์รางวัลคุณภาพแห่งสานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ัน
พื้นฐาน OBECQA ปี 2559-2560 ตามเกณฑ์รางวัลคุณภาพแห่งชาติ (Thailand Quality Award : TQA) ขึ้น
สาหรับโรงเรียนนาแนวทางของเกณฑ์ ไปประยุกต์ใช้โดยเทียบเคียงให้เหมาะสมกับบริบทการบริหารจัดการของ

คูม่ ือปฏิบตั งิ านฝ่ายวชิ าการโรงเรยี นวดั สงิ ห์ 7

โรงเรียนได้อย่างมีประสิทธิภาพและเกิดความมุ่งมั่นท่ีจะพัฒนาตนเองสู่ความเป็นเลิศอย่างต่อเนื่องทั้งน้ีสานักงาน
คณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐานถือเป็นนโยบายสาคัญในการให้โรงเรียนในสังกัดนาเกณฑ์รางวัลคุณภาพแห่ง
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน OBECQA ของโครงการโรงเรียนมาตรฐานสากลปี 2559-2560 ไป
ขบั เคลอ่ื นการบรหิ ารการจัดการศกึ ษาใหโ้ รงเรียนมคี ณุ ภาพเทยี บเคยี งมาตรฐานสากลและมีสมรรถนะในการแข่งขัน
สู่เวทโี ลก

โรงเรยี นวัดสงิ ห์ มีความเช่ือมน่ั ว่าโรงเรียนที่นาเกณฑร์ างวลั คุณภาพแห่งสานักงานคณะกรรมการการศึกษา
ขั้นพื้นฐาน OBECQA ปี 2559-2560 ไปใช้ในการขับเคลื่อนและพัฒนาคุณภาพการศึกษาของโรงเรียนจะได้
ประโยชนท์ กุ ข้ันตอน ผู้บริหารโรงเรียน ครู และบุคลากรจะทราบสภาพท่ีแท้จริงว่าระบบการบริหารจัดการของตน
ยังขาดในเรื่องใดแล้วสามารถกาหนดวิธีการและเป้าหมาย เพ่ือการพัฒนาด้วยกระบวนการและความร่วมมือจะ
สามารถทาใหผ้ ู้เรียนมีความเปน็ เลิศทางวิชาการ มีความสามารถทางด้านการส่ือสาร มีทักษะการทางาน สามารถไป
ประกอบอาชีพไดใ้ นอนาคต เป็นผู้ผลิตนวตั กรรม ซ่ึงเปน็ คณุ ลกั ษณะทป่ี ระเทศชาตติ อ้ งการ โดยปฏิบัตหิ นา้ ท่ดี งั นี้

1. วางแผนการทางานรว่ มกันเพื่อเตรยี มความพร้อมในการรับการประเมินโรงเรยี นมาตรฐานสากล
2. รวบรวมขอ้ มูล จดั ทาเอกสาร จัดเตรยี มแฟ้มประเมิน จัดนทิ รรศการ และการนาเสนอผลงาน ในแตล่ ะหมวด
ทีไ่ ดร้ บั มอบหมาย

งานศูนย์ ICT
1. จัดการเรยี นการสอนคอมพิวเตอรต์ ามโครงสรา้ งของหลักสูตร ทีโ่ รงเรยี นกาหนด
2. จัดสอนโปรแกรมเสรมิ ให้กับนกั เรยี นทสี่ นใจเปน็ พเิ ศษ รวมทัง้ ใหบ้ ริการชมุ ชนเก่ยี วกบั วชิ าด้านคอมพิวเตอร์
3. จดั อบรมคอมพวิ เตอรใ์ ห้แกค่ รู และบคุ ลากรในโรงเรียน ให้มคี วามรแู้ ล้วนาไปใชป้ ฏิบตั ิงานในหนา้ ที่
4. ใหบ้ รกิ ารใช้เครื่องคอมพิวเตอร์แก่บุคลากรในโรงเรยี น และหน่วยงานอน่ื
5. วางระบบเครือขา่ ยคอมพิวเตอร์ในโรงเรยี น เพอื่ การบรหิ ารและการเรียนการสอน โดยเชอ่ื มโยงกับ

แหล่งขอ้ มลู ทงั้ ภายในและภายนอกโรงเรียน รวมท้งั จัดทาเผยแพรเ่ ว็บไซตโ์ รงเรยี นและฝ่าย/กลมุ่ งานอน่ื ๆ
6. ใหค้ วามชว่ ยเหลือในการจัดทาข้อมลู ดว้ ยคอมพิวเตอรเ์ ม่ือฝ่ายตา่ ง ๆ รอ้ งขอ
7. จัดทาเอกสารสรุปผลงานปัจจัยงานดา้ นคอมพวิ เตอรเ์ สนอตอ่ โรงเรียนเม่ือสนิ้ ภาคเรยี น
8. งานอืน่ ๆ ที่ไดร้ บั มอบหมาย

งานหอ้ งสมุด
1. จัดทาแผนปฏบิ ตั ิการ งบประมาณ โครงการของงานห้องสมุดให้เปน็ ไปตามนโยบายของโรงเรยี น
2. จัดและพัฒนาสถานท่หี ้องสมุดใหเ้ หมาะสมกับเปน็ แหล่งค้นคว้าหาความรู้ได้ตลอดเวลาและหลากหลาย
3. จดั ให้มีวสั ดุ ครภุ ัณฑ์ และเครื่องอานวยความสะดวกท่เี พียงพอกบั จานวนสมาชกิ
4. ดูแล เก็บรกั ษา ซ่อมบารุง ครุภัณฑ์ ให้อยู่ในสภาพท่ีดีใช้การได้ตลอด
5. จดั หา ซื้อ ทาเอกสาร วารสาร และสง่ิ พมิ พ์ตา่ ง ๆ ทเ่ี ปน็ ประโยชนต์ ่อการคน้ คว้าหาความรูแ้ ละความบนั เทงิ

คมู่ อื ปฏิบตั ิงานฝ่ายวิชาการโรงเรยี นวัดสงิ ห์ 8

6. จดั บรรยากาศ สถานท่ีและส่งิ แวดล้อม การบริการให้ชกั จูงบุคคลภายนอกให้เห็นประโยชน์ และเข้ามาใช้
บรกิ าร

7. จดั กจิ กรรมสง่ เสริมใหน้ ักเรียนของโรงเรียนมนี สิ ัยรักการอ่าน
8. จดั ทาสถติ ิ ขอ้ มลู เกีย่ วกบั การดาเนนิ งาน รวมทั้งประเมนิ ผลงานที่ปฏิบตั ิตลอดภาคเรียน/ปี
9. ใหบ้ ริการใชห้ ้องสมุดแกน่ ักเรยี น ครู และบคุ คลภายนอก

งานบรกิ ารห้องสมดุ คืองานที่หอ้ งสมุดจดั ทาข้นึ เพื่ออานวยความสะดวกแกผ่ ้ใู ชใ้ นดา้ นการอ่าน การคน้ ควา้
หาความรู้และส่งเสรมิ การอ่านให้กว้างขวางและทั่วถึง เพ่อื ให้ผู้ใชไ้ ด้รับสารสนเทศอยา่ งรวดเร็ว และตรงตามความ
ตอ้ งการมากทสี่ ุด รวมถึงการจัดบรรยากาศท่ีดี เปน็ ระเบียบ ทาใหผ้ ใู้ ช้เกดิ ความร้สู กึ ทีด่ ีและประทับใจเม่ือเข้าใช้
บรกิ าร

ความสาคัญของงานบรกิ ารหอ้ งสมุด งานบรกิ ารเปน็ หัวใจสาคัญของหอ้ งสมุด เป็นงานทเ่ี ก่ียวข้องกับผใู้ ช้
ทกุ ระดับ สาหรบั งานบริการของหอ้ งสมดุ โรงเรียน มีส่วนสาคญั ท่ที าใหน้ กั เรยี น ผปู้ กครองและชุมชน มาใชห้ ้องสมดุ
มากขึ้น งานบริการเปน็ งานที่ห้องสมุดทาข้ึน เพื่อส่งเสรมิ สนับสนนุ การเรยี นการสอน ให้นกั เรียนเกดิ การเรียนรู้ รู้จัก
ศกึ ษาคน้ คว้าดว้ ยตนเอง ใช้ประโยชน์จากการอ่านเพ่ือเพมิ่ พูนความรู้ ตลอดจนนาความรูไ้ ปประยุกต์ใช้ให้เกิด
ประโยชน์ในชวี ติ ประจาวันไดเ้ ปน็ อย่างดี

วัตถปุ ระสงคข์ องการให้บรกิ ารหอ้ งสมดุ
1. เพอ่ื สง่ เสริมการอา่ น
2. เพอ่ื อานวยความสะดวกแก่ผูใ้ ชห้ ้องสมุด
3. เพอื่ สนบั สนุนการเรยี นการสอนให้เกิดประโยชนอ์ ยา่ งเต็มที่และคุ้มค่า
4. เพอ่ื ให้เกดิ ความรู้ ความเพลิดเพลนิ พฒั นาสมองให้มีสติปัญญาเฉลยี วฉลาด สามารถนาสงิ่ ทีไ่ ด้จาก

การอ่านไปปฏิบัติ เพ่ือบรรลุวตั ถปุ ระสงค์ท่ตี นต้องการ

ประเภทของงานบริการห้องสมดุ
งานบริการของห้องสมุดมหี ลายอยา่ ง ขึ้นอยกู่ ับนโยบายและวัตถุประสงค์ของห้องสมุด สาหรับ

ห้องสมุดโรงเรยี นโดยทวั่ ไป มีดงั นี้
1. บริการการอ่าน เป็นบริการหลกั ของห้องสมุดทจ่ี ัดหาและคัดเลอื กหนังสอื สิ่งพิมพต์ ่างๆ มาไวเ้ พอ่ื

ให้บรกิ าร และจดั เตรียมสถานท่ีให้อานวยความสะดวกต่อการอ่าน เพ่อื ตอบสนองความต้องการ และความสนใจ
ของผู้ใช้มากทสี่ ุด

2. บริการยืม - คนื คือบริการให้ยืม - คนื ทรพั ยากรสารสนเทศประเภทต่างๆ ตามระเบยี บการยมื ของ
ห้องสมดุ แตล่ ะแหง่ เพอื่ ใหค้ วามสะดวกในการใช้ ในกรณที ่ียมื เกนิ กาหนด ผยู้ มื จะต้องเสียค่าปรับตามอัตราที่
ห้องสมดุ กาหนด

3. บริการหนงั สอื จอง เป็นบรกิ ารทห่ี ้องสมุดจดั แยกหนังสือรายวชิ าต่าง ๆ ท่ีครผู สู้ อนกาหนดให้

คมู่ ือปฏิบัติงานฝ่ายวชิ าการโรงเรยี นวัดสิงห์ 9

นกั เรียนอ่านประกอบ รวมทัง้ เปน็ บริการพเิ ศษทจ่ี ัดขน้ึ ในกรณีท่หี นังสือน้นั มจี านวนนอ้ ย แตม่ ผี ูใ้ ช้ตอ้ งการจานวน
มาก โดยแยกไวต้ ่างหาก และมีกาหนดระยะเวลาให้ยมื ส้นั กว่าหนังสือทัว่ ไป

4. บริการแนะนาการใชห้ อ้ งสมุด เป็นบรกิ ารเพื่อแนะนาผู้ใช้ใหท้ ราบว่า ห้องสมดุ จดั บริการอะไรบา้ ง
ใหก้ บั ผู้ใช้ เช่น การปฐมนเิ ทศแนะนาแกน่ กั เรียนทเี่ ข้าเรยี นในช้นั ปแี รก หอ้ งสมุดส่วนใหญ่จะจัดทาคู่มือการใช้
หอ้ งสมดุ เพื่อให้ข้อมูลเก่ียวกับหอ้ งสมดุ เช่น ประวัตขิ องห้องสมดุ ระเบยี บการยืม - คืนทรัพยากรสารสนเทศ
มารยาทในการใช้ห้องสมดุ บรกิ ารและกิจกรรมต่างๆของห้องสมุด เปน็ ต้น

5. บรกิ ารตอบคาถามและช่วยการค้นควา้ เป็นบริการที่ครูบรรณารกั ษ์หรือเจ้าหน้าทหี่ ้องสมุด จะ
ชว่ ยให้คาแนะนาและบริการตอบคาถามแก่นกั เรยี นและผูใ้ ช้ ทง้ั คาถามทว่ั ไปเกี่ยวกับการใช้ห้องสมุด และคาถามที่
ตอ้ งค้นหาคาตอบจากทรัพยากรสารสนเทศตา่ งๆ ในหอ้ งสมุด

6. บรกิ ารแนะแนวการอา่ น เปน็ บริการสาคญั ท่หี ้องสมุดจดั ขน้ึ เพ่ือส่งเสริมการอ่าน พัฒนานิสัยรกั การ
อ่าน และใช้เวลาวา่ งใหเ้ ปน็ ประโยชน์ นอกจากนย้ี ังเป็นการช่วยเหลอื ผูใ้ ชห้ ้องสมุดทีม่ ีปัญหาในการอา่ น ผู้ที่ไม่อยาก
อา่ นหนงั สอื หรอื เลอื กหนังสอื อ่านไม่เหมาะสมกับความต้องการของตน

7. บริการสอนการใช้ห้องสมดุ เปน็ บรกิ ารของห้องสมุดในโรงเรยี นท่ีจดั สอนให้แกน่ ักเรียนทีเ่ ข้าเรยี น
ใหม่ในช้นั ปีแรก เพื่อให้ความรูเ้ กย่ี วกับการใช้ห้องสมดุ การเลือกใช้ทรัพยากรสารสนเทศแต่ละประเภท และบริการ
ตา่ งๆ ของหอ้ งสมุด ใหผ้ ใู้ ชส้ ามารถใชป้ ระโยชน์จากห้องสมุดไดอ้ ย่างเตม็ ท่ี

8. บริการสืบคน้ ฐานขอ้ มูล เปน็ บรกิ ารสืบคน้ ฐานข้อมลู หนงั สอื ของหอ้ งสมุดชว่ ยให้ผูใ้ ช้ สามารถค้นหา
หนงั สอื ดว้ ยตนเองไดส้ ะดวก รวดเร็วข้ึน

9. บรกิ ารรวบรวมบรรณานุกรม เป็นการรวบรวมรายชื่อหนังสือ สาหรับใชป้ ระกอบการเรยี นการสอน
ในรายวิชาต่างๆ รวมถงึ การรวบรวมบรรณานกุ รมหนงั สอื ใหมป่ ระจาเดือนทห่ี ้องสมุดออกใหบ้ รกิ ารแก่ผู้ใช้

10. บรกิ ารขา่ วสารทันสมยั เป็นบริการทช่ี ่วยให้ผ้ใู ช้หอ้ งสมดุ ได้ทราบข้อมลู ใหม่ๆ ในสาขาวชิ าต่างๆ
โดยการถา่ ยสาเนาหนา้ สารบัญวารสารฉบับลา่ สดุ ทห่ี อ้ งสมุดไดร้ ับรวบรวมไวใ้ นแฟม้ เพื่อให้บรกิ ารแกผ่ ู้ใชใ้ น
การศกึ ษาค้นควา้

11. บริการอนิ เทอร์เนต็ ผใู้ ช้บริการสามารถสืบคน้ ข้อมูลบนอนิ เทอร์เน็ตทสี่ นใจได้ทั่วโลก ซ่งึ ทาใหผ้ ูใ้ ช้
สามารถเข้าถึงสารสนเทศท่ที ันสมัยไดม้ ากข้นึ ตรงตามความต้องการและสะดวกรวดเร็ว

12. บริการอ่นื ๆ ทีห่ ้องสมุดอาจจดั ข้นึ เชน่ บริการโสตทัศนวสั ดุ ส่อื อิเลก็ ทรอนิกส์ บริการห้องสมดุ
เคลือ่ นที่ บรกิ ารชุมชน บรกิ ารขอใชส้ ถานทป่ี ระชมุ เปน็ ต้น

12.1 บรกิ ารสอ่ื อิเล็กทรอนิกส์ เปน็ บรกิ ารค้นคว้าหาความรู้ดว้ ยส่อื อเิ ลก็ ทรอนกิ สต์ ่างๆ เชน่ สอื่
มลั ติมีเดีย ซดี รี อม ดวี ดี ี วซี ีดี เป็นต้น

12.2 บริการห้องสมดุ เคล่ือนที่ เปน็ บริการการอา่ นท่หี ้องสมดุ จัดไว้ตามมมุ ต่างๆของโรงเรียน เพอื่
ส่งเสรมิ การเรยี นรู้ เช่น ใต้บนั ได ระเบียงอาคาร สวน ศาลา ฯลฯ เปน็ การให้บรกิ ารอย่างไม่เปน็ ทางการ งา่ ยๆ และ
ตกแต่งดว้ ยธรรมชาตอิ ย่างสวยงาม ตามสภาพของสถานท่ีนัน้ ๆ

12.3 บริการชุมชน เปน็ บรกิ ารท่ีขยายโอกาสทางการศึกษาคน้ คว้าใหก้ ว้างออกไป โดยห้องสมุดจะ
จัดหนงั สือและสิง่ พิมพ์ ไปใหบ้ ริการแก่ชุมชนและหนว่ ยงานตา่ งๆ รอบโรงเรยี น เชน่ ทีว่ ดั ศูนยพ์ ัฒนาเด็กเล็ก จุด

คู่มอื ปฏิบัตงิ านฝ่ายวชิ าการโรงเรยี นวัดสงิ ห์ 10

บริการจกั รยานยนตร์ ับจ้าง เปน็ การปลูกฝงั นิสัยรกั การอ่านให้แกเ่ ด็ก และประชาชนในชมุ ชนทุกเพศ ทุกวัย เพ่อื
เพ่ิมพนู ความรู้ ข่าวสาร และทันตอ่ เหตุการณ์

งานแนะแนว
1. จัดองค์กรบริหารงานแนะแนวให้มีผรู้ บั ผิดชอบปฏิบตั ิงานดา้ นต่าง ๆ ทกี่ าหนดในขอบข่ายของการบริการ

แนะแนว
2. ดาเนินการในการคัดเลอื กนกั เรียนเพื่อรบั ทุนการศึกษา รางวลั การศึกษาตา่ ง ๆ และดาเนนิ การเกย่ี วกบั

กองทนุ อ่นื ๆ เพอื่ การศึกษา
3. ประสานงานใหก้ ับวทิ ยากรและสถาบันการศึกษาภายนอกเขา้ มาใหก้ ารแนะแนวการศึกษาและอาชีพ

รวมทั้งนักเรยี นกลุ่มทสี่ นใจไปศกึ ษาจากสถานศึกษา สถานประกอบการหรือสถานประกอบอาชีพอิสระภายนอก
4. จดั แผนงาน โครงการแนะแนว และการจดั ปฏิทินปฏิบัติงานประจาปี
5. ประสานงานการจดั สอนวดั ความรู้ความสามารถทางวิชาการกับสถาบันการทดสอบต่างๆ รวมทั้งดาเนนิ การ

เกยี่ วกับการสอบเขา้ ศกึ ษาต่อของนักเรียนช้นั ม.3 และ ม.6
6. จดั เก็บและรวมรวมสถิติขอ้ มูลด้านต่าง ๆ ตลอดจนปกี ารศึกษา และนาเสนอเปน็ เอกสารเผยแพรเ่ ม่ือสนิ้

ภาคเรยี น/ปี
7. การจัดกิจกรรมแนะแนว
7.1 การบรกิ ารแนะแนว
7.1.1 งานศกึ ษารวบรวมข้อมูล โดยศกึ ษา รวบรวม วิเคราะห์ สรุป และนาเสนอข้อมูลของผูเ้ รยี น
7.1.2 งานสารสนเทศ โดยจดั ศนู ย์สารสนเทศทางการแนะแนวในรปู ศนู ยก์ ารเรียนรูด้ ้วยตนเอง โดย

ครอบคลุมดา้ นการศึกษา อาชพี ชีวิต และสังคม
7.1.3 งานให้คาปรกึ ษา อบรมทักษะการใหค้ าปรึกษาเบื้องต้นแกค่ รูใหค้ าปรกึ ษาผู้เรยี นท้งั รายบุคคลและเป็น

กลุม่
7.1.4 งานกิจกรรมสง่ เสริม พัฒนา ชว่ ยเหลอื ผู้เรียน ศึกษารายกรณี (Case study) และจดั กลมุ่

ปรกึ ษาปญั หา (Case conference) ส่งตอ่ ผูเ้ ชย่ี วชาญ ในกรณที ่ผี ้เู รียนมปี ญั หายากแกก่ ารแกไ้ ข จัดกลุม่ พฒั นา
ผเู้ รยี นดว้ ยเทคนคิ ทางจติ วทิ ยา จัดบริการ สรา้ งเสริมประสบการณ์ รวมทง้ั ให้การสงเคราะห์ เพ่ือตอบสนองความ
ถนดั ความต้องการ และความสนใจของผู้เรยี น

7.1.5 งานตดิ ตามประเมนิ ผล ประเมนิ ผล/รายงานผลการดาเนนิ งานแนะแนว
7.2 การจดั กจิ กรรมแนะแนว

7.2.1 กจิ กรรมโฮมรูม
7.2.2 กิจกรรมคาบแนะแนว
7.2.3 การสอดแทรกกระบวนการแนะแนว

คมู่ ือปฏิบัติงานฝ่ายวิชาการโรงเรยี นวัดสิงห์ 11

งานโรงเรยี นเศรษฐกจิ พอเพยี ง
1. จัดทาแผนหรือโครงการสถานศกึ ษาเศรษฐกิจพอเพียง
2. จดั กิจกรรม ที่สาคญั ตามนโยบายของโครงการโรงเรียนเศรษฐกจิ พอเพยี ง
- สรา้ งนักเรียนให้รกั การเรยี นรตู้ ลอดชวี ติ คดิ วิเคราะหเ์ ป็น รจู้ กั ใช้เทคโนโลยี มีคณุ ธรรม
รักวฒั นธรรมไทย
- ปลกู ฝงั ให้ครไู ดม้ ีความรูด้ า้ น ICT และจัดการเรียนรูท้ เ่ี นน้ นกั เรยี นเปน็ สาคัญ
- จัดระบบการบรหิ ารแนวใหม่ ท่มี ุ่งพฒั นาโรงเรยี นทุก ๆ ด้าน ทั้งด้านวชิ าการกระบวนการเรยี นรู้

สู่ศตวรรษที่ 21
- นาเครอื ขา่ ยเทคโนโลยีสารสนเทศและการสอื่ สารมาเพิม่ ประสิทธิภาพการเรียนรู้
- รว่ มมอื กับครูผ้สู อนใหส้ อดแทรกหลักการตามโครงการโรงเรียนเศรษฐกจิ พอเพียง
- สรุปผลโครงการเมอ่ื สิ้นปีการศกึ ษา

งานประกนั คุณภาพการศึกษา
ตามทก่ี ระทรวงศึกษาธิการประกาศกฎกระทรวงวา่ ดว้ ยระบบ หลักเกณฑ์ และวิธีการประกนั คุณภาพการศกึ ษา

พ.ศ. 2553 ลงวนั ท่ี 11 มีนาคม พ.ศ. 2553 ท่ีกาหนดให้สถานศึกษาต้องพัฒนาระบบการประกนั คุณภาพภายในของ
สถานศกึ ษาดว้ ยการมสี ว่ นร่วมกับหนว่ ยงานทีเ่ กีย่ วข้อง และต้องมีการดาเนนิ งาน 8 ประการ โดยเร่มิ ตน้ ต้งั แต่ 1)
กาหนดมาตรฐานของสถานศึกษา 2) จดั ทาแผนพัฒนาการจดั การศกึ ษาที่มุง่ คุณภาพตามมาตรฐานการศกึ ษาของ
สถานศึกษา 3) จดั ระบบบริหารและสารสนเทศ 4) ดาเนินงานตามแผน 5) ติดตามตรวจสอบคุณภาพการศกึ ษา 6)
ประเมนิ คุณภาพภายใน 7 ) จดั ทารายงานประจาปเี สนอบุคคลและหน่วยงานท่เี กยี่ วขอ้ ง จนถงึ 8) มีการพัฒนา
คุณภาพการศึกษาอยา่ งต่อเน่ืองจนเปน็ วัฒนธรรมขององค์กรที่ยงั่ ยนื ในความรบั ผิดชอบของงานประกนั คุณภาพ
การศกึ ษาของโรงเรยี นนราสิกขาลยั มขี อบข่าย ภาระงานดังน้ี

1. กาหนดมาตรฐานของสถานศกึ ษา
1.1 จัดใหม้ ปี ระกาศแตง่ ตง้ั กรรมการพฒั นาระบบประกนั คุณภาพการศกึ ษา ซึ่งประกอบดว้ ย

คณะกรรมการสถานศึกษา ครูและบุคลากรในโรงเรยี น กรรมการนักเรียน เครือข่ายผ้ปู กครอง ชมุ ชน องค์กรภาครัฐ
1.2 นามาตรฐานการศึกษาของสานักงานคณะกรรมการการศกึ ษาข้นั พน้ื ฐานมาเป็นตน้ แบบ เพ่ือกาหนด

มาตรฐานการศึกษาของโรงเรียนจากผ้มู ีส่วนรว่ มตามประกาศข้อ 1.1
2. จดั ระบบบริหารและสารสนเทศ
2.1 กาหนดผ้รู ับผดิ ชอบมาตรฐานและตัวบ่งช้เี พื่อดาเนนิ การจัดทาสารสนเทศ
2.2 รว่ มมอื กับงานแผนงาน/สารสนเทศ เพ่ือวางแผนจัดทาแผนพัฒนาการศึกษาและแผนปฏบิ ัตกิ าร

ประจาปกี ารศกึ ษา
3. ดาเนนิ การตามแผน
3.1 ร่วมมือกบั งานแผนงาน/สารสนเทศ เพ่ือกากบั ติดตามการดาเนินงานตามแผนปฏิบัตกิ ารประจาปี

การศกึ ษา

ค่มู ือปฏิบตั ิงานฝา่ ยวชิ าการโรงเรยี นวัดสิงห์ 12

4. การติดตามตรวจสอบคณุ ภาพการศึกษาและการประเมนิ คุณภาพภายใน
4.1 ประชมุ คณะทางานเพ่ือวางแผนการประเมนิ คุณภาพภายใน
4.2 แตง่ ตงั้ กรรมการประเมนิ คณุ ภาพภายใน และดาเนินการประเมินคณุ ภาพภายในตามปฏิทินงาน

5. การจัดทารายงานประจาปเี สนอบคุ คลและหน่วยงานท่เี กย่ี วขอ้ ง
5.1 ประชุมสรปุ รายงานรับรองผลการประเมนิ คุณภาพภายในจากผมู้ ีสว่ นเก่ียวขอ้ ง
5.2 จัดทารายงานเสนอต่อผบู้ ริหารโรงเรียน คณะกรรมการสถานศกึ ษาข้นั พ้ืนฐาน หน่วยงานต้นสังกดั และ

เผยแพร่ทางเว็บไซตโ์ รงเรยี น
6. การพัฒนาคณุ ภาพการศกึ ษาอยา่ งตอ่ เนือ่ งจนเป็นวัฒนธรรมขององค์กรท่ยี ัง่ ยืน
6.1 นาผลการประเมินคุณภาพภายในมาวเิ คราะหส์ ภาพปญั หาจัดทาแผนปฏิบตั ิการประจาปขี องโรงเรยี น
6.2 ทบทวนคุณภาพตามตัวบ่งชี้และมาตรฐานเพอ่ื ปรบั ปรุงแก้ไข

งานวจิ ัยและพฒั นาการศึกษา
มีขอบขา่ ยงานดังน้ี
1. งานวจิ ัยในชนั้ เรียน มแี นวปฏิบัติ ดงั นี้
1.1 สง่ เสรมิ และสนับสนนุ การวจิ ยั และพัฒนาโรงเรยี น โดยเน้นการวจิ ัยทีเ่ ป็นความกา้ วหนา้ ทางวชิ าการ

และการพฒั นาองค์กรในลกั ษณะการวิจัยในช้ันเรยี น
1.2 สง่ เสรมิ และสนับสนนุ การนาผลการวิจยั ไปใช้
1.3 จัดอบรมเก่ยี วกบั การวจิ ัย และการพัฒนาบคุ ลากรในหนว่ ยงาน

2. งานเผยแพรง่ านวิจัย มแี นวปฏบิ ัติ ดงั น้ี
2.1 ส่งเสริมการเผยแพร่ความรเู้ กย่ี วกับการวจิ ยั ผลการวจิ ยั และพัฒนาสังคม
2.2 ประสานงานการวจิ ยั กับหน่วยงานต่างๆ ทัง้ ในโรงเรียน และนอกโรงเรยี น
2.3 เป็นแหลง่ กลางในการทาวิจยั และประสานงานแลกเปล่ียนเรยี นรู้ท้งั ในโรงเรียนและภายนอกโรงเรยี น
2.4 รวบรวมงานวจิ ัยในโรงเรียนใหเ้ ป็นระบบ ท้งั ในระดับบุคคล กลมุ่ สาระการเรียนร้แู ละระดับโรงเรียน

สอดคล้องกับมาตรฐานการศึกษาทว่ี า่ ด้วยเร่ืองการวจิ ัยในช้ันเรยี น
3. ประเมินผล สรปุ ผล/รายงานการดาเนินงานวจิ ยั และพฒั นาการศึกษาในโรงเรียนเสนอผบู้ ริหารโรงเรยี น
4. อ่นื ๆ ตามที่ไดร้ ับมอบหมาย

งานนเิ ทศและบรกิ ารทางการศึกษา
การนเิ ทศภายในสถานศึกษาจะเป็นกระบวนการทางานของผูบ้ รหิ ารสถานศึกษา (หรือผทู้ ่ีไดร้ ับมอบหมาย) ใน

การพฒั นาคุณภาพการทางานของครู และบุคลากรภายในสถานศกึ ษาเพ่ือให้ไดม้ าซ่งึ สมั ฤทธิผ์ ลสูงสดุ ในการเรยี น
ของผู้เรยี น

1. ขอบเขตการนเิ ทศงานวชิ าการ
งานวิชาการภายในโรงเรียนท่ีผู้บรหิ ารจะตอ้ งรบั ผิดชอบมี 2 ประเภท คอื

คู่มือปฏบิ ัติงานฝ่ายวชิ าการโรงเรยี นวดั สงิ ห์ 13

1.1 งานหลัก ไดแ้ ก่
1.1.1 หลักสตู รสถานศกึ ษา
– การปรบั ปรงุ หลกั สตู รให้สอดคล้องกับสภาพของท้องถน่ิ
– การสรา้ งหลกั สูตรเพื่อสนองความตอ้ งการของผู้เรียนท้องถน่ิ
– การจัดแผนการเรียนการสอน
– การจดั ทาโครงการสอน
– การจดั ตารางสอน
– การจดั ครูผูส้ อน
– การจดั ชัน้ เรียน (จดั นกั เรยี นเข้าแผนการเรียน)
– การจัดกิจกรรมในหลักสตู ร
- การผลติ ส่ือและอปุ กรณ์การสอน ฯลฯ
1.1.2 การเรยี นการสอน ได้แก่
– การพัฒนาเทคนคิ วิธกี ารสอน
– การพฒั นาเทคนคิ ในการจัดกิจกรรมการเรยี นการสอน
– การพัฒนาเทคนิคในการใช้สื่อและอุปกรณ์การสอน ฯลฯ
1.1.3 การวดั และประเมินผลการเรียนการสอน ไดแ้ ก่
– การสร้างข้อทดสอบ
– การวัดและประเมนิ ผล
– งานทะเบียนวดั ผลและรายงานความก้าวหนา้ ของนักเรยี น ฯลฯ

1.2 งานสนับสนุนวชิ าการ ได้แก่ งานเกยี่ วกับอาคารสถานที่ กิจการนักเรยี น ธุรการและการเงนิ และ
ความสัมพนั ธ์กับชมุ ชน ขอบเขตงานท่ีกลา่ วมาน้หี ากผูบ้ ริหารมคี วามมงุ่ หวังท่จี ะให้ไดผ้ ลงานของบุคลากรภายใต้การ
ควบคุมดูแลมีคุณภาพก็จาเป็นจะต้องพฒั นาบุคลากรเหลา่ นี้ ให้มคี วามรู้ ความสามารถในการปฏิบตั ิงานจงึ จะได้
ผลงานที่มีคุณภาพตามความมุง่ หวงั ท่ีตง้ั ไว้

2. วิธดี าเนินการ
ขั้นที่ 1 การวางแผนการนเิ ทศ
ข้ันท่ี 2 การให้ความรกู้ ่อนดาเนินการนิเทศ
ขน้ั ที่ 3 การดาเนินการปฏบิ ัติงานนเิ ทศ
ขัน้ ที่ 4 การสร้างเสรมิ กาลังใจแก่ผปู้ ฏิบัตงิ านนิเทศ
ขนั้ ที่ 5 การประเมนิ ผลการนิเทศ

คู่มอื ปฏบิ ตั ิงานฝ่ายวชิ าการโรงเรยี นวดั สงิ ห์ 14

แนวปฏบิ ัติเก่ียวกับงานวชิ าการ

1. การปฏบิ ัตกิ ารติดตามนกั เรยี นขาดเรยี น/ขาดเรยี นนาน
ถา้ นกั เรยี นขาดเรียนนานตดิ ต่อกันให้ถอื ปฏิบตั ิดงั นี้
1.1 การตดิ ตามนักเรียนท่ีขาดเรียน / ขาดเรยี นนานตดิ ตอ่ กัน เปน็ หนา้ ทโ่ี ดยตรงของครทู ี่ปรกึ ษา
1.2 ถ้านักเรยี นขาดเรียนนานติดต่อกนั 5 วันทาการ โดยไมท่ ราบสาเหตุให้ครทู ี่ปรึกษาดาเนนิ การติดตาม

โดยสอบถามจากนกั เรยี นใกล้เคยี ง ครู–อาจารยห์ รอื ผู้ปกครองแลว้ แต่กรณี แลว้ แจง้ ให้ฝ่ายกจิ การนักเรยี นทราบ
เพือ่ ดาเนนิ การ ตามระเบยี บต่อไป

1.3 ในกรณที ี่ครูทป่ี รึกษาไปพบผปู้ กครองหรือนักเรยี นแลว้ ได้สอบถามสาเหตแุ ละพิจารณาหาทางแก้ไข
หากไมส่ ามารถแก้ไขได้ ใหป้ ฏบิ ัติดงั นี้

- ถ้าเป็นนักเรียนที่กาลังเรยี นอยใู่ นชั้นมธั ยมศึกษาตอนตน้ ตอ้ งช้แี จงใหน้ ักเรยี นและผ้ปู กครอง
รบั ทราบถงึ ระเบียบกระทรวงศกึ ษาธิการ เรื่องการส่งเดก็ เข้าเรยี นในสถานศึกษาภาคบังคับ พรอ้ มกบั รายงานการ
ดาเนินงานใหฝ้ า่ ยบริหารรับทราบเพอ่ื จะได้ดาเนินการตามระเบียบต่อไป

- ถา้ เปน็ นักเรยี นท่ีกาลงั เรยี นอยูใ่ นชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย ให้ผ้ปู กครองมาลาออกใหถ้ ูกต้อง
1.4 ในกรณีท่ีครทู ปี่ รึกษา/ หัวหน้าระดบั ไปตามนกั เรยี นที่บา้ นแล้วไม่พบท้งั ผูป้ กครองและนักเรยี น ให้
งานทะเบียนนักเรยี นดาเนินงานดังน้ี

1.4.1 กรณีนักเรยี นที่เรยี นอยู่ในชน้ั มธั ยมศึกษาตอนต้น ให้ดาเนินการดงั น้ี
1.4.1.1 ฝ่ายกิจการนกั เรียนแจ้งข้อมลู ทีง่ านทะเบียนนักเรียน
1.4.1.2 งานทะเบียนนกั เรียนทาหนงั สอื ของโรงเรยี นถึงผ้ปู กครองนกั เรยี น ถ้ายังไม่ได้ตอบรบั

ให้ทาหนังสือแจ้งผู้นาชมุ ชน หรือองคก์ รปกครองส่วนทอ้ งถน่ิ และรายงานให้สานกั งานเขตพน้ื ทร่ี ับทราบ
1.4.2 กรณนี กั เรียนที่เรยี นอยู่ในชนั้ มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย ให้ดาเนนิ การดงั นี้
1.4.2.1 ฝา่ ยกิจการนกั เรียนแจง้ ขอ้ มลู ทงี่ านทะเบยี นนักเรยี น
1.4.2.2 งานทะเบียนนักเรียนทาหนังสือของโรงเรยี นถึงผู้ปกครองนักเรยี น ถ้ายงั ไม่ได้ตอบรบั

ให้
ทาหนังสือแจ้งผู้ปกครองอีกเปน็ ครงั้ ที่ 2 หากยังไม่ได้รบั คาตอบการติดตอ่ คร้งั ที่ 2 ภายใน 10 วัน งานทะเบยี น
นักเรียนขออนมุ ัตหิ ัวหน้าสถานศึกษาจัดทาบัญชแี ขวนลอยและจาหนา่ ยช่ือออกจากทะเบียนนักเรียนเพราะเหตุขาด
เรียนนานแล้วแจ้งให้ครผู ้สู อน และผเู้ กีย่ วข้องรบั ทราบ

1.4.2.3 งานทะเบียนทาหนังสอื แจง้ ผู้ปกครองนักเรียนทราบว่าโรงเรยี นได้จาหนา่ ยนักเรียนออก
แล้ว

2. แนวทางการปฏบิ ตั เิ ร่ืองการขาดเรยี นและขาดเรยี นนานของนกั เรียน มดี งั น้ี

ค่มู ือปฏบิ ัตงิ านฝา่ ยวิชาการโรงเรยี นวดั สิงห์ 15

2.1 ครทู ่ปี รึกษา / ครูประจาวชิ าสารวจการมาเรียนของนักเรียนท่ตี นรับผดิ ชอบทุกวนั และทกุ ชวั่ โมงท่ี
สอน

2.2 เมื่อพบวา่ มีนักเรียนขาดเรยี นบ่อยและขาดเรียนตดิ ต่อกันเป็นเวลาหลายวันต้องปฏิบตั ดิ ังน้ี
2.2.1 ถ้าเปน็ ครปู ระจาวชิ าทส่ี อนใหร้ ายงานนักเรยี นทข่ี าดเรียนนานและขาดเรียนบอ่ ยๆให้ครทู ่ี

ปรกึ ษารบั ทราบ และครูทป่ี รึกษาต้องตดิ ตามนกั เรยี นทขี่ าดเรยี นตามแนวปฏิบตั ิข้อ 1.2,1.3,1.4 แล้วแต่กรณี
2.2.2 ถ้าครูทป่ี รึกษาสารวจแล้วพบวา่ นกั เรียนในช้ันขาดเรียนบ่อยและขาดเรียนติดต่อกันเป็น

เวลานาน ใหป้ ฏบิ ัติตามแนวปฏิบตั ิขอ้ 1.2,1.3,1.4

3. นักเรยี นแขวนลอย
ความหมายของคา
“นกั เรียน” หมายความวา่ บุคคลทีก่ าลงั เรียนอยู่ในระดับมัธยมศกึ ษาของโรงเรียน
“นักเรยี นแขวนลอย” หมายความวา่ นักเรยี นท่ีมรี ายชอ่ื อยใู่ นบัญชีรายชือ่ นกั เรยี นในช้นั ต่าง ๆทีโ่ รงเรยี น

จัดทาข้นึ ตอนต้นปีการศกึ ษา หรือมชี ือ่ อยู่ในสมุดประเมนิ ผลรายวิชา และขาดเรียนนานโดยไมท่ ราบสาเหตุ ไมม่ ี
ตัวตน มไิ ดล้ าออกจากโรงเรียน และโรงเรยี นไม่สามารถจาหน่ายรายชอื่ ออกจากทะเบยี นนักเรยี นได้

ข้ันตอนการจัดทาบญั ชีรายช่ือนักเรียนแขวนลอย
3.1 เมอ่ื นกั เรยี นขาดเรียนตดิ ตอ่ กันเปน็ เวลา 5 วนั ทาการ โดยไมท่ ราบสาเหตุ ใหป้ ฏิบตั ิดังน้ี

3.1.1 ครทู ป่ี รกึ ษาบันทึกรายงานหัวหนา้ ระดบั ชัน้ เพอ่ื ติดตามนักเรียน และดาเนนิ การสืบหาข้อมลู
เบอ้ื งต้น

3.1.2 หวั หน้าระดบั ช้นั รายงาน รองผู้อานวยการสถานศึกษาฝา่ ยกิจการนกั เรยี น และนาเสนอข้อมูล
3.1.3 รองผอู้ านวยการสถานศกึ ษาฝา่ ยกจิ การนักเรียน และคณะกรรมการดาเนนิ การติดตาม
นักเรียนคร้งั ท่ี 1
3.2 เม่อื นกั เรียนขาดเรียนติดตอ่ กันเปน็ เวลา 10 วันทาการ โดยไมท่ ราบสาเหตุ ให้ปฏิบัตดิ ังน้ี
3.2.1 ครทู ี่ปรึกษารายงานหวั หนา้ ระดบั ชั้น เพอ่ื ลงบัญชรี ายชื่อนกั เรียนแขวนลอยและติดตาม
นกั เรียน
3.2.2 หวั หน้าระดับช้ันรายงาน รองผอู้ านวยการสถานศึกษาฝา่ ยกจิ การนักเรียน และนาเสนอข้อมูล
3.2.3 รองผู้อานวยการสถานศึกษาฝา่ ยกิจการนักเรยี น เสนอผ้อู านวยการสถานศึกษา เพอ่ื ขอ
อนุมตั ิลงบัญชรี ายช่ือนักเรยี นแขวนลอย พร้อมเหตุผล
3.2.4 ผอู้ านวยการสถานศึกษา อนมุ ตั ิ หรอื พิจารณาสัง่ การ
3.2.5 นายทะเบียน จัดทาบัญชรี ายช่อื นักเรยี นแขวนลอย

คมู่ อื ปฏิบตั ิงานฝ่ายวิชาการโรงเรยี นวดั สงิ ห์ 16

บทบาทหน้าท่ี
ข้อ 3.3 อาจารยท์ ป่ี รึกษา มีหนา้ ทด่ี ังนี้

3.3.1 สารวจและติดตามนกั เรยี นที่ขาดเรียนติดต่อกัน 5 วนั ทาการ และเสนอชอื่ นักเรียนต่อ
หัวหน้าระดับ / ฝ่ายปกครองเพอื่ ตดิ ตามนักเรยี น

3.3.2 สารวจและติดตามนกั เรยี นที่ขาดเรียนติดต่อกนั 10 วันทาการ และเสนอชื่อนกั เรียนต่อ
หวั หน้าระดบั /ฝา่ ยปกครอง เพื่อลงบัญชีรายช่ือนักเรยี นแขวนลอย และติดตามนักเรียน

ขอ้ 3.4 หวั หนา้ ระดบั /ฝ่ายปกครอง มีหน้าที่ดงั น้ี 6.1 ตดิ ตามนักเรียนท่ีขาดเรยี นตดิ ต่อกัน 5 วันทาการ
6.2 เสนอชื่อนักเรียนท่ีขาดเรียนตดิ ตอ่ กัน 10 วนั ทาการ เพื่อลงบัญชีรายช่ือนักเรียน แขวนลอย และตดิ ตาม
นักเรยี น 6.3 เม่ือผบู้ รหิ ารสถานศึกษา อนมุ ตั ลิ งบัญชีรายชือ่ นักเรยี นแขวนลอยแลว้ ให้แจ้งนาย ทะเบียนเพ่ือลงบัญชี
รายช่อื นักเรียนแขวนลอย

ข้อ 3.5 ผบู้ รหิ ารสถานศึกษา มีหนา้ ที่ดงั นี้
3.5.1 ตรวจสอบขอ้ มูล
3.5.2 พจิ ารณาสัง่ การอนมุ ัติใหล้ งบัญชรี ายชือ่ นกั เรียนแขวนลอย หรอื สงั่ การอ่นื ใดตามที่

เหน็ สมควร
ข้อ 3.6 นายทะเบียน มหี นา้ ท่ีดงั นี้
3.6.1 รับทราบคาสั่งจากผ้บู ริหารสถานศึกษา
3.6.2 จัดทาทะเบียนรายช่อื นกั เรียนแขวนลอย
การยกเลกิ รายชื่อนกั เรียนแขวนลอย
3.7 กรณีที่นักเรยี นมชี ่อื อยู่ในบญั ชรี ายช่ือนกั เรยี นแขวนลอย กลบั มารายงานตัวเพอ่ื เข้าเรยี นตามปกติ

ให้ปฏิบตั ิดังน้ี
3.7.1 ครทู ่ปี รึกษารายงานหัวหน้าระดบั ชน้ั เพ่ือขอยกเลกิ รายชอ่ื นกั เรยี นแขวนลอย
3.7.2 หวั หนา้ ระดับชน้ั รายงานรองผูอ้ านวยการสถานศึกษาฝ่ายกิจการนักเรียน
3.7.3 รองผอู้ านวยการสถานศึกษา ฝา่ ยกจิ การนักเรยี น รายงานผอู้ านวยการสถานศึกษา
3.7.4 อานวยการสถานศกึ ษา อนุมัตใิ หย้ กเลิกรายชือ่ นักเรียนแขวนลอย คนนัน้
3.7.5 นายทะเบยี นลงบญั ชยี กเลิกรายช่อื นักเรยี นแขวนลอย คนนนั้

3.8 ข้อมลู นักเรยี นทม่ี ีอยู่จรงิ ในปจั จบุ นั ของโรงเรยี น
ฐานขอ้ มลู นกั เรียนของโรงเรียน มาจากทะเบียนนกั เรยี น ในชว่ งตอนตน้ ปกี ารศึกษา สามารถแบ่ง

ออกไดส้ องกลุ่ม ดังนี้
3.8.1 ข้อมลู นักเรียนทีย่ งั ไมส่ ามารถจาหนา่ ยออกจากทะเบียนนกั เรียนได้ เช่น นกั เรยี นทเี่ รยี นครบ

หลักสตู ร แต่ไมจ่ บหลกั สตู รได้ตามกาหนด นักเรยี นที่ขาดเรยี นไปโดยไม่ไดล้ าออก
3.8.2 ขอ้ มลู นกั เรียนท่มี ีรายช่ืออยใู่ นบญั ชรี ายชอ่ื นักเรียนชั้นตา่ งๆ (หอ้ งตา่ งๆ ) ทีโ่ รงเรียนจดั ทาขนึ้

ตอนตน้ ปกี ารศกึ ษา

คูม่ ือปฏบิ ตั ิงานฝา่ ยวิชาการโรงเรยี นวดั สิงห์ 17

3.8.3 ในระหวา่ งปีการศึกษา จะมีนักเรยี นเขา้ – ออก ระหวา่ งปีการศกึ ษา แบ่งออกได้ 3 กลุม่
ดังน้ี

3.8.3.1 นักเรียนเขา้ ใหม่ ระหวา่ งปีการศึกษา
3.8.3.2 นักเรียนที่ออกกลางคัน ระหว่างปกี ารศึกษา
3.8.3.3 นักเรยี นทอี่ ยู่ในบัญชีรายช่อื นกั เรียนแขวนลอย
3.8.4 การรายงานข้อมลู จานวนนักเรยี นท่ีมอี ยูจ่ ริงในปัจจุบันของโรงเรียน ต้องพจิ ารณาจากข้อมลู
จานวนนักเรยี นทม่ี ีรายชอื่ ในบญั ชีนักเรียนประจาช้ัน ทีโ่ รงเรียนจัดทาขึน้ ตอนตน้ ปีการศึกษา บวกเพ่ิมด้วยจานวน
นักเรียนทเี่ ข้าใหม่ระหว่างปกี ารศึกษา ลบออกดว้ ยจานวนนักเรียนท่ลี าออกกลางคนั ระหวา่ งปกี ารศึกษา และลบ
ออกด้วยจานวนนักเรยี นทม่ี ชี ่ืออยใู่ นบัญชีรายชอ่ื นกั เรยี นแขวนลอย

4. แนวปฏบิ ตั ิในการแก้ “0”
ในการแก้ “0” มีแนวปฏบิ ัติดังน้ี
4.1 ใหน้ กั เรยี นแก้ตวั ไดไ้ ม่เกนิ 2 ครัง้ และก่อนแก้ตวั ทุกคร้ังนักเรียนต้องยืน่ คาร้องขอสอบแก้ตวั ท่ีฝ่าย

วิชาการกอ่ น
4.2 การดาเนินการสอบแกต้ วั เป็นหน้าทโี่ ดยตรงของครผู ้สู อน เมื่อมนี ักเรยี นติด “0” ในรายวชิ าที่

รบั ผดิ ชอบตอ้ งดาเนินการแก้ “0” ให้เสร็จส้ินภายในภาคเรยี นถดั ไป ถา้ ไม่สามารถดาเนนิ การใหแ้ ล้วเสร็จตาม
กาหนด ให้รายงานฝา่ ยวิชาการรับทราบ ถา้ ไม่ดาเนนิ การใดๆ ถอื วา่ บกพรอ่ งตอ่ หน้าทีร่ าชการ

4.3 ครูผสู้ อนตอ้ งจัดสอนซ่อมเสรมิ ใหน้ กั เรียนก่อนสอบแกต้ ัวทกุ ครงั้
4.4 ช่วงเวลาของการสอบแก้ตัวใหเ้ ปน็ ไปตามกาหนดปฏทิ ินปฏบิ ัตงิ านฝา่ ยวชิ าการ
4.5 ถา้ นกั เรยี นไม่มาสอบแกต้ ัวตามระยะเวลาที่กาหนดถือว่าได้ผลการเรยี น “0” ตามเดิม และมีสทิ ธิ
สอบแก้ตวั ได้ 2 ครง้ั ถา้ นักเรียนสอบแกต้ ัวคร้ังท่ี 2 แลว้ ยังไมผ่ า่ นให้ปฏบิ ัติตามแนวปฏบิ ัตกิ ารเรยี นซา้
4.6 ครทู ่ปี รึกษาเปน็ ผ้มู หี น้าที่ตดิ ตามผลการเรียนของนักเรียนที่อย่ใู นความรบั ผดิ ชอบทุกรายวชิ า พรอ้ ม
ทง้ั กวดขนั ใหน้ ักเรยี นมาดาเนินการแก้ “0” ตามกาหนดเวลา
4.7 การให้นักเรยี นสอบแก้ตวั ครผู ู้สอนควรดาเนินการดังน้ี

4.7.1 ตรวจสอบดวู า่ นกั เรียนติด “0” เนื่องจากไม่ผ่านจุดประสงค์ใดหรือตวั ชี้วดั ใด
4.7.2 ดาเนินการสอนซ่อมเสริมในจุดประสงค์/ตัวช้วี ัดทีน่ กั เรียนสอบไมผ่ ่าน
4.7.3 การดาเนินการสอบแก้ตัว คาวา่ “สอบแกต้ วั ”ไม่ได้หมายความว่าจะต้องทดสอบด้วยขอ้ สอบท่ี
เปน็ ข้อเขียนเท่านนั้ นกั เรยี นจะสอบแก้ตัวอยา่ งไรน้นั ต้องดูวา่ ในจดุ ประสงค์น้นั นักเรียนไมผ่ า่ นตรงสว่ นใด เชน่ ใน
ส่วน K, P, A กใ็ ห้ซ่อมตรงคะแนนในสว่ นนน้ั
4.8 ขั้นตอนและแนวปฏิบตั ใิ นการแก้ “0” ของนักเรยี น
4.8.1 ฝ่ายวชิ าการโดยงานวดั ผลสารวจนกั เรยี นทมี่ ีผลการเรียน “0” และกาหนดวัน เวลา สอบแก้
ตัวตามปฏิทินการปฏิบัติงานของฝา่ ยวชิ าการ
4.8.2 แจง้ ให้นักเรียนที่มผี ลการเรียน “0” ได้รบั ทราบ

คู่มือปฏบิ ัติงานฝา่ ยวิชาการโรงเรยี นวัดสิงห์ 18

4.8.3 ฝ่ายวชิ าการแจง้ ครูที่ปรกึ ษารบั ทราบเพื่อชว่ ยดแู ลและติดตามนักเรยี นมาดาเนนิ การแก้ “0”
4.8.4 นักเรยี นทตี่ ดิ “0” มาย่ืนคารอ้ งขอแก้ “0” ทฝี่ ่ายวิชาการ และฝา่ ยวิชาการแจ้งให้ครปู ระจา
วิชารับทราบ พรอ้ มกบั ใบคาร้องขอสอบแกต้ วั ของนักเรียน
4.8.5 ครปู ระจาวชิ าดาเนนิ การสอนซอ่ มเสรมิ และใหน้ กั เรียนสอบแกต้ วั
4.8.6 ครปู ระจาวิชานาผลการสอบแกต้ วั ของนักเรยี นมารายงานใหฝ้ า่ ยวชิ าการรบั ทราบ
4.8.7 ฝา่ ยวชิ าการแจ้งผลการสอบแก้ตวั ให้นักเรยี นและครูท่ีปรกึ ษารับทราบ
4.9 ระดบั ผลการเรยี นหลังจากนักเรยี นทาการสอบแก้ตวั แลว้ อยทู่ ่ี “ 0 ” หรือ “ 1 ” เท่านน้ั ระดบั ผล
การเรียนหลงั สอบแก้ตัวถ้านักเรยี นยงั ได้ “ 0 ” อยู่ ใหน้ กั เรียนผ้นู นั้ เรียนซา้ ใหม่หมดทั้งรายวชิ า

5. แนวปฏบิ ตั ิในการแก้ “ร”
ในการแก้ “ร” มีแนวปฏิบตั ดิ งั น้ี
5.1 การดาเนนิ การแก้ “ร” เปน็ หน้าทีโ่ ดยตรงของครูผสู้ อน เมื่อมนี ักเรียนติด “ร” ในรายวิชาท่ี

รับผิดชอบต้องดาเนินการแก้ “ร” ให้เสรจ็ สนิ้ ภายในภาคเรียนถัดไป ถ้าไม่สามารถดาเนนิ การใหแ้ ล้วเสรจ็ ตาม
กาหนด ใหร้ ายงานฝ่ายวิชาการรับทราบ ถ้าไม่ดาเนนิ การใดๆ ถอื ว่าบกพรอ่ งต่อหน้าที่ราชการ

5.2 การแก้ไขผลการเรยี น “ร” แยกออกเป็น 2 กรณคี ือ
5.2.1 ไดร้ ะดับผลการเรยี น “0 – 4” ในกรณีที่เนื่องมาจากเหตสุ ดุ วิสัย เชน่ เจ็บป่วย หรอื เกดิ

อุบตั เิ หตุ ไมส่ ามารถมาเขา้ สอบได้
5.2.2 ไดร้ ะดับผลการเรยี น “0 – 1” ในกรณีท่ีสถานศึกษาได้พิจารณาแลว้ เหน็ ว่าไม่ใช่เหตสุ ดุ วสิ ัย

เช่น มี เจตนาหลบการสอบเพ่ือหวงั ผลบางอยา่ ง หรอื ไม่สนใจทางานท่ีไดร้ บั มอบหมายให้ทาเปน็ ต้น
5.3 การแก้ “ ร ” ต้องดาเนนิ การให้แลว้ เสร็จภายในภาคเรียนถดั ไป ถา้ นักเรยี นที่มผี ลการเรียน “ ร ”

ไมม่ าดาเนินการแก้ “ร” ใหเ้ สรจ็ สิน้ ตามกาหนดเวลา นักเรียนผนู้ ัน้ ต้องเรียนซา้ ท้ังรายวชิ าหรอื เปลย่ี นรายวชิ าใหม่
ในกรณที ีเ่ ป็นรายวชิ าเพิม่ เติม

5.4 ถ้าหากนักเรียนท่ีมผี ลการเรียน “ ร ” ผนู้ ้ันไม่สามารถมาทาการแก้ “ ร ” ตามกาหนดเวลาได้
เน่ืองจากเหตสุ ดุ วสิ ยั ให้อยใู่ นดลุ พนิ ิจของหัวหนา้ สถานศึกษาจะขยายเวลาการแก้ “ ร ” ออกไปอีก 1 ภาคเรยี นแต่
ถา้ พน้ กาหนดแล้ว นกั เรยี นยงั ไมม่ าดาเนนิ การแก้ “ ร ” ให้นักเรยี นผนู้ ้นั เรยี นซา้ ใหม่หมดทง้ั รายวชิ า

5.5 ขนั้ ตอนและแนวปฏบิ ัติในการแก้ “ ร ” ของนักเรยี น
5.5.1 ฝา่ ยวิชาการโดยงานวัดผลสารวจนักเรียนทมี่ ผี ลการเรียน “ ร ” และแจ้งใหน้ ักเรียนรบั ทราบ
5.5.2 ฝ่ายวิชาการแจง้ ครทู ีป่ รกึ ษารบั ทราบเพ่ือช่วยดแู ลและตดิ ตามนักเรยี นมาดาเนนิ การแก้ “ ร ”
5.5.3 นักเรยี นทตี่ ดิ “ ร ” มายื่นคารอ้ งขอแก้ “ ร ” ที่ฝา่ ยวชิ าการ และฝ่ายวิชาการแจง้ ใหค้ รู

ประจาวชิ ารับทราบ
5.5.4 ครปู ระจาวิชาดาเนินการ แก้ “ ร ” ให้กับนักเรียน
5.5.5 ครูประจาวิชานาผลการแก้ “ ร ” ของนกั เรยี นมารายงานใหฝ้ ่ายวชิ าการรับทราบ
5.5.6 ฝา่ ยวิชาการแจ้งผลการแก้ “ ร ” ให้นักเรียนและครูทป่ี รึกษารับทราบ

ค่มู ือปฏิบตั ิงานฝ่ายวิชาการโรงเรยี นวดั สงิ ห์ 19

6. แนวปฏิบัติในการแก้ “ มส. ”
ในการแก้ “มส.” มแี นวปฏิบัติดงั ตอ่ ไปน้ี
6.1 ครูผู้สอนได้พิจารณาสาเหตุทน่ี กั เรยี นได้ผลการเรียน “มส.” ซง่ึ มอี ยู่ 2 กรณคี ือ
6.1.1 นกั เรยี นมีเวลาเรียนไม่ถึง 60 % ไม่มีสทิ ธยิ ืน่ คาร้องขอมีสทิ ธส์ิ อบ ต้องเรยี นซ้าใหมห่ มด
6.1.2 นกั เรียนมีเวลาเรยี นไม่ถงึ 80 % แตไ่ มน่ อ้ ยกวา่ 60 %
6.1.2.1 ใหน้ กั เรยี นยน่ื คาร้องขอแก้ผลการเรยี น “มส.” จากครผู ูส้ อน
6.1.2.2 ครผู สู้ อนตอ้ งจัดใหน้ กั เรยี นเรียนเพิม่ เติมเพื่อให้เวลาครบตามรายวชิ านัน้ ๆ โดยอาจ

ใช้ชว่ั โมงวา่ ง / วันหยดุ
6.1.2.3 เม่อื นักเรียนมาดาเนินการแก้ “มส.” ตามข้อ 2 แล้วจะไดร้ ะดบั ผลการเรยี น 0 – 1
6.1.2.4 ถ้านักเรยี นไมม่ าแก้ “มส.” ให้เสร็จตามระยะเวลาที่กาหนดใหน้ ักเรียนผู้น้นั ต้องเรียน

ซา้
6.1.2.5 ถา้ มเี หตสุ ดุ วิสยั ไมส่ ามารถมาแก้ “มส.” ได้ ใหอ้ ยูใ่ นดลุ พนิ ิจของหวั หน้าสถานศึกษาท่ี

จะขยายเวลามาแก้ “มส.” ออกไปอีก 1 ภาคเรยี น เม่อื พ้นกาหนดน้ีแล้วให้นกั เรียนผนู้ ัน้ เรียนซา้ หรอื ให้เปลย่ี น
รายวิชาใหม่ไดใ้ นกรณที ่เี ปน็ รายวชิ าเพิ่มเติม

6.2 ขน้ั ตอนและแนวปฏบิ ตั ิในการแก้ “มส.” ของนักเรียน
6.2.1 ครูประจาวชิ าแจง้ ผล “มส. “ ของนักเรยี นทฝ่ี า่ ยวชิ าการ
6.2.2 ฝ่ายวิชาการโดยงานวดั ผลแจ้งนกั เรยี นทีม่ ีผลการเรยี น “มส.” รบั ทราบ
6.2.3 ฝา่ ยวชิ าการแจง้ ครูที่ปรึกษารบั ทราบเพ่ือช่วยดแู ลและติดตามนักเรียนมาดาเนนิ การแก้

“มส.”
6.2.4 นกั เรยี นท่ีตดิ “มส.” นาผู้ปกครองมาย่ืนคารอ้ งขอแก้ “มส.” ที่ฝา่ ยวชิ าการ ฝ่ายวชิ าการแจ้ง

ใหค้ รูประจาวชิ ารบั ทราบ เพ่ือดาเนนิ การแก้ “มส.”ของนักเรียนตามแนวปฏบิ ัตกิ ารแก้ “มส.” ของนักเรียน ครู
ประจาวชิ า
นาผลการแก้ “มส.” ของนักเรียนมารายงานให้ฝ่ายวิชาการรบั ทราบ ฝ่ายวชิ าการแจ้งผลการแก้ “มส.” ใหน้ ักเรียน
และครูที่ปรึกษารบั ทราบ

7. แนวปฏบิ ัติในการเรยี นซ้า
ในการจดั ให้นักเรยี น “ เรียนซา้ ” มีแนวปฏิบตั ิดังน้ี
7.1 ใหค้ รูผ้สู อนเดมิ ในรายวิชานั้นเปน็ ผูร้ บั ผิดชอบสอนซา้
7.2 การดาเนนิ การ “เรียนซา้ ” เป็นหนา้ ทีโ่ ดยตรงของครูผู้สอน เมื่อมีนกั เรยี น“เรยี นซา้ ” ในรายวิชาท่ี

รับผดิ ชอบต้องดาเนินการ “เรียนซา้ ” ใหเ้ สรจ็ ส้ินภายในภาคเรยี นถัดไป ถา้ ไม่สามารถดาเนินการให้แลว้ เสรจ็ ตาม
กาหนด ให้รายงานฝ่ายวชิ าการรบั ทราบ ถ้าไม่ดาเนินการใดๆ ถือวา่ บกพร่องต่อหน้าทีร่ าชการ

คู่มือปฏิบัติงานฝ่ายวชิ าการโรงเรยี นวดั สงิ ห์ 20

7.3 ครูผู้สอนและนักเรียนกาหนดจัดตารางเรียนรว่ มกันให้จานวนชว่ั โมงครบตามระดบั ช้ัน และครบตาม
หนว่ ยการเรยี นของรายวชิ าน้ัน ๆ ครผู สู้ อนอาจมอบหมายงานให้ในช่วั โมงท่กี าหนด จะสอนหรือมอบหมายงานให้
ทา จะมากหรอื น้อยต้องพจิ ารณาตามความสามารถของนักเรยี นเป็นรายบคุ คล

7.4 สาหรับช่วงเวลาท่จี ัดใหเ้ รียนซา้ อาจทาไดด้ ังนี้
7.4.1 ชว่ั โมงว่าง
7.4.2 ใช้เวลาหลังเลกิ เรยี น
7.4.3 วันหยดุ ราชการ
7.4.4 สอนเปน็ คร้ังคราวแลว้ มอบหมายงานให้ทา

7.5 การประเมนิ ผลการเรยี นให้ดาเนินการตามระเบียบการประเมนิ ผลทุกประการ
7.6 ครูผสู้ อนส่งผลการเรียนซ้าพร้อมกบั การประเมนิ ผลปลายภาคเรยี นให้ฝา่ ยวชิ าการ
7.7 ข้ันตอนและแนวปฏบิ ตั ใิ นการ “เรยี นซา้ ” ของนักเรียน

7.7.1 ฝา่ ยวิชาการโดยงานวัดผลสารวจและแจ้งนักเรียนที่ต้อง “เรยี นซา้ ” รับทราบ
7.7.2 ฝา่ ยวชิ าการแจ้งครทู ่ปี รกึ ษารับทราบเพื่อชว่ ยดูแลและตดิ ตามนักเรยี นมาดาเนินการ “เรยี น
ซา้ ”
7.7.3 นักเรยี น “เรียนซา้ ” มายน่ื คารอ้ งขอ “เรยี นซา้ ” ทีฝ่ า่ ยวิชาการ
7.7.4 ฝ่ายวชิ าการแจ้งให้ครปู ระจาวิชารับทราบ เพ่ือดาเนนิ การ “เรยี นซา้ ” ของนักเรียน ตาม
แนวฏิบตั ิ
7.7.5 ครูประจาวิชานาผลการประเมินการ “เรียนซา้ ”ของนักเรียนรายงานใหฝ้ ่ายวชิ าการรบั ทราบ
7.7.6 ฝ่ายวชิ าการแจ้งผลการ“เรียนซา้ ”ใหน้ กั เรียนและครูท่ีปรกึ ษารบั ทราบ

8. แนวปฏิบัติการจัดสอนแทน
8.1 ทุกคร้ังที่มีครูในกลมุ่ สาระการเรยี นรู้ ตดิ ราชการ / ขาด / ลา ฯลฯ ไม่สามารถมาปฏิบัตริ าชการได้

ให้หวั หน้ากล่มุ สาระ หรอื ผทู้ ี่ได้รบั มอบหมาย จัดใหม้ กี ารสอนแทนในชั่วโมงนนั้ ๆ ถ้าจัดไม่ไดใ้ หแ้ จ้งฝา่ ยวชิ าการ
8.2 บนั ทึกการจัดสอนแทนในเอกสารท่ีฝา่ ยวชิ าการแจกให้ทุกครงั้
8.3 หัวหนา้ กลมุ่ สาระ หรอื ผู้ท่ีได้รบั มอบหมายสง่ บนั ทึกการจดั สอนแทนทุกวันศุกร์
8.4 หวั หน้ากลมุ่ สาระรวบรวมการสอนแทนเม่ือสิน้ ภาคเรยี นทกุ ภาคเรยี น สง่ ฝา่ ยวชิ าการ

คู่มือปฏบิ ตั งิ านฝ่ายวชิ าการโรงเรยี นวัดสิงห์ 21

หมายเหตุ
เมื่อครูท่านใดมีธรุ ะจาเป็นทีจ่ ะต้องลากจิ หรือ ไปราชการ จะตอ้ งทาการแลกชัว่ โมงสอน หรือ

จัดเตรียมเอกสาร เชน่ ใบงาน ใบความรู้ หรือ มอบหมายงานใหน้ ักเรยี นทาในชว่ งเวลาดงั กลา่ ว แลว้ มอบให้หัวหนา้
กลมุ่ สาระเพื่อให้ผ้ทู ่ีทาการสอนแทนจะได้ทาการสอนต่อไป

9. แนวปฏบิ ัติการส่งแผนการจดั การเรยี นรู้
ครูทุกคนจะต้องมแี ผนการจัดการเรยี นรู้ ก่อนนาไปจดั กจิ กรรมการเรยี นร้ใู ห้กับนกั เรียน และมีแนวปฏบิ ตั ิ

ดงั น้ี
9.1 ให้ครูทกุ คนจัดทาแผนการจดั การเรียนรู้ มีการวิเคราะหม์ าตรฐานการเรียนร้/ู ตัวช้ีวดั เพื่อกาหนด

ขอบข่ายสาระทีจ่ ะใช้ในการจัดการเรียนการสอน มีการจดั ทาโครงสรา้ งรายวิชาและแผนการประเมินให้ครบถ้วน ใน
การจัดทาแผนการจดั การเรยี นร้ใู หม้ อี งคป์ ระกอบของแผนครบถว้ น โดยยึดรูปแบบทฝ่ี ่ายบริหารวิชาการกาหนดให้

องคป์ ระกอบของแผนการจัดการเรียนรู้ ประกอบดว้ ย
1. รายละเอียดของแผนการจัดการเรียนรูแ้ ละหนว่ ยการเรียนรู้
2. สาระสาคัญ/ความคิดรวบยอด
3. ตัวช้วี ัด/จดุ ประสงค์การเรียนรู้
4. สาระการเรยี นรู้
4.1 สาระการเรยี นรู้แกนกลาง
4.2 สาระการเรียนรู้ท้องถิ่น (ถ้ามี)
5. สมรรถนะผู้เรยี น (เฉพาะหัวขอ้ ทีต่ ้องการประเมนิ ผู้เรยี น)
6. คณุ ลกั ษณะอนั พึงประสงค์ (เฉพาะหวั ขอ้ ทต่ี ้องการประเมินผเู้ รยี น)
7. กิจกรรมการเรียนรู้
8. การวดั และการประเมนิ ผล
9. สอื่ /แหล่งเรยี นรู้
หมายเหตุ อาจมีการเพ่ิมเติมรายละเอยี ดได้ตามความเหมาะสมและธรรมชาตขิ องวิชาทจ่ี ัด

กิจกรรม
9.2 ใหค้ ุณครบู นั ทกึ รายงานการจดั ทาแผนการจดั การเรียนรู้ เสนอฝ่ายบริหารวชิ าการและหัวหนา้

สถานศึกษา เพื่อให้ความเห็นชอบก่อนนาแผนไปใช้จดั กจิ กรรมใหก้ ับนักเรยี น
9.3 การจัดสง่ แผนการจดั การเรยี นรู้ของครู ให้จัดสง่ ท่ีหวั หนา้ กล่มุ สาระการเรียนรู้ก่อนนาไปใช้จัด

กจิ กรรม 2 สัปดาห์ โดยใหส้ ง่ อย่างน้อยเดอื นละ 2 คร้งั และใหห้ ัวหน้ากลุ่มสาระการเรยี นรเู้ ปน็ ผู้รวบรวม ตรวจสอบ
และรายงานฝ่ายบริหารวิชาการทราบทกุ วันศุกร์ หากไม่รายงานถอื วา่ บกพร่องต่อหนา้ ที่

9.4 หลงั การจดั กจิ กรรมการเรยี นการสอนในแตล่ ะวัน ให้ครทู กุ คนท่ีมคี าบสอนสง่ บันทึกหลงั สอนทกุ
คร้งั ที่ฝ่ายบริหารวชิ าการ ในคาบสดุ ทา้ ยก่อนเลกิ เรียน

ค่มู ือปฏิบตั ิงานฝ่ายวชิ าการโรงเรยี นวัดสงิ ห์ 22

9.5 หลังจากจัดการเรียนรู้จนครบหนว่ ยการเรียนรู้ ให้มีการวัดและประเมนิ ผลผเู้ รยี นใหเ้ สรจ็ ส้ิน โดย
แจง้ ขอ้ มูลนกั เรียนผ่านเกณฑ์การประเมนิ และไม่ผ่านเกณฑ์ ในกรณีที่นักเรียนไม่ผ่านเกณฑ์ใหท้ าการซอ่ นเสรมิ และ
หาวธิ ชี ว่ ยเหลอื ดาเนินการประเมนิ ผลจนกระทง่ั นักเรียนผา่ นเกณฑ์การประเมนิ ทั้งหมดในหนว่ ยนน้ั ๆ ก่อนจะไป
สอนในหน่วยการเรยี นรู้ถัดไป

10. แนวปฏิบตั ใิ นการเขา้ หอ้ งเรยี นและออกจากห้องเรียนของครูผ้สู อน
ในการเขา้ ใช้ห้องเรียนของครซู ึง่ เปน็ ห้องเรยี นที่ต้องใช้ร่วมกันจงึ จาเปน็ ตอ้ งช่วยกนั รกั ษาความสะอาด

และความเป็นระเบียบวินัย และจะต้องรับผิดชอบรว่ มกนั โดยมขี ้อปฏบิ ัตดิ ังนี้
10.1 ให้คุณครูเข้าหอ้ งเรยี นทีร่ บั ผิดชอบสอนตามตารางสอนทีท่ างฝ่ายบริหารวิชาการจดั ให้ ใหต้ รงเวลา

และสอนให้เต็มเวลาทก่ี าหนด
10.2 หากมีความจาเป็นตอ้ งเปลย่ี นแปลงการใช้หอ้ งเรยี น ในการจดั กิจกรรมใหแ้ จง้ ใหผ้ ู้ท่ีรับผิดชอบห้อง

นั้น ๆ ทราบล่วงหนา้ และมีการลงบนั ทกึ การใช้หอ้ งให้เรยี บรอ้ ย เช่น หอ้ งสมุด หอ้ งปฏบิ ัตกิ ารตา่ ง ๆ เปน็ ตน้
10.3 ให้คุณครเู ข้าสอนใหต้ รงเวลาตามตารางสอนกาหนด หากติดราชการ / ขาด / ลา ฯลฯ ให้

มอบหมายใหม้ ีผูส้ อนแทน การมอบหมายงานใหเ้ ด็กปฏบิ ตั ิเพยี งลาพังโดยไม่มีครคู วบคุมเป็นสิง่ ไม่ควรกระทา
เนื่องจากเป็นละทิ้ง/ทอดทิ้งหนา้ ทีใ่ นการสอน ซึง่ มีความผดิ ชัดเจน

10.4 การจัดการเรียนรคู้ วรจดั สภาพแวดล้อมและสร้างบรรยากาศท่ีเออื้ ตอ่ การเรียนรู้ กระตนุ้ ให้นักเรยี น
ไดม้ ีส่วนรว่ มในการคิดและลงมือปฏบิ ัติ ใช้สอ่ื การเรยี นท่ีหลากหลายทันสมยั มีการวัดและประเมนิ ผลทห่ี ลากหลาย
เนน้ ทีพ่ ฒั นาการของผู้เรยี น และความแตกตา่ งระหวา่ งบุคคล

10.5 กอ่ นหมดเวลาเรียน ให้นกั เรยี นได้จดั โต๊ะ-เก้าอใี้ ห้อยใู่ นสภาพท่ีเรียบร้อย จัดเกบ็ ส่ิงของเขา้ ท่ใี ห้
เรียบรอ้ ยและเกบ็ กวาดห้องเรียนให้สะอาด ทง้ิ ขยะ สารวจความเรยี บร้อยกอ่ นออกจากห้อง เชน่ ไฟฟ้าและพัดลม
ตลอดจนโสตทัศนูปกรณต์ า่ ง ๆ ให้เรียบรอ้ ย

10.6 ออกจากห้องเรียนเมอื่ หมดเวลาและมีเสยี งสัญญาณดงั
หมายเหตุ หากห้องเรียนสกปรก ไม่มีความเปน็ ระเบยี บเรยี บรอ้ ย และไม่พรอ้ มให้นกั เรียนเข้าไปใช้

บรกิ าร ให้รายงานเป็นลายลกั ษณอ์ ักษรให้ฝ่ายบรหิ ารวิชาการทราบทนั ที และครูท่ีใช้ห้องเรยี นกอ่ นคาบน้นั จะต้อง
รบั ผิดชอบ เพราะเป็นหนา้ ทขี่ องครูผ้นู นั้ โดยตรง ทั้งนจ้ี ะพิจารณาจากตารางการใชห้ อ้ งตามตารางสอนทฝ่ี า่ ยบริหาร
วิชาการจดั ไว้ไห้ กรณหี ้องขา้ งเคยี งไมม่ คี รูเข้าสอนหรือครเู ข้าห้องสายและนักเรยี นสง่ เสียงดงั รบกวนการเรยี นของ
หอ้ งอืน่ ให้ครทู ี่ไดร้ ับความเดือดร้อนรายงานให้ฝา่ ยบรหิ ารวิชาการทราบทนั ที เพือ่ รายงานใหผ้ ู้อานวยการทราบ
ต่อไป

11. เอกสาร ปพ. 5
11.1 ฝ่ายวชิ าการได้จัดทา ปพ. 5 พร้อมรายชอ่ื นกั เรยี นทุกหอ้ ง ครูทุกท่าน ทกุ รายวชิ ารบั ไดท้ ี่ฝ่าย

วิชาการ
11.2 การบนั ทึกรายการต่างๆ

คมู่ ือปฏิบตั ิงานฝ่ายวิชาการโรงเรยี นวัดสงิ ห์ 23

11.2.1 การวเิ คราะห์ผูเ้ รียน ด้านการเรยี น ม.1 และ ม. 4 ใหใ้ ช้ผลสอบ O-NET ในรายวชิ าน้ันๆ
ส่วน
ม. 2,ม.3 ม. 5 และ ม.6 ใหใ้ ช้ผลการเรียนในรายวชิ านั้นๆ ในช้ันทถี่ ดั ลงมา 1 ระดบั ช้ัน (ปกี ารศึกษาท่ีผ่านมา)

11.2.2 การวเิ คราะหผ์ ูเ้ รียน ดา้ นพฤติกรรม ใหใ้ ชผ้ ลการประเมิน SDQ ม.1 และ ม. 4 ใหป้ ระเมนิ
ใหม่ สว่ น ม. 2,ม.3 ม. 5 และ ม.6 ให้ใช้ผลการประเมินในช้ันที่ถดั ลงมา 1 ระดับชนั้ (ปีการศกึ ษาทผี่ า่ นมา)

11.2.3 การบนั ทกึ เวลาเรยี นในชอ่ งวนั ที่ ให้ใส่วัน จนั ทร์-วนั ศกุ ร์ (เชน่ 17-18-19-20-21) ให้ครบทกุ
ช่อง
ส่วนในช่องเวลาเรียน ถ้าเป็นคาบเดียว ใส่เลข 1,2,3 ตามลาดับ ถ้าเปน็ คาบคู่ ใหใ้ ส่ 1-2,3-4,....)

11.2.4 ให้ใส่เครื่องหมาย ลงในชอ่ งเวลาเรยี นของนักเรียนแตล่ ะคน ถ้านกั เรียนขาด ลา ใหใ้ ส่ (ข)
ขาดเรยี น (ล) ลา

11.2.5 ช่องรวมเวลาเรียน ตวั เลขด้านบน คือร้อยละ 80 ของเวลาเรียน ดา้ นลา่ ง คือจานวนคาบ
เต็ม

11.2.6 อตั ราส่วนคะแนน ระหว่างภาค:ปลายภาค 5 วิชาหลัก ทงั้ พน้ื ฐานและเพ่ิมเตมิ ควรกาหนด
สัดสว่ นเป็น 70:30 ส่วนวิชาอนื่ ๆ เช่น สขุ ศึกษาพลศกึ ษา ศลิ ปศึกษา การงานอาชีพและเทคโนโลยี อาจใชส้ ัดส่วน
80:20 , 90:10 ตามความเหมาะสม

หมายเหตุ หลกั สูตร 51 เนน้ ใหเ้ ก็บคะแนนระหวา่ งภาคมากกว่าปลายภาค ซง่ึ การเก็บระหวา่ งภาค
ถอื ว่าเปน็ การประเมินเพ่ือพฒั นานักเรียน (formative) ส่วนการเก็บคะแนนปลายภาคเป็นการประเมนิ เพื่อสรุปผล
(summative)

11.2.7 การสอบจุดประสงค์ และการสอบกลางภาค ให้ใส่คะแนนทน่ี ักเรียนได้ลงในช่องบนั ทกึ
คะแนน สาหรับนกั เรียนท่ไี ด้คะแนนไมผ่ า่ นเกณฑท์ ี่กาหนด หลังจากมีการสอบแกต้ วั แลว้ จะได้ไม่เกนิ ครง่ึ ของ
คะแนนเต็ม ใหบ้ ันทึกดังน้ี คะแนนเตม็ 10 คะแนน นักเรียนสอบได้ 2 คะแนน หลังจากสอบแก้ตัวแลว้ ได้ 6
คะแนน (เกณฑท์ ่ีครกู าหนด) บันทกึ คะแนนเป็น 2/6 หากบันทึกเฉพาะ เลข 2 แสดงว่า นักเรยี นยงั ไมส่ อบแก้ตวั
เพื่อปรบั คะแนน

หมายเหตุ สาหรบั การบนั ทกึ คะแนน อาจใชร้ ปู แบบนอกเหนอื จาก ปพ. 5 ของโรงเรียนก็ได้ โดยปดิ
ทับลงไปในหน้าการวัดและประเมินผลการเรยี นรู้ โดยตอ้ งครบทุกหน่วยการเรียนรตู้ ามหลักสูตรช้นั เรียนท่ไี ด้
กาหนดไว้

11.2.8 การวัดและประเมินผลดา้ นคุณลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ ขอรับไดท้ ี่ฝ่ายวิชาการ เพื่อนามาปดิ
ทบั ลงใน ปพ. 5

11.2.9 การวัดและประเมินผลด้านการอ่าน คิดวเิ คราะห์และเขยี น ผลการประเมนิ ในรายวิชาที่
รบั ผิดชอบสอนปิดทบั ลงไป ปพ. 5 หน้าการวดั และประเมนิ ผลดา้ นการอา่ น คิดวเิ คราะห์และเขยี น

11.2.10 คาอธบิ ายรายวิชา ตวั ชี้วดั /ผลการเรยี นรู้ พิมพ์ปดิ ทบั หรือเขียน ก็ได้

คูม่ อื ปฏิบัตงิ านฝา่ ยวชิ าการโรงเรยี นวดั สงิ ห์ 24

12. การจัดทาแบบทดสอบกลางภาค/ปลายภาค
ในการดาเนนิ การสอบกลางภาคและปลายภาค แนวปฏิบตั ิดังนี้
12.1 ใช้รูปแบบตามทีฝ่ า่ ยวิชาการกาหนด
12.2 ครูประจาวิชาออกขอ้ สอบโดยใหม้ ีข้อสอบทง้ั แบบปรนัยและอตั นัย ในอตั ราสว่ น 70:30 หรือตาม

สัดสว่ นทตี่ กลงกัน
12.3 นาข้อสอบ O-Net ในปีท่ผี า่ นๆ มาบรรจุลงไปในข้อสอบทั้งกลางภาคและปลายภาคอย่างน้อยรอ้ ย

ละ 10 ของข้อสอบทั้งหมด เชน่ ขอ้ สอบ 40 ข้อ มขี ้อสอบ O-Net 4-5 ขอ้ เป็นตน้
12.4 ขอ้ สอบควรครอบคลมุ ท้ัง ความรู้ความจา(1) ความเข้าใจ(2) การนาไปใช้(3) วิเคราะห์(4)

สงั เคราะห์(5) การประเมนิ ค่า(6)
12.5 ขอ้ สอบต้องผ่านการหาคา่ IOC โดยใชผ้ ้เู ชย่ี วชาญในกลมุ่ สาระเดียวกันจานวน 3-5 คน

(คา่ IOC คือ คา่ ความเท่ยี งตรงของขอ้ สอบ โดยค่าความสอดคล้องของขอ้ สอบกับจุดประสงค์ท่ใี ช้ได้อยู่ระหว่าง
0.50-1)

12.6 ส่งข้อสอบต้นฉบบั พร้อมสาเนาครบถว้ นตามจานวนผ้เู ข้าสอบ ใหฝ้ า่ ยวิชาการตรวจสอบทนั ตาม
กาหนดเวลา หากลา่ ช้ากว่ากาหนด ถอื วา่ บกพร่องต่อหนา้ ที่ราชการ

13. การรายงานผลการวดั และประเมนิ ผลการเรยี น
การวัดและประเมนิ ผลการเรียน ทจี่ ะต้องรายงานให้ทันตามกาหนดเวลาตามปฏิทนิ งานฝา่ ยวิชาการ ซง่ึ

หากล่าชา้ กวา่ กาหนดถอื ว่าบกพร่องต่อหนา้ ทรี่ าชการ มีดังนี้
13.1 การส่งสมุด ปพ. 5
13.2 แบบบนั ทึกกจิ กรรมพฒั นาผ้เู รียน ประกอบดว้ ย
13.2.1 กจิ กรรมชุมนุม
13.2.2 กิจกรรมลกู เสอื เนตรนารี และนักศึกษาวิชาทหาร
13.2.3 กจิ กรรมบาเพญ็ ประโยชน์
13.2.4 กิจกรรมแนะแนว
13.3 แบบประเมินคุณลักษณะอนั พึงประสงค์ (ครูท่ีปรึกษา) แบบประเมนิ การอ่าน คดิ วิเคราะห์และ

เขยี น(ครผู ูส้ อน)
13.4 การบันทึกข้อมูลผลการวดั และประเมินผลการเรียนในรายวิชาที่รับผิดชอบลงในโปรแกรม SGS

เอกสารหลกั ฐานทางการศึกษา
1. ระเบียนแสดงผลการเรยี น (TRANSCRIPT) (ปพ.1)

เปน็ เอกสารสาหรบั บนั ทึกข้อมูลผลการเรยี นของผเู้ รยี นตามเกณฑ์การผ่านชว่ งช้ันของหลกั สูตรการศึกษา
ขน้ั พืน้ ฐานแต่ละช่วงชนั้ ได้แก่ ผลการเรียนรู้ตามกล่มุ สาระการเรียนรู้ 8 กลมุ่ ผลการประเมินการอา่ น คดิ
วิเคราะห์ เขียน ผลการประเมินคุณลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ของโรงเรียน และผลการประเมนิ กิจกรรมพัฒนา

คู่มือปฏิบตั งิ านฝ่ายวิชาการโรงเรยี นวดั สิงห์ 25

ผเู้ รียน โรงเรียนจะต้องจัดทาและออกเอกสารนี้ใหก้ ับผเู้ รยี นเปน็ รายบุคคล เมื่อจบการศึกษาแตล่ ะชว่ งชนั้ เพ่อื ใช้
ประโยชน์ในด้านตา่ งๆ ต่อไปน้ี

- แสดงผลการเรยี นของผู้เรียนตามโครงสร้างหลกั สตู รของโรงเรยี น
- รบั รองผลการเรยี นของผ้เู รยี นตามข้อมูลทบี่ ันทึกในเอกสาร
- ตรวจสอบผลการเรยี นและวฒุ กิ ารศกึ ศกึ ษาของผู้เรยี น
- ใชเ้ ป็นหลกั ฐานแสดงวุฒิการศกึ ษาเพ่ือสมัครเขา้ ศึกษาต่อ สมคั รงานหรอื ขอรับสทิ ธิประโยชนอ์ ื่นใดท่ีพงึ มี
พงึ ได้ตามวฒุ กิ ารศึกษาน้ัน
2. หลักฐานแสดงวุฒิการศึกษา (ประกาศนยี บัตร) (ปพ.2)
เปน็ วุฒิบตั รทม่ี อบให้ผ้เู รียนท่ีสาเร็จการศกึ ษาหลกั สตู รการศึกษาขนั้ พน้ื ฐาน เพ่ือประกาศและรับรองวฒุ ิ
การศึกษาของผู้เรียน ส่งผลใหผ้ ู้เรยี นไดร้ ับศักด์ิและสิทธติ า่ งๆ ของผู้สาเรจ็ การศกึ ษาตามวุฒิแห่งประกาศนยี บตั รน้ัน
ประกาศนยี บัตรสามารถนาไปใชป้ ระโยชนไ์ ด้ ดงั นี้
- แสดงวฒุ ทิ างการศึกษาของผู้เรยี น
- ตรวจสอบวุฒทิ างการศึกษาของผูเ้ รยี น
- ใชเ้ ป็นหลกั ฐานแสดงวฒุ ิการศกึ ษา เพือ่ สมัครเข้าศกึ ษาต่อ สมัครงานหรือขอรบั สิทธิประโยชน์
อ่ืนใด ท่ีพึงมีพึงได้ตามวฒุ ิการศึกษาแห่งประกาศนยี บตั รนัน้
3. แบบรายงานผ้สู าเร็จการศึกษา (ปพ.3)
เป็นเอกสารสาหรับสรุปผลการเรียนของผู้สาเรจ็ การศกึ ษาตามหลักสูตรการศึกษาข้นั พื้นฐานแตล่ ะช่วงชั้น
โดยบันทึกข้อมูลของผเู้ รยี นที่จบการศึกษาช่วงชั้นเดยี วกนั รุ่นเดยี วกัน ไว้ในเอกสารฉบบั เดยี วกนั เป็นเอกสารที่
ผ้บู ริหาร โรงเรียนใช้สาหรบั ตดั สนิ และอนุมตั ผิ ลการเรยี นให้ผู้เรียนจบช่วงชั้น เป็นเอกสารทางการศึกษาท่สี าคญั
ท่ีสุด ใชเ้ ป็นหลกั ฐานแสดงคุณสมบัตหิ รือคุณวุฒิทางการศึกษาของผูเ้ รยี น ผู้ทม่ี รี ายช่อื ในเอกสารนีท้ ุกคน จะได้
รบั รองวฒุ ิทางการศึกษา จากกระทรวงศกึ ษาธกิ าร แบบรายงานผู้สาเรจ็ การศึกษา นาไปใชป้ ระโยชน์ ดงั นี้
- เป็นเอกสารสาหรบั ตดั สินและอนมุ ัตผิ ลการเรยี นใหผ้ ้เู รียนเปน็ ผู้สาเร็จการศึกษา
- เป็นเอกสารสาหรบั ตรวจสอบ ยืนยนั และรับรองความสาเรจ็ และวฒุ ิการศึกษาของผู้สาเร็จ
การศกึ ษาแตล่ ะคนตลอดไป
4. แบบแสดงผลการพฒั นาคณุ ลักษณะอนั พึงประสงค์ (ปพ.4)

โรงเรยี นจะจดั ทาเอกสารน้แี ละมอบให้ผเู้ รยี นทุกคนเม่ือจบช่วงชน้ั หรือจบหลักสูตรการศึกษาข้นั พื้นฐาน
เอกสารนจ้ี ะใช้บนั ทึกผลการประเมนิ ผูเ้ รียนเกี่ยวกับคุณธรรม จรยิ ธรรม และค่านยิ มทโ่ี รงเรียนกาหนดเปน็
คุณลกั ษณะ อนั พงึ ประสงค์ของโรงเรียนแตล่ ะประการอย่างตอ่ เน่ือง และสรุปผลการประเมนิ เมื่อจบช่วงชนั้
เพ่ือให้ผเู้ รียนนาไปใชแ้ สดง หรือรับรองคณุ ลกั ษณะของตน ควบคู่กับระเบียนแสดงผลการเรียน (ปพ.1)แบบ
แสดงผลการพฒั นาคณุ ลักษณะอนั พงึ ประสงค์ (ปพ.4) นาไปใชป้ ระโยชน์ ดังนี้

คมู่ อื ปฏบิ ัติงานฝ่ายวิชาการโรงเรยี นวดั สิงห์ 26

- แสดงผลการประเมินคณุ ลักษณะอันพึงประสงคข์ องผ้เู รียนแตล่ ะประการ
- ใช้เป็นหลักฐานแสดงคุณสมบัตขิ องผู้เรียนในการสมัครเข้าศกึ ษาต่อสมัครทางาน หรอื เม่ือมีกรณีอ่นื ใดท่ี
ผ้เู รียนต้องแสดงคณุ สมบัติเก่ียวกบั ประวัติความประพฤตหิ รือคุณความดีตา่ งๆ
5. แบบบันทึกการพฒั นาคุณภาพผเู้ รยี น (ปพ.5)
เปน็ เอกสารทีโ่ รงเรยี นจดั ทาขึ้น เพอ่ื ใหผ้ ู้สอนใชบ้ ันทกึ ข้อมูลการวดั และประเมนิ ผลการเรียนของผเู้ รยี น
ตามแผนการจัดการเรยี นการสอน และประเมนิ ผลการเรียน เพ่ือใช้เปน็ ขอ้ มูลสาหรบั พิจารณาตัดสินผลการเรียนแต่
ละรายวิชา เอกสารบันทึกผลการพฒั นาคณุ ภาพผูเ้ รยี นสามารถนาไปใชป้ ระโยชน์ ดังนี้
- ใชเ้ ปน็ เอกสารประกอบการดาเนินงานในการวัดและประเมนิ ผลการเรยี นของผู้เรียน
- ใช้เปน็ หลกั ฐานสาหรบั ตรวจสอบ รายงานและรับรองข้อมูลเกยี่ วกบั วิธกี ารและกระบวนการวดั และ
ประเมนิ ผลการเรียน
6. เอกสารรายงานผลการพัฒนาคณุ ภาพผู้เรียนรายบุคคล (ปพ.6)
เป็นเอกสารที่โรงเรยี นจดั ทาขึ้นเพอ่ื บันทึกข้อมูลการประเมินผลการเรียนรแู้ ละพฒั นาการดา้ นตา่ งๆ ของ
ผูเ้ รยี นแต่ละคน ตามเกณฑก์ ารผา่ นชว่ งช้ันของหลักสูตรการศกึ ษาข้นั พ้ืนฐาน รวมท้ังขอ้ มูลด้านอ่ืนๆ ของผ้เู รียนท้ัง
ท่ีบา้ นและโรงเรียน โดยจดั ทาเป็นเอกสารรายบุคคล เพ่อื ใช้สาหรับสือ่ สารให้ผ้ปู กครองของผูเ้ รยี นแตล่ ะคนไดท้ ราบ
ผลการเรียนและพัฒนาการดา้ นต่างๆ ของผู้เรยี นอยา่ งตอ่ เน่ือง แบบรายงานผลการพฒั นาคุณภาพผู้เรยี นรายบุคคล
นาไปใชป้ ระโยชน์ ดังน้ี
- รายงานผลการเรียน ความประพฤติ และพฒั นาการของผูเ้ รียนใหผ้ ปู้ กครองได้รบั ทราบ
- ใช้เป็นเอกสารส่อื สาร ประสานงานเพ่อื ความรว่ มมอื ในการพัฒนาและปรบั ปรุงแก้ไขผู้เรยี น
- เปน็ เอกสารหลกั ฐานสาหรบั ตรวจสอบ ยืนยัน และรบั รองผลการเรียนและพัฒนาการตา่ งๆ ของผเู้ รยี น
7. ใบรับรองผลการศึกษา (ปพ.7)
เป็นเอกสารทโ่ี รงเรยี นจดั ทาขึ้น เพ่ือใชเ้ ป็นเอกสารสาหรบั รับรองสถานภาพผู้เรยี นหรอื ผลการเรียนของ
ผู้เรยี นเปน็ การชว่ั คราวตามท่ีผเู้ รียนร้องขอ ท้ังกรณีทีผ่ ้เู รยี นกาลงั ศึกษาอยู่ในโรงเรียนและเม่ือจบการศึกษาไปแล้ว
ใบรับรองผลการศึกษา นาไปใชป้ ระโยชน์ดังน้ี
- รบั รองความเป็นผูเ้ รยี นของโรงเรยี นที่เรียนหรอื เคยเรียน
- รับรองและแสดงความรู้ วฒุ ิของผเู้ รียน
- ใชเ้ ปน็ หลกั ฐานแสดงคุณสมบัติของผู้เรียนในการสมัครเข้าศึกษาต่อ สมัครเข้าทางาน หรือเม่ือมีกรณีอ่ืน
ใดท่ีผู้เรียนต้องแสดงคุณสมบตั เิ กย่ี วกบั วุฒคิ วามรู้ หรอื สถานะ การเปน็ ผู้เรียนของตน
- เปน็ หลักฐานสาหรบั การตรวจสอบ รบั รอง ยืนยันการใช้สทิ ธิค์ วามเปน็ ผูเ้ รียน หรอื การไดร้ ับการรับรอง
จากโรงเรียน

ค่มู ือปฏิบัตงิ านฝ่ายวิชาการโรงเรยี นวดั สิงห์ 27

8. ระเบยี นสะสม (ปพ.8)

เป็นเอกสารทีโ่ รงเรยี นจัดทาข้ึนเพือ่ บนั ทกึ ขอ้ มูลเกย่ี วกับพัฒนาการของผ้เู รียนในดา้ นต่างๆ เปน็ รายบุคคล
โดยจะบนั ทกึ ขอ้ มูลของผูเ้ รียนอย่างต่อเน่อื งตลอดช่วงระยะเวลาการศึกษาตามหลักสตู รการศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐาน 12 ปี
ระเบยี นสะสม นาไปใชป้ ระโยชน์ดงั นี้

- ใชเ้ ป็นขอ้ มลู ในการแนะแนวทางการศึกษาและการประกอบอาชพี ของผ้เู รียน
- ใช้เปน็ ข้มูลในการพฒั นาปรบั ปรงุ บุคลกิ ภาพ ผลการเรียนและการปรบั ตวั ของผเู้ รียน
- ใชต้ ดิ ต่อสอื่ สาร รายงานพัฒนาคณุ ภาพของผู้เรยี นระหวา่ งโรงเรียนกบั ผู้ปกครอง
- ใช้เป็นหลักฐานสาหรับการตรวจสอบ รับรอง และยืนยันคุณสมบัติของผเู้ รยี น
9. สมุดบนั ทึกผลการเรียนรู้ (ปพ.9)
เป็นเอกสารทโ่ี รงเรียนจัดทาข้ึน เพอ่ื แสดงรายวชิ าท้ังหมดตามหลักสตู รของโรงเรียนแต่ละช่วงชัน้ พร้อม
ดว้ ยรายละเอยี ดของแต่ละรายวิชา ประกอบด้วย ตวั ชว้ี ดั สาระการเรียนรู้ คาอธบิ ายรายวชิ า และผลการ
ประเมนิ ผลการเรียนของผู้เรียน เพอื่ ให้ผูเ้ รียนใชศ้ ึกษาหลักสตู รของ โรงเรียนวา่ มีรายละเอียดอะไรบ้าง สาหรบั การ
วางแผนการเรียนและใชส้ ทิ ธ์ิในการเทยี บโอนผลการเรียนได้ถกู ต้อง เหมาะสมกับความสามารถของตน สมุดบนั ทึก
ผลการเรียนรู้ (ปพ.9) สามารถนาไปใชป้ ระโยชน์ดงั นี้
- ศกึ ษาหลักสูตรของโรงเรยี นในแตล่ ะช่วงชน้ั
- บันทกึ และแสดงผลการเรียนของผู้เรยี นในการเรียนแตล่ ะรายวิชา
- รายงานผลการเรยี นรใู้ ห้ผปู้ กครองและผู้เกี่ยวข้องไดร้ ับทราบ
- ใช้เป็นข้อมลู ในการเทียบโอนผลการเรยี น ในกรณที ผ่ี เู้ รียนยา้ ยโรงเรยี น
- เปน็ หลักฐานสาหรับตรวจสอบ ยืนยัน รายงาน และรับรองผลการเรยี นของผู้เรยี น


Click to View FlipBook Version