The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

รายงานผลการดำเนินงานโครงการ IFTE 64

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by , 2021-11-23 21:33:47

รายงานผลการดำเนินงานโครงการ IFTE 64

รายงานผลการดำเนินงานโครงการ IFTE 64

1
เอกสารลำดบั ที่ 34/2564

1

บทสรุปผ้บู รหิ าร

รายงานผลการดาเนินโครงการ Innovations For Thai Education ( IFTE ) นวัตกรรมทาง
การศึกษา เพื่อพัฒนาการศึกษา มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ให้มีศูนย์กลางข้อมูลสารสนเทศทางการศึกษาและการ
วิจัยกระบวนการจัดการเรียนรู้ ในระดับจังหวัด 2) เพื่อส่งเสริมการพัฒนาการจัดการเรียนรู้ และถ่ายทอดองค์
ความรู้เก่ียวกับ รูปแบบ/ แนวทางการพัฒนาการจัดการเรียนรู้ 3) เพ่ือวิเคราะห์/วิจัยแนวทางการนิเทศ
ติดตามและประเมินผล การบรหิ ารการจดั การศึกษาในระดับจงั หวัด และ 4) เพื่อสร้างเครือข่ายความร่วมมือใน
การพัฒนาคุณภาพการศึกษา เป้าหมายเชิงปริมาณ 1) จังหวัดสุพรรณบุรีมีศูนย์กลางข้อมูลสารสนเทศ
นวัตกรรม และมีการวิจัยทางการศึกษาในระดับจังหวัด 1 ศูนย์ 2) จังหวัดสุพรรณบุรีมีนวัตกรรมการบริหาร
จัดการ การจัดการเรียนรู้ การนิเทศติดตามและประเมินผล อย่างน้อย 3 นวัตกรรม 3) มีรายงานวิจัยและการ
เผยแพร่นวัตกรรมการบริหารจัดการ การจัดการเรียนรู้การนิเทศติดตามและประเมินผล อย่างน้อย 1 ช้ิน
4) มีเครือข่ายการพัฒนาคุณภาพการศึกษา อย่างน้อย 1 เครือข่าย เป้าหมายเชิงคุณภาพ 1) จังหวัด
สุพรรณบุรีเป็นศูนย์กลางข้อมูลสารสนเทศ นวัตกรรม และมีการวิจัยทางการศึกษาในระดับจังหวัดทีมีคุณภาพ
2) จังหวัดสุพรรณบุรี มีนวัตกรรมการบริหารจัดการ การจัดการเรียนรู้ การนิเทศติดตามและประเมินผลท่ี
สามารถใช้พัฒนาคุณภาพการศึกษาได้อย่างมีประสิทธิผล 3) จังหวัดสุพรรณบุรีมีรายงานวิจัยท่ีมีคุณภาพ และ
การเผยแพร่นวัตกรรมการบริหารจัดการ การจัดการเรียนรู้การนิเทศ ติดตามและประเมินผล แก่สาธารณชน
4) มีเครือข่ายการพัฒนาคุณภาพการศึกษาที่มีประสิทธิภาพ กลุ่มเป้าหมายโครงการ (Target group)
ประกอบด้วย ผู้บริหาร ครู บุคลากรทางการศึกษา ผู้เรียนในสถานศึกษาทุกสังกัด รวมทั้งภาคีเครือข่ายที่
เกีย่ วขอ้ งในจงั หวดั สุพรรณบรุ ี โดยมกี ิจกรรม ดงั นี้

กจิ กรรมที่ 1 วเิ คราะหข์ อ้ มลู สารสนเทศผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET)
และจัดทาศนู ยก์ ลางขอ้ มูลสารสนเทศ นวตั กรรม และงานวิจัยทางการศึกษาในระดบั จงั หวัด

สรุปผลการดาเนินงาน แต่งต้ังคณะกรรมการดาเนินงานโครงการ Innovations For Thai

Education (IFTE)นวัตกรรมทางการศึกษา เพื่อพัฒนาการศึกษาระดับจังหวัด โครงการผ่าน กศจ

(19 กุมภาพันธ์ 2564) และวันศุกร์ท่ี 19 มีนาคม พ.ศ.2564 มีการประชุม ณ ห้องประชุมช้ัน 2 สานักงาน

ศกึ ษาธิการจังหวัดสพุ รรณบุรี อาเภอเมอื ง จงั หวัดสุพรรณบุรี

กิจกรรมท่ี 2 สรา้ งการรับรกู้ ารดาเนินงานโครงการ Innovations For Thai Education
(IFTE) นวตั กรรมทางการศกึ ษา เพ่อื พฒั นาการศกึ ษา

สรุปผลการดาเนินงาน โรงเรียนที่เข้าร่วมโครงการ Innovation ForThai Education (IFTE)
นวัตกรรมการศึกษา เพื่อพัฒนาการศึกษา มีความตระหนักและนาความรู้ที่ได้รับไปดาเนินการพัฒนานวัตกรรม
ทางการศึกษา 3 ด้าน ได้แก่ ด้านการบริหารจัดการศึกษา ด้านกระบวนการจัดการเรียนรู้ และด้าน
กระบวนการนิเทศการศึกษา โดยมีวิทยากรมหาวิทยาลัยศิลปากร ให้ความรู้ด้านกระบวนการนิเทศการศึกษา
ผศ.ดร.มาเรียม นิลพันธ์ ผศ.ดร.ชนสิทธิ์ สิทธิสูงเนิน ดร.สุวิมล สพฤกษ์ศรี มหาวิทยาลัยราชภัฏกาญจนบุรี
ให้ความรู้ด้านกระบวนการบริหารจัดการศึกษา ผศ.ดร.สาโรจน์ เผ่าวงศาสกุล ดร.ปรเมศร์ กล่ินหอม และ
โรงเรียนสงวนหญิง ครู ค.ศ.4 ให้ความรู้ด้านกระบวนการจัดการเรียนรู้ นายมานัส ทิพย์สัมฤทธ์ิกุลน ณ ห้อง
ประชุม Multimedia Room โรงเรียนสงวนหญิง อาเภอเมือง จังหวัดสุพรรณบุรี ผู้เข้าอบรมประกอบด้วย
ผูบ้ รหิ ารโรงเรยี น ครูวชิ าการ ครูผสู้ อน โรงเรยี นละ 3 คน ศึกษานเิ ทศก์ สพฐ. สช. อปท. กศน คิดเปน็ 100 %

2

กิจกรรมท่ี 3 นเิ ทศ ตดิ ตาม ประเมนิ ผลการดาเนินงาน

สรุปผลการดาเนินงานมีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ของผู้บริหาร ศึกษานิเทศก์และผู้เกี่ยวข้อง นาเสนอการ

ดาเนินงาน ผา่ นระบบ Zoom ระดับดีมาก

กจิ กรรมท่ี 4 นาเสนอ คดั เลอื กนวัตกรรมและแลกเปล่ียนเรยี นรรู้ ะดับจงั หวดั

ระหวา่ งวันท่ี 3 – 5 สงิ หาคม 2564 ณ หอ้ งประชมุ ชัน้ 2 สานักงานสานักงานศึกษาธิการจังหวัดสุพรรณบุรี

ด้านกระบวนการบริหารจัดการศึกษา จานวน 12 โรงเรียน คณะกรรมการ ประกอบด้วย ผศ.ดร.สาโรจน์

เผ่าวงศาสกุล อาจารย์ดร.ปรเมศร์ กล่ินหอม อาจารย์ ดร.พาที เกศธนากร ด้านกระบวนการจัดการเรียนรู้ จานวน

12 โรงเรียน คณะกรรมการ ประกอบด้วย รศ.ดร.พรชัย หนูแก้ว รศ.ดร.กรัณย์พล วิวรรธมงคล นายมานัส

ทิพย์สัมฤทธ์ิกุล และด้านกระบวนการนิเทศการศึกษา คณะกรรมการ ประกอบด้วย ผศ.ดร.สาโรจน์ เผ่าวงศาสกุล

อาจารย์ดร.ปรเมศร์ กลิ่นหอม อาจารย์ ดร.พาที เกศธนากร ระดับจังหวัด และเป็นตัวแทนนาเสนอระดับภาค และเป็น

ตัวแทนระดบั ภาค ดงั น้ี

1.ด้านการบรหิ ารการจดั การ โรงเรียนวัดลาดกระจับ

2.ด้านกระบวนการจดั การเรียนรู้ โรงเรยี นเทศบาล 3 ไชนาวาส

3.ด้านกระบวนการนิเทศการศกึ ษา โรงเรียนสระยายโสมวทิ ยา

กิจกรรมท่ี 5 การสังเคราะหว์ จิ ยั นวตั กรรม ของสถานศกึ ษากลมุ่ เปา้ หมาย

วันท่ี 11 สิงหาคม 2564 สรุปสังเคราะห์โครงการ Innovation For Thai Education ( IFTE ) นวัตกรรม
การศึกษา เพ่ือพัฒนาการศึกษา ผู้ทรงคุณวุฒิประกอบด้วย ผศ.รด.สาโรจน์ เผ่าวงศาสกุล ดร.ปรเมศร์ กลิ่นหอม
อาจารย์ ดร.พาที เกศธนากร รว่ มสรปุ การดาเนนิ งานโครงการ Innovation For Thai Education ( IFTE ) นวัตกรรม
การศกึ ษา เพือ่ พัฒนาการศกึ ษา

กิจกรรมที่ 6 จัดทาเอกสารรายงาน /จัดทาบทความ/จัดทาคลิปวีดีโอและมัลติมีเดียผลการดาเนินงานของ

จงั หวัดในพื้นที่รับผดิ ชอบ

ผลการดาเนนิ ดาเนนิ โครงการ

1. มศี ูนย์กลางขอ้ มูลสารสนเทศทางการศึกษาและกระบวนการจัดการเรียนรู้ ในระดับจงั หวัด
2. มีการพัฒนาการจัดการเรียนรู้ และถ่ายทอดองค์ความรู้เก่ียวกับ รูปแบบ/ แนวทางการพัฒนาการ
จัดการเรยี นรู้ และนวตั กรรมการแลกเปลย่ี นเรยี นร้รู ะดบั หน่วยงานทุกสงั กดั
3. มนี วัตกรรมผ่านการคัดเลือกจากคณะกรรมการผ้ทู รงคุณวฒุ ิระดบั ภาค
ผลการพัฒนา/คิดค้น/สร้าง นวัตกรรมการบริหารจัดการ การจัดการเรียนรู้ และการนิเทศ ติดตามและ
ประเมนิ ผล
1. ไดร้ ปู แบบการบริหารจดั การศกึ ษา ทจ่ี ะนาไปใชใ้ นการพฒั นาคุณภาพผู้เรยี น
2.ได้ความรกั ความสามัคคี ในการดาเนินงาน เพราะเปน็ รูปแบบการบรหิ ารจัดการทท่ี ุกฝา่ ยร่วมกนั
สรา้ งและพฒั นา
3.ไดร้ ะบบการบรหิ ารจดั การที่มีรูปแบบชัดเจน จากโรงเรยี นทเี่ ปน็ สถานศกึ ษาขนาดเลก็ มคี รู บุคลากร
และนกั เรยี นจานวนจากัด ตอ้ งอาศัยการทางานทม่ี กี ารวางแผน การกาหนดเปา้ หมายทชี่ ัดเจน การบริหารจดั การ
บคุ ลากร การจดั การนาสกู่ ารปฏบิ ตั ิ เปน็ กระบวนการทางานทขี่ ับเคลือ่ นอย่างเป็นระบบ
4. มกี ารปรบั เปลย่ี นวัฒนธรรมการทางานในโรงเรยี นจากตา่ งคนตา่ งทาเปลยี่ นมาเป็นครูรว่ มกนั ทางาน
เปน็ ทมี เพ่อื แลกเปลี่ยนเรียนรรู้ ว่ มกนั ในการพัฒนาการจดั การเรียนการสอนมากข้นึ
5. ครูผู้สอนมีการเรยี นรู้และพัฒนาตนเองอยู่เสมอเพ่ือให้ทันกับสถานการณ์ปัจจบุ นั เชน่ การ
เรียนรู้การใช้เทคโนโลยีในการจัดการเรียนการสอน การได้รับคาแนะนาและการช่วยเหลือต่างๆ จากเพ่ือนครู การ
อบรมการใชแ้ อปพลิเคชน่ั ต่างๆ ทใ่ี ช้ในการเรยี นการสอน เปน็ ตน้

3

คานา

เอกสารรายงานผลการดาเนนิ งานโครงการ Innovations For Thai Education ( IFTE ) นวัตกรรม
ทางการศึกษา เพ่ือพัฒนาการศึกษา เล่มนี้จัดทาข้ึนเพ่ือส่งเสริมการพัฒนาการจัดการเรียนรู้และถ่ายทอดองค์
ความรู้เก่ียวกับรูปแบบ/แนวทางการพัฒนานวัตกรรมด้านการบริหารการจัดการ ด้านการจัดการเรียนรู้ และ
ดา้ นการนเิ ทศการศึกษา โดยการทางานแบบมีสว่ นร่วมกับหน่วยงานต้นสังกัด ผู้บริหารโรงเรียน ครูผู้สอน และ
บคุ ลากรทเี่ ก่ียวข้องสามารถนานวัตกรรมบูรณาการพัฒนาการทางานให้เกิดประสิทธิภาพและประสิทธิผลตาม
เป้าหมายกับผู้เรียนและประโยชน์สูงสุดกับการพัฒนาคุณภาพของผู้เรียน สานักงานศึกษาธิการจังหวัด
สุพรรณบุรี ขอขอบคุณคณะผู้มีส่วนเก่ียวข้องทุกฝ่ายที่มีส่วนร่วมในการจัดทารายงานผลการดาเนินงาน
โครงการ Innovations For Thai Education (IFTE) นวัตกรรมทางการศึกษา เพ่ือพัฒนาการศึกษา เล่มนี้ให้
สาเร็จสมบูรณ์ และหวังเป็นอย่างยิ่งว่าเอกสารรายงานผลการดาเนินงานโครงการ Innovations For Thai
Education (IFTE) นวัตกรรมทางการศึกษา เพื่อพัฒนาการศึกษา เล่มนี้จะเป็นประโยชน์สามารถนาไปใช้ใน
การพฒั นางานเพ่ือให้บรรลเุ ป้าหมาย ประสบความสาเร็จตามวตั ถุประสงคต์ ่อไป

สานกั งานศึกษาธิการจังหวดั สพุ รรณบุรี
กนั ยาน 2564

สารบญั 4

เรือ่ ง หน้า
บทสรุปผบู้ ริหาร 1
คานา 3
สารบัญ 4
สว่ นที่ 1 ความเปน็ มาของโครงการ 5
5
หลกั การและเหตผุ ล 6
วตั ถุประสงค์โครงการ 6
เปา้ หมายโครงการ 6
กล่มุ เปา้ หมาย/ผทู้ ่ีได้รบั ประโยชน์ 6
ระยะเวลา และสถานที่ดาเนนิ การ 6
ตวั ช้ีวดั เปา้ หมายโครงการ 7
การวิเคราะหค์ วามเสยี่ งของโครงการ 7
ผลท่ีคาดว่าจะไดร้ ับ 8
สว่ นที่ 2 วธิ ีการดาเนินงาน 15
สว่ นที่ 3 ผลการดาเนนิ งาน 15
ผลการการดาเนนิ งานโครงการในภาพรวมของ ศธจ.
ผลการพฒั นา/คิดค้น/สร้าง นวตั กรรมการบริหารจัดการ 16
การจัดการเรียนรู้ และการนิเทศการศกึ ษาดา้ นครูผสู้ อน
ผลการใชน้ วัตกรรมการบรหิ ารจัดการ 16
การจดั การเรียนรู้ และการนเิ ทศการศึกษา 18
ความพึงพอใจต่อการใชน้ วัตกรรม 18
ปัญหา อุปสรรค ขอ้ เสนอแนะ 19
ภาคผนวก 54
คณะผจู้ ัดทา
สารบญั

5

สว่ นที่ 1 ความเป็นมาของโครงการ

1.หลักการและเหตุผล
การพัฒนาประเทศไทยไปสู่ความม่ันคง มั่งค่ัง และย่ังยืน ให้เกิดขึ้นในอนาคตนั้น จะต้องให้

ความสาคัญกบั การเสรมิ สรา้ งทุนของประเทศท่ีมอี ยู่ใหเ้ ขม้ แข็งและมีพลังเพียงพอในการขับเคลื่อนกระบวนการ
การพฒั นาทัง้ ในระยะกลางและ ระยะยาว โดยเฉพาะอย่างยิง่ “การพัฒนาคน” ใหม้ ีการเตรียมความพร้อมรับ
การเปลี่ยนแปลงของโลกในศตวรรษท่ี 21 ซึ่งมีส่ิงท่ีสาคัญที่สุดคือ ทักษะการเรียนรู้และการเสริมสร้างปัจจัย
แวดล้อมที่เอื้อต่อการพัฒนาคุณภาพของคนท่ีเป็นกาลังสาคัญในการพัฒนาประเทศ ซึ่งยุทธศาสตร์ชาติ
(พ.ศ. 2561-2580) ได้กาหนดเป้าหมายการพัฒนาประเทศ คือ “ประเทศชาติมั่นคง ประชาชนมีความสุข
เศรษฐกิจพัฒนาอย่างต่อเนื่อง สังคมเป็นธรรม ฐานทรัพยากรธรรมชาติย่ังยืน” และแผนพัฒนาการศึกษาของ
กระทรวงศกึ ษาธิการ ฉบับท่ี 12 (พ.ศ. 2560 – 2564) ได้มีการกาหนดยุทธศาสตร์และวางเป้าหมายที่สามารถ
ตอบสนองการพัฒนาที่สาคัญในด้านต่าง ๆ โดยมีเป้าหมายเพื่อเป็นแนวทางให้ส่วนราชการ หน่วยงานท่ี
เกยี่ วขอ้ งใชเ้ ปน็ แนวทางในการพัฒนาคณุ ภาพกระบวนการบรหิ ารจดั การศกึ ษาให้เกิดประสทิ ธภิ าพสูงสดุ

กระบวนการบริหารจัดการศึกษาท่ีมีคุณภาพ ประกอบด้วย 3 กระบวนการ คือ กระบวนการ
บรหิ ารจดั การศกึ ษา กระบวนการจัดการเรยี นการสอน และกระบวนการนิเทศการศึกษา ซ่ึงจะต้องมีความร้อย
รัดสัมพันธ์กันเป็นอย่างดี โดยต้องอาศัยความร่วมมือกันของบุคลากรที่เกี่ยวข้องจากทุกภาคส่วน การสร้าง
เครอื ข่ายในการทางานในแต่ละพ้ืนที่จึงมีความสาคัญอย่างย่ิงต่อการพัฒนาคุณภาพการศึกษา ซึ่งจะต้องมี การ
ร่วมคิด ร่วมทาร่วมประเมินผล อย่างต่อเน่ือง มีการพัฒนากระบวนการทางาน และสร้างนวัตกรรม ในการ
ทางานให้เหมาะสม สอดคล้องกับสภาพบริบทและความต้องการของแต่ละพ้ืนท่ี รองรับการพัฒนาผู้เรียนให้มี
ความรู้และทักษะในศตวรรษท่ี 21 และสานักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ ดาเนินการทาโครงการ IFTE
(Innovation For Thai Education) ข้ึน ซึ่งเป็นโครงการต่อเน่ือง โดยการนาผลการวิเคราะห์ และการวิจัย
การพัฒนารูปแบบและแนวทางในการจัดการเรียนการสอนเพื่อยกผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน และการวิจัยแนว
ทางการนเิ ทศ ติดตามและประเมินผลการบริหารการจัดการศึกษาจากโครงการTFE (Teams For Education)
และโครงการ“Coaching Teams เพื่อยกระดับคุณภาพการศึกษาจากปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 - 2563 มา
สรปุ หลอมรวมและใชใ้ นการวางแผนในการพัฒนาการศึกษาและหน่วยงานทางการศึกษา เพ่ือสร้างและพัฒนา
เครอื ข่ายความร่วมมือของบุคลากรในทุกภาคส่วนมาร่วมกันสร้างนวัตกรรมการพัฒนาคุณภาพการศึกษาท้ังใน
ด้านกระบวนการบริหารจัดการศึกษา กระบวนการจัดการเรียนการรู้ และกระบวนการนิเทศการศึกษา เพื่อ
ยกระดับคณุ ภาพของผู้เรียนในดา้ นทกั ษะการเรียนรู้ ทักษะอาชพี และทักษะชีวติ ในศตวรรษที่ 21

สานักงานศึกษาธิการจังหวัดสุพรรณบุรี จึงได้จัดทาโครงการ Innovation For Thai Education
(IFTE) นวตั กรรมการศึกษา เพ่อื พัฒนาการศกึ ษาข้นึ เพอื่ เปน็ การสง่ เสริมการพัฒนาการเรียนรู้ของหน่วยงานทุก
ระดับ ทุกประเภทส่งผลต่อการพัฒนาการเรียนรู้ของผู้เรียน ให้เกิด การเรียนรู้ มีทักษะจาเป็นในการดารงชีวิต
ในสังคมคณุ ภาพยุคศตวรรษที่ 21 โดยมีหนว่ ยงานในระดบั จงั หวัด เป็นศูนย์กลางส่งเสริมการเรียนรู้ การพัฒนา
และถ่ายทอดองค์ความรู้ด้านการจัดการเรียนรู้เพื่อยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการศึกษาระดับจังหวัดเพ่ือนาไปสู่
การพฒั นายกระดบั ผลสมั ฤทธิ์ทางการเรียนรทู้ ี่ย่ังยนื ในอนาคต
2.วตั ถปุ ระสงค์โครงการ

2.1 เพื่อมีศูนย์กลางข้อมูลสารสนเทศทางการศึกษาและการวิจัยกระบวนการจัดการเรียนรู้
ในระดบั จังหวดั

2.2 เพ่ือส่งเสริมการพัฒนาการจัดการเรียนรู้ และถ่ายทอดองค์ความรู้เกี่ยวกับรูปแบบแนว
ทางการพัฒนาการจัดการเรยี นรู้

2.3 เพ่ือวิเคราะห์ วิจัยแนวทางการบริหารจัดการ การจัดการเรียนรู้ การนิเทศติดตามและ
ประเมินผล ในระดับจังหวดั

2.4 เพอ่ื สรา้ งเครือขา่ ยความรว่ มมอื ในการพฒั นาคุณภาพการศึกษา

6

3. เป้าหมายโครงการ (Outputs)
3.1 เป้าหมายเชิงปริมาณ
1) จังหวัดสพุ รรณบุรมี ีศนู ย์กลางข้อมูลสารสนเทศ นวัตกรรม และมกี ารวจิ ยั ทางการศกึ ษา

ในระดับจงั หวัด 1 ศนู ย์
2) จังหวัดสุพรรณบุรีมีนวัตกรรมการบริหารจัดการ การจัดการเรียนรู้ การนิเทศติดตามและ

ประเมินผลอยา่ งนอ้ ย 3 นวตั กรรม
3) มีงานวิจัย และการเผยแพร่นวัตกรรมการบริหารจัดการ การจัดการเรียนรู้ การนิเทศ

ตดิ ตามและ ประเมินผล อยา่ งนอ้ ย 1 ชิน้
4) มเี ครอื ข่ายการพัฒนาคณุ ภาพการศึกษา อยา่ งน้อย 1 เครอื ขา่ ย

3.2 เปา้ หมายเชงิ คุณภาพ
1) จังหวัดสุพรรณบุรีเป็นศูนย์กลางข้อมูลสารสนเทศ นวัตกรรม และมีการวิจัยทางการศึกษา

ในระดบั จังหวดั ทมี คี ุณภาพ
2) จังหวัดสุพรรณบุรีมีนวัตกรรมการบริหารจัดการ การจัดการเรียนรู้ การนิเทศติดตามและ

ประเมินผลท่ีสามารถใชพ้ ฒั นาคณุ ภาพการศกึ ษาไดอ้ ย่างมปี ระสิทธผิ ล
3) จังหวัดสุพรรณบุรีมีงานวิจัยที่มีคุณภาพ และการเผยแพร่นวัตกรรมการบริหารจัดการ การ

จัดการเรยี นรู้ และการนิเทศ ติดตามและประเมินผล แกส่ าธารณชน
4) มีเครอื ขา่ ยการพัฒนาคุณภาพการศกึ ษา ท่ีมปี ระสทิ ธิภาพ

4. กลมุ่ เป้าหมาย/ผ้ทู ไี่ ดร้ ับประโยชน์
ผูบ้ ริหาร ครู บุคลากรทางการศึกษา ผเู้ รยี นในสถานศึกษาทุกสังกัด รวมท้ังภาคีเครือข่ายที่เก่ียวข้อง

ในจังหวัด สุพรรณบุรี
5. ระยะเวลา และสถานทดี่ าเนนิ การ

ระยะเวลาดาเนนิ การ ตงั้ แต่ ตลุ าคม 2563 – กันยายน 2564
สถานที่ดาเนนิ การ สานักงานศกึ ษาธิการจงั หวดั สพุ รรณบุรี
6. ตวั ชวี้ ดั เปา้ หมายโครงการ
เชิงปริมาณ
1.จังหวัดสุพรรณบุรีมีศูนย์กลางข้อมูลสารสนเทศ นวัตกรรม และมีการวิจัยทางการศึกษาในระดับ
จังหวดั 1 ศูนย์
2.จังหวัดสุพรรณบุรีมีนวัตกรรมการบริหารจัดการ การจัดการเรียนรู้ การนิเทศติดตามและ
ประเมนิ ผล อย่างนอ้ ย 3 เรือ่ ง
3.จังหวัดสุพรรณบุรีมีงานวิจัย และการเผยแพร่นวัตกรรมการบริหารจัดการ การจัดการเรียนรู้
การนิเทศ ตดิ ตามและประเมนิ ผล อยา่ งน้อย 1 เรื่อง
4.เครือข่ายการพัฒนาคุณภาพการศกึ ษา ระดบั จงั หวัด 1 ศูนย์
เชงิ คณุ ภาพ
1.มศี นู ยก์ ลางข้อมูลสารสนเทศ นวัตกรรม และมกี ารวจิ ัยทางการศกึ ษาในระดบั จงั หวดั ทีมคี ณุ ภาพ
2.มีนวัตกรรมการบริหารจัดการ การจัดการเรียนรู้ การนิเทศติดตามและ ประเมินผลท่ีสามารถ
ใช้พฒั นาคณุ ภาพการศกึ ษาไดอ้ ยา่ งมีประสิทธผิ ล
3.มีงานวิจัยท่ีมีคุณภาพ และการเผยแพร่นวัตกรรมการบริหารจัดการ การจัดการเรียนรู้การนิเทศ
ติดตามและประเมนิ ผล แกส่ าธารณชน
4.มีเครือข่ายการพัฒนาคุณภาพการศกึ ษาทมี่ ปี ระสิทธิภาพ

\

7

7. การวิเคราะหค์ วามเสย่ี งของโครงการ
ความเส่ียง :
1.สถานการณก์ ารแพร่ระบาดของโรคไวรัสโคโรน่า (COVIT-19)
2.ขอ้ จากดั ของโครงการและความไม่แนน่ อนอันเนื่องมาจากโครงการถูกกาหนดมาแล้วจากหน่วยงาน

ระดบั สูงและมีความซ้าซ้อนกนั การคานวณกจิ กรรมของโครงการอาจคลาดเคลือ่ น
การบริหารความเส่ียง :
1.ประชุมทางไลน์ , Zoom โรงเรียนท่ีเข้าร่วมโครงการ Innovation For Thai Education (IFTE)

นวตั กรรมการศกึ ษาเพ่อื พฒั นาการศึกษา
2.จัดทาเล่มแนวทางการยกระดับพัฒนาการจัดการเรียนรู้โครงการ Innovation For Thai

Education (IFTE) นวัตกรรมการศึกษาเพอ่ื พฒั นาการศกึ ษา
3.มีการแต่งต้ังคณะทางานของโครงการจากทุกหน่วยงาน ทาความเข้าใจโครงการ และให้ความรู้ผู้

บริการ ครูผู้สอน มีนวัตกรรมการบริหารจัดการ การจัดการเรียนรู้ การนิเทศ ติดตามและ ประเมินผล
การดาเนินงานอย่างต่อเน่อื งและรายงานสรุปผลต่อหนว่ ยงาน ต้นสงั กดั เปน็ ไตรมาส
8. ผลที่คาดวา่ จะไดร้ ับ

การบูรณาการด้านการเรียนรู้ระหว่างหน่วยงานในจังหวัดและภาค ในการพัฒนาคนให้พร้อมเข้าสู่
สังคมคุณภาพในศตวรรษที่ 21 เป็นไปตามนโยบายและยุทธศาสตร์ของรัฐบาลของกระทรวงศึกษาธิการและ
นโยบายท่ีเก่ียวข้องได้อย่างมีนวัตกรรมงานวิจัยกระบวนการบริหารจัดการศึกษา กระบวนการจัดการเรียนรู้
และกระบวนการนิเทศการศึกษามีประสิทธิภาพ ทาให้ผลสัมฤทธิ์ทางการศึกษาและพัฒนาศักยภาพการเรียนรู้
ตามสมรรถนะของผเู้ รยี นเพ่ิมขึน้

8

สว่ นท่ี 2 วธิ ีการดาเนนิ งาน

รายงานวธิ กี ารดาเนินงาน โครงการ Innovation For Thai Education ( IFTE ) นวัตกรรมการศึกษา
เพื่อพัฒนาการศึกษา ปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 มีแนวทางการขับเคลื่อนให้กับสถานศึกษาดาเนินไปตาม
วตั ถุประสงค์ของโครงการอยา่ งมปี ระสทิ ธิภาพ ดงั น้ี

กิจกรรมที่ 1 วิเคราะหข์ ้อมลู สารสนเทศผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดบั ชาตขิ ้นั พ้นื ฐาน

(O-NET) และจดั ทาศูนย์กลางขอ้ มูลสารสนเทศ นวตั กรรม และงานวิจยั ทางการศกึ ษาในระดบั จังหวดั

1.1 ประชุมชี้แจงแนวทางการดาเนินงานโครงการ Innovations For Thai Education

(IFTE) นวตั กรรมทางการศึกษา เพื่อพัฒนาการศึกษา

1.2 ประกาศแต่งคณะกรรมการดาเนินงานโครงการ Innovations For Thai Education

(IFTE) นวัตกรรมทางการศกึ ษา เพอื่ พฒั นาการศึกษาระดบั จังหวัด

1.3 รวบรวมข้อมูลผลการทดสอบทางการศึกษ าระดับชาติข้ันพ้ืนฐาน (O-NET)

ใช้เทคโนโลยดี ิจติ ลั สรปุ สงั เคราะห์บันทึกขอ้ มลู นาข้อมูลไปใชใ้ นการพัฒนาคณุ ภาพ

1.4 นาเสนอโครงการ Innovations For Thai Education (IFTE) นวัตกรรมทางการศึกษา

เพื่อพฒั นาการศกึ ษา ผ่าน กศจ.

1.5 แจง้ รายช่อื สถานศกึ ษากับศึกษาธิการภาค 3 และหนว่ ยงานต้นสงั กัด

สรุปผลการดาเนินงาน คณะกรรมการดาเนินงานโครงการ Innovations For Thai Education

(IFTE) นวัตกรรมทางการศึกษา เพ่ือพัฒนาการศึกษาระดับจังหวัด มีความเข้าใจในกรอบงาน และนาเสนอ

โครงการ Innovations For Thai Education (IFTE) นวัตกรรมทางการศึกษาเพื่อพัฒนาการศึกษา ผ่าน กศจ

(19 กมุ ภาพันธ์ 2564)

กิจกรรมท่ี 2 สร้างการรับรู้การดาเนินงานโครงการ Innovations For Thai Education
(IFTE) นวตั กรรมทางการศึกษา เพอ่ื พัฒนาการศกึ ษา

2.1 ประชุมคณะกรรมการเตรยี มการดาเนนิ งานโครงการ Innovations For Thai Education
(IFTE) นวัตกรรมทางการศึกษาเพ่ือพัฒนาการศึกษา วันศุกร์ที่ 19 มีนาคม พ.ศ.2564 เวลา 08.30 - 16.30 น
ณ หอ้ งประชุมชัน้ 2 สานกั งานศึกษาธกิ ารจงั หวัดสพุ รรณบรุ ี อาเภอเมอื ง จงั หวดั สพุ รรณบรุ ี

2.2 เชิญวิทยากร/คณะกรรมการ ผู้เช่ียวชาญการพัฒนานวัตกรรมทางการศึกษา 3 ด้าน
ดา้ นการบริหารจดั การศึกษา ด้านกระบวนการจัดการเรียนรู้ และด้านกระบวนการนิเทศการศึกษา วันจันทร์ท่ี
22 มีนาคม พ.ศ. 2564 เวลา 08.30 - 16.30 น ณ ห้องประชุม Multimedia Room โรงเรียนสงวนหญิง
อาเภอเมือง จังหวัดสุพรรณบุรี ประกอบดว้ ย ผบู้ ริหารโรงเรียน ครูวชิ าการ ครผู ู้สอน โรงเรยี นละ 3 คน
จากหน่วยงานต้นสงั กัดจากสพฐ. สช. อปท. กศน.และศกึ ษานเิ ทศก์ คณะวิทยากร ประกอบด้วย

มหาวิทยาลัยศลิ ปากร ใหค้ วามรดู้ ้านกระบวนการนเิ ทศการศกึ ษา
1. ผศ.ดร.มาเรยี ม นิลพันธ์
2. ผศ.ดร.ชนสิทธิ์ สิทธิสูงเนิน
3. ดร.สุวมิ ล สพฤกษ์ศรี

มหาวทิ ยาลัยราชภัฏกาญจนบรุ ี ให้ความรู้ด้านกระบวนการบริหารจดั การศึกษา
1. ผศ.ดร.สาโรจน์ เผ่าวงศาสกุล
2. ดร.ปรเมศร์ กลิ่นหอม

โรงเรยี นสงวนหญิง ครู ค.ศ.4 ใหค้ วามรู้ดา้ นกระบวนการจัดการเรียนรู้
นายมานัส ทิพยส์ ัมฤทธ์กิ ุล

9

สรุปผลการดาเนินงาน โรงเรียนท่ีเข้าร่วมโครงการ Innovation For Thai Education ( IFTE )
นวัตกรรมการศกึ ษาเพื่อพฒั นาการศึกษา ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 มคี วามตระหนักและนาความรู้ท่ีได้รับ
ไปดาเนินการพัฒนานวัตกรรมทางการศึกษา 3 ด้าน ด้านการบริหารจัดการศึกษา ด้านกระบวนการจัดการ
เรยี นรู้ และด้านกระบวนการนิเทศการศึกษา เพ่อื พัฒนาการเรียนการสอนโดยส่งกับผู้เรยี น

กิจกรรมท่ี 3 นิเทศ ติดตาม ประเมินผลการดาเนินงานและ แลกเปลี่ยนเรียนรู้ นาเสนอ

กาหนดการประชมุ การนเิ ทศ ตดิ ตาม  เตรียมความพรอ้ มการแลกเปล่ียนเรยี นรู้
โครงการ Innovation For Thai Education (IFTE) นวัตกรรมการศกึ ษา เพ่ือพฒั นาการศกึ ษา

วันองั คารที่ 2 กรก าคม 2564

เวลา 09.00 – 09.10 น. เปดการประชมุ โดย ดร.วรี ะ ทวีสขุ ศกึ ษาธิการจงั หวดั สพุ รรณบุรี
เวลา 09.10 – 09.25 น. การนิเทศ ตดิ ตาม โครงการ Innovation For Thai Education (IFTE)
โดย ดร.กรษิ า โพรามาต
เวลา 09.25 – 10.00 น. แลกเปล่ียนเรียนรู้ การนเิ ทศ ติดตาม
เวลา 10.00 – 10.15 น. การเตรยี มความพรอ้ มการแลกเปลี่ยนเรยี นรู้ โดย ดร.กรษิ า โพรามาต
เวลา 10.15 – 11.00 น. การใช้ Application Zoom นายสภุ วจั น์ อบุ ลทศั นยี ์
เวลา 11.00 - 11.30 น. ถาม/ตอบ/สรปุ /นดั หมาย
เวลา 11.30 – 12.00 น. ปดการประชมุ โดย ดร.พัฒนาพร ไทยพบิ ูลย์

SUPHANBURI PROVINCIAL EDUCATION OFFICE

สรุปผลการดาเนินงาน โรงเรียนที่เข้าร่วมโครงการ Innovation For Thai Education (IFTE)
นวัตกรรมการศึกษาเพื่อพัฒนาการศึกษา ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 ได้นาเสนอแลกเปล่ียนเรียนรู้การ
นิเทศ ติดตามบุคลากรในโรงเรียน ผู้เข้าร่วมประชุมและข้อเสนอแนะเพิ่มเติมจากศึกษาธิการจังหวัด
รองศกึ ษาธิการจังหวัด ศกึ ษานิเทศกแ์ ละผเู้ กี่ยวขอ้ ง

กิจกรรมที่ 4 นาเสนอ คัดเลอื กนวัตกรรมและแลกเปลีย่ นเรียนรูร้ ะดับจงั หวดั

Innovation For Thai Education (IFTE)



SUPHANBURI PROVINCIAL EDUCATION OFFICE

วนั ที่ 3 สงิ หาคม 2564 คัดเลือกนวตั กรรมดา้ นกระบวนการบริหารจดั การศึกษา
คณะกรรมการ ประกอบดว้ ย
1. ผศ.ดร.สาโรจน์ เผ่าวงศาสกลุ
2. อาจารย์ดร.ปรเมศร์ กลนิ่ หอม
3. อาจารย์ ดร.พาที เกศธนากร

10

นวัตกรรมด้านกระบวนการบรหิ ารจดั การศึกษา จานวน 12 โรงเรยี น

ท่ี โรงเรียน นวตั กรรม หนว่ ยงานต้น ผูส้ ง่
1. วดั จาปี สงั กดั
การพัฒนารูปแบบการบรหิ ารจดั การศึกษา นายปรเมศร์
2 วดั ลาดกระจับ CHAMPEE Model เพ่ือยกระดบั คุณภาพการศกึ ษา สพป.สพ.1 ล้อมวงษ์
โรงเรยี นวัดจาปี
3 วดั ประชุมชน การพัฒนารูปแบบการบรหิ ารงานเพอ่ื พฒั นาคุณภาพ สพป.สพ.1 นางประภสั สร
4 วัดครี ีรตั นาราม ผเู้ รียน ด้วยการเปลย่ี นแปลงเชิงระบบผา่ นรูปแบบ I สวุ รรณประทีป
5 บา้ นเขาชาน SMART 5G วถิ ใี หม่ Model โรงเรียนวัดลาดกระจับ สพป.สพ.1
รปู แบบการบรหิ ารโรงเรียนวดั ประชุมชน BAN สพป.สพ.2 นางศจี
หมาก BUENG MODEL สพป.สพ.2 วงศศ์ รเี ผอื ก
6 วัดทา่ ข้าม บ้านใหม่ โมเดล (BANMAI MODEL) สพป.สพ.2 นางดาวรงุ่
7 บา้ นเขากาแพง สพป.สพ.2 ตาลเพชร
8 วังหวา้ ราษฎร์ รูปแบบการบริหารจัดการศกึ ษา “บรู ณาการศาสตร์ สพม.สพ. นางพฒั นีพร
ด้วย NEW KM MODEL สร้างผู้เรียน ดี เกง่ มสี ขุ ”
สามคั คี การบรหิ ารสถานศกึ ษาภายใตร้ ูปแบบ TAKHAM สพม.สพ. ทองลมิ้
9 ท่งุ คลีโคกช้าง MODEL นายนริ นั ดร
การบรหิ ารสถานศกึ ษาด้วยรปู แบบ BKKPs Model สข. ชนะวงศ์
วทิ ยา นางดวงใจ
10 ภาวนาภมิ ณฑ์ Creative Innovation for Wangwaratsamakkhi สช.
School – CIWR ดว้ ย WRS Model สกู่ ารพฒั นาผล สข. บัวงาม
พิทยา การทดสอบระดับชาตอิ ย่างย่ังยนื นายบรรเทา
“ TKW 4 GOOD MODEL ” การบรหิ ารจดั การ คุม้ ฉายา
11 อนบุ าลปราณี แบบมสี ว่ นรว่ ม
การพฒั นานวตั กรรมการบรหิ ารจดั การศึกษา ท่ี นางสาวสมใจ
12 รตั นศกึ ษา เสรมิ สร้างประสทิ ธภิ าพในการบรหิ ารจัดการของ สืบวฒั นพงษกุล
โรงเรยี นภาวนาภมิ ณฑพ์ ทิ ยา โดยใชร้ ปู แบบ
Pawana Model ดร.ธรี ะพร
รปู แบบการบริหารสถานศึกษา PRANEE:HOT อายุวฒั น์
Model เพื่อพัฒนาผเู้ รยี นใหม้ ีคุณลักษณะตวิสัยทัศน์
สถานศกึ ษา ดร.ปราณี
รปู แบบการบรหิ ารจัดการเพ่ือสร้างนวัตกรรมการ พงษ์สพุ รรณ
จดั การเรยี นรู้ Rattanasuksa 7P model
ดร.ณชิ า
ฉิมทองดี

11

วันที่ 4 สิงหาคม 2564 คัดเลือกนวัตกรรมด้านกระบวนการจัดการเรียนรู้
คณะกรรมการ ประกอบดว้ ย
1.รศ.ดร.พรชัย หนูแก้ว
2.รศ.ดร.กรัณยพ์ ล ววิ รรธมงคล
3.นายมานสั ทพิ ยส์ ัมฤทธิ์กลุ
นวตั กรรมดา้ นกระบวนการจดั การเรยี นรู้ จานวน 12 โรงเรยี น

ที่ โรงเรยี น นวัตกรรม หนว่ ยงานตน้ ผสู้ ง่
1 วัดจาปี สงั กดั
การพฒั นาผลสัมฤทธิ์ทางการเรยี นโดยใช้
2 วัดประชุมชน บทเรียนสาเร็จรูปเร่ือง ไฟฟา้ รายวชิ า สพป.สพ.1 นางสาวนุชจรี
วิทยาศาสตร์ ชาวอุทยั
3 ทา่ ข้าม สาหรบั นกั เรียนช้ันประถมศกึ ษาปที ี่ 6
4 บา้ นเขากาแพง การใชแ้ บบฝกึ เสรมิ ทกั ษะการอ่านจบั สพป.สพ.1 นางสาวมนัสนันท์
ใจความสาคญั จากบทร้อยกรอง ชุด สารผี ล
ท่องเทยี่ วจงั หวดั สพุ รรณบรุ ี
สาหรบั นักเรียนชั้นประถมศึกษาปที ่ี 6 สพป.สพ.2 นางจติ ภิ า บตุ รโท
โรงเรยี นวดั ประชมุ ชน
บทเรยี นสาเรจ็ รปู เรอ่ื ง ควาสมั พันธ์ระหว่าง สพป.สพ.2 นายธาดา กลีบทอง
สิง่ มีชวี ติ กับสง่ิ มชี ีวิต
การพัฒนาแบบฝกึ ทักษะการอ่าน คดิ
วเิ คราะห์ กลุม่ สารการเรยี นรู้ภาษาไทย

5 วังยาว อา่ นเสริม เติมความรู้ สพป.สพ.3 นางสุมาลี บุญชาย

6 บ้านทัพหลวง วงล้อฝึกสนทนา (Chit Chat Wheel) สพป.สพ.3 นางสวนภัสพร
แตงทอง
7 ภาวนาภมิ ณฑ์ การพัฒนานวัตกรรมการจัดการเรยี นรู้
พิทยา ท่สี ่งเสริมการจดั การเรียนรู้ท่ีหลากหลาย สข. ดร.สุริยะ รูปหมอก
ของครใู นยุคโควิด-19 โดยใช้รปู แบบ
8 กศน. Pawana online กศน. นายเสรมิ สุข
บุญนาค
นวตั กรรมการเรยี นรู้เพ่ือพฒั นาการศึกษา

12

วนั ท่ี 5 สิงหาคม 2564 คัดเลือกนวัตกรรมดา้ นกระบวนการนิเทศการศึกษา
คณะกรรมการ ประกอบดว้ ย
1.ผศ.ดร.มาเรียม นลิ พนั ธ์
2.ผศ.ดร.ชนสิทธ์ิ สทิ ธิสูงเนนิ
3.อาจารย์ดร.สวุ ิมล สพฤกษ์ศรี
นวัตกรรมดา้ นกระบวนการนเิ ทศการศึกษา จานวน 8 โรงเรยี น

ท่ี โรงเรียน นวตั กรรม หนว่ ยงานต้น ผสู้ ง่

สังกัด

1. วัดจาปี การพฒั นาคุณภาพผ้เู รียนและยกระดบั คุณภาพ สพป.สพ.1 นงคล์ ักษณ์

การศกึ ษาของโรงเรยี นวัดจาปี โดยใช้ วงษง์ าม

กระบวนการนิเทศ PIDRE

2 วดั พระธาตุ FRIEND MODEL สพป.สพ.1 นางสพุ ตั รา

มลู ละออง

3 วดั ทา่ ขา้ ม รปู แบบการนเิ ทศภายใน “WISDOM 5G Model สพป.สพ.1 นางวีรินทร์

ยกระดับผลสัมฤทธิ์” โรงเรียนวัดทา่ ข้าม ขันตี

4 วัดเขากาแพง นวตั กรรมการนิเทศเพ่ือส่งเสริการจดั การเรียน

การสอนแบบ Active Learning เพื่อยกระดับ สพป.สพ.2 นางศิรนิ ทร์ทิพย์

ผลสัมฤทธิด์ า้ นการเรียนภาษาไทย ช้ัน อนิ ทะนาม

ประถมศึกษาปที ี่ 1- มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 3

5 บ้านทัพหลวง การนิเทศเพื่อพัฒนาสมรรถนะการจัดการเรยี นรู้ สพป.สพ.3 นางวนั เพ็ญ

ในสถานการณก์ ารแพร่ระบาดของเช้ือไวรสั อน้ นา

โควิด 19

6 สระยายโสม รูปแบบการนิเทศ 5A Model เพือ่ ส่งเสริมการ

จัดการเรยี นการสอน Online ของครูผ้สู อน

ระดบั ชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 6 โรงเรยี นสระยายโสม สพม.สพ นางสาวรชั นก

วิทยา ในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติด ศรีทองสุข

เชอื้ ไวรสั โคโรนา 2019 (Covid-19)

7 ภาวนาภิมณฑ์ การพฒั นานวัตกรรมการนเิ ทศ เพอ่ื เสรมิ สรา้ ง สข. นางสาวกาหลง

พทิ ยา การจัดการเรยี นรทู้ ีห่ ลากหลายของครใู นยุคโค บชู า

วดิ -19 โดยใชร้ ูปแบบ Pawana Supervision

8 อ นุ บ า ล ย อ ด รูปแบบการนเิ ทศภายในของสถานศกึ ษาดว้ ย สช. นายธวัช

ไม้งาม หลักการ YMNGS MODEL มัน่ ปาน

13
สรุปผลการดาเนินงาน โรงเรียนท่ีเข้าร่วมโครงการ Innovation For Thai Education (IFTE)
นวัตกรรมการศึกษาเพ่ือพัฒนาการศึกษา ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 ผลการนาเสนอนวัตกรรมและ
แลกเปล่ียนเรยี นรู้ ระดบั ดมี าก
ระดับจงั หวัด และเป็น ตวั แทนนาเสนอระดับภาค ดังน้ี
1.ดา้ นการบริหารการจดั การ โรงเรียนวดั ลาดกระจับ
2.ด้านกระบวนการจัดการเรียนรู้ โรงเรียนเทศบาล 3 ไชนาวาส
3.ดา้ นกระบวนการนิเทศการศึกษา โรงเรียนสระยายโสมวทิ ยา
กิจกรรมท่ี 5 การสงั เคราะหว์ จิ ยั นวตั กรรม ของสถานศึกษากลมุ่ เปา้ หมาย

วนั ท่ี 11 สงิ หาคม 2564 สรุปสงั เคราะหโ์ ครงการ ผทู้ รงคุณวุฒิประกอบดว้ ย

Innovation For Thai Education (IFTE)

1.

SUPHANBURI PROVINCIAL EDUCATION OFFICE

ภาพการสังเคราะห์วิจยั นวตั กรรม ของสถานศกึ ษากลุ่มเปา้ หมาย ผ่านระบบ Zoom

สรุปผลการดาเนินงาน วิทยากรผู้ทรงคุณวุฒิและโรงเรียนที่เข้าร่วมโครงการ ร่วมกันวังเคราะห์
นวัตกรรม โดยวิทยากรผ้สู ง่ คุณวุฒิและผเู้ กยี่ วข้องร่วมจัดทาเลม่ รายงาน

14
วันที่ 1 สิงหาคม 2564 การคัดเลือกนวัตกรรมและแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระดับภาค (จังหวัดราชบุรี
จังหวดั กาญจนบรุ ี และจงั หวดั สพุ รรณบรุ ี)
สรุปผลการดาเนินงาน ผลการคัดเลือกนวัตกรรมและแลกเปลี่ยนเรียนรู้จากคณะกรรมการ
ผู้ทรงคณุ วฒุ ิ ระดบั ภาค (จงั หวัดราชบุรี จงั หวดั กาญจนบุรี และจังหวัดสุพรรณบุรี) จังหวัดสุพรรณบุรี ได้ลาดับ
ที่ 1 ทัง้ 3 ดา้ น
1. ดา้ นการบรหิ ารการจัดการ โรงเรียนวดั ลาดกระจบั ระดับยอดเย่ียม
2.ดา้ นกระบวนการจดั การเรียนรู้ โรงเรยี นเทศบาล 3 ไชนาวาส ระดับยอดเยีย่ ม
3.ดา้ นกระบวนการนิเทศการศกึ ษา โรงเรยี นสระยายโสมวิทยา ระดับดมี าก

กจิ กรรมท่ี 6 จดั ทาเอกสารรายงาน /จัดทาบทความ/จัดทาคลิปวดี ีโอและมัลติมีเดียผลการดาเนินงานของ
จงั หวัดในพื้นทรี่ ับผดิ ชอบ

- จัดทาเอกสารรายงานโครงการ Innovation For Thai Education ( IFTE ) นวัตกรรมการศึกษาเพ่อื
พฒั นาการศึกษา ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564

- การจัดทาคลิป VDO การจัดการเรียนการสอนท้ัง 3 ด้าน ได้แก่ ด้านการบริหารการจัดการ ด้าน
การจัดการเรียนรู้ ด้านนิเทศการศึกษาและโครงการ Innovation For Thai Education (IFTE ) นวัตกรรม
การศึกษาเพ่ือพัฒนาการศึกษา ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 (ผ่านการคัดเลือกจากคณะกรรมการ
ผทู้ รงคุณวุฒิจากมหาวทิ ยาลยั ในระดับภาค ลาดบั ท่ี 1 ท้งั 3 ดา้ น)

- การจัดทาบทความเผยแพร่โรงเรียนผ่านการคัดเลือกนวัตกรรมและแลกเปล่ียนเรียนรู้โครงการ
Innovation For Thai Education IFTE ) นวัตกรรมการศึกษาเพื่อพัฒนาการศึกษา ประจาปีงบประมาณ พ.ศ.
2564 (เผยแพร่นวัตกรรมทัง้ 3 ดา้ น ผ่านการคดั เลือกจากคณะกรรมการผูท้ รงคุณวุฒจิ ากมหาวิทยาลัยในระดับ
จงั หวดั

สรุปผลการดาเนินงาน ดาเนินการตามแผนทก่ี าหนดไว้

15

ส่วนที่ 3 ผลการดาเนินงาน

2.1) ผลการการดาเนินงานโครงการในภาพรวมของ ศธจ.
1. มีศูนย์กลางขอ้ มลู สารสนเทศทางการศกึ ษาและกระบวนการจดั การเรยี นรู้ ในระดับจงั หวดั
2. มีการพัฒนาการจัดการเรียนรู้ และถ่ายทอดองค์ความรู้เก่ียวกับ รูปแบบ/ แนวทางการ

พฒั นาการจดั การเรยี นรู้ และนวตั กรรมการแลกเปลี่ยนเรียนรูร้ ะดับหน่วยงานทกุ สงั กดั
3. มีนวัตกรรมผ่านการคดั เลือกจากคณะกรรมการผ้ทู รงคุณวุฒริ ะดบั ภาค
ได้ลาดับท่ี 1 ดา้ นการบรหิ ารจดั การ ระดับยอดเย่ียม
- โรงเรยี นวดั ลาดกระจบั ผ้เู สนอผลงาน นางประภัสสร สุวรรณประทปี ตาแหนง่

ผู้อานวยการสถานศกึ ษาสงั กัด สานักงานเขตพนื้ ที่การศึกษาประถมศึกษาสพุ รรณบุรี เขต 1 ทอ่ี ยู่ ตาบล ศาลา
ขาว อาเภอเมืองสุพรรณบรุ ี จังหวัดสพุ รรณบรุ ี 72210 (ชอื่ นวตั กรรม) นวตั กรรม “การพัฒนารูปแบบการ
บริหารงาน” เพ่ือพฒั นาคุณภาพผู้เรยี นด้วยการเปลี่ยนแปลงเชงิ ระบบผ่านรปู แบบ I SMART 5G วถิ ใี หม่
Model โรงเรียนวัดลาดกระจับ

ได้ลาดบั ที่ 1 ดา้ นการจัดการเรยี นรู้ ระดับยอดเยีย่ ม
- โรงเรยี นเทศบาล 3 วดั ไชนาวาส ผู้เสนอผลงาน นางพิศมัย หงษ์ทอง ตาแหน่ง ครู

สังกัด สานักการศกึ ษาเทศบาลเมอื งสพุ รรณบรุ ี กรมสง่ เสริมการปกครองท้องถิน่ ที่อยู่ ตาบลท่าพีเ่ ลี้ยง อาเภอ
เมืองสุพรรณบรุ ี จังหวดั สพุ รรณบรุ ี 72000 (ช่อื นวตั กรรม) การพัฒนารปู แบบการจดั การเรียนรูว้ ิทยาศาสตร์
เพอ่ื สง่ เสรมิ ทักษะการคดิ อย่างมีวิจารณญาณและจิตวทิ ยาศาสตร์ของนกั เรยี นช้ันมธั ยมศกึ ษาปีที่ 2

ได้ลาดบั ที่ 1 ด้านการนเิ ทศการศกึ ษา ระดบั ดมี าก
- โรงเรียนสระยายโสมวิทยา ผู้เสนอผลงาน นางสาวรัชนก ศรีทองสุข รองผู้อานวยการ
สถานศึกษาสังกัด สานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษามัธยมศึกษาสุพรรณบุรีที่อยู่ เลขที่ 594 หมู่ 3 ตาบลสระยาย
โสม อาเภออู่ทอง จังหวัดสุพรรณบุรี 71170 (ชื่อนวัตกรรม) รูปแบบการนิเทศ 5A Model เพ่ือส่งเสริมการ
จัดการเรียนการสอน Online ของครูผู้สอนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 6 โรงเรียนสระยายโสมวิทยา
ในสถานการณก์ ารแพรร่ ะบาดของโรคติดเชื้อไวรสั โคโรนา 2019 (Covid-19)
4. มีเครือข่ายความร่วมมือในการพัฒนาคุณภาพการศึกษาจากผู้เช่ียวชาญมหาวิทยาลัย
ศิลปากร ให้ความรู้ด้านกระบวนการนิเทศการศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏกาญจนบุรี ให้ความรู้ด้าน
กระบวนการบริหารจัดการศึกษา โรงเรียนสงวนหญิง ครู ค.ศ.4 ให้ความรู้ด้านกระบวนการจัดการเรียนรู้
และผู้ทรงคุณวฒุ ิ
5. สถานศึกษามีรูปแบบการบริหารและจัดการเชิงระบบโดยทุกฝ่ายมีส่วนร่วม ยึดหลัก
ธรรมาภิบาล และมุ่งพฒั นาผู้เรยี นตามแนวทางปฏิรูปการศกึ ษา
6. สถานศึกษามีผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนของนักเรียนมีระดับท่ีสูงขึ้นครูมีการใช้สื่อการสอน
และเทคนิคต่างๆ มาสอนนักเรียนมากขึ้น และนักเรียนนอกจากจะมีผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนที่เพิ่มมากข้ึนแล้ว
นักเรียนยังมคี วามรบั ผิดชอบ และมีวนิ ยั มากขึน้ ด้วย และนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีท่ี 6 และมัธยมศึกษาปีท่ี 3
มีคะแนนการทดสอบขั้นพ้ืนฐานแห่งชาตเิ พ่มิ มากขน้ึ
7. สถานศึกษามีขับเคลื่อนกระบวนการนิเทศ ติดตาม การดาเนินกิจกรรมย่อยอย่างใกล้ชิด
รวมท้งั กิจกรรมตา่ ง ๆ เพ่อื ช่วยแกไ้ ขปญั หาขณะดาเนินกิจกรรมได้ทนั ที

16

2.2) ผลการพัฒนา/คดิ คน้ /สร้าง นวัตกรรมการบรหิ ารจดั การ การจัดการเรยี นรู้ และการนเิ ทศการศกึ ษา
1. ไดร้ ูปแบบการบรหิ ารจดั การศึกษา ที่จะนาไปใชใ้ นการพัฒนาคุณภาพผูเ้ รียน
2. ไดค้ วามรกั ความสามัคคี ในการดาเนนิ งาน เพราะเปน็ รูปแบบการบรหิ ารจดั การที่ทกุ ฝา่ ย

ร่วมกันสรา้ งและพฒั นา
3.ได้ระบบการบรหิ ารจัดการทม่ี ีรปู แบบชดั เจน จากโรงเรียนที่เป็นสถานศึกษาขนาดเลก็ มคี รู

บุคลากรและนักเรียนจานวนจากดั ต้องอาศัยการทางานท่ีมีการวางแผน การกาหนดเป้าหมายทีช่ ดั เจน การ
บรหิ ารจัดการบุคลากร การจัดการนาสกู่ ารปฏบิ ตั ิ เป็นกระบวนการทางานที่ขบั เคลื่อนอย่างเป็นระบบ

4. มกี ารปรบั เปล่ยี นวฒั นธรรมการทางานในโรงเรยี นจากต่างคนต่างทาเปลี่ยนมาเปน็ ครรู ่วมกนั
ทางานเปน็ ทีม เพ่ือแลกเปลีย่ นเรียนรูร้ ว่ มกันในการพฒั นาการจัดการเรยี นการสอนมากขน้ึ

5. ครูผู้สอนมกี ารเรยี นรู้และพฒั นาตนเองอยูเ่ สมอเพื่อให้ทนั กบั สถานการณ์ปัจจุบัน เชน่ การ
เรียนรู้การใช้เทคโนโลยีในการจัดการเรียนการสอน การได้รับคาแนะนาและการช่วยเหลือต่างๆ จากเพื่อนครู
การอบรมการใช้แอปพลเิ คชนั่ ต่างๆ ท่ใี ชใ้ นการเรียนการสอน เปน็ ต้น
2.3) ผลการใช้นวตั กรรมการบรหิ ารจัดการ การจดั การเรียนรู้ และการนเิ ทศ ตดิ ตามและประเมนิ ผล

- ผลทเ่ี กิดข้นึ กบั สถานศกึ ษา และผบู้ ริหาร
1. ผู้บริหารมีภาวะผู้นา และมีทัศนคติท่ีดี และมีความเข้าใจในเร่ืองคุณธรรม จริยธรรม เป็น

แบบอย่าง ที่ดีในการดาเนินชีวิต ทั้งในด้านส่วนตนและงาน ความร่วมมือ ร่วมใจ ที่เกิดจากการร่วมมือกันทา
กจิ กรรม อย่างต่อเนือ่ งดว้ ยความสุข และเห็นคุณคา่ ของสิ่งทท่ี า

2. สถานศึกษาสามารถนาผลท่ีได้จากการพัฒนามาปรับปรุง วางแนวทางการพัฒนาโรงเรียนให้
เป็นไปในทิศทางท่ดี ยี ่ิงขึน้

3. บุคลากรในโรงเรียนมคี วามสามัคคี ยอมรบั ฟงั ความคดิ เห็นของคนอ่นื
4. สถานศึกษาไดร้ ับการยอมรับจากผูป้ กครองและชมุ ชน
5. เสริมสร้างความเข็มแข็งให้กับกระบวนการนิเทศภายในโรงเรียน และสามารถดาเนินการได้
ดว้ ย ตวั เองอยา่ งต่อเนื่องจึงทาให้ผู้บริหารโรงเรียนและครูมีความมั่นใจในกระบวนการนิเทศ มีระบบการนิเทศ
ภายในทมี่ ีประสทิ ธิภาพ ส่งผลให้การบริหารจัดการศึกษาเป็นระบบต่อเน่ืองและทุกคนมีส่วนร่วมในการพัฒนา
คุณภาพการศกึ ษา
- ผลทเี่ กดิ ข้ึนกับครผู ้สู อน
1. ครผู ้สู อนมีการเรียนรูแ้ ละพัฒนาตนเองอยู่เสมอเพ่ือให้ทนั กบั สถานการณป์ จั จุบัน เช่น การ
เรียนรู้การใช้เทคโนโลยีในการจัดการเรียนการสอน การได้รับคาแนะนาและการช่วยเหลือต่างๆ จากเพ่ือนครู
การอบรมการใช้แอปพลเิ คชน่ั ตา่ งๆ ทใี่ ช้ในการเรยี นการสอน เป็นต้น
2. ครูมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในการสอน มีการจัดการเรียนการสอนตอบสนองต่อความ
ต้องการของผู้เรยี นมีการทางานเป็นทีม
3. ครูสามารถพัฒนาวิชาชีพของตนเองตามแนวทางของนวัตกรรมที่ใช้ในโรงเรียน มีระบบการ
นิเทศภายในท่เี ขม้ แข็ง วฒั นธรรมองคก์ ารเปลย่ี นไปสู่การเปน็ องคก์ ารแหง่ การเรียนรู้
4. ครสู ามารถปรบั เปล่ียนการจัดการเรยี นการสอนจากรูปแบบเดมิ ที่เป็น Onsite เป็นรปู แบบ
Online ไดอ้ ย่างมปี ระสิทธภิ าพ และทันกับสถานการณ์ปัจจุบัน โดยใช้แอปพลิเคชั่นต่างๆ เช่น Google Meet
, Line , Zoom , Facebook เป็นต้น
5. ครูปรับเปล่ียนรูปแบบกระบวนการเรียนการสอนให้มีความน่าสนใจยิ่งขึ้นได้รู้จุดเด่น จุดควร
พัฒนา แตกต่างกัน สามารถเติมเต็มและต่อยอดกับเพ่ือนครูด้วยกันอย่างกัลยาณมิตรและตัวเองก็สามารถนา
จุดเด่น และจุดควรพัฒนาของเพื่อนครูมาเป็นบทเรียนเพ่ือปรับปรุงการเรียนการสอนของตัวเองให้มี
ประสิทธิภาพอย่าง ต่อเน่ือง ในการจัดการเรียนการสอน นอกจากนั้นยังมีสัมพันธภาพในการมีส่วนร่วมการ
แลกเปลยี่ นเรียนรซู้ ึ่งกนั และกนั

17

6. ครูมีการออกแบบการเรียนรู้ ท่ีเน้นกระบวนการท่ีก่อให้เกิดประสบการณ์และทากิจกรรมมาก
ข้ึน มีการจัดสื่อการเรียนการสอนท่ีดึงดูดผู้เรียน มีการปลูกฝังคุณธรรม จริยธรรม และมีการวัดผล
ประเมนิ ผลท่ีมีมาตรฐานมากขนึ้

7 .ครูสร้างส่ือและนวัตกรรม คลิปวิดีโอการสอน ท่ีใช้ในการเรียนการสอนผ่านระบบออนไลนได้
โดยการอัพโหลดผ่านช่องทางต่างๆ เช่น YouTube , Facebook เป็นต้น ทาให้นักเรียนสามารถทบทวนและ
เรียนซา้ ในเนอ้ื หาทีไ่ มเ่ ข้าใจไดต้ ลอดเวลา

8. มีแผนการสอนในรูปแบบ Online ท่ตี รงตามตัวชีว้ ดั และมาตรฐานตามหลักสูตรแกนกลาง
การศึกษาขัน้ พืน้ ฐาน

9 .มกี ารวดั ผลประเมินผลท่ีหลากหลาย สอดคล้องกับธรรมชาติวชิ า
10.มีผลการนิเทศทน่ี ามาสกู่ ารจัดทาวจิ ยั ในชนั้ เรียน
11.มคี วามพงึ พอใจในการนิเทศภายใน
- ผลที่เกิดข้ึนกบั ผู้เรียน
1. นกั เรียนมีผลสัมฤทธทิ์ างการเรยี นมเี กณฑท์ ีส่ งู ขน้ึ ตามเกณฑ์ทโ่ี รงเรียนกาหนด
2. นกั เรยี นมีระเบียบวนิ ยั มากขนึ้ การให้ความเคารพครู ตรงต่อเวลา จะเห็นได้จากการที่นักเรียน
มีความสนใจเรยี นและต้ังใจเรยี นมากขน้ึ ถึงแม้จะเปน็ การจัดการเรยี นการสอนในรูปแบบออนไลน์
3. นักเรียนมีผลงานหรือชิน้ งานทเ่ี กิดจากการเรียนรูข้ องตนเอง พัฒนาความสามารถของนักเรียน
ฝึกใหน้ กั เรียนกลา้ คิด กลา้ แสดงออกในทางท่ีถกู ต้อง
4. ผเู้ รียนกล้าคิด กล้าแสดงออกอย่างมีเหตุผล มีความเช่ือม่ันใน ตนเอง ส่งผลให้ชุมชนมีความพึง
พอใจและเข้ามามีสว่ นร่วมในการสนับสนุนโรงเรียนมากข้ึน มีคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน มีผล
การทดสอบความสามารถพื้นฐานของผู้เรียน (NT) และผลการประเมินความสามารถด้านการอ่านของผู้เรียน
(RT) ปกี ารศกึ ษา 2563 สูงกว่าระดบั ประเทศในทกุ ด้าน และสูงกวา่ ในปีการศกึ ษา 2562
5. นักเรยี นมคี วามสนใจในการเรยี นรมู้ ากย่งิ ขน้ึ มีความกระตือรือร้นในการทาใบกิจกรรม มีความ
ตื่นเต้นกับการเรยี นในแตล่ ะวิชามากย่ิงขึ้น มีการส่งงาน / การบ้านส่งสม่าเสมอ และตรงเวลา ทาให้ได้รับการ
ฝึกฝน และทบทวนบทเรียนมากขึน้ โดยผลการทดสอบระดบั ชาติข้ันพื้นฐานมคี ่าเฉล่ียทสี่ งู ขึน้ จากปี 2562 โดย
มีคา่ เฉลยี่ สูงขนึ้ ในทกุ รายวิชา ทงั้ ระดับช้ันประถมศกึ ษาปที ่ี 6 และมัธยมศึกษาปีท่ี 3
6. ผู้เรียนมีความสนใจ ต้ังใจในการเรียนมากย่ิงขนึ้ และมีสว่ นร่วมในการจัดการเรียนการสอนในช้ัน
เรียน มีความกลา้ แสดงออกอย่างสรา้ งสรรค์
7.ใช้เทคโนโลยอี ยา่ งสร้างสรรค์
8. ใช้เวลาวา่ งใหเ้ กิดประโยชน์
9.นกั เรยี นเกดิ การเรยี นรูอ้ ย่างมคี วามสขุ
- ผลท่ีเกดิ ข้นึ อืน่ ๆ
1.มีเครือข่ายความร่วมมือในการพัฒนาคุณภาพการศึกษาจากมหาวิทยาลัยศิลปากร ให้ความรู้
ด้านกระบวนการนิเทศการศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏกาญจนบุรี ให้ความรู้ด้านกระบวนการบริหารจัด
การศึกษา โรงเรียนสงวนหญงิ ครู ค.ศ.4 ให้ความรู้ด้านกระบวนการจดั การเรยี นรู้ และผู้ทรงคณุ วุฒิ
2.ได้เครือข่ายในการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนจากหน่วยงานต้นสังกัด อาทิ สพฐ. สช. อปท. กศน.
และโรงเรียนทเ่ี ขา้ รว่ มโครงการ 32 โรงเรียน

18

2.4) ความพึงพอใจต่อการใช้นวัตกรรมการบริหารจัดการ การจัดการเรียนรู้ และการนิเทศการศึกษา
(ความพึงพอใจของผบู้ ริหาร ศึกษานเิ ทศก์ ครู และนกั เรยี น)

1. สร้างความสมั พันธ์อนั ดรี ะหวา่ งผบู้ ริหาร ศึกษานเิ ทศก์ ครู และนกั เรยี น ผปู้ กครอง และชุมชน
2. ผู้บริหาร ศึกษานิเทศก์ ครู ร่วมคิดเพื่อการเปล่ียนแปลงและพัฒนาไปในทางท่ีดีข้ึน นามา
จัดลาดับสาคัญ เพ่ือเป็นแนวทางในการพัฒนานวัตกรรม ให้สามารถตอบสนองต่อสภาพปัญหา ความต้องการ
และบริบทของ ตนเอง ไดอ้ ยา่ งเหมาะสมและมปี ระสิทธภิ าพ
3. สถานศกึ ษามหี ลกั การมสี ว่ นร่วม และกระบวนการ PDCA เป็นสว่ นหน่ึงทีม่ ีความสาคัญที่ช่วยให้
การดาเนนิ งาน และการบริหารงานกา้ วไปสูค่ วามสาเรจ็
4. มกี ารสือ่ สารสร้างความเข้าใจอันดี เพ่ือเสริมสรา้ ง ให้เกิด ความร่วมมือจากบุคลากรทเ่ี กยี่ วข้อง
ทง้ั ในฝ่ายบริหาร ครู นักเรยี น ผ้ปู กครอง และชมุ ชน ในรูปแบบการ ประชุม การรบั ฟังข้อเสนอ การผ่านสื่อ
ประชาสัมพนั ธ์ตา่ ง ๆ เป็นต้น
5. ครเู ปดใจกวา้ งยอมรับฟังความ คิดเหน็ ของเพ่ือนครูรว่ มวชิ าชีพมากข้ึนเกิดการสรา้ งเครือข่าย
ชุมชนแหง่ การเรยี นรู้ทางวชิ าชีพ (Professional Learning Community)

2.5) ปัญหา อปุ สรรค และข้อเสนอแนะ
ปัญหา อุปสรรค

: 1. สถานการณ์การแพรร่ ะบาดของโรคไวรัสโคโรนา่ (COVIT-19)
2. ข้อจากัดของโครงการและความไม่แน่นอนอันเน่ืองมาจากโครงการถูกกาหนดมาแล้วจาก

หนว่ ยงาน ระดบั สูงและมคี วามซา้ ซอ้ นกนั การคานวณกิจกรรมของโครงการอาจคลาดเคลื่อน
ข้อเสนอแนะ
1. ประชุมทางไลน์ , Zoom โรงเรียนท่ีเข้าร่วมโครงการ Innovation For Thai Education

(IFTE) นวัตกรรมการศกึ ษาเพอื่ พฒั นาการศึกษา
2. จัดทาเล่มแนวทางการยกระดับพัฒนาการจัดการเรียนรู้โครงการ Innovation For Thai

Education (IFTE) นวตั กรรมการศึกษาเพือ่ พฒั นาการศกึ ษา
3. มกี ารแตง่ ตั้งคณะทางานของโครงการจากทุกหน่วยงาน ทาความเข้าใจโครงการ และให้ความรู้

ครผู สู้ อน ในการนารปู แบบ/แนวทางไปพัฒนา มีการนิเทศ ติดตามผลการดาเนินงานอย่างต่อเน่ืองและรายงาน
สรุปผลต่อหนว่ ยงาน ตน้ สงั กัดเปน็ ไตรมาส

19

ภาคผนวก

20

รูปภาพประกอบผลการดาเนนิ โครงการ Innovation For Thai Education (IFTE)
นวตั กรรมการศึกษาเพื่อพัฒนาการศกึ ษา

การสร้างการรับรู้ การนเิ ทศ ตดิ ตาม และแลกเปลย่ี นเรียนรู้
ผ่านระบบ Zoom

คดั เลอื กนวตั กรรมและแลกเปลีย่ นเรยี นรู้ระดบั จังหวดั คัดเลือกนวตั กรรมและแลกเปลี่ยนเรยี นรู้ระดับจังหวดั
ดา้ นการบริหารจดั การศึกษา ด้านการจัดการเรยี นรู้

คัดเลอื กนวัตกรรมและแลกเปล่ียนเรยี นรู้ระดับจังหวัด การสงั เคราะห์/ผลการคดั เลือกนวัตกรรม
ด้านการนิเทศ
และแลกเปล่ียนเรียนรู้ระดับภาค

21

รปู ภาพประกอบการรับรางวัลโครงการ Innovation For Thai Education (IFTE)
นวตั กรรมการศึกษาเพ่ือพฒั นาการศึกษา

รางวลั เป็นตวั แทนระดับจังหวดั รางวัลด้านการบริหารและจัดการ

รางวลั ดา้ นการจดั การเรยี นรู้ รางวลั ด้านการนเิ ทศการศึกษา

22

รปู แบบนวตั กรรมโรงเรยี นที่เข้าร่วม
โครงการ Innovation For Thai Education (IFTE)

นวตั กรรมการศกึ ษา เพอ่ื พัฒนาการศึกษา

นวตั กรรมดา้ นการบรหิ ารจดั การ

โรงเรียนวัดลาดกระจบั

โรงเรยี นวัดคีรรี ตั นาราม โรงเรยี นรัตนศกึ ษา

23

โรงเรยี นบ้านเขาชานหมาก

โรงเรยี นวงั หว้าราษฏรส์ ามคั คี โรงเรียนวดั จาปี

24

โรงเรียนวัดประชมุ ชน

โรงเรียนทุ่งคลโี คกชา้ งวทิ ยา

25

โรงเรียนวดั ทา่ ข้าม

โรงเรียนบ้านเขากาแพง โรงเรียนภาวนาภิมณฑพ์ ิทยา

26

โรงเรียนสระยายโสมวิทยา โรงเรียนอนบุ าลปราณี

โรงเรยี นบรรหารแจม่ ใสวิทยา 7

27

นวตั กรรมด้านการจดั การเรยี นรู้

โรงเรยี นเทศบาล 3 วัดไชนาวาส

โรงเรียนบ้านเขากาแพง โรงเรยี นภาวนาภมิ ณฑ์พิทยา

28

โรงเรยี นบา้ นวังยาว โรงเรยี นวดั จาปี

กศน.สระแก้ว โรงเรยี นบา้ นทพั หลวง

29

โรงเรยี นสระยายโสมวิทยา โรงเรียนวงั หว้าราษฏรส์ ามคั คี

โรงเรียนวดั ประชมุ ชน โรงเรยี นวัดดอนสาโรง

โรงเรียนวดั ท่าข้าม 30

โรงเรยี นทงุ่ คลโี คกชา้ งวิทยา

31

ดา้ นการนิเทศการศกึ ษา

โรงเรียนสระยายโสมวิทยา

โรงเรียนวดั พระธาตุ

โรงเรียนบา้ นทัพหลวง 32

โรงเรยี นภาวนาภมิ ณฑ์พทิ ยา

โรงเรยี นอนบุ าลยอดไมง้ าม

33

โรงเรยี นวดั จาปี
โรงเรียนวดั ท่าข้าม

วัดเขากาแพง

34

ประกาศสานกั งานศึกษาธิการจงั หวัดสุพรรณบรุ ี
เรื่อง ผลการคัดเลือกนวัตกรรมโครงการ Innovation For Thai Education (IFTE)

นวตั กรรมการศกึ ษา เพ่อื พัฒนาการศึกษา ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564
------------------------------------------------------------------

ตาม ที่สานักงานศึกษาธิการภาค 3 มอบให้สานักงานศึกษาธิการจังหวัดสุพรรณบุรี ดาเนินการคัดเลือก
นวตั กรรมโครงการ Innovation For Thai Education (IFTE) นวตั กรรมการศึกษา เพอ่ื พฒั นาการศึกษา ประจาปี
งบประมาณ พ.ศ. 2564 ทั้ง 3 ด้าน ได้แก่ 1 ) ด้านการบริหารและการจัดการ 2) ด้านการจัดการเรียนการสอน
และ 3 ) ด้านการนิเทศการศึกษา เพ่ือยกระดับคุณภาพของผู้เรียนในด้านทักษะการเรียนรู้ ทักษะอาชีพ และ
ทกั ษะชวี ติ ในศตวรรษ ท่ี 21 โดยผา่ นระบบ Zoom น้ัน

บัดนี้ การคัดเลือกนวัตกรรมโครงการ Innovation For Thai Education (IFTE) นวัตกรรม
การศกึ ษา เพ่ือพัฒนาการศึกษา ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 ระดับจังหวัด ได้ดาเนินการเสร็จเรียบร้อยแล้ว
ดงั นัน้ สานักงานศึกษาธิการจังหวัดสุพรรณบุรี จึงขอประกาศรายชื่อสถานศึกษาท่ีได้รับรางวัลคัดเลือกเป็นตัวแทน
ของจงั หวดั สุพรรณบรุ ี เพอ่ื นาเสนอนวตั กรรมในระดับภาค ดังนี้

ดา้ นการบรหิ ารและการจัดการ

ที่ โรงเรียน นวัตกรรม หนว่ ยงาน/ ผสู้ ง่

ต้นสังกดั

1 วัดลาดกระจบั การพฒั นารูปแบบการ สพป.สพ. เขต 1 นางประภสั สร นาเสนอ
ระดับภาค
บรหิ ารงานเพ่ือพฒั นาคุณภาพ สุวรรณประทปี

ผเู้ รยี น ดว้ ยการเปลี่ยนแปลง

เชงิ ระบบผา่ นรูปแบบ I SMART

5 G วถิ ีใหม่ Model โรงเรียน

วัดลาดกระจบั

2 รตั นศกึ ษา รปู แบบการบริหารจดั การเพื่อ สช. ดร.ณิชา

สร้างนวตั กรรมการจดั การ ฉมิ ทองดี

เรียนรู้ Rattanasuksa 7 P

model

3 วงั หวา้ ราษฎร์ Creative Innovation for สพม.สพ. นายบรรเทา

สามัคคี Wangwaratsamakkhi ค้มุ ฉายา

School – CIWR ด้วย WRS

Model สูก่ ารพฒั นาผลการ

ทดสอบระดับชาตอิ ยา่ งยั่งยนื

4 บา้ นเขาชาน รูปแบบการบรหิ ารจดั การศกึ ษา สพป.สพ.2 นางพัฒนพี ร

หมาก “บรู ณาการศาสตร์ ดว้ ย NEW ทองล้มิ

KM MODEL สร้างผู้เรยี น ดี

เกง่ มสี ขุ ”

35

ท่ี โรงเรยี น นวัตกรรม หนว่ ยงาน/ ผสู้ ง่
ตน้ สังกดั
5 วดั คีรีรัตนาราม บ้านใหม่ โมเดล (BANMAI สพป.สพ.2 นางดาวร่งุ
6 วัดจาปี MODEL) สพป.สพ.1 ปานเพชร
การพัฒนารปู แบบการบริหาร นายปรเมศร์
7 วดั ประชุมชน จัดการศึกษา CHAMPEE สพป.สพ.1 ล้อมวงษ์
Model เพอ่ื ยกระดบั คณุ ภาพ
8 วดั ท่าขา้ ม การศกึ ษา โรงเรยี นวัดจาปี สพป.สพ.2 นางศจี
9 วัดเขากาแพง รปู แบบการบรหิ ารโรงเรียนวัด สพป.สพ.2 วงศศ์ รีเผือก
10 ทุ่งคลโี คกช้าง ประชมุ ชน BAN BUENG สพม.สพ.
MODEL นายนิรันดร
วทิ ยา การบริหารสถานศึกษาภายใต้ สช. ชนะวงศ์
11 อนบุ าลปราณี รปู แบบ TAKHAM MODEL นางดวงใจ
การบรหิ ารสถานศึกษาด้วย สช. บวั งาม
12 ภาวนาภมิ ณฑ์ รูปแบบ BKKPs Model นางสาวสมใจ
พทิ ยา TKW 4 GOOD MODEL ” สบื วฒั นพงษกลุ
การบรหิ ารจัดการแบบมสี ่วน
ร่วม ดร.ปราณี
รูปแบบการบรหิ ารสถานศึกษา พงษส์ ุพรรณ
PRANEE:HOT Model เพ่อื
พัฒนาผูเ้ รียนใหม้ ีคุณลกั ษณะ ดร.ธรี ะพร
ตามวิสยั ทศั น์สถานศกึ ษา อายวุ ฒั น์
การพฒั นานวตั กรรมการ
บริหารจัดการศกึ ษา ท่ี
เสริมสร้างประสทิ ธิภาพในการ
บรหิ ารจัดการของโรงเรยี น
ภาวนาภิมณฑพ์ ทิ ยา โดยใช้
รูปแบบ Pawana Model

หมายเหตุ 1 – 5 รบั โล่รางวัล
6 – 12 รบั เกยี รตบิ ตั ร

36

ดา้ นการจดั การเรยี นรู้

ที่ โรงเรียน นวัตกรรม หนว่ ยงาน/ ผสู้ ง่
ตน้ สังกัด
1 เทศบาล ๓ การพัฒนารูปแบบการจดั การ อปท. นางพิศมยั นาเสนอ
วดั ไชนาวาส เรียนร้วู ิทยาศาสตร์เพ่ือส่งเสริม หงษท์ อง ระดบั ภาค
ทักษะการคิดอย่างมี สพป.สพ.3
2 บา้ นวังยาว วิจารณญาณและ จติ สพม.สพ. นางสมุ าลี
วิทยาศาสตร์ของนักเรียนช้นั สพป.สพ.2 บญุ ชาย
มัธยมศึกษาปีที่ 2 นางสนุ นั ทา
อ่านเสริม เติมความรู้ สพป.สพ.1 มีชนะ
นายธาดา
3 วงั หวา้ ราษฎร์ GPAS 5 Steps By WRS สช. กลบี ทอง
สามัคคี Model
กศน. นางสาว
4 บ้านเขากาแพง การพัฒนาแบบฝกึ ทักษะการ สพป.สพ.1 มนสั นันท์
อ่าน คดิ วิเคราะห์ กลมุ่ สาระ สารีผล
การเรยี นรภู้ าษาไทย
ดร.สุริยะ
5 วัดประชุมชน การใช้แบบฝึกเสริมทกั ษะการ รูปหมอก
อา่ นจับใจความสาคัญจากบท
6 ภาวนาภิมณฑ์ ร้อยกรอง ชดุ ท่องเที่ยวจงั หวดั
พทิ ยา สุพรรณบุรี สาหรับนกั เรยี นชั้น
ประถมศึกษาปที ี่ 6 โรงเรยี นวดั
ประชมุ ชน
การพัฒนานวตั กรรมการจดั การ
เรียนรู้ ที่สง่ เสรมิ การจดั การ
เรยี นรู้ที่หลากหลายของครใู น
ยุคโควดิ -19 โดยใช้รปู แบบ
Pawana online

7 กศน.เมือง นวัตกรรมการเรียนรเู้ พอ่ื พฒั นา นายเสรมิ สุข
สุพรรณบรุ ี การศึกษา บุญนาค

8 วัดจาปี การพัฒนาผลสัมฤทธท์ิ างการ นางสาวนุชจรี
เรียนโดยใชบ้ ทเรยี นสาเรจ็ รปู ชาวอทุ ัย
เรื่อง ไฟฟา้ รายวชิ า
วิทยาศาสตร์ สาหรับนกั เรยี น
ช้ันประถมศึกษาปที ่ี 6

37

ท่ี โรงเรยี น นวตั กรรม หนว่ ยงาน/ ผสู้ ง่
ตน้ สังกัด
9 วัดท่าขา้ ม บทเรยี นสาเร็จรปู เรอ่ื ง สพป.สพ.1 นางจิตภิ า
ความสมั พันธ์ระหว่างสงิ่ มีชวี ิต สพม.สพ. บุตรโท
กบั ส่งิ มีชวี ิต
สพม.สพ. นางสาว
10 ทุ่งคลีโคกช้าง นวัตกรรมการสอนด้วย ณัฐวรรณ
วทิ ยา หอ้ งเรียนออนไลน์ โดยใช้ Line น้อยนารถ
Group และ สอ่ื เทคโนโลยี วชิ า
วทิ ยาศาสตร์ชวี ภาพ เร่ืองการ นางสาว
ลาเลียงสารเขา้ และออกจาก กนกรตั น์
เซลล์ สาหรบั นักเรียนชนั้ ศรสี รุ าษฎร์
มัธยมศกึ ษาปีที่ 4

11 สระยายโสม การเปรียบเทยี บผลสมั ฤทธ์ิ
วิทยา ทางการเรียน วิชาภาษาอังกฤษ
ของนักเรยี นชั้นมธั ยมศึกษาปีท่ี
6โดยใชส้ ื่อวีดิทัศน์การสอน
เร่อื ง Part of Speech

หมายเหตุ 1 – 7 รบั โล่รางวัล
8 – 11 รบั เกียรตบิ ตั ร

38

ดา้ นการนเิ ทศการศึกษา

ท่ี โรงเรียน นวัตกรรม หน่วยงาน/ ผสู้ ง่
ตน้ สงั กดั
1 สระยายโสม รปู แบบการนิเทศ 5A Model สพม.สพ. นางสาว นาเสนอ
วทิ ยา เพอื่ ส่งเสรมิ การจัดการเรยี นการ รัชนก ระดบั ภาค
สอน Online ของครูผสู้ อน สพป.สพ.1 ศรีทองสุข
2 วัดพระธาตุ ระดบั ช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 6 สพป.สพ.3
โรงเรียนสระยายโสมวิทยา ใน นางสพุ ัตรา
สถานการณ์การแพร่ระบาดของ สพป.สพ.2 มูลละออง
โรคติดเชอ้ื ไวรสั โคโรนา 2019 สช. นางวันเพญ็
(Covid-19)
FRIEND MODEL สพป.สพ.1 อน้ นา

3 บ้านทัพหลวง การนเิ ทศเพื่อพัฒนาสมรรถนะ สพป.สพ.2 นางวรี นิ ทร์
ขนั ตี
การจดั การเรยี นรู้ในสถานการณ์
นายธวัช
การแพร่ระบาดของเช้ือไวรัส โค มั่นปาน

วิด 19 นางสาว
นงคล์ กั ษณ์
4 วัดท่าขา้ ม รูปแบบการนเิ ทศภายใน วงษง์ าม

“WISDOM 5G Model ยกระดับ นางศริ นิ ทร์ทิพย์
อินทะนาม
ผลสมั ฤทธ์ิ” โรงเรยี นวัดทา่ ขา้ ม

5 อนุบาลยอด รูปแบบการนเิ ทศภายในของ

ไมง้ าม สถานศกึ ษาดว้ ยหลกั การ

YMNGS MODEL

6 วัดจาปี การพัฒนาคุณภาพผเู้ รียนและ

ยกระดับคณุ ภาพการศึกษาของ

โรงเรยี นวัดจาปี โดยใช้

กระบวนการนเิ ทศ PIDRE

7 บ้านเขากาแพง นวตั กรรมการนิเทศเพ่ือสง่ เสริม

การจัดการเรียนการสอนแบบ

Active Learning เพื่อยกระดับ

ผลสมั ฤทธ์ิด้านการเรยี น

ภาษาไทย ช้ันประถมศึกษาปีที่ 1

มัธยมศึกษาปีท่ี 3

39

ที่ โรงเรยี น นวัตกรรม หน่วยงาน/ ผสู้ ง่
ต้นสังกัด
8 ภาวนาภมิ ณฑ์ การพัฒนานวัตกรรมการนเิ ทศ นางสาว
พทิ ยา เพอ่ื เสรมิ สรา้ งการจดั การเรียนรู้ สช. กาหลง
ทหี่ ลากหลายของครูในยุค บูชา
โควดิ -19 โดยใชร้ ูปแบบ
Pawana Supervision

หมายเหตุ 1 – 5 รบั โล่รางวัล
6 – 8 รับเกียรตบิ ัตร

สถานศึกษาส่งเขา้ รว่ มโครงการฯ รับเกียรติบตั ร

ท่ี โรงเรยี น นวตั กรรม หน่วยงาน/ ผสู้ ง่
ต้นสังกัด
1 สระยายโสม “การบริหารแบบมีสว่ นรว่ ม SYS สพม.สพ. นางพรลกั ษณ์
สุพงศ์
วิทยา Model สพม.สพ.
นางสาว
เพอ่ื พฒั นาการศกึ ษาโรงเรยี นสระ สพม.สพ. กุหลาบ
หงษท์ อง
ยายโสมวทิ ยา
นางประอรศิริ
2 บรรหารแจม่ ใส รูปแบบการบรหิ ารจดั การศกึ ษา ชวีวฒั น์

วิทยา 7 เพอ่ื พัฒนาคุณภาพผู้เรียน

“3P1R BAHARN (7Steps)

MODEL)”

3 บรรหารแจ่มใส นวัตกรรมการนิเทศเพ่ือการ

วิทยา 7 พัฒนาคุณภาพผ้เู รียน

4 บรรหารแจ่มใส ชดุ การสอนสอื่ ผสม การพดู สพม.สพ. นายชลบดนิ ทร์
กลิ่นจนั ทร์
วิทยา 7 แนะนาตนเองโดยใชป้ ระโยค

Present Tense สาหรับชน้ั

มัธยมศึกษาปีที่ ๑

5 ทุง่ แฝก การเปรยี บเทยี บผลสัมฤทธ์ิ สพม.สพ. นางสาว
พทิ ยาคม ทางการเรยี น เร่ือง อะตอมและ ชมภูนุช
ตารางธาตุ สาหรบั นกั เรียนชนั้ หนนู รุ ักษ์
มัธยมศึกษาปีที่ 4 ท่สี อนโดยใช้
สื่อผสมประกอบการสอนและวิธี
สอนแบบปกติ

40

ท่ี โรงเรยี น นวตั กรรม หน่วยงาน/ ผสู้ ง่
ต้นสงั กดั
6 บา้ นทัพหลวง วงล้อฝกึ สนทนา (Chit Chat สพป.สพ.3 นางสวนภสั พร
Wheel) แตงทอง

7 วัดดอนสาโรง นวตั กรรมการนิเทศการศกึ ษา สพป.สพ.3 นางอภัสนันท์
เพ่อื พัฒนาการจดั การเรียนการ กาฬภกั ดี
สอนออนไลน์ของครู ด้วย
D-SAMRONG MODEL

จึงประกาศให้ทราบโดยทัว่ กัน

ประกาศ ณ วนั ที่ 9 สงิ หาคม พ.ศ. ๒๕๖๔

(นายวีระ ทวีสขุ )
ศกึ ษาธกิ ารจังหวัดสพุ รรณบุรี

41

42

43

44

ประกาศสานักงานศกึ ษาธิการจงั หวัดสพุ รรณบุรี
เร่ือง แต่งตง้ั คณะกรรมการดาเนินโครงการ Innovation For Thai Education (IFTE)

นวัตกรรมการศกึ ษาเพื่อพฒั นาการศกึ ษา (เพ่มิ เตมิ )
------------------------------------------------------------------
กระทรวงศกึ ษาธิการ โดยสานักงานปลัดกระทรวงศกึ ษาธกิ าร ได้รับการจัดสรรงบประมาณรายจา่ ยประจาปี
งบประมาณ พ.ศ 2564 .ให้ดาเนินโครงการ Innovation For Thai Education (IFTE) นวัตกรรมการศึกษาเพื่อ
พัฒนาการศึกษา มีวตั ถปุ ระสงค์ (1) เพอ่ื มีศนู ย์กลางข้อมลู สารสนเทศทางการศึกษาและการวิจัยกระบวนการจัดการ
เรียนรู้ในระดับจังหวัด (2) เพ่ือส่งเสริมการพัฒนาการจัดการเรียนรู้ และถ่ายทอดองค์ความรู้เก่ียวกับรูปแบบ/แนว
ทางการพัฒนาการจัดการเรยี นรู้ (3) เพอ่ื วิเคราะห/์ วจิ ยั แนวทางการบริหารจัดการการจดั การเรียนรู้ การนิเทศติดตาม
และประเมนิ ผลในระดับจังหวัด และ (4) เพื่อสร้างเครือข่ายความร่วมมือในการพัฒนาคุณภาพการศึกษา เพื่อให้การ
ดาเนินงานโครงการประสบความสาเร็จตามวัตถุประสงค์ บรรลุเป้าหมายของยุทธศาสตร์ชาติด้านการพัฒนาและ
เสรมิ สร้างศักยภาพทรัพยากรมนุษย์ และส่งเสริมให้ผู้เรียนในจังหวัดสุพรรณบุรี เป็นผู้ใฝ่เรียนรู้ มีและเกิดทักษะแห่ง
ศตวรรษท่ี 21 จึงแต่งตั้งคณะกรรมการดาเนินโครงการ Innovation For Thai Education (IFTE) นวัตกรรม
การศกึ ษาเพื่อพฒั นาการศกึ ษา ดังต่อไปนี้
1.คณะกรรมการทป่ี รกึ ษา ประกอบดว้ ย

1.1 ศกึ ษาธิการภาค 3
1.2 ศึกษาธิการจังหวัดสุพรรณบรุ ี
1.3 อธิการบดีมหาวิทยาลยั ศลิ ปากร จงั หวดั นครปฐม
1.4 อธิการบดีมหาวิทยาลยั ราชภัฏกาญจนบุรี จงั หวดั กาญจนบุรี
1.5 ผู้อานวยการสานกั งานเขตพื้นทกี่ ารศึกษามัธยมศึกษาสุพรรณบรุ ี
1.6 ผู้อานวยการสานักงานเขตพื้นทก่ี ารศึกษาประถมศึกษาสพุ รรณบรุ ี เขต 3 ,2 ,1
1.7 ผูอ้ านวยการสานักงานสง่ เสรมิ การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัยจังหวดั สพุ รรณบุรี
1.8 ประธานคณะกรรมการประสานและส่งเสริมการศึกษาเอกชนจงั หวัดสพุ รรณบุรี
1.9 ประธานอนุกรรมการบริหารราชการเชิงยทุ ธศาสตร์
1.10 นายกเทศมนตรเี มอื งสุพรรณบุรี

มีหน้าท่ี กากบั ดแู ล ใหค้ าปรกึ ษา แนะนา การดาเนนิ โครงการ Innovation For Thai Education
(IFTE) นวัตกรรมการศึกษาเพือ่ พฒั นาการศึกษา เปน็ ไปดว้ ยความเรยี บร้อย บรรลตุ ามเปา้ หมายของยุทธศาสตร์ชาติ
ด้านการพฒั นาและเสริมสรา้ งศกั ยภาพทรัพยากรมนุษย์ และวตั ถุประสงคข์ องโครงการ

/2.คณะกรรมการ...

45

2. คณะกรรมการอานวยการ ประกอบดว้ ย

2.1 นายวีระ ทวีสขุ ศกึ ษาธกิ ารจงั หวัดสุพรรณบรุ ี ประธานกรรมการ

2.2 นางพฒั นาพร ไทยพบิ ลู ย์ รองศกึ ษาธิการจงั หวัดสุพรรณบรุ ี รองประธานกรรมการ

2.3 นางสาววาสนา เสรจ็ กิจ ผอู้ านวยการกลุ่มอานวยการ กรรมการ

2.4 นางสาวสุกญั ญา พลนกิ ร ผอู้ านวยการกลมุ่ บรหิ ารงานบคุ คล กรรมการ

2.5 นางสปุ ราณี สืบประดษิ ย์ ผู้อานวยการกลมุ่ ลูกเสอื และยวุ กาชาดฯ กรรมการ

2.6 นางสาวสกุ านดา ศรปี ระชัย ผอู้ านวยการกลุ่มส่งเสรมิ การศกึ ษาเอกชน กรรมการ

2.7 นางปวียพ์ ร บุญทียน ผอู้ านวยการหน่วยตรวจสอบภายใน กรรมการ

2.8 นางอรสา มีศริ ิ ผู้อานวยการกลุ่มพฒั นาการศึกษา กรรมการ

2.9 นางสาวภษู ณศิ า หงษโ์ ต ผอู้ านวยการกลุ่มนโยบายและแผน กรรมการ

2.10 นางสาวปวณี า ธิติวรนนั ท์ ผู้อานวยการกลมุ่ นเิ ทศ ติดตาม กรรมการ

และประเมนิ ผล และเลขานกุ าร

มหี น้าท่ี สนบั สนนุ อานวยความสะดวก และใหข้ อ้ เสนอแนะการแกป้ ัญหาในการดาเนินงานโครงการ

Innovation For Thai Education (IFTE) นวัตกรรมการศกึ ษาเพ่อื พฒั นาการศกึ ษา

3. คณะกรรมการดาเนนิ งาน ประกอบดว้ ย

3.1 นางพฒั นาพร ไทยพิบลู ย์ รองศึกษาธกิ ารจังหวัดสุพรรณบรุ ี ประธานกรรมการ
3.2 น.ส จันทร์ทพิ ย์ สนิ ธวุ งษานนท์ รองผูอ้ านวยการรักษาการในตาแหนง่ รองประธานกรรมการ
ผอู้ านวยการสานักงาน กศน.
3.3 นายดารงค์ธณัช สวัสดพิ รรณ์ จังหวัดสพุ รรณบุรี กรรมการ
3.4 นางดวงพร อายกุ าร ผูอ้ านวยการกองการศกึ ษา เทศบาลเมือง กรรมการ
สพุ รรณบรุ ี
3.5 นางสาวชบา พันธศ์ุ กั ด์ิ ผอู้ านวยการกลุม่ นิเทศ ติดตามและประเมนิ ผล กรรมการ
การจัดการศึกษา สานกั งานเขตพน้ื ทกี่ ารศึกษา
3.6 นางสมุ าลี สธุ กี ุล มธั ยมศึกษาสุพรรณบรุ ี กรรมการ
ผู้อานวยการกล่มุ นิเทศ ตดิ ตามและประเมินผล
3.7 นายปรชี า นูมหนั ต์ การจัดการศึกษาสานักงานเขตพ้ืนทก่ี ารศึกษา กรรมการ
ประถมศึกษาสุพรรณบุรี เขต 1
3.8 นางสาวสมใจ สบื วฒั นพงษกลุ ผู้อานวยการกลุ่มนิเทศ ตดิ ตามและประเมินผล กรรมการ
3.9 นายบรรเทา ค้มุ ฉายา การจดั การศกึ ษาสานกั งานเขตพ้ืนทีก่ ารศกึ ษา กรรมการ
3.10 นางพรลักษณ์ สพุ งศ์ ประถมศึกษาสุพรรณบุรี เขต 2 กรรมการ
ผู้อานวยการกลุ่มนิเทศ ติดตามและประเมนิ ผล / 3.11 นายธนกร …
การจัดการศกึ ษาสานักงานเขตพื้นทก่ี ารศกึ ษา
ประถมศึกษาสพุ รรณบรุ ี เขต 3
ผอู้ านวยการโรงเรียนทุง่ คลโี คกชา้ งวทิ ยา
ผ้อู านวยการโรงเรียนวังหวา้ ราษฎร์สามคั คี
ผอู้ านวยการโรงเรยี นสระยายโสมวิทยา

46

3.11 นายธนกร ขนุ จันทรด์ ี ผอู้ านวยการโรงเรยี นทงุ่ แฝกพิทยาคม กรรมการ
3.12 นายคมสนั ธรรมนู ผอู้ านวยการโรงเรยี นดอนคาวทิ ยา กรรมการ
3.13 นางสาวกุหลาบ หงษท์ อง ผู้อานวยการโรงเรยี นบรรหารแจม่ ใสวทิ ยา 7 กรรมการ
3.14 นางศจี วงศ์ศรีเผือก ผ้อู านวยการโรงเรยี นวัดประชมุ ชน กรรมการ
3.15 นางสุพตั รา มูลละออง ผู้อานวยการโรงเรยี นวดั พระธาตุ กรรมการ
3.16 นายปรเมศร์ ล้อมวงษ์ ผู้อานวยการโรงเรียนวัดจาปี กรรมการ

3.17 นายสถาปนิก วรสทิ ธ์ิ ผอู้ านวยการโรงเรยี นวัดดอนสทุ ธาวาส กรรมการ
3.18 นางประภสั สร สุวรรณประทปี ผู้อานวยการโรงเรียนวัดลาดกระจบั กรรมการ
3.19 นายสญั ญา แชม่ ช้อย ผ้อู านวยการโรงเรยี นวัดสระดา่ น กรรมการ
3.20 นางดวงใจ บัวงาม ผู้อานวยการโรงเรียนบา้ นเขากาแพง กรรมการ
3.21 นางพฒั นพี ร ทองล้มิ ผอู้ านวยการโรงเรียนบา้ นเขาชานหมาก กรรมการ
3.22 นายนริ นั ดร ชนะวงศ์ ผู้อานวยการโรงเรียนวัดทา่ ขา้ ม กรรมการ
3.23 นางสาวรุ่งรัตน์ อรณุ แสงศลิ ป์ ผู้อานวยการโรงเรยี นบา้ นหัววงั กรรมการ
3.24 นางดาวรุ่ง ตาลเพชร ผอู้ านวยการโรงเรยี นวดั ครี ีรัตนาราม กรรมการ
3.25 นายสายนั พมิ พขันธ์ ผอู้ านวยการโรงเรยี นบา้ นทพั หลวงหลวง กรรมการ
3.26 นายพนม เข็มเงิน ผอู้ านวยการโรงเรียนวัดบอ่ กรุ กรรมการ
“ครุ ุประชาสรรค”์
3.27 นายจรญั อนุ่ เรอื น ผอู้ านวยการโรงเรียนบา้ นวังยาว กรรมการ
3.28 นางวลิ าวรรณ อุ่นรศั มีวงศ์ ผู้อานวยการโรงเรยี นบา้ นพนุ า้ รอ้ น กรรมการ
3.29 นางสาวเบญญคณุ า แตงโสภา ผอู้ านวยการโรงเรยี นวดั ดอนสาโรง กรรมการ
3.30 นางมยุรี ใบบัว ผอู้ านวยการโรงเรียนเทศบาล 1 กรรมการ
วัดประตูสาร
3.31 นางพรรณมาส พรมพิลา ผอู้ านวยการโรงเรยี นเทศบาล 2 กรรมการ
วดั ปราสาททอง
3.32 นายฑีรพล หนูทา ผู้อานวยการโรงเรยี นเทศบาล 3 กรรมการ
วัดไชนาวาส
3.33 นางยุวลกั ษณ์ ชาตชิ านาญ ผอู้ านวยการโรงเรยี นเทศบาล ๔ กรรมการ
วัดศรบี วั บาน
3.34 นายธีรพร อายวุ ฒั น์ ผูอ้ านวยการโรงเรยี นภาวนาภมิ ณฑพ์ ทิ ยา กรรมการ
3.35 นางปราณี พงษ์สุพรรณ ผู้อานวยการโรงเรียนอนบุ าลปราณี กรรมการ
3.36 นางสาวณชิ า ฉมิ ทองดี ผู้อานวยการโรงเรียนรัตนศึกษา กรรมการ
3.37 นายประวทิ ย์ มนั่ ปาน ผู้อานวยการโรงเรียนอนบุ าลยอดไมง้ าม
3.39 นายณฐั พร อนิ ทุมาร ผอู้ านวยการโรงเรยี นอานวยเวทย กรรมการ
3.40 นางสาวปวีณา ธิติวรนนั ท์ ผอู้ านวยการกลมุ่ นิเทศ ติดตาม กรรมการ
และประเมนิ ผล กรรมการ
3.41 นางธนั ยช์ นก พลศารทูล ศกึ ษานิเทศก์สานกั งานศึกษาธิการ
จังหวดั สุพรรณบุรี กรรมการ
3.42 นางสาวแสงเพญ็ พุ่มกุมาร ศกึ ษานิเทศก์สานกั งานศึกษาธกิ าร
จงั หวดั สพุ รรณบรุ ี กรรมการ

/3.43 นางสรุ พิชฌาย์...

47

3.43 นางสุรพชิ ฌาย์ ฟ้าหวั่น ศึกษานิเทศก์สานักงานศกึ ษาธกิ าร กรรมการ

จงั หวัดสุพรรณบุรี

3.44 นางกรษิ า โพรามาต ศึกษานเิ ทศกส์ านักงานศกึ ษาธกิ าร กรรมการและ

จงั หวัดสุพรรณบรุ ี เลขานกุ าร

3.45 นางสาวสุกญั ญา ศรีสาคร ศึกษานิเทศกส์ านักงานศกึ ษาธกิ าร กรรมการและ

จังหวดั สุพรรณบุรี ผู้ชว่ ยเลขานกุ าร

3.46 นางสาววิลาวรรณ ใจมนั่ เจ้าพนักงานธุรการชานาญงาน กรรมการและ

ผูช้ ่วยเลขานุการ

มีหน้าท่ี

1. ศึกษา และวเิ คราะห์ผลการดาเนินงานโครงการ TFE (Teams For Education) และ

โครงการ Coaching Teams เพื่อยกระดับคณุ ภาพการศึกษาของสถานศกึ ษากล่มุ เปา้ หมายในปงี บประมาณพ.ศ2563.

. 2 ดาเนินการตามแนวทางการดาเนนิ งานโครงการ Innovation For Thai Education (IFTE)

นวัตกรรมการศึกษา เพอ่ื พัฒนาการศกึ ษา ปีงบประมาณ พ.ศ 2564.และนาเสนอผลการดาเนนิ งานโครงการ

ตอ่ คณะกรรมการศกึ ษาธกิ ารจังหวัดสพุ รรณบุรี เพอ่ื เปน็ ขอ้ มูลในการพฒั นาคณุ ภาพการศกึ ษาของจงั หวัดต่อไป

3. กากับ ตดิ ตาม ประสานงาน สนบั สนนุ และเร่งรัดการดาเนินงานของหนว่ ยงานท่ีเกี่ยวขอ้ ง

และรายงานผลการดาเนนิ งานให้คณะกรรมการศกึ ษาธกิ ารจงั หวัดสุพรรณบรุ ี ทราบเปน็ ระยะ

4.คณะกรรมการวิเคราะห์ขอ้ มลู ผลสมั ฤทธิ์ทางการศกึ ษา ประกอบดว้ ย

4.1 นางพัฒนาพร ไทยพบิ ลู ย์ รองศกึ ษาธิการจังหวดั สุพรรณบุรี ประธานกรรมการ
4.2 นางกนษิ ฐา เติมธนะศกั ด์ิ ผู้อานวยการกลุ่มพัฒนาการศกึ ษา กรรมการ
4.3 นางสาวสดุ ารตั น์ อนิ ทรตั น์ สานักงานศึกษาธกิ ารภาค 3
4.4 นางชวนพศิ ขาวสะอาด นกั วิชาการศกึ ษาชานาญการ กรรมการ
4.5 นางสาวปวีณา ธิตวิ รนนั ท์ สานักงานศึกษาธกิ ารภาค 3
4.6 นางเสาวลกั ษณ์ แจ่มจารัส นกั วิชาการศึกษาชานาญการพเิ ศษ กรรมการ
4.7 นางธันยช์ นก พลศารทลู สานักงานศกึ ษาธกิ ารภาค 3
4.8 นางสาวแสงเพ็ญ พมุ่ กุมาร ผู้อานวยการกลุ่มนเิ ทศ ตดิ ตาม กรรมการ
4.9 นางสุรพชิ ฌาย์ ฟ้าหวน่ั และประเมินผล
4.10 นางกริษา โพรามาต นักวิชาการศึกษาชานาญการ กรรมการ
4.11 นายปราโมทย์ เจตนเสน เทศบาลเมอื งสพุ รรณบุรี
กรรมการ
ศกึ ษานเิ ทศก์ สานกั งานศกึ ษาธกิ าร
จงั หวดั สพุ รรณบรุ ี กรรมการ
ศึกษานเิ ทศก์ สานักงานศึกษาธกิ าร
จังหวัดสุพรรณบุรี กรรมการ
ศึกษานิเทศก์ สานกั งานศึกษาธกิ าร
จงั หวดั สพุ รรณบุรี กรรมการ
ศึกษานิเทศก์ สานักงานศกึ ษาธกิ าร
จงั หวัดสพุ รรณบุรี กรรมการ
ศึกษานิเทศก์ สานักงานเขตพนื้ ทก่ี ารศกึ ษา /4.12 นายธนกฤต…
มัธยมศึกษาสุพรรณบรุ ี

48

4.12 นายธนกฤต ธนภทั รมงคล ศึกษานเิ ทศก์ สานักงานเขตพืน้ ทกี่ ารศึกษา กรรมการ
มธั ยมศึกษาสพุ รรณบุรี

4.13 นางสาวเมทินี ตาตะสมติ ศกึ ษานเิ ทศก์ สานกั งานเขตพนื้ ทีป่ ระถมศึกษา กรรมการ
4.14 นางสาวนวรตั น์ พนู ใย กรรมการ
4.15 นางสาวจฑุ ามาศ วงศแ์ สง สพุ รรณบรุ ี เขต 1 กรรมการ
ศึกษานเิ ทศก์ สานกั งานเขตพืน้ ท่ปี ระถมศึกษา
สพุ รรณบรุ ี เขต 2
ศกึ ษานิเทศก์ สานักงานเขตพนื้ ทปี่ ระถมศกึ ษา

4.16 นายเศกสรรค์ ใจดี สุพรรณบรุ ี เขต 2 กรรมการ
4.17 นางสาวสุกัญญา ศรีสาคร ศกึ ษานิเทศก์ สานกั งานเขตพื้นท่ปี ระถมศึกษา
สุพรรณบรุ ี เขต 3 กรรมการและ
ศกึ ษานเิ ทศก์ สานกั งานศกึ ษาธกิ าร เลขานกุ าร
จงั หวดั สพุ รรณบรุ ี

4.18 นางสาววลิ าวรรณ ใจมน่ั เจ้าพนกั งานธรุ การชานาญงาน กรรมการและ

ผชู้ ่วยเลขานุการ

มหี น้าท่ี

1. จดั ทา วิเคราะห์ และเผยแพร่ข้อมูลสารสนเทศผลการทดสอบทางการศึกษาระดบั ชาติขน้ั พื้นฐาน (O-NET)

และผลการทดสอบทางการศึกษาระดบั ชาตปิ ีการศึกษา (2560,2561,2562 ของแตล่ ะหน่วยงา ท่ีเก่ยี วขอ้ ง โดยใช้

ระบบเทคโนโลยดี จิ ิทัล
2.รายงานขอ้ มูลตามขอ้ ผ่านสานักงานศกึ ษาธกิ ารจังหวัดสุพรรณบุรี และนาเสนอต่อ

คณะกรรมการศึกษาธิการจงั หวดั สุพรรณบุรี เพื่อเปน็ ขอ้ มูลในการพฒั นาคุณภาพการศกึ ษาของจังหวดั สุพรรณบุรีตอ่ ไป

5.คณะผู้ทรงคณุ วุฒิและผู้เชยี่ วชาญ ประกอบดว้ ย

5.1 ดร.พฒั นาพร ไทยพิบูลย์ รองศึกษาธกิ ารจงั หวดั สุพรรณบรุ ี ประธานกรรมการ

5.2 ผศ.ดร.มาเรียม นลิ พันธ์ คณบดีคณะศกึ ษาศาสตร์ กรรมการ

มหาวทิ ยาลยั ศลิ ปากร

5.3 ผศ.ดร.ชนสิทธ์ิ สิทธิสงู เนนิ อาจารย์ประจาสาขาวชิ าหลักสตู ร กรรมการ

และการนิเทศมหาวทิ ยาลัยศลิ ปากร

5.4 อาจารย์ ดร.สุวิมล สพฤกษศ์ รี อาจารย์คณะศึกษาศาสตร์ กรรมการ

มหาวทิ ยาลยั ศิลปากร

5.5 ผศ.ดร.สาโรจน์ เผ่าวงศาสกลุ อาจารยค์ ณะครศุ าสตร์ กรรมการ

มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั กาญจนบุรี

5.6 อาจารย์ ดร.ปรเมศร์ กลิ่นหอม อาจารยค์ ณะครุศาสตร์ กรรมการ

มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏกาญจนบรุ ี

5.7 ดร. พาที เกศธนากร อาจารย์คณะครุศาสตร์ กรรมการ

มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั กาญจนบรุ ี

5.8 นายมานัส ทพิ ยส์ มั ฤทธกิ์ ุล ครู ค.ศ.4 โรงเรยี นสงวนหญงิ กรรมการ

5.9 ดร.กริษา โพรามาต ศกึ ษานเิ ทศก์ สานกั งานศกึ ษาธิการ กรรมการและ

จงั หวัดสพุ รรณบุรี เลขานกุ าร

มหี นา้ ท่ี ใหค้ าปรกึ ษา คาแนะนา ข้อเสนอแนะในการพจิ ารณารปู แบบ แนวทางการพฒั นานวตั กรรมด้าน

กระบวนการบรหิ ารจดั การศกึ ษา ด้านกระบวนการจัดการเรียนรู้ และดา้ นกระบวนการนิเทศการศกึ ษา

/5คณะกรรมการ…

49

6.คณะกรรมการรบั รายงานตวั ประกอบด้วย

6.1 นางอรสา มีศิริ นักวิชาการศึกษาชานาญการ ประธานกรรมการ

สานกั งานศึกษาธกิ ารจังหวดั สพุ รรณบุรี

6.2 นางมณพี ร แกว้ เมอื งมา นกั วชิ าการศึกษาชานาญการ กรรมการ

สานกั งานศึกษาธกิ ารจังหวดั สพุ รรณบุรี

6.3 นางรุ่งรตั น์ ตนสารี นักวชิ าการศกึ ษาชานาญการ กรรมการ

สานักงานศึกษาธกิ ารจงั หวัดสพุ รรณบุรี

6.4 นางรสสคุ นธ์ ชมเจรญิ เจา้ พนักงานธุรการปฏบิ ัตงิ าน กรรมการ

สานกั งานศกึ ษาธิการจังหวดั สพุ รรณบรุ ี

6.5 นางศรีวดี ขุนสะอาดศรี นกั วิเคราะห์นโยบายและแผนปฏิบตั กิ าร กรรมการ

สานักงานศึกษาธิการจงั หวัดสพุ รรณบรุ ี

6.6 นางสาวศุรดา ขนุ จันทร์ดี นกั วชิ าการศึกษาปฏบิ ัติการ กรรมการ

สานกั งานศกึ ษาธิการจังหวัดสพุ รรณบุรี

6.7 นางสาวศริ ลิ ักษณ์ พวงพมิ าย นักวชิ าการศกึ ษาปฏบิ ัติการ กรรมการ

สานกั งานศกึ ษาธกิ ารจงั หวัดสพุ รรณบุรี

6.9 นางมยรุ า แบนประเสริฐ เจา้ พนักงานธุรการชานาญงาน กรรมการ

สานกั งานศกึ ษาธิการจงั หวัดสพุ รรณบุรี

6.10 นางสุรพิชฌาย์ ฟา้ หวั่น ศึกษานเิ ทศก์ สานกั งานศกึ ษาธกิ าร กรรมการ

จังหวัดสุพรรณบุรี และเลขานุการ

6.11 นางสาววลิ าวรรณ ใจม่นั เจ้าพนักงานธุรการชานาญงาน กรรมการและ

ผชู้ ่วยเลขานกุ าร

มีหน้าท่ี จัดทาบัญชีรายช่ือ และรับรายงานตัวผู้เข้ารับการประชุมรับการตรวจราชการฯ ให้เป็นไปด้วย

ความเรยี บร้อย

1.7 นางสาวสกุ ญั ญา พลนิกร ผูอ้ านวยการกลมุ่ งานบริหารบคุ คล ประธานกรรมการ

2.7 นางสาวสุกญั ญา ศรสี าคร ศึกษานิเทศก์ สานกั งานศึกษาธกิ าร กรรมการ

จงั หวัดสุพรรณบรุ ี

3.7 น.ส.ภญิ านสิ สรณ์ โพธิ์กลนิ่ นกั วิชาการตรวจสอบภายในชานาญการ กรรมการ

4.7 นางมยรุ า แบนประเสริฐ นกั จดั การงานทว่ั ไป กรรมการ

5.7 นางสาวศริ ิลกั ษณ์ พวงพิมาย นักวิชาการศึกษาปฏบิ ัติการ กรรมการ

7.6 นายสภุ วจั น์ อุบลทศั นีย์ นกั วิเคราะห์นโยบายและแผนปฏิบตั กิ าร กรรมการ

7.7 ว่าที่ ร.ต.สุพฒั น์ หอมสุวรรณ นักวชิ าการศกึ ษาชานาญการ กรรมการ

และเลขานกุ าร

7.คณะกรรมการฝา่ ยประชาสมั พันธ์ ประกอบดว้ ย

มหี นา้ ที่

1. จดั เตรียมสถานท่ีจดั กิจกรรมแลกเปลย่ี นเรียนรูแ้ ละถอดบทเรยี นพัฒนานวตั กรรมตามโครงการ

2. จัดทาแผนการประชาสมั พนั ธ์ การจดั กจิ กรรมแลกเปล่ยี นเรยี นรตู้ ามโครงการ และการ

ทาขา่ วเผยแพร่ทางสอ่ื ตา่ งๆ เพ่ือให้ผ้สู นใจไดร้ บั ทราบอย่างทัว่ ถึง

3. บันทึกภาพนิง่ ภาพเคลือ่ นไหว ตลอดการจดั งานแลกเปลีย่ นเรียนรู้

/8.คณะกรรมการ…


Click to View FlipBook Version