The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

ชนิดของประโยค ๓ ทฤษฎี

ชนิดของประโยค

นางอไุ รรัตน์ ศรีวงษ์ชัย
ครู โรงเรียนพทุ ไธสง



ประโยคมี ๓ ชนิด คอื
๑. ประโยคความเดยี ว (เอกรรถประโยค)
๒. ประโยคความรวม (อเนกรรถประโยค)
๓. ประโยคความซ้อน (สังกรประโยค)

ความหมาย ประโยคสามญั ทีมีภาคประธานเดียว กริยาเดียว มุ่ง
กล่าวถึงสิงใดสิงหนึงเพยี งอยา่ งเดียว ดงั ตวั อยา่ ง

ภาคประธาน ภาคแสดง
นอ้ ง เล่นตุก๊ ตา
มีผเู้ ขา้ ชมจาํ นวนมาก
สวนสตั วด์ ุสิต วา่ ยทวนนาํ
ปลายหลายชนิด

ภาคประธาน ภาคแสดง

บทประธาน บทขยาย บทกริยา บทขยาย บทกรรม บทขยาย
ประธาน กริยา กรรม
เลน่
นอ้ ง - มี - ตุก๊ ตา -
-
สวนสัตว์ - วา่ ย ผเู้ ขา้ ชม -
ดุสิต มี จาํ นวนมาก -
๕ เลม่
ปลา หลายชนิด ทวนนาํ -

เดก็ อว้ นคนนนั ในโตะ๊ สมุด

รูปประโยคความเดยี วทใี ช้ในการสือสาร

๑. ประโยคขึนตน้ ดว้ ยผกู้ ระทาํ (ประโยคกรรตุ)
- เสือในสวนสตั วก์ ดั คนเลียง - แม่ดุนอ้ ง

๒. ประโยคทีขึนตน้ ดว้ ยผถู้ กู กระทาํ (ประโยคกรรม)
- รถคนั นีใชใ้ นราชการเท่านนั - พวกโจรถกู ยงิ ๕ คน

๓. ประโยคทีขึนตน้ ดว้ ยกริยา (ประโยคกริยา) สงั เกตคาํ วา่ “เกดิ
มี ปรากฏ อยหู่ นา้ ประโยค)
- เกดิ เหตุการณ์สุริยปุ ราคาทีอาํ เภอหวา้ กอ

๒. ประโยคความรวม
(อเนกรรถประโยค)

ความหมาย เป็นการนาํ ประโยคความเดียวตงั แต่ ๒ ประโยคขึน
ไปมาเรียงกนั โดยใชส้ นั ธานเชือม แยกเป็น ๔ ชนิด

๑. ประโยคทมี เี นอื ความคล้อยตามกนั (อนั วยาเนกรรถประโยค)
ใชส้ นั ธาน และ, ทงั ....และ, ครัน...จงึ , พอ....ก็ ฯลฯ เช่น
- นิดและหน่อยไปตลาด - เขาทาํ งานเสร็จแล้วเขากก็ ลบั บา้ น
- พอฉนั เห็นเงาตะคุ่มๆอยู่ ฉนั กต็ ะโกนถามไป

๒. ประโยคทมี ใี จความขดั แย้งกนั

(พยตเิ รกาเนกรรถประโยค)

สงั เกตคาํ สนั ธาน แต่, แต่ว่า, แม้, แม้...ก,็ กว่า...ก็ ถงึ ..ก็
เป็นคาํ เชือม เช่น นอ้ งทานขา้ วแลว้ แต่ยงั ไม่อิม
- กว่าเขาจะเรียนจบหนงั สือกข็ าดหมด
- ถงึ เขาจะเป็นนกั เลงโต ฉนั กไ็ ม่กลวั เขา
- เขาทาํ งานเสร็จแลว้ แต่เขาไม่กลบั บา้ นตามปกติ
- แม้เขาจะยากจน เขากไ็ ม่เคยขอใครกิน

๓. ประโยคทมี ีใจความให้เลอื กเอาอย่างใดอย่างหนึง
(วกิ ลั ปาเนกรรถประโยค)

ให้สังเกตสันธานทใี ช้ คอื หรือ, หรือไม่ก,็ ไม่...ก็ ดงั ตวั อย่าง
- คุณหรือเพอื นคุณกนั แน่ประสงค์จะขอทุน
- เธอจะทานข้าวหรือก๋วยเตยี ว
- เขาคงเป็ นนักนายธนาคารหรือไม่กท็ นายความ
- เขาควรพดู หรือแสดงอาการบ้าง

๔. ประโยคทมี เี นือความเป็ นเหตุเป็ นผล
(เหตวาเนกรรถประโยค)

เป็ นประโยคทที ่อนหน้าเป็ นสาเหตุ ท่อนหลงั เป็ นผล สังเกต
สันธานทใี ช้ เช่น จงึ , เพราะ...จงึ , เพราะฉะนัน...จงึ , ฉะนัน...
จงึ ดงั ตวั อย่าง
- เพราะเขาเป็ นคนดที ุกคนจงึ รักเขา
- เพราะเธอตงั ใจเรียนเธอจงึ สอบได้
- น้องทานข้าวมาแล้วจงึ ไม่หิว

ความหมาย เป็นประโยคใหญ่ทีมีประโยคเลก็ ตงั แต่ ๒ ประโยคมารวมกนั
ประกอบดว้ ยประโยคหลกั (มุขยประโยค) และประโยคยอ่ ย (อนุ
ประโยค) ใชป้ ระพนั ธสรรพนาม, ประพนั ธวิเศษณ์ หรือบุพบทเป็นบท
เชือม เช่น

- เขาเป็นเดก็ ทเี รียนเก่งมาก - ฉนั เห็นสุนขั ทคี าบเนือ

- คนสวยทเี ธอพดู ถึงมาแลว้ - เขาเป็นคนดีทโี ลกไม่ลืม

- เขามาทีนีเพอื เขาจะไดพ้ บฉนั - สุนขั ตายเพราะถกู รถชน

ประโยคเลก็ ของประโยคความซ้อน

๑. ประโยคหลกั (มุขยประโยค)
เป็ นประโยคสําคญั ทขี าดไม่ได้ มเี พยี งประโยคเดยี วต่อหนึง
ประโยคความซ้อน ดงั ตวั อย่าง

- คนทปี รารถนาความสุขจะต้องมหี ลกั ธรรมในใจ
- เขามหี นังสือซึงฉันไม่มี
- คนเกยี จคร้านทรี ้องไห้อยู่ในห้องสอบไล่ตก

๒. ประโยคย่อย (อนุประโยค)

เป็นประโยคทีขยายประโยคหลกั ใหไ้ ดใ้ จความชดั เจนขึน มี ๓ ชนิด
๒.๑ นามานุประโยค คืออนุประโยคทาํ หนา้ ทีคลา้ ยกบั นาม เป็นไดท้ งั
บทประธาน บทกรรม หรือบทขยาย
- เขาพดู เช่นนีเป็นการส่อนิสยั ชวั (บทประธาน)
- คนเดินริมถนนมองดูตาํ รวจ (บทประธาน)
- เขาพดู วา่ ตน้ เงาะเกิดในกระถาง (บทกรรม)

๒.๒ คุณานุประโยค คืออนุประโยคทีประกอบนามหรือสรรพนามที
เหมือนคาํ วเิ ศษณ์ และใชค้ าํ ประพนั ธสรรพนามเป็นบทเชือม เช่น

- แมวทจี บั จิงจก มีนยั นต์ าสีดาํ
- ฉนั รักคนไทย ทรี ักชาติไทย
- ฉันชอบปากกา ซึงวางอยบู่ นโตะ๊
- ท่านทรี ้องเพลงใหม้ ารับรางวลั

๒.๓ วเิ ศษณานุประโยค คอื อนุประโยคทปี ระกอบคาํ กริยาหรือ
คาํ วเิ ศษณ์ และใช้คาํ ประพนั ธวเิ ศษณ์ หรือคาํ บุพบทซึงทาํ หน้าที
อย่างประพนั ธวเิ ศษณ์ เป็ นบทเชือม เช่น ท,ี ซึง, อนั , เมอื , จน,
ตาม, เพราะ ฯลฯ เช่น
- คนอ้วนทนี ังอยู่บนเก้าอี มปี ากกาสองด้าม
- ถังใหญ่ซึงอยู่ในบ่อนํามีสนิม
- คาํ หยาบอนั ไร้สาระ เป็ นสมบตั ิของคนชัว
- เขาอ่อนเพลยี จนเขาต้องพกั ผ่อน
- เขาพูดตามฉันบอก

ข้อสังเกต

๑. วเิ ศษณานุประโยคต่างกบั คุณานุประโยค คือ คุณานุประโยค
ทาํ หนา้ ทีประกอบนามหรือสรรพนาม ใชป้ ระพนั ธสรรพนามเป็น
บทเชือม ตอ้ งเรียงติดกบั นามหรือสรรพนาม ส่วนวเิ ศษณานุ-
ประโยค ทาํ หนา้ ทีประกอบคาํ วเิ ศษณ์ หรือคาํ กริยา ใชป้ ระพนั ธ-
วเิ ศษณ์เชือม ตอ้ งเรียงขา้ งหลงั คาํ กริยาหรือวเิ ศษณ์
๒. วเิ ศษณานุประโยคต่างกบั เหตวาเนกรรถประโยคที เหตวาเน -
กรรถประโยคตอ้ งเรียงเหตุไวห้ นา้ ผล แต่วเิ ศษณานุประโยค จะ
เรียงผลไวห้ นา้ เหตุ

ประโยคระคน

ประโยคระคน คือการรวมประโยคใหใ้ หญ่ขึน ซึงไดป้ ระโยค ๒ ชนิด
คือประโยคความรวมและประโยคความซอ้ น วิธีการสร้างประโยคระคน มี
ดงั นี
๑. เดยี ว + รวม เป็ นประโยคความรวม
- แมวกินขา้ วสุก แต่ไก่และนกกินขา้ วเปลือก
๒. รวม + เดียว เป็ นประโยคความรวม
- เขาและฉนั เป็นครู แต่นายดาํ เป็นพอ่ คา้

๓. เดยี ว + ซ้อน เป็ นประโยคความรวม
- เขาเดินไป แต่นายดาํ ซึงเป็นเดก็ นกั เรียนเดินมา
๔. ซ้อน + เดยี ว เป็ นประโยคความรวม
- เดก็ ทีวิงเร็วคนนนั เรียนเก่งหรือเดก็ คนนีเรียนเก่ง
๕. รวม + รวม เป็ นประโยคความรวม
- นายดาํ และนายแดงเป็นหนุ่มหรือนายขาวและนายเขียวเป็นหนุ่ม
๖. รวม + ซ้อน เป็ นประโยคความรวม
- นายดาํ และนายแดงเป็นเดก็ แต่คนทีเดินไปเป็นผใู้ หญ่
๗. ซ้อน + รวม เป็ นประโยคความรวม
- คนทีเดินไปเป็นผใู้ หญ่แต่นายแดงและนายดาํ เป็นเดก็

๘. รวม + รวม เป็ นประโยคความซ้อน
- นายดาํ และนายแดงนอนเมือนายขาวและนายเขียวเรียนหนงั สือ
๙. ซ้อน + ซ้อน เป็ นประโยคความรวม
- คนทีนงั เป็นครู แต่คนทียนื เป็นทนายความ
๑๐. ซ้อน + ซ้อน เป็ นประโยคความซ้อน
- เดก็ ทียนื ไดน้ งั ลง เมือเดก็ ทีนงั ไดย้ นื ขึน
๑๑. ซ้อน + เดยี ว เป็ นประโยคความซ้อน
- คนทีนงั ตรงนนั ทกั ฉนั เมือฉนั มองหนา้ เขา
๑๒. เดยี ว + ซ้อน เป็ นประโยคความซ้อน
- ฉนั รองนาํ เพราะนาํ ทีมีในบ่อแหง้ หมด

ทฤษฎีนีไดพ้ ิจารณาทีส่วนขยายเป็นเกณฑ์ และไดแ้ บ่งลกั ษณะประโยค
เป็น ๒ ประเภท ดงั นี

๑. ประโยคไร้กริยา และประโยคกริยาเดียว

๒. ประโยคหลายกริยาและประโยคความรวม

ประโยคไร้กริยา และประโยคกริยาเดยี ว

๑. ประโยคไร้กริยา ประกอบดว้ ยหน่วยนาม ๒ หน่วย มีบทเชือมหรือมี
หน่วยเสริม เช่น
• ขา้ วสองหมอ้
• พรุ่งนีวนั พระ
• ส้มสามกิโลกรัม
๒. ประโยคกริยาเดยี ว มีหน่วยกริยา ๑ หน่วย หน่วยนาม ๑ หน่วยหรือ
มากกวา่ อาจมีหน่วยเชือมหรือหน่วยเสริมได้
• นอ้ งทานขา้ ว
• ยา่ ปูเสือ
• พอ่ ปลูกกลว้ ยไม้

๓. ประโยคไร้กริยาซับซ้อนและประโยคกริยาเดยี วซับซ้อน
ประกอบดว้ ยส่วนขยายประโยคดว้ ยวลี ดงั นี

๓.๑ ประโยคไร้กริยาซับซ้อน
• ขา้ วหอมมะลสิ องหมอ้
• สม้ สายนําผงึ สามกิโลกรัม

๓.๒ ประโยคกริยาเดยี วทซี ับซ้อน หมายถึง ประโยคกริยาเดียวทีมี
ส่วนขยายประโยคเป็นประโยค ซึงมี ๓ ชนิด ดว้ ยกนั คือ

๑) ประโยคขยายในหน่วยนาม ประโยคมกั มี “ ที ซึง อนั
วา่ ” นาํ หนา้ เช่น
• นอ้ งทเี รียนชันอนุบาลทานขา้ ว
• ยา่ ทีอยู่บ้านหลงั ตดิ กบั ฉันปูเสือ

๒) ประโยคขยายในหน่วยกริยา มีคาํ เชือม ไดแ้ ก่ “วา่ ที”
นาํ หนา้ ซึงไม่จาํ เป็นตอ้ งอยชู่ ิดกริยาเป็นหน่วยหลกั เช่น
• ฉนั คิดว่านอ้ งคงอิมแลว้
• พอ่ ภูมิใจทลี กู เป็นคนดี

๓) ประโยคขยายในหน่วยนามและหน่วยกริยา เช่น
• โรงเรียนทอี ยู่ใกล้บ้านฉันถกู ไฟไหม้ เมือกลางดึก
• นอ้ งทเี รียนชันอนุบาลทานขา้ วทโี รงอาหาร

ประโยคหลายกริยาและประโยคความรวม

๑. หน่วยกริยาในประโยคหลายกริยา คือประโยคทีมีคาํ วา่ “ถูก ทงั ให”้ จะ
อยกู่ บั กริยาอืน โดยไม่สามารถอยลู่ าํ พงั ได้ เช่น

• เขาไปทงั ไม่สบาย

• เขาถูกครูดุ - ธิดาถูกขโมยงดั บา้ นเมือคืนนี

• ครูให้เดก็ คดั ไทย - พอ่ ให้ลูกไปซือกบั ขา้ ว

หมายเหตุ คาํ วา่ “ถูก” กริยาตามหลงั มกั เป็นสกรรมกริยา

คาํ วา่ “ให”้ ใชน้ าํ หนา้ กริยาอืนทีประธานเป็นสาเหตุโดยตงั ใจใหก้ ริยานนั
แสดงสาเหตุ

๒. หน่วยกริยาในประโยคความรวม

หน่วยกริยาในประโยคความรวมมิไดม้ ีความสัมพนั ธก์ นั ใกลช้ ิด มกั
เป็นการทีนาํ กริยามาเรียงติดต่อกนั หลายลกั ษณะ บางกริยาตอ้ งการ

กรรม บางกริยากไ็ ม่ตอ้ งการกรรม เช่น

• เขาดีใจลุกขึนกระโดด ไม่มกี รรม
• ขา้ วเหนียวดาํ ทงั หวานมนั

• แมวไล่ตะครุบกดั หนู

• เขารีดเสือไหม้ มกี รรม

๓. คาํ ปฏิเสธในประโยคหลายกริยาและประโยคความรวม

คาํ วา่ “ไม่” เป็นคาํ ขยายอยหู่ นา้ คาํ กริยา หรือคาํ ขยายกริยาบางชนิด
กรณีทีมีหน่วยกริยาเรียงกนั ตงั แต่ ๓ หน่วยขึนไป “ไม่” อาจอยหู่ นา้
หรือหลงั หน่วยกริยากไ็ ด้ เช่น

๓.๑ ประโยคหลายกริยา “ ไม่” มกั อยหู่ นา้ คาํ กริยา หรือคาํ ขยาย
กริยา ในหน่วยกริยาหนา้ เช่น

- ครูไม่ให้นกั เรียนเดินลดั สนาม - พอ่ แม่ไม่ให้ลกู ออกไปเล่นนอกบา้ น

๓.๒ ประโยคความรวม “ไม่” อาจอยหู่ นา้ คาํ กริยาหรือคาํ ขยาย
กริยาในหน่วยกริยาหนา้ หรือหน่วยกริยาหลงั กไ็ ด้ เช่น

• เขานอนไม่คอ่ ยหลบั - เขาปฏิเสธใครไม่เป็น

๔. ความซับซ้อนของประโยคหลายกริยา และประโยคความรวม
การซบั ซอ้ นเพราะหน่วยนามหรือหน่วยกริยา อาจมีส่วนขยายที
ประกอบดว้ ยวลีหรือประโยค ทาํ ใหเ้ กิดความซบั ซอ้ นมากยงิ ขึนเช่นกนั

๔.๑ ความซับซ้อนในประโยคหลายกริยา เช่น
• แม่ใหต้ ิมซือขนมหรือผลไม้

(ขนมและผลไมเ้ ป็นหน่วยนามซบั ซอ้ น ซึงเป็นกรรมของซือ)

๔.๒ ความซับซ้อนในประโยคความรวม
• ราตรีวิงไปหยบิ กระดาษและดินสอ

(กระดาษและดินสอเป็นหน่วยนามซบั ซอ้ นซึงเป็นกรรมของหยบิ )

ชนิดของประโยคตามทฤษฎีนี แบ่ง เป็น ๓ วธิ ี
๑. แบ่งตามโครงสร้าง
๒. แบ่งตามมาลา
๓. แบ่งตามเจตนา

ชนิดของประโยคตามโครงสร้าง

๑. ประโยคสามัญ หรือประโยคพนื ฐาน ประกอบดว้ ยนามวลี และ
กริยาวลี แยกเป็น ๒ ชนิด

๑.๑ ประโยคสามัญทมี กี ริยาวลเี ดยี ว เช่น

- เธอไปตลาด - พระสุธนรักนางมโนราห์

- ฉนั กบั พอี ่านหนงั สือ - เร็วๆเถิด

- เธอหนา้ ตาคลา้ ยณเดชณ์ - ละครเรืองรักคุณเท่าฟ้ าอวสานแลว้

- ไม่ตอ้ งแต่งชุดนกั เรียนแลว้ - รายการวทิ ยกุ าํ ลงั เปิ ดเพลงลกู ทุ่ง

๑.๒. ประโยคสามัญหลายกริยาวลี (ตอ้ งไม่มีคาํ เชือม) มีโครงสร้างกริยา
เรียง แสดงเหตุการณ์ทีเกิดพร้อมกนั เกิดต่อเนือง เกิดก่อนหลงั กนั ตามลาํ ดบั
หรือเหตุการณห์ ลงั เป็นผลจากเหตุการณ์แรก

• ก. เหตุการณ์ในประโยคเกดิ พร้อมกนั เช่น

สมชายโบกมือลาพวกเรา
สมเกียรติขบั รถฝ่ าไฟแดง

• ข. เหตุการณ์ในประโยคเกดิ ต่อเนืองกนั หรือเกดิ ก่อนหลงั ตามลาํ ดบั เช่น

คุณป่ เู ดินไปใส่บาตรหน้าบ้าน

สมทรงพบั เสือเกบ็ เข้าตู้

• ค. เหตุการณ์หลงั เป็ นผลของเหตุการณ์แรก เช่น
คลืนซัดบ้านพงั หมด
ลมพดั สังกะสีปลวิ

๒. ประโยคซ้อน

ประโยคทปี ระกอบด้วยประโยคหลกั (มุขยประโยค) และประโยคย่อย
(อนุประโยค) เหมอื นทฤษฎพี ระยาอุปกติ ศิลปสาร มี ๓ ชนิด

– ประโยคซอ้ นทีมีนามานุประโยค
–ประโยคซอ้ นทีมีคุณานุประโยค
–ประโยคซอ้ นทีมีวเิ ศษณานุประโยค

ประโยคซ้อนทมี นี ามานุประโยค
คือ ประโยคซอ้ นทีมีอนุประโยคขึนตน้ คาํ เชือมอนุประโยค ที ทวี ่า ว่า ให้
และอนุประโยคนนั ทาํ หนา้ ทีเป็นประธาน ส่วนเติมเตม็ หรือกรรม เช่น

– ทีเขาพดู มาโกหกทงั นนั
– ทีวา่ เราจะแต่งงานกนั ลืมไปไดเ้ ลย
–ลืมไปไดเ้ ลย ทีวา่ เราจะแต่งงานกนั
– เขาสญั ญา วา่ จะมากินขา้ วดว้ ยในวนั เกิด
– พอ่ แม่ดีใจ ทีไดเ้ ห็นลูกเป็นฝังเป็นฝาเสียที

ประโยคซ้อนทมี คี ุณานุประโยค

คือ ประโยคซอ้ นทีมีอนุประโยคขึนตน้ คาํ เชือมอนุประโยค ที ซึง อนั
และอนุประโยคนนั ทาํ หนา้ ทีเป็นส่วนขยายนาม (adjective = คุณศพั ท)์
เช่น

• – ข่าว-ทีวา่ เครืองบินตกไดร้ ับการยนื ยนั แลว้

• – เขาเป็นคน-ทีเห็นแก่ตวั เป็นอยา่ งมาก

• – เขามองตน้ ไม-้ ซึงขึนเรียงราย 2 ขา้ งถนนไปตลอดทาง

• – ทงั 2 ประเทศมีความสมั พนั ธ-์ อนั ดีต่อกนั

ประโยคซ้อนทมี วี เิ ศษณานุประโยค

คือ ประโยคซอ้ นทีมีอนุประโยคขึนตน้ คาํ เชือมอนุประโยค เมอื ขณะที ก่อน
หลงั หลงั จากที แต่ ตงั แต่ เพราะ เนืองจาก จน กระทงั จนกระทงั เพอื ถ้า
หาก หากว่า ถ้าหากว่า ทงั ที แม้ว่า ต่อให้ ฯลฯ และอนุประโยคนนั ทาํ หนา้ ที
เป็นส่วนขยายกริยา (adverb) เช่น
• – เพราะปวดหวั เขาเลยขาดเรียน
• – เขาขาดเรียน เพราะปวดหวั
• – เขาลงทุนทาํ ทุกอยา่ ง เพอื ใหเ้ ธอประทบั ใจ
• – เพอื ใหเ้ ธอประทบั ใจ เขาจึงลงทุนทาํ ทุกอยา่ ง
• – เขายมิ ให้ จนเธอเดินจากไป

๓. ประโยครวม

เป็นการนาํ ประโยคยอ่ ย ๒ ประโยคขึนไปมารวมกนั โดยประโยคยอ่ ย
เป็นไดท้ งั ประโยคสามญั หรือประโยคซอ้ น ใชค้ าํ เชือม สมภาค และ
และก็ แต่ ทว่า แต่ทว่า หรือ เชือมประโยคยอ่ ยนนั รวมกนั

- ภรรยาผมตงั ครรภแ์ ต่แทง้ เสียก่อน (สามญั + สามญั )

- ชาวบา้ นแถวนีนิยมทาํ นาและเลียงปลาทีกินวชั พืชไวใ้ นนา ( สามญั +ซอ้ น)

- หลงั คาทีรัวนนั ซ่อมแลว้ แต่นาํ ฝนกย็ งั ซึมลงมาได้ (ซอ้ น + สามญั )

ชนิดของประโยคแบ่งตามมาลา

ประโยคทีแบ่งตามมาลา มี ๔ ชนิด

๑. ประโยคบอกเล่า

- เมือวานนีฝนตกลงมามากจนเกือบท่วมบา้ น

๒. ประโยคคาํ ถาม

- เขาจะยา้ ยบา้ นไปอยทู่ ไี หน - ทาํ ไมทาํ อยา่ งนี

๓. ประโยคคาํ สัง

- เข้ามาซิ - โปรดแต่งกายสุภาพ - นิดมาพบครูหน่อย

๔. ประโยคปฏเิ สธ

- เธอไม่ชอบสุนขั - ห้ามเดนิ ลดั สนาม

- สรศกั ดิไม่ชอบทานอะไรบ้าง - คุณตอ้ งไปพบแพทยไ์ ม่ใช่หรือ

ชนิดของประโยคแบ่งตามเจตนา

๑. ประโยคบอกให้ทราบ

- คุณตาชอบกลว้ ยไม้ - นิดเป็นนกั เรียนทีเรียนเก่งทีสุด

๒. ประโยคเสนอแนะ (มีคาํ วา่ ลอง ดู ควร นะซิ ซิ ซิ)

- ลองชิมตม้ ยาํ ฝี มือเราดูหน่อยนะ - ไปชวนเตยซิ ยงั วา่ งอยู่

๓. ประโยคสัง (มีคาํ วา่ จง ตอ้ ง ซิ นะ)

- จงตอบคาํ ถามต่อไปนี - หยดุ ร้องไหเ้ ดียวนีนะ

๔. ประโยคห้าม (มีคาํ วา่ อยา่ หา้ ม นะ)

- ห้ามสูบบุหรี - อย่าเสียใจเลยนะ

๕. ประโยคชักชวน (มีคาํ วา่ กนั นะ เถอะ เถอะนะ)

- เราไปชมภาพยนตร์กนั นะ - คุณเชือผมเถอะ แลว้ จะปลอดภยั

๖. ประโยคขู่ (มีคาํ เชือม ถา้ หาก)

- ถา้ เธอไม่เปิ ดประตู ฉนั จะพงั เขา้ ไปเดียวนี

๗. ประโยคขอร้อง (มีคาํ วา่ กรุณา ช่วย วาน โปรด ที หน่อย เถอะ นะ น่ะ)

- ช่วยหยบิ ปากกาใหฉ้ นั หน่อย - กรุณาถอดรองเทา้ ดว้ ยคะ่

๘. ประโยคคาดคะเน (มีคาํ วา่ คง อาจ ท่าจะ เห็นจะ กระมงั ละซิ)

- ฉนั อาจไม่ไปกบั เธอ - เธอคงโกรธฉนั แลว้ กระมงั

๙. ประโยคถาม

- ใครอยใู่ นหอ้ ง - อะไรตก - เหตุใดเธอไม่มาโรงเรียน

ข้อเปรียบเทยี บประโยคจากทงั ๓ ทฤษฎี

ข้อเปรียบเทยี บ ทฤษฎี ๑ ทฤษฎี ๒ ทฤษฎี ๓
ชือประโยค
๑. (ประโยความเดียว) ๑. ประโยคไร้กริยา ๑. ประโยคสามญั
เอกรรถประโยค และประโยคกริยา ๒. ประโยคซอ้ น
๒.(ประโยคความรวม เดียว ๓. ประโยครวม
(อเนกรรถประโยค ๒. ประโยคหลาย
๓. (ประโยคความ กริยาและประโยค
ซอ้ น) สังกรประโยค รวม

ข้อเปรียบเทยี บ ทฤษฎี ๑ ทฤษฎี ๒ ทฤษฎี ๓

ลกั ษณะประโยค มีภาคประธาน + ภาค มีภาคประธาน มีภาคประธาน +
ความเดียว แสดง
นิดไปตลาด หรือมีแตภ่ าคแสดง ภาคแสดง หรือ มี

วนั นีวนั พธุ เพียงภาคแสดงก็

ปิ ดบา้ นพกั ได้

ชมพรู่ ้องไห้

เงียบ

ข้อเปรียบเทยี บ ทฤษฎี ๑ ทฤษฎี ๒ ทฤษฎี ๓

ลกั ษณะประโยค เป็นการนาํ ประโยค มีกริยาตงั แต่ ๒ ตวั เป็ นการรวม
ความรวม ความเดียวตงั แต่ ๒ ขึนไป ประโยคยอ่ ย ๒
ประโยคขึนไปมา ประโยค ซึงอาจ
รวมกนั มีสันธาน เป็ นประโยค
เชือม ใหค้ ลอ้ ยตาม สามญั หรือซอ้ นก็
ขดั แยง้ ใหเ้ ลือก และ ได้ และใช้
เป็ นเหตุเป็ นผล สนั ธานเชือม

ข้อเปรียบเทยี บ ทฤษฎี ๑ ทฤษฎี ๒ ทฤษฎี ๓
-
ลกั ษณะประโยค ประกอบดว้ ยประโยค เหมือนพระยา-
ความซอ้ น หลกั กบั ประโยคยอ่ ย อุปกิตศิลปสาร


Click to View FlipBook Version