The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by biphai_kku, 2022-07-10 13:44:41

SAR 2560

SAR 2560

รายงานประจำปขี องสถานศกึ ษา

(Self-Assessment Report : SAR)
ปีการศึกษา ๒๕๖๐

โรงเรยี นกุมภวาปี
อำเภอกมุ ภวาปี จงั หวดั อดุ รธานี
สำนักงานเขตพืน้ ทกี่ ารศึกษามธั ยมศึกษา เขต 20
สำนกั งานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน

กระทรวงศกึ ษาธกิ าร

เอกสารลำดบั ท่ี ......./..........



คำนำ

การปฏริ ปู การศึกษาในทศวรรษทีส่ อง (พ.ศ. ๒๕๕๒-๒๕๖๑) ไดใ้ หค้ วามสำคญั การนำผล
การประเมนิ คุณภาพการศึกษาของหน่วยงานต้นสังกัด และสถานศึกษาไปใช้ในการพัฒนาคุณภาพ
และมาตรฐานการศึกษา ตามเจตนารมณ์ของพระราชบัญญตั กิ ารศกึ ษาแหง่ ชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒ แกไ้ ขเพมิ่ เตมิ
(ฉบับที่ ๒) พ.ศ.๒๕๔๕ และกฎกระทรวงว่าด้วยระบบ หลกั เกณฑ์ และวธิ กี ารประกันคณุ ภาพการศึกษา
พ.ศ. ๒๕๕๓ โดยกำหนดให้สถานศกึ ษาดำเนนิ การ ๑) จัดระบบการประกนั คณุ ภาพภายใน ๘ องค์ประกอบ
ตามกฎกระทรวง ฯ และให้ถอื เปน็ สว่ นหนง่ึ ของการบริหารการศึกษา เน้นความต่อเนอ่ื ง ๒) จัดทำรายงาน
ประจำปีของสถานศึกษา โดยต้นสังกัด ๔) เผยแพรผ่ ลการตดิ ตาม และผลการปฏบิ ัตงิ านทีด่ ีของสถานศึกษา
ต่อสาธารณชน ๕) นำผลการประเมินไปสกู่ ารพฒั นาคณุ ภาพและมาตรฐานการศกึ ษา ตลอดทั้งเพอ่ื รองรบั
การประเมินคุณภาพภายนอก

ดงั นน้ั โรงเรยี นกุมภวาปี ไดด้ ำเนนิ การตามหลักการของกฎหมายทเี่ ก่ยี วข้องทกุ ปกี การศกึ ษา
และได้จัดทำรายงานการประเมินตนเองของสถานศกึ ษา โดยใชข้ อ้ มลู จากการประเมินตนเอง ตามมาตรฐาน
การศกึ ษาของสถานศึกษา ในปีการศกึ ษา ๒๕๖๐ เสนอตอ่ เขตพ้นื ท่ี และผทู้ ่เี ก่ียวขอ้ ง วัตถปุ ระสงค์
เพ่อื เป็นฐานข้อมลู สำหรบั สถานศึกษานำไปจดั ทำแผนปฏิบัติการในปตี อ่ ไป และเปน็ ฐานข้อมูลสำหรบั เขต
พนื้ ทีน่ ำไปใช้ประโยชน์ รายงานหน่วยงานตน้ สงั กัดและตดิ ตาม ตรวจสอบและประเมินคณุ ภาพภายใน
โดยเขตพนื้ ท่ี และเป็นฐานขอ้ มลู สำหรบั ใชร้ บั การประเมนิ คณุ ภาพภายนอกจากสำนกั งานรบั รองมาตรฐาน
และประเมนิ คณุ ภาพการศกึ ษา(องค์การมหาชน) ตามลำดบั ตอ่ ไป

ขอขอบคุณคณะกรรมการสถานศึกษา และคณะครูทุกท่านไว้ ณ โอกาสนี้ที่ให้ความร่วมมอื
ในการจัดทำรายงานครั้งน้ี เปน็ ไปดว้ ยความเรยี บร้อยดี

(นายอาวุธ เคนแสนโคตร)
ผู้อำนวยการโรงเรยี นกมุ ภวาปี



ความเหน็ ชอบของคณะกรรมการสถานศึกษา

การพฒั นาคณุ ภาพการศึกษาประจำปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๐ สถานศกึ ษามีภาระหน้าทจ่ี ะต้องดำเนนิ
การตามพระราชบญั ญัตกิ ารศกึ ษาแหง่ ชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒ ท่ีกำหนดไว้ชัดเจนในมาตรา ๔๘ ให้สถานศกึ ษา
มีการจดั ทำรายงานพัฒนาคุณภาพเสนอต่อหนว่ ยงานตน้ สงั กดั เป็นประจำทุกปี

ดงั นน้ั โรงเรียนกมุ ภวาปี อำเภอกมุ ภวาปี จงั หวดั อุดรธานี จึงไดด้ ำเนินการประชมุ หารือคณะกรรมการ
สถานศกึ ษาและคณะครู ตลอดไดแ้ นวปฏิบตั ิ พรอ้ มทง้ั ได้ดำเนนิ การรวบรวมข้อมลู ผลงาน ซงึ่ ทางโรงเรียน
ไดด้ ำเนนิ กจิ กรรม ตามสาระการเรยี นรู้ ตลอดจนผลสัมฤทธท์ิ างการเรียนของนักเรยี นทกุ ชั้นในรอบปกี ารศึกษา
การจดั ทำรายงานประจำปขี องสถานศกึ ษา ประจำปกี ารศึกษา ๒๕๖๐ คณะกรรมการสถานศึกษา
ไดใ้ หค้ วามเห็นชอบและผ่านความเหน็ ชอบของคณะกรรมการสถานศกึ ษาเป็นทเี่ รียบรอ้ ยแล้ว

(นายธนู ห่อนบุญเหมิ )
ประธานคณะกรรมการสถานศกึ ษาข้ันพ้ืนฐาน

โรงเรยี นกมุ ภวาปี
วัน..................เดอื น.....................พ.ศ. .....................



สารบญั

ส่วนท่ี หนา้

• คำนำ ก

• ความเห็นชอบของคณะกรรมการสถานศกึ ษา ข

• สารบญั ค

๑ ข้อมูลพนื้ ฐานของสถานศกึ ษา ๑

• ข้อมูลทัว่ ไป ๑

• ขอ้ มูลครูและบุคลากร ๓

• ข้อมูลนกั เรียน ๔

• สรปุ ข้อมลู ผลสมั ฤทธิ์ทางการเรยี นระดับสถานศึกษา ๕

• ผลการทดสอบระดบั ชาติของผเู้ รยี น ๕

• สรปุ การใชแ้ หล่งเรียนรูภ้ ายในและภายนอกสถานศกึ ษา ๘

๒ ผลการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา

• มาตรฐานท่ี ๑ คณุ ภาพของผู้เรยี น ๙

• มาตรฐานที่ ๒ กระบวนการบรหิ ารและการจัดการของผู้บรหิ ารสถานศึกษา ๑๗

• มาตรฐานที่ ๓ กระบวนการจัดการเรียนการสอนทเ่ี น้นผเู้ รยี นเปน็ สำคัญ ๑๙

• มาตรฐานที่ ๔ ระบบการประกันคณุ ภาพภายในทม่ี ปี ระสทิ ธิผล ๒๐

• ผลการประเมินภาพรวม ๒๑

• สรุปผลการประเมนิ คุณภาพภายในของสถานศึกษา ระดับการศึกษาขน้ั พน้ื ฐาน

ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๐ ๒๒

๓ สรุปผล แนวทางการพัฒนา และความต้องการการช่วยเหลอื

• จดุ เด่น จุดควรพฒั นา ๒๓

• แนวทางการพฒั นาในอนาคต ๒๔

• ความตอ้ งการการชว่ ยเหลอื ๒๕

ภาคผนวก

• ประกาศใช้มาตรฐานการศึกษาโรงเรยี นกมุ ภวาปี ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๐ ๒๗

• ภาพกจิ กรรม ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๐ ๔๖



สว่ นท่ี ๑ ขอ้ มูลพ้นื ฐานของสถานศกึ ษา

๑.๑ ขอ้ มูลทั่วไป
โรงเรยี นกมุ ภวาปี ตงั้ อยู่เลขท่ี ๑๖๔ หมู่ ๓ ถนนนายูง ตำบลกมุ ภวาปี อำเภอกุมภวาปี

จังหวัดอดุ รธานี รหสั ไปรษณยี ์ ๔๑๑๑๐ โทรศพั ท์ ๐๔๒ - ๓๓๔๖๘๗ โทรสาร ๐๔๒ - ๒๐๒๙๐๓ สังกดั
เขตพ้นื ทก่ี ารศึกษามัธยมศึกษา เขต ๒๐ เปดิ สอนระดบั มัธยมศกึ ษาปีท่ี ๑ - ๖ พ้นื ทข่ี องโรงเรยี นมที ั้งส้ิน
จำนวน ๖๖ ไร่ ๓๓ ตารางวา แบ่งออกเป็นจำนวน ๓ แปลง ดงั น้ี แปลงที่ ๑ ท่ตี ง้ั ปลกู บา้ นพักครูและ
นักการ มีเนื้อที่ ๑๕ ไร่ –งาน แปลงท่ี ๒ ที่ต้งั โรงเรียน มเี น้ือที่ ๔๕ ไร่ ๓ งาน ๑๐ ตารางวา แปลงท่ี ๓
แปลงเกษตรกรรม มเี น้ือท่ี ๕ ไร่ ๑ งาน ๒๓ ตารางวา เขตพื้นทบี่ ริการ มีจำนวน ๑๗ หมู่บา้ น ได้แก่
บ้านดงเมือง บา้ นท่าเปลือย บา้ นปอ บา้ นโพธิ์สง่า บา้ นดอนแก้ว บา้ นท่าหนองเทา บา้ นท่ามว่ งเวียงคำ
บา้ นสวนมอนคำ บา้ นโนนเห็น-เวยี งชัย บา้ นคำไผ่ บา้ นหนิ เหลงิ่ บา้ นหนิ ฮาวโนนงาม บา้ นนาแบก
บา้ นดอนสวรรค์ บา้ นหนองแวง บา้ นตมู และบา้ นโนนมะข่า

ประวัติโรงเรียน
โรงเรียนกมุ ภวาปี เป็นโรงเรียนมธั ยมศึกษาแหง่ แรกประจำอำเภอกมุ ภวาปี จัดตง้ั ขึน้ เม่ือวนั ที่ ๑

พฤศจิกายน ๒๔๙๑ โดยการอนมุ ตั ขิ องกรมสามัญศึกษา กระทรวงศึกษาธกิ าร โดยได้ใชอ้ กั ษรย่อ อ.ด. ๕
นบั เปน็ โรงเรยี นมธั ยมแหง่ ที่ ๓ ของจงั หวัดอุดรธานี คร้ังแรกเปดิ สอนในระดับมธั ยมศกึ ษาปที ี่ ๑ จำนวน ๑
หอ้ งเรียน โดยอาศัยอาคารเรียนของโรงเรียนบา้ นดงเมือง (ดงเมอื งวิทยา) เป็นอาคารเรยี น จนกระท่งั เดือน
ตลุ าคม พ.ศ. ๒๔๙๒ จึงไดย้ ้ายไปเรียนที่อาคารเรยี นของโรงเรยี นกมุ ภวาปี ผ้ทู ดี่ ำรงตำแหนง่ ครใู หญ่ คนแรก
คอื นายกมล จนั ทะชมุ

ปีการศึกษา ๒๔๙๖ ได้รับอนุมตั ใิ ห้เปิดสอนมธั ยมศึกษาตอนปลาย และตอ่ มาได้มกี ารเปลี่ยนแปลง
ตามแผนการศกึ ษาแหง่ ชาติ พ.ศ. ๒๕๐๓ โดยเปิดเรียนประโยคมธั ยมศึกษาตอนต้น (ม.ศ.๑-ม.ศ.๓) ระดบั ละ ๒
ห้องเรยี น ในปีการศึกษา ๒๕๑๑ ได้รบั อนมุ ัตใิ หเ้ ปดิ สอนเพม่ิ ข้ึนระดับละ ๓ ห้องเรียน ปกี ารศึกษา ๒๕๑๒
โรงเรียนกมุ ภวาปี ได้คดั เลือกจากกรมสามญั ศึกษา เข้ารว่ มโครงการ ค.ม.ส.๒ ซึง่ ได้รบั งบประมาณในการ
จดั สรา้ งอาคาร คอื อาคารเกษตร อาคารคหกรรม และหอประชุม / โรงอาหาร อยา่ งละ ๑ หลัง ปีการศึกษา
พ.ศ. ๒๕๑๓ นายมนั่ จงเรียน ดำรงตำแหนง่ อาจารย์ใหญ่โรงเรยี น ไดย้ า้ ยสถานทตี่ ้ังโรงเรยี นจากเดิม
มาตงั้ อยู่ในสถานที่ปัจจุบนั เพราะโรงเรียนขยายอาคารเรยี นเพม่ิ ขึ้น

ปีการศึกษา ๒๕๒๐ โรงเรยี นไดร้ บั การคัดเลือกให้เปน็ โรงเรยี นในโครงการทดลองการใช้หลกั สตู ร
การศกึ ษาเพอ่ื การพัฒนาชนบทของเขตการศึกษา ๙ เพ่ือทดลองความเหมาะสมของหลกั สูตรวชิ าชพี ทอ้ งถ่ินที่
จัดขึน้ ซึง่ ไดร้ บั การสนับสนุนจาก UNESCO

ปีการศกึ ษา ๒๕๔๔ โรงเรียนกุมภวาปี ได้รับการยกยอ่ งเชดิ ชูเกยี รตจิ ากกรมสามัญศกึ ษา ให้เปน็
โรงเรยี นปฏิรูปการศึกษาดีเด่น และกรมสามัญศึกษา อนุมัตใิ ห้โรงเรียนรับนักเรยี น ม.๑ จำนวน ๑๐ ห้องเรียน
ม. ๔ จำนวน ๑๐ หอ้ งเรยี น

ปีการศกึ ษา ๒๕๔๕ โรงเรยี นกุมภวาปี ไดร้ ับคดั เลือกจากรมสามัญศึกษา เข้าเปน็ โรงเรยี น
เครือข่ายปฏริ ปู การศึกษา โดยใชห้ ลักสตู รการศึกษาขั้นพืน้ ฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๔๔ ในระดบั ช้นั มัธยมศึกษา
ปที ่ี ๑ และปีที่ ๔ เป็นชัน้ เรยี นเริ่มต้น

ปีการศึกษา ๒๕๔๙ ได้รับคัดเลอื กใหเ้ ปน็ โรงเรียนยอดนยิ ม
ปีการศกึ ษา ๒๕๕๒ ได้รับคัดเลอื กใหเ้ ปน็ โรงเรียนดี ระดับจงั หวดั (SP2)
ปีการศกึ ษา ๒๕๕๓ ไดร้ ับคัดเลอื กให้เปน็ โรงเรยี น World-Class Standard School



และสำนกั งานคณะกรรมการการศึกษาขัน้ พนื้ ฐานเป็นโรงเรยี นประเภท ๑ เพื่อรองรบั การกระจายอำนาจเป็น
โรงเรียนนิติบุคคล

ปกี ารศกึ ษา ๒๕๕๘ ผ่านการประเมินรบั ปา้ ย โครงการอนรุ กั ษ์พนั ธุกรรมพืชอนั เนอื่ งมาจาก
พระราชดำริ สมเดจ็ พระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี

ปีการศกึ ษา ๒๕๖๐ เปน็ โรงเรยี นแกนนำ โครงการพลเมืองดี วนิ ยั เดน่ : คนดี มวี ินัย รกั ภมู ใิ จใน
ชาติ สามารถเชี่ยวชาญตามความถนัด มีความรับผดิ ชอบต่อครอบครัว ชมุ ชน สังคม และประเทศชาติ ด้วยการ
จัดการเรียนรู้ตามแนวคดิ “STAR STEMS” สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพน้ื ฐาน
กระทรวงศกึ ษาธิการ

แผนท่โี รงเรียน



๑.๒ ข้อมลู บุคลากรของสถานศึกษา

๑) จำนวนบุคลากร

บุคลากร ผูบ้ รหิ าร ครผู ูส้ อน พนกั งาน ครูอตั ราจ้าง เจ้าหนา้ ที่
ราชการ ๕ อน่ื ๆ
ปีการศกึ ษา ๒๕๖๐ ๓ ๑๑๗
๒ ๓

๒) วฒุ กิ ารศกึ ษาสงู สดุ ของบุคลากร

๐, ๐.๐๐% ๑, ๐.๘%

๓๖, ๒๗.๖๗%

๙๓, ๗๑.๕๓%

ต่ำกว่าปริญญาตรี ปรญิ ญาตรี ปรญิ ญาโท ปรญิ ญาเอก

๓) สาขาวิชาท่ีจบการศึกษาและภาระงานสอน

สาขาวชิ า จำนวน(คน) ภาระงานสอนเฉล่ยี ของครู ๑
คน
๑. บริหารการศกึ ษา ๓
๒. คณิตศาสตร์ ๑๘ ในแต่ละสาขาวชิ า(ชม./สัปดาห)์
๓. วิทยาศาสตร์ ๒๒ -
๔. ภาษาไทย ๑๑ ๒๑
๕. ภาษาอังกฤษและภาษาจนี ๑๗ ๒๐
๖. สงั คมศกึ ษา ๑๔ ๒๒
๗. การงานอาชีพและเทคโนโลยี ๑๓ ๒๒
๘. สขุ ศึกษาและพลศึกษา ๗ ๒๒
๙.ศลิ ปศกึ ษา ๙ ๒๑
๑๐.แนะแนว ๓ ๒๒
๑๑๗ ๑๙
รวม ๑๗

๒๐.๖๖



๑.๓ ข้อมลู นักเรียน รวม
จำนวนนกั เรยี นปกี ารศึกษา ๒๕๖๐ รวม ๒๕๔๔ คน (ข้อมูล ณ วันที่ ๓๑ มนี าคม ๒๕๖๐) ทงั้ สน้ิ

ระดบั ชั้นเรยี น
ม.๑ ม.๒ ม.๓ ม.๔ ม.๕ ม.๖

จำนวนหอ้ ง ๑๒ ๑๒ ๑๒ ๑๐ ๙ ๙ ๖๔
เพศ
ชาย ๑๙๘ ๑๖๘ ๒๖๓ ๑๓๕ ๑๓๐ ๑๓๑ ๑,๐๒๕
รวม
เฉลยี่ ตอ่ ห้อง หญงิ ๒๔๓ ๒๖๗ ๒๙๓ ๒๒๒ ๒๒๒ ๒๗๒ ๑,๕๑๕

๔๔๑ ๔๓๕ ๕๕๖ ๓๕๗ ๓๕๒ ๔๐๓ ๒,๕๔๔

๓๗ ๓๖ ๔๖ ๓๖ ๓๙ ๔๕ ๔๐

เปรยี บเทียบจำนวนนกั เรียนระดบั ช้นั ม.๑ - ม.๖
ปกี ารศึกษา ๒๕๕๘ - ๒๕๖๐

ปี กศ. ๒๕๖๐ ปี กศ. ๒๕๕๙ ปี กศ. ๒๕๕๘

ม.๖ 379 403 435

ม.๕ 328 353262

ม.๔ 357 393
354

ม.๓ 439 473 556

ม.๒ 435 535240

ม.๑ 444413 524



๑.๔ ขอ้ มลู ผลสัมฤทธท์ิ างการเรยี นระดับสถานศึกษา
รอ้ ยละของนกั เรียนท่มี เี กรดเฉล่ียผลสัมฤทธิ์ทางการเรยี นแตล่ ะรายวิชาในระดับ ๓ ข้ึนไป
ระดบั ชนั้ มัธยมศกึ ษาปีท่ี ๑ – ๖ ปีการศึกษา ๒๕๖๐

ภาษาองั กฤษ 32.36
การงานอาชพี และเทคโนโลยี 66.38
66.97
ศิลปะ 76.83
สุขศกึ ษา 65.11
สังคมศกึ ษา ศาสนาและวัฒนธรรม
วทิ ยาศาสตร์ 33.41
คณิตศาสตร์ 33.95
ภาษาไทย
60.19
๐ ๑๐ ๒๐ ๓๐ ๔๐ ๕๐ ๖๐ ๗๐ ๘๐ ๙๐ ๑๐๐

ร้อยละ

๑.๕ ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขน้ั พน้ื ฐาน (O-NET)
๑) ผลการทดสอบทางการศึกษาระดบั ชาติข้ันพน้ื ฐาน (O-NET) ประจำปกี ารศึกษา ๒๕๖๐

ผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดับชาติขัน้ พ้นื ฐาน (O-NET) ปกี ารศึกษา ๒๕๖๐
ช้ันมัธยมศกึ ษาปที ่ี ๓

๑๐๐คะแนนเฉ ่ีลย
๙๐
๘๐ 45.03
๗๐ 46.44
๖๐ 48.77
๕๐
๔๐ 48.29
๓๐ 22.76
๒๐ 25.19
๑๐
๐ 26.55
26.30
ภาษาไทย
30.03
31.58
32.47
32.28
27.91
29.58
30.14
30.45

คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ ภาษาอังกฤษ

คะแนนเฉลี่ยของโรงเรียน คะแนนเฉล่ยี ระดับจงั หวดั คะแนนเฉลยี่ สงั กัดสพฐ.ทั้งหมด คะแนนเฉลี่ย ระดบั ประเทศ



ผลการทดสอบทางการศึกษาระดบั ชาติข้ันพ้นื ฐาน (O-NET) ปีการศกึ ษา ๒๕๖๐
ชั้นมธั ยมศึกษาปีที่ ๖

ภาษาอังกฤษ 23.8526.222778.9.311
สงั คมฯ 323.5323.34448..7906

วิทยาศาสตร์ 25.3127.292989..3478
คณิตศาสตร์ 19.9822.622944..5634

ภาษาไทย 4477..2441095.02.507

๑๐ ๒๐ ๓๐ ๔๐ ๕๐ ๖๐
คะแนนเฉลย่ี

คะแนนเฉลย่ี ระดับประเทศ คะแนนเฉลี่ย สังกดั สพฐ.ทง้ั หมด คะแนนเฉล่ียระดบั จงั หวดั คะแนนเฉลยี่ ของโรงเรียน

๒. เปรียบเทยี บผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดับชาติขัน้ พื้นฐาน (O-NET)
ปกี ารศึกษา ๒๕๕๙ – ๒๕๖๐

ผลการทดสอบทางการศึกษาระดบั ชาตขิ ั้นพ้นื ฐาน ปีการศึกษา ๒๕๕๙ - ๒๕๖๐
ระดับชัน้ มัธยมศึกษาปที ่ี ๓

คะแนนแฌ ี่ลย๑๐๐
45.62๙๐
45.03๘๐
26.02๗๐
22.76๖๐
34.51๕๐
30.03๔๐
46.97๓๐
0.00๒๐
29.75๑๐
27.91๐

ภาษาไทย คณติ ศาสตร์ วิทยาศาสตร์ สงั คมศกึ ษาฯ ภาษาอังกฤษ
ปี ๒๕๕๙ ปี ๒๕๖๐



ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาตขิ นั้ พ้นื ฐาน ปกี ารศกึ ษา ๒๕๕๙ - ๒๕๖๐
ระดบั ชัน้ มัธยมศกึ ษาปีท่ี ๖

คะแนนเฉ ี่ลย๑๐๐
49.29๙๐
47.21๘๐
๗๐
20.81๖๐
19.98๕๐
๔๐
29.03๓๐
25.31๒๐
๑๐
33.61๐
32.52
24.27ภาษาไทย
23.85

คณติ ศาสตร์ วิทยาศาสตร์ สงั คมศึกษาฯ ภาษาองั กฤษ
ชุดข้อมลู 1 ชดุ ข้อมลู 2

๑.๖ ผลการประเมินกจิ กรรมพฒั นาผเู้ รยี น ปกี ารศึกษา ๒๕๖๐

๑๐๐ 87.39
๙๐ 84.05
๘๐
๗๐ 97.19
๖๐ 84.32
๕๐ 86.41
๔๐
๓๐ 97.24
๒๐
้รอยละ ๑๐

12.61
ช้นั ม.๑ 15.95
2.81
15.68
13.59
2.96

ชั้น ม.๒ ชั้น ม.๓ ชน้ั ม.๔ ช้ัน ม.๕ ชัน้ ม.๖

ผ่าน ไมผ่ ่าน



๑.๗ ข้อมลู การใช้แหล่งเรียนรภู้ ายในและภายนอกโรงเรยี น ปกี ารศึกษา ๒๕๖๐

จำนวนนักเรียนท่ใี ช้แหล่งเรยี นรู้ในโรงเรียน ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๐

455 525

455 440 407
0 525
2080 362
0
455 440 362
3301100 325 362
455 440 525 3025

455 440 525 310 325 362
310 27 362
325

455 440 525 310 325 362

ชั้น ม. ๑ ชั้น ม. ๒ ช้นั ม. ๓ ช้ัน ม. ๔ ชัน้ ม. ๕ ช้ัน ม. ๖

ห้องสมุด ห้องวิทยาศาสตร์ ห้องคอมพวิ เตอร์ หอ้ งภาษา
หอ้ งอาเซียน
หอ้ งดนตรี สวนพฤกษศาสตร์

จำนวนนักเรยี นทใี่ ชแ้ หลง่ เรยี นรนู้ อกโรงเรียน ปกี ารศึกษา ๒๕๖๐

77

440

3012 0 302 240060 403
274 320 274 210 325
195 1079
352 315 340 286 235 140703
184 205
325 278 321 ช้นั ม. ๔ 158
ชัน้ ม. ๕
ช้นั ม. ๑ ชนั้ ม. ๒ ชน้ั ม. ๓ ชัน้ ม. ๖

วดั พระธาตุดอนแก้ว ทะเลบวั แดง สวนธรรมชาติ(สวนลงิ ) พพิ ธิ ภัณฑ์ไดโนเสาร์
สวนสตั ว์โคราช ถำ้ ผาแดน่ อ่นื ๆ



ส่วนท่ี ๒ ผลการประเมินตนเองของสถานศกึ ษา

มาตรฐานท่ี ๑ คุณภาพของผเู้ รียน
ระดับคุณภาพ : ดีเยี่ยม

๑. กระบวนการพฒั นา
ในปกี ารศึกษา ๒๕๖๐ โรงเรียนกมุ ภวาปี มีกระบวนการพฒั นาผูเ้ รียนด้วยวธิ ีการทห่ี ลากหลาย เพือ่ ให้

ผเู้ รยี นมมี าตรฐานตามตัวชวี้ ดั สมรรถนะ และคุณลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ที่กำหนดไวใ้ นหลกั สตู รสถานศึกษา
ครูจัดกระบวนการเรียนร้โู ดยยึดผู้เรียนเปน็ สำคญั เปน็ ไปตามศกั ยภาพของผู้เรียน และเป็นไปตามมาตรฐาน
การเรียนรู้และตัวชีว้ ัดของหลกั สตู ร มกี ารออกแบบการจดั การเรยี นร้ทู เ่ี หมาะสมกับผู้เรยี น โดยมกี ารใช้รูปแบบ
การจัดการเรียนรูท้ ่ีหลากหลาย ได้แก่ การจดั การเรียนรทู้ ั้งรูปแบบการใช้ปญั หาเป็นฐาน การสบื เสาะหาความรู้
แบบลงมอื ปฏิบตั จิ รงิ การจดั การเรยี นรแู้ บบรว่ มมือกันเรียนรู้ การจัดการเรยี นร้โู ดยใชส้ ่อื และเทคโนโลยีท่ี
หลากหลาย โรงเรียนสง่ เสรมิ และสนับสนุนให้ผ้เู รียนได้รบั การพัฒนา ท้ังด้านร่างกาย อารมณ์สงั คม และ
สตปิ ัญญา โรงเรียนจัดแหลง่ เรยี นรู้เพ่อื ใหผ้ ู้เรยี นได้เลือกศึกษาตามความสนใจ เช่น การติดตง้ั สญั ญาณ
เครือข่ายไร้สาย (Wifi) ท่วั บรเิ วณโรงเรยี นเพือ่ ให้ผเู้ รยี นไดศ้ ึกษา ค้นคว้าข้อมูลโดยใช้ฐานข้อมูลตา่ ง ๆ บน
เครือข่ายอนิ เทอร์เนต็ การจัดหนังสือ สอ่ื สิง่ พิมพ์ท่หี ลากหลายในหอ้ งสมุด การจัดนทิ รรศการองค์ความรู้ เชน่
หอ้ งอาเซยี น หอ้ งงานสวนพฤกษศาสตร์ เปน็ ต้น อีกทงั้ โรงเรียนกุมภวาปี ไดจ้ ัดกิจกรรมเพือ่ พฒั นาผู้เรียน และ
ส่งเสริมความสามารถให้แกผ่ ู้เรยี น ได้แก่ กจิ กรรมวนั วิทยาศาสตร์ กจิ กรรมค่ายคณติ ศาสตร์ กิจกรรมกีฬา
ภายใน(กีฬาส)ี กจิ กรรมคา่ ยดาราศาสตร์ กจิ กรรมวันภาษาไทย กิจกรรมอาเซยี น กจิ กรรมภาษาจีน กิจกรรม
ขับข่ปี ลอดภยั กจิ กรรมลูกเสือ – เนตรนารี ยุวกาช่าด กจิ กรรมชมุ นุมวิชาการต่าง ๆ เป็นต้น

นอกจากนี้โรงเรียนกุมภวาปี ไดเ้ ลง็ เหน็ ความสำคัญของการพัฒนาคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ควบคู่
กบั การพฒั นาสมรรถนะ และตัวช้ีวดั ตามหลักสูตรสถานศกึ ษา ได้เข้าร่วมโครงการ พลเมืองดี วนิ ยั เด่น : คนดี
มวี นิ ยั รกั ภูมใิ จในชาติ สามารถเช่ียวชาญตามความถนัด มีความรบั ผดิ ชอบต่อครอบครวั ชุมชน สังคม และ
ประเทศชาติ ดว้ ยการจดั การเรียนรตู้ ามแนวคิด “STAR STEMS” สำนักงานคณะกรรมการการศกึ ษา
ขัน้ พื้นฐาน กระทรวงศึกษาธกิ าร และไดร้ บั คดั เลือกเปน็ แกนนำ ๑ ใน ๑๑ โรงเรียนทั่วประเทศ ทำใหน้ ักเรยี น
ไดร้ บั การพัฒนาใหเ้ ป็นคนดี คนเก่ง และมคี วามสุข อกี ทั้งโรงเรียนกุมภวาปไี ดเ้ ขา้ ร่วม โครงการอนุรักษ์
พันธุกรรมพชื อันเนื่องมาจากพระราชดำริ สมเดจ็ พระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เพื่อพฒั นาให้
ผู้เรียนไดเ้ รยี นรู้ธรรมชาตแิ ห่งชวี ติ ของพืชศึกษา สรรพสิ่งล้วนพันเก่ยี ว และประยุกต์สูป่ ระโยชนแ์ ทแ้ กม่ หาชน
อนั จะก่อใหเ้ กิดความรัก หวงแหนและเห็นคุณคา่ ในทรัพยากรธรรมชาติทมี่ ีอยใู่ นท้องถนิ่

๒. ผลการดำเนินการ
จากการดำเนินงานพบวา่ ผูเ้ รียนมคี วามสามารถในการอ่าน เขียน ความสามารถในการส่ือสาร คิด

คำนวณและวิเคราะห์ ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี ผลสัมฤทธิท์ างการเรียน คุณลักษณะอนั พึงประสงค์
ผ่านเกณฑ์ทต่ี งั้ ไว้ มีผลการดำเนินงานเชิงประจักษ์จากการประเมนิ ในด้านตา่ ง ๆ ดังน้ี

ประเดน็ ๑๐

ความสามารถในการ ผลการประเมิน
อา่ น การเขยี น รอ้ ยละของจำนวนนกั เรียนที่มีผลการประเมินความสามารถในการอ่าน การเขียน
(ม.๑ – ม.๖)
(ระดับ ๔ ดีเย่ียม) ช้นั มธั ยมศึกษาปีท่ี ๑ – ๖ จำแนกตามระดบั คณุ ภาพ

๑๐๐
๙๐
๘๐
๗๐
๖๐
๕๐
๔๐
๓๐
๒๐
๑๐


ชัน้ ม.๑ ช้ัน ม.๒ ช้ัน ม.๓ ชั้น ม.๔ ช้นั ม.๕ ชั้น ม.๖

ดีเยย่ี ม ดี พอใช้ ตอ้ งปรับปรงุ
84.73
73.33

91.33
86.83
68.34

91.23

้รอยละ 13.01
0.76
1.50

17.98
5.31
3.38
7.09
1.31
0.27

11.65
0.42
1.10

25.58
3.42
2.66
6.66
0.89
1.22

ความสามารถในการ ร้อยละของจำนวนนกั เรยี นท่ีมีผลการประเมินความสามารถในการสื่อสาร
ส่อื สาร คิดคำนวณ คิดคำนวณ และคิดวเิ คราะห์ ชน้ั มัธยมศึกษาปที ่ี ๑ – ๖
และคดิ วิเคราะห์ จำแนกตามระดบั คณุ ภาพ
(ระดบั ๔ ดีเยี่ยม)
๑๐๐
๙๐
๘๐
๗๐
๖๐
๕๐
๔๐
๓๐
๒๐
๑๐


ชัน้ ม.๑ ชัน้ ม.๒ ชั้น ม.๓ ช้ัน ม.๔ ช้ัน ม.๕ ชัน้ ม.๖

ดเี ยีย่ ม ดี พอใช้ ต้องปรับปรงุ
84.73
73.33

91.33
86.83
68.34

91.23

้รอยละ 13.01
0.76
1.50

17.98
5.31
3.38
7.09
1.31
0.27

11.65
0.42
1.10

25.58
3.42
2.66
6.66
0.89
1.22

๑๑

ประเด็น ผลการประเมนิ
รอ้ ยละของจำนวนนกั เรียนท่ีมผี ลการประเมินความสามารถในการใช้เทคโนโลยี
ความสามารถในการใช้
เทคโนโลยี ชั้นมธั ยมศกึ ษาปีที่ ๑ – ๖ จำแนกตามระดบั คุณภาพ
(ม.๑ – ม.๖)
(ระดับ ๓ ดี) ๑๐๐
๙๐
้รอยละ ๘๐22.68 27.59 33.99 43.98 38.07 36.97
๗๐31.75 41.38 34.53 44.82 41.19 33.25
๖๐ 30.61 26.80 9.80 17.05 27.30
๕๐ 25.29 1.40 3.69
๔๐ 14.97
๓๐ 5.75
๒๐ 4.68 2.48
๑๐


ชั้น ม.๑ ชนั้ ม.๒ ชั้น ม.๓ ชนั้ ม.๔ ช้นั ม.๕ ช้ัน ม.๖

ดีเยี่ยม ดี พอใช้ ต้องปรับปรุง

ผลสมั ฤทธิ์ทางการเรยี น ร้อยละของจำนวนนกั เรียนที่มผี ลสมั ฤทธิท์ างการเรยี น ระดบั ดขี ้นึ ไป
(ระดบั ๓ ดี) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑ – ๖ จำแนกตามระดับคุณภาพ

ภาษาองั กฤษ 32.36
การงานอาชพี และเทคโนโลยี 66.38
66.97
ศิลปะ 76.83
สขุ ศึกษา 65.11
สงั คมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม
วิทยาศาสตร์ 33.41
คณิตศาสตร์ 33.95
ภาษาไทย
60.19

๐ ๑๐ ๒๐ ๓๐ ๔๐ ๕๐ ๖๐ ๗๐ ๘๐ ๙๐ ๑๐๐
รอ้ ยละ

๑๒

ประเดน็ ผลการประเมิน
ร้อยละของคะแนนเฉลยี่ ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาตขิ นั้ พนื้ ฐาน
ผลการ (O-NET) ช้นั มธั ยมศึกษาปีท่ี ๓ ปีการศกึ ษา ๒๕๖๐ จำแนกตามระดบั คณุ ภาพ
ทดสอบ
ระดับชาติ ผลการทดสอบทางการศึกษาระดบั ชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ปกี ารศึกษา ๒๕๖๐
ช้นั มธั ยมศกึ ษาปีท่ี ๓

๑๐๐
๙๐
๘๐
๗๐
๖๐
๕๐
๔๐
๓๐
๒๐
๑๐


ภาษาไทย คณติ ศาสตร์ วทิ ยาศาสตร์ ภาษาอังกฤษ
คะแนนเฉ ี่ลย

45.03
46.44
48.77

48.29
22.76
25.19
26.55
26.30

30.03
31.58
32.47
32.28
27.91
29.58
30.14
30.45

คะแนนเฉล่ียของโรงเรียน คะแนนเฉลย่ี ระดับจงั หวัด

คะแนนเฉล่ีย สงั กดั สพฐ.ทัง้ หมด คะแนนเฉล่ีย ระดบั ประเทศ

ร้อยละของคะแนนเฉลี่ยผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดับชาติขนั้ พืน้ ฐาน
(O-NET) ช้นั มัธยมศึกษาปที ี่ ๖ ปีการศึกษา ๒๕๖๐ จำแนกตามระดับคุณภาพ

ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาตขิ นั้ พน้ื ฐาน (O-NET) ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๐
ชนั้ มัธยมศกึ ษาปีที่ ๖

ภาษาองั กฤษ 23.8256.222778.9.311
สังคมฯ 323.3533.24448..7906

วทิ ยาศาสตร์ 25.31272.29998..3478
คณติ ศาสตร์ 19.9822.622944..5634

ภาษาไทย 4477..2441095.02.507

๑๐ ๒๐ ๓๐ ๔๐ ๕๐ ๖๐
คะแนนเฉลี่ย

คะแนนเฉลย่ี ระดบั ประเทศ คะแนนเฉลีย่ สังกัดสพฐ.ทัง้ หมด
คะแนนเฉลยี่ ระดบั จังหวัด คะแนนเฉลย่ี ของโรงเรยี น

ประเดน็ ๑๓

คุณลักษณะอัน ผลการประเมนิ
พงึ ประสงคข์ อง รอ้ ยละของจำนวนนกั เรยี นท่ีมผี ลการประเมินด้านคุณธรรมและจริยธรรม
ผเู้ รียน
ช้ันมธั ยมศกึ ษาปีที่ ๑ – ๖ จำแนกตามระดบั คณุ ภาพ
้รอยละ 48.53 35.17 40.06 40.06
๑๐๐34.01 44.37 39.78 41.19
๙๐ 37.41 17.37 17.05 38.21
๘๐ 18.62 34.53 2.80 1.70 32.01
๗๐ 26.80 27.30
๖๐
๕๐15.42 1.84 1.26 2.48
๔๐2.04
๓๐
๒๐
๑๐


ชน้ั ม.๑ ช้นั ม.๒ ช้นั ม.๓ ชน้ั ม.๔ ช้ัน ม.๕ ชัน้ ม.๖

ดีเยีย่ ม ดี พอใช้ ต้องปรบั ปรงุ

ร้อยละของจำนวนนกั เรยี นท่ีมีผลการประเมินการมสี ว่ นรว่ ม
ในการอนรุ ักษ์ธรรมชาติ ชัน้ มัธยมศึกษาปีที่ ๑ – ๖ จำแนกตามระดับคุณภาพ

ชน้ั ม.๖ 27.3032.01 40.20

ชัน้ ม.๕ 17.05 4411..1498

ชน้ั ม.๔ 17.37 394.728.30

ชั้น ม.๓ 26.80 34.5337.95

ชั้น ม.๒ 18.62 36.55 44.37

ช้นั ม.๑ 15.42 34.47 49.89

๐ ๑๐ ๒๐ ๓๐ ๔๐ ๕๐ ๖๐ ๗๐ ๘๐ ๙๐ ๑๐๐

ตอ้ งปรับปรุง พอใช้ ดี ดีเยยี่ ม

ประเด็น ๑๔

คุณลักษณะอนั ผลการประเมนิ
พงึ ประสงคข์ อง รอ้ ยละของจำนวนนกั เรยี นท่ีมผี ลการประเมินดา้ นความภูมใิ จในท้องถนิ่ และ
ผู้เรยี น
ความเปน็ ไทย ช้ันมธั ยมศึกษาปที ่ี ๑ – ๖ จำแนกตามระดบั คณุ ภาพ

ชน้ั ม.๖ 0.00 22.58 4590..8191 77.42
ชน้ั ม.๕ 0.00 17.90 82.10
ชั้น ม.๔ 0.00 18.49 ๕๐ ๖๐ 81.51
ช้นั ม.๓ 0.00
ชัน้ ม.๒ 0.00 25.72 74.28
ช้นั ม.๑ 0.00 28.74 71.26

๐ ๑๐ ๒๐ ๓๐ ๔๐ ๗๐ ๘๐ ๙๐ ๑๐๐

ตอ้ งปรบั ปรงุ พอใช้ ดี ดเี ยย่ี ม

ร้อยละผลการประเมนิ นักเรียนดา้ นการยอมรับความคดิ เห็นของผู้อน่ื
สุขภาวะทางจิต ภูมิคุ้มกนั และความเป็นธรรมต่อสงั คมของนักเรยี น

ชัน้ มธั ยมศกึ ษาปที ่ี ๑ – ๖ ทอ่ี ยูใ่ นระดับดเี ย่ยี ม

้รอยละ

70.98
80.73
92.97

74.60
74.02
74.48

84.14
73.33
74.28
61.87
73.92
75.54

81.51
74.79

84.31
87.39
82.10
83.81
88.64

91.48
93.30
88.59
95.53
93.55
๑๐๐
๙๐
๘๐
๗๐
๖๐
๕๐
๔๐
๓๐
๒๐
๑๐


ชั้น ม.๑ ช้นั ม.๒ ชน้ั ม.๓ ช้ัน ม.๔ ชน้ั ม.๕ ช้นั ม.๖

การยอมรับความคดิ เหน็ ผอู้ ่ืน สขุ ภาวะทางจติ
มภี มู ิคุ้มกนั ตนเอง คำนงึ ถึงความเปน็ ธรรมต่อสงั คม

๑๕

ประเดน็ ผลการประเมนิ
ร้อยละของจำนวนนักเรยี นทเ่ี ขา้ รว่ มกจิ กรรมส่งเสริมคุณธรรมจรยิ ธรรม
คณุ ลกั ษณะอนั
พึงประสงคข์ อง 94.71 93.55
ผู้เรยี น 88.21 91.48
87.39

80.76

ชั้น ม.๑ ชน้ั ม.๒ ชั้น ม.๓ ชั้น ม.๔ ชนั้ ม.๕ ช้นั ม.๖

รอ้ ยละของนักเรยี นทมี่ นี ำ้ หนัก สว่ นสูง และมีสมรรถภาพทางกาย
ตามเกณฑม์ าตรฐาน

74.94 73.74 70.03 69.60 67.49
60.09

ชั้น ม.๑ ชัน้ ม.๒ ช้ัน ม.๓ ชนั้ ม.๔ ชั้น ม.๕ ชั้น ม.๖

๑๖

๓. จดุ เดน่
นักเรียนมคี วามสามารถในการอ่านคดิ วิเคราะห์ ความสามารถในการสื่อสาร คิดคำนวณและคดิ

วิเคราะห์ ความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยี คุณลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ อยู่ในระดบั ดีเย่ียม สามารถใช้
เทคโนโลยใี นการสบื ค้นข้อมูลในการพฒั นาการเรยี นองตนเอง มีความอ่อน น้อมถอ่ มตน มคี ณุ ลักษณะอนั พึง
ประสงคต์ ามท่กี ำหนดไว้ในหลกั สูตร มคี วามสามัคคีในหมู่คณะ ชว่ ยเหลือซง่ึ กันและกนั ในการทำงาน
นกั เรยี นมีสุขภาพร่างกายสมบรู ณแ์ ข็งแรงรกั การออกกาลังกาย มี สมรรถนะทางกายและนำ้ หนกั สว่ นสูงเปน็ ไป
ตามเกณฑ์

๔. จุดควรพัฒนา
สถานศกึ ษาควรเรง่ พฒั นาผู้เรยี น เพื่อให้คะแนนเฉล่ยี ทดสอบระดับชาติ (O-NET) ในปีการศกึ ษาต่อไป

สูงข้ึน และสูงกว่าคะแนนเฉล่ียระดบั ชาติ

๑๗

มาตรฐานที่ ๒ กระบวนการบริหารและการจัดการของผู้บริหารสถานศกึ ษา
ระดับคุณภาพ : ดีเย่ียม

๑. กระบวนการพัฒนา
โรงเรียนกุมภวาปี ได้ดำเนนิ การวิเคราะหส์ ภาพปญั หา ผลการจัดการศึกษาในปีการศึกษาที่ผา่ นมา

โดยการศกึ ษาข้อมลู สารสนเทศจากการนเิ ทศ ตดิ ตาม ประเมินการจัดการศึกษาตามนโยบายการปฏิรปู
การศกึ ษา และจัดประชุมระดมความคดิ เห็น จากบุคลากรในสถานศึกษาและคณะกรรมการสถานศึกษา
เพอ่ื วางแผนร่วมกัน กำหนดเปา้ หมาย ปรับวิสยั ทัศน์ พนั ธกิจ กลยุทธ์ ในการจดั การศึกษาของสถานศึกษา
เพื่อพัฒนาคุณภาพของผูเ้ รยี น มกี ารปรับแผนพฒั นาคุณภาพการศึกษา แผนปฏิบัติการประจำปี ใหส้ อดคล้อง
กับสภาพปญั หา ความตอ้ งการพัฒนา และนโยบายการปฏริ ปู การศึกษา พร้อมท้ังจัดหาทรัพยากร จดั สรร
งบประมาณ มอบหมายงานให้ผูร้ ับผดิ ชอบ ดำเนนิ การพฒั นาตามแผนงานเพื่อใหบ้ รรลเุ ป้าหมายท่ีกำหนดไว้ มี
การดำเนนิ การนิเทศ กำกบั ติดตาม ประเมินผลการดำเนนิ งาน และสรุปผลการดำเนนิ งาน

๒. ผลการพฒั นา
๒.๑ โรงเรยี นมกี ารกำหนดเป้าหมายวิสัยทัศน์และพันธกิจสอดคล้องกบั สภาพปญั หาความต้องการ

พฒั นาของโรงเรียนนโยบายการปฏิรปู การศึกษาความต้องการของชมุ ชนทอ้ งถนิ่ และสอดคลอ้ งกับแนวทางการ
ปฏริ ูปตามแผนการศึกษาชาติ

๒.๒ แผนพัฒนาคุณภาพการจดั การศกึ ษาแผนปฏิบัติการประจำปีสอดคล้องกับการพฒั นาผ้เู รยี นทกุ
กลุม่ เปา้ หมายมีการพฒั นาครูและบุคลากรทางการศึกษาให้มคี วามรคู้ วามเชีย่ วชาญตามมาตรฐานตำแหนง่
ข้อมลู สารสนเทศมีความถกู ต้องครบถ้วนทนั สมัยนำไปประยุกต์ใชไ้ ด้ ดำเนินการอยา่ งเป็นระบบและมกี ิจกรรม
จดั สภาพแวดล้อมทางกายภาพและสังคมที่กระต้นุ ผู้เรยี นให้ใฝเ่ รยี นรู้

๒.๓ โรงเรียนมกี ารปรับแผนพฒั นาคุณภาพการจัดการศึกษา แผนปฏบิ ตั ิการประจำปี ใหส้ อดคล้อง
กับสภาพปัญหา ความตอ้ งการพฒั นา และนโยบายการปฏิรปู การศกึ ษา โดยผมู้ สี ่วนไดเ้ สียมีส่วนร่วมในการ
พฒั นาและรบั ผดิ ชอบ

๒.๔ ผเู้ กีย่ วขอ้ งทกุ ฝ่ายและเครอื ขา่ ยการพัฒนาคุณภาพโรงเรยี นมีส่วนรว่ มในการรว่ มวางแผนพฒั นา
คณุ ภาพการศึกษาและรบั ทราบรบั ผดิ ชอบตอ่ ผลการจดั การศึกษา

๒.๕ โรงเรียนมีการนิเทศกำกับตดิ ตามและประเมนิ ผลการบริหารและการจัดการศึกษาทเ่ี หมาะสม
เป็นระบบและตอ่ เนื่องเปดิ โอกาสให้ผเู้ ก่ียวข้องมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษา

๒.๖ โรงเรยี นมรี ปู แบบการบริหารและการจัดการเชิงระบบโดยทุกฝา่ ยมสี ่วนรว่ มยึดหลักธรรมาภิบาล
และแนวคดิ หลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียงโดยมงุ่ พฒั นาผูเ้ รียนตามแนวทางปฏริ ปู การศกึ ษา

๒.๗ โรงเรียนมกี ารระดมทรัพยากร เพ่ือพัฒนาคณุ ภาพการศกึ ษาจากเครือขา่ ยอปุ ถัมภ์ ส่งผลให้
สถานศึกษามีส่ือ แหลง่ เรียนรูท้ ม่ี คี ุณภาพ

๑๘

วิธกี ารพฒั นา ผลการพฒั นา

การพัฒนาบุคลากรทาง - บคุ ลากรในโรงเรยี นกุมภวาปี ได้รบั การอบรมพฒั นาวิชาชพี คิดเป็น

การศึกษา รอ้ ยละ ๑๐๐ ของบุคลากรทง้ั หมด

- บคุ ลากรโรงเรยี นกมุ ภวาปี ร้อยละ ๒๖ ของบุคลากรทัง้ หมด เป็น

วทิ ยากร แลกเปลยี่ นเรยี นรู้ และมีส่วนในการพัฒนาวชิ าชีพของบุคลากรใน

สถานศึกษาอน่ื

การมีสว่ นรว่ มของเครือขา่ ยใน - โรงเรยี นกมุ ภวาปี มกี ารประชุมเครือข่ายผู้ปกครองในปกี ารศกึ ษา

การวางแผนการพฒั นา ๒๕๖๐ จำนวนภาคเรยี นละ ๑ ครั้ง

คุณภาพการศึกษา - โรงเรียนกุมภวาปมี ีการประชมุ สมาคมผปู้ กครองและครทู ุกภาคเรียน

ในปีการศึกษา ๒๕๖๐

การจดั หาทรัพยากร - โรงเรียนกุมภวาปี มกี ารจดั ระดมทรัพยากร จากบคุ ลากรทาง

การศกึ ษาภายในโรงเรยี น และบคุ คลภายนอก ได้แก่ ศิษย์เกา่ โรงเรยี น

กมุ ภวาปี พอ่ ค้าคหบดี ประชาชนทว่ั ไป เพือ่ จัดสรรทุนการศกึ ษา

แก่นักเรียนท่มี ีความขาดแคลน

การนเิ ทศ กำกับ ติดตามและ - ครูและบคุ ลากรโรงเรยี นกมุ ภวาปี มีการนิเทศ กำกับ ตดิ ตาม และ

ประเมนิ ผล ประเมินผลจากผบู้ ริหาร อย่างน้อย ๒ ครั้ง ต่อภาคเรยี น

๓.จุดเด่น
โรงเรียนกมุ ภวาปี มีการบริหารและการจดั การอย่างเปน็ ระบบ โรงเรียนได้ใชเ้ ทคนิคการประชมุ

ทหี่ ลากหลายวิธีเช่น การประชุมแบบมสี ว่ นร่วม การประชุมระดมสมอง การประชุมกลุ่ม เพื่อให้ทกุ ฝ่ายมีสว่ น
ร่วมในการกำหนดวสิ ัยทัศนพ์ ันธกิจ เปา้ หมาย ท่ีชัดเจน มกี ารปรับแผนพฒั นาคุณภาพการจัดการศกึ ษา
แผนปฏบิ ัตกิ ารประจำปีทส่ี อดคลอ้ งกบั ผลการจัดการศึกษา สภาพปัญหา ความต้องการพฒั นา และนโยบาย
การปฏริ ปู การศึกษาท่มี ุ่งเนน้ การพัฒนาใหผ้ ้เู รียนมคี ุณภาพตามมาตรฐานการเรยี นรตู้ ามหลักสตู รสถานศึกษา
ครูผู้สอนสามารถจดั การเรียนร้ไู ด้อย่างมคี ุณภาพ มีการดำเนนิ การนเิ ทศ กำกับ ติดตาม ประเมินผล การ
ดำเนินงาน และจัดทำรายงานผลการจัดการศึกษา เพ่ือใชเ้ ป็นฐานในการวางแผนพฒั นาคุณภาพสถานศกึ ษา

๔. จดุ ควรพฒั นา
สรา้ งเครอื ข่ายความรว่ มมือของผู้มีสว่ นเก่ยี วข้องในการจัดการศกึ ษาของโรงเรียนใหม้ ีความเข้มแขง็ มี

สว่ นรว่ มรบั ผิดชอบต่อผลการจัดการศกึ ษา และการขับเคลื่อนคณุ ภาพการจัดการศึกษามากข้ึน

๑๙

มาตรฐานท่ี ๓ กระบวนการเรยี นรู้ทีเ่ น้นผูเ้ รียนเปน็ สำคญั
ระดบั คุณภาพ : ดีเยี่ยม

๑. กระบวนการพฒั นา
โรงเรียนส่งเสรมิ ให้ครไู ด้รบั การพฒั นาวชิ าชพี สง่ ผลใหค้ รจู ดั กระบวนการเรยี นรู้แบบเน้นผ้เู รยี นเปน็

สำคัญ มกี ารใชร้ ปู แบบท่ีหลากหลายในการจัดกระบวนการเรียนรู้ เชน่ การจดั การเรยี นรทู้ ี่ใชป้ ญั หาเปน็ ฐาน
(Problem based learning) การจดั การเรยี นรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ (Inquiry) การจดั การเรยี นรู้แบบ
รว่ มมอื (Co-operative learning) การจดั การเรียนรแู้ บบบูรณาการกลมุ่ สาระวชิ า เป็นตน้ โรงเรยี นกมุ ภวาปี
เขา้ ร่วมงานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรยี น ตามโครงการอนรุ ักษพ์ นั ธกุ รรมพืชอันเน่ืองมาจากพระราชดำริ
สมเด็จพระเทพรัตนราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ ารี ส่งผลให้ครไู ดจ้ ดั กิจกรรมบรู ณาการรายวิชาเขา้ กับ ๕
องคป์ ระกอบ ๓ สาระการเรยี นรู้ ของงานสวนพฤกษศาสตร์ คอื องคป์ ระกอบท่ี ๑ การจัดทำปา้ ยชอื่ พรรณไม้
องค์ประกอบที่ ๒ การรวบรวมพรรณไมเ้ ข้าปลกู ในโรงเรียน องค์ประกอบที่ ๓ การศึกษาข้อมลู ด้านต่าง ๆ
องคป์ ระกอบท่ี ๔ การรายงานผลการเรยี นรู้ องคป์ ระกอบที่ ๕ การนำไปใช้ประโยชนท์ างการศึกษา สาระท่ี ๑
ธรรมชาติแห่งชีวิต สาระที่ ๒ สรรพสงิ่ ลว้ นพันเกีย่ ว สาระที่ ๓ ประโยชน์แท้แก่มหาชน นอกจากน้โี รงเรียน
กุมภวาปียงั ไดเ้ ข้ารว่ มโครงการ โครงการพลเมืองดี วนิ ยั เด่น : คนดี มวี นิ ยั รกั ภมู ใิ จในชาติ สามารถเชีย่ วชาญ
ตามความถนัด มีความรับผดิ ชอบต่อครอบครัว ชมุ ชน สังคม และประเทศชาติ ด้วยการจัดการเรยี นรตู้ าม
แนวคดิ “STAR STEMS” สำนกั งานคณะกรรมการการศึกษาข้นั พน้ื ฐาน กระทรวงศกึ ษาธกิ าร และเปน็ แกน
นำ ๑ ใน ๑๑ โรงเรียนทว่ั ประเทศ สง่ ผลให้ครไู ดร้ บั การพัฒนา ส่งเสริม ในด้านการจดั ทำหลักสูตรท้องถิ่น
การจดั ทำหน่วยการเรยี นรูบ้ รู ณาการ การออกแบบการจัดการเรียนร้แู บบบรู ณาการมาตรฐานการเรยี นรู้และ
ตัวช้วี ดั ในแต่ละวิชากับท้องถ่ิน นอกจากนโ้ี รงเรียนกุมภวาปไี ดส้ นบั สนนุ ใหค้ รแู ละบุคลากรทางการศกึ ษาเปดิ
ชมุ นมุ วิชาการ เพ่ือใหน้ กั เรียนเลือกเรยี นตามความถนดั และความสนใจ

๒.ผลการดำเนนิ งาน
จากการดำเนนิ งาน/ โครงการ กจิ กรรมอย่างหลากหลาย เพ่ือพฒั นาให้ครูจดั การเรียนการสอนท่เี นน้

ผเู้ รยี นเป็นสำคัญ สง่ ผลให้ผลการประเมนิ คุณภาพมาตรฐาน ที่ ๓ อยใู่ นระดบั ดีเยี่ยม

๓. จดุ เดน่
ครูและบุคลากรทางการศึกษา สายงานการสอน มีความต้งั ใจ มงุ่ ม่นั ในการพัฒนาการสอนและ

ออกแบบการจัดการเรยี นร้บู ูรณาการตามโครงการท่ีโรงเรยี นเข้าร่วม กิจกรรมการเรยี นรู้ท่คี รูจัดสง่ เสรมิ ให้
นักเรียนได้เรยี นรโู้ ดยการคิด ได้ปฏบิ ัตจิ รงิ ไดแ้ สวงหาความร้จู ากสอ่ื และเทคโนโลยีอย่างต่อเน่อื ง นักเรยี นมี
ส่วนรว่ มในการจดั บรรยากาศการเรียนรู้ มีการบรู ณาการหลกั สตู รท้องถ่นิ เขา้ กบั รายวิชาตา่ ง ๆ ท้งั การบรู ณา
การตามงานสวนพฤกษศาสตรโ์ รงเรียน ตามโครงการอนรุ ักษ์พนั ธุกรรมพชื อันเน่ืองมาจากพระราชดำริ
สมเดจ็ พระเทพรัตนราชสดุ าฯ สยามบรมราชกุมารี และโครงการพลเมืองดี วินัยเด่น : คนดี มีวนิ ัย รกั ภูมิใจใน
ชาติ สามารถเชี่ยวชาญตามความถนดั มคี วามรับผิดชอบต่อครอบครัว ชุมชน สังคม และประเทศชาติ ดว้ ยการ
จดั การเรยี นรู้ตามแนวคดิ “STAR STEMS” ส่งผลให้นกั เรียนไดเ้ รยี นรูต้ ามมาตรฐานการเรียนรแู้ ละตวั ช้ีวดั
ควบคู่กบั การเรยี นรสู้ งิ่ ทีม่ ีอยูใ่ นท้องถน่ิ ซงึ่ จะก่อใหเ้ กิดความรกั และหวงแหนในท้องถิ่นของตนเอง

๒๐

๔. จุดควรพัฒนา
ควรตดิ ตงั้ เคร่ืองฉายโปรเจคเตอรใ์ หค้ รบทุกห้องเรยี น เพื่อใหน้ กั เรยี นไดเ้ รียนรผู้ ่านสื่อเสมอื นจรงิ ตาม

กิจกรรมการเรยี นรทู้ ่คี รจู ัดข้นึ

มาตรฐานท่ี ๔ ระบบการประกันคณุ ภาพภายในทมี่ ีประสิทธิผล
ระดบั คุณภาพ : ดี

๑.กระบวนการพฒั นา
โรงเรยี นกุมภวาปี ดำเนนิ การประเมินคุณภาพภายในของสถานศกึ ษา ๘ ประการ ไดแ้ ก่ ๑) กำหนด

มาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา ๒) จัดทำแผนพัฒนาการจัดการศึกษามุ่งเนน้ ตามมาตรฐาน ๓) จดั การ
และบรหิ ารข้อมลู สารสนเทศอยา่ งเปน็ ระบบโดยใช้เทคโนโลยชี ว่ ยในการเก็บข้อมูล วเิ คราะหข์ ้อมูลสารสนเทศ
ทีเ่ ป็นประโยชนใ์ นการพัฒนาคุณภาพการจดั การศึกษาของโรงเรียน ๔) จัดทำแผนพฒั นาการจดั การศกึ ษา
๕) ดำเนนิ การติดตาม ตรวจสอบคุณภาพการศึกษา ๖)ประเมนิ คุณภาพภายในตามมาตรฐานของสถานศึกษา
๗) จดั ทำรายงานประจำปที ่เี สนอผลการประเมนิ คุณภาพภายใน ๘) โรงเรียนดำเนนิ การพัฒนาอย่างต่อเน่อื ง
โดยจัดประชมุ คณะครู ผปู้ กครอง คณะกรรมการสถานศึกษา นำเสนอผลการดำเนินงานรายงานประจำปีของ
สถานศึกษาในปีการศึกษาท่ผี ่านมา วิเคราะหผ์ ลการประเมินคุณภาพภายในจากรายงานประจำปีของปี
การศึกษาท่ีผา่ นมา วิเคราะห์จุดเดน่ จดุ ที่ควรพฒั นา และจัดทำแผนปฏบิ ตั กิ ารประจำปีตามจดุ ทคี่ วรพฒั นา
ประกอบดว้ ยโครงการ/ กจิ กรรมท่ีจะพฒั นาคุณภาพตามมาตรฐานของสถานศกึ ษา โดยเน้นท่ีผลสมั ฤทธ์ิ
ทางการเรยี น จดั ทำโครงการประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษา มีกจิ กรรมให้ความรู้ ความเขา้ ใจใน
แนวทาง การดำเนินงานประกนั คุณภาพภายในใหค้ รูทกุ คนในโรงเรียน เพ่ือให้คณะครู บคุ ลากรทางฝ่ายที่
เกีย่ วข้อง มคี วามเขา้ ใจการดำเนินงานตามมาตรฐานการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน แตง่ ตง้ั คณะกรรมการประกัน
คณุ ภาพภายในของโรงเรยี น ให้ปฏิบตั หิ นา้ ทต่ี ดิ ตาม ตรวจสอบและประเมินคุณภาพภายในตามมาตรฐานของ
สถานศกึ ษา ภาคเรยี นละ ๑ ครงั้ ครปู ระเมนิ ตนเองรายบุคคลตามแผนพฒั นาตนเองท่วี างไว้ คณะกรรมการ
ประกันคุณภาพของโรงเรยี นประเมนิ การดำเนินงานตามมาตรฐานและสรปุ ผลการดำเนินงานเพื่อพัฒนา
ปรับปรุง ตลอดปกี ารศกึ ษา ติดตามการประเมนิ โครงการและกิจกรรมผลการดำเนินงาน

๒.ผลการดำเนินงาน
โรงเรยี นกุมภวาปี มีการดำเนินการประกันคณุ ภาพการศึกษา เพื่อยกระดบั คุณภาพการจดั การศกึ ษา

อยา่ งเปน็ ระบบ มีผลการประเมินคณุ ภาพภายในทร่ี ะดบั คุณภาพ ดี

๓. จดุ เด่น
โรงเรยี นกุมภวาปี ให้ความสำคัญกับการดำเนนิ งานประกันคณุ ภาพการศึกษา ครูและบคุ ลากรทางการ

ศกึ ษาสายการสอนสง่ แบบประเมนิ ตนเองรายบุคคล การดำเนนิ งานประกันคุณภาพภายในโรงเรียนเนน้ การ
มีส่วนร่วม
๔. จดุ ควรพฒั นา

โรงเรียนจดั ระบบใหค้ รปู ระเมินตนเองรายบุคคล แตย่ ังขาดการใหข้ ้อมูลย้อนกลับแกค่ รูในการพัฒนา
ตนเอง ในการจดั กิจกรรมการเรียนรูเ้ พือ่ ยกระดับคุณภาพของผเู้ รียน

๒๑

สรุปผลการประเมนิ ในภาพรวม
ผลการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษาอยใู่ นระดับ ๔ ดเี ยี่ยม
จากผลการดำเนนิ งาน โครงการ และกจิ กรรมต่าง ๆ สง่ ผลใหโ้ รงเรียนกมุ ภวาปี จัดการพัฒนาคณุ ภาพ

การศึกษาประสบผลสำเรจ็ ตามทีต่ ั้งเป้าหมายไวใ้ นแต่ละมาตรฐาน ผลจากการประเมนิ สรุปไดว้ ่า ได้ระดับ
ดีเยย่ี ม ท้ังนเ้ี พราะมาตรฐานที่ ๑ ผลการจดั การศึกษา อยู่ในระดบั ดเี ย่ยี ม มาตรฐานท่ี ๒ กระบวนการบริหาร
และการจดั การศึกษา อย่ใู นระดบั ดเี ย่ียม มาตรฐานท่ี ๓ กระบวนการจัดการเรียนการสอนทีเ่ นน้ ผูเ้ รยี นเป็น
สำคัญ อยูใ่ นระดับดเี ย่ยี ม มาตรฐานที่ ๔ การประกันคณุ ภาพภายในทีม่ ีประสทิ ธผิ ล อยู่ในระดับดี

ทง้ั น้โี รงเรียนกมุ ภวาปี มกี ารจัดกจิ กรรมพัฒนาคุณภาพผเู้ รียนอย่างหลากหลาย ท่ีเปน็ ไปตามปญั หา
และความต้องการพัฒนาตามสภาพของผู้เรียน สอดคลอ้ งกับจดุ เน้นของสถานศึกษาและสภาพของชมุ ชน
ทอ้ งถ่นิ จนมีผลการพฒั นาคุณภาพของผ้เู รยี นอยู่ในระดับดีเยีย่ ม ค่าเฉล่ยี ของนักเรียนท่ีได้ผลการเรยี นตงั้ แต่ ๓
ข้นึ ไปมีมากกว่าร้อยละ ๕๐ และเนื่องจากโรงเรียนเข้าร่วมโครงการและเป็นโรงเรยี นแกนนำโครงการพลเมอื งดี
วนิ ยั เดน่ : คนดี มีวินยั รกั ภมู ใิ จในชาติ สามารถเช่ยี วชาญตามความถนัด มคี วามรบั ผิดชอบต่อครอบครัว
ชมุ ชน สังคม และประเทศชาติ ดว้ ยการจดั การเรียนรตู้ ามแนวคดิ “STAR STEMS” ส่งผลใหน้ ักเรียนมีผล
การประเมินคณุ ลักษณะอันพึงประสงค์อยู่ในระดับดเี ยี่ยม ผ้เู รยี นมคี วามสามารถด้านการอ่านและเขียน การ
สือ่ สาร ความสามารถในการคิดคำนวณ การใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศและการสือ่ สารได้ดี และมีความประพฤติ
ดา้ นคณุ ธรรมจรยิ ธรรม คา่ นยิ มและคุณลักษณะตามทส่ี ถานศกึ ษากำหนดปรากฏอยา่ งชดั เจน ดังทปี่ ระกฎใน
ผลการประเมินในมาตรฐานที่ ๑ ในด้านกระบวนการบรหิ ารจดั การของผู้บรหิ ารสถานศึกษา มผี ลการประเมิน
ในรายมาตรฐานอยู่ในระดับดี่เยีย่ ม สถานศกึ ษามีการวางแผน ออกแบบกิจกรรมและดำเนนิ งานตามแผนท่ีเกิด
จากการมีสว่ นร่วม ใชผ้ ลการประเมินและการดำเนนิ งานท่ีผ่านมาเป็นฐานในการพฒั นา ตรวจสอบผลการ
ดำเนินงาน และการปรับปรุงแกไ้ ขงานให้ดีข้นึ อย่างต่อเนอ่ื ง มาตรฐานท่ี ๓ครจู ดั กระบวนการเรยี นการสอนที่
เนน้ ผู้เรียนเปน็ สำคัญ มผี ลการประเมินอยู่ในระดบั ดเี ยีย่ ม วิเคราะห์ ออกแบบและจัดกระบวนการเรียนรทู้ ่ี
เปน็ ไปตามความต้องการของหลกั สูตร และบรบิ ทของสถานศกึ ษา พฒั นากจิ กรรมการเรียนรู้ ใชส้ อื่ การเรียนรู้
ทที่ นั สมยั และน่าสนใจ สถานศึกษาดำเนนิ งานตามระบบการประกนั คุณภาพภายในอย่างเปน็ ขัน้ ตอน จนเกดิ
คุณภาพ ประสทิ ธิภาพและประสิทธิผลจนมผี ลการประเมนิ อยูใ่ นระดับดี และผ้มู สี ว่ นเกี่ยวขอ้ งมีความม่ันใจ ต่อ
ระบบการบริหารและการจัดการของสถานศกึ ษาในระดับสูง ดังท่ีปรากฏผลประเมินในมาตรฐานที่ ๔

๒๒

สรปุ ผลการประเมินคณุ ภาพภายในของสถานศึกษา ระดับการศกึ ษาข้ันพืน้ ฐาน
ปกี ารศึกษา ๒๕๖๐

มาตรฐาน/ประเด็นการพิจารณา ระดับคุณภาพ
ระดับ คณุ ภาพ
มาตรฐานที่ ๑ คุณภาพของผู้เรียน
๔ ดีเยี่ยม
๑.ผลสัมฤทธทิ์ างวชิ าการของผู้เรยี น ๓ ดี
๔ ดีเยี่ยม
๒.คณุ ลักษณะทพี่ ึงประสงคข์ องผเู้ รียน ๔ ดเี ยยี่ ม
๔ ดเี ยี่ยม
มาตรฐานที่ ๒ ๔ ดเี ยี่ยม
กระบวนการบรหิ ารและการจัดการของผบู้ ริหารสถานศึกษา
๓ ดี
๑.การมเี ป้าหมาย วิสัยทัศน์ และพนั ธกิจที่สถานศึกษากำหนดชัดเจน
๔ ดเี ยี่ยม
๒.การวางแผนพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาของสถานศกึ ษา ๔ ดีเยย่ี ม
๔ ดีเยี่ยม
๓.การมีสว่ นรว่ มของผูท้ ีเ่ กีย่ วขอ้ งทุกฝา่ ย ๔ ดเี ยยี่ ม
และการร่วมรบั ผดิ ชอบต่อผลของการจัดการศึกษา ๔ ดเี ย่ียม
ให้มคี ณุ ภาพและได้มาตรฐาน ๓ ดี
๓ ดี
๔.การกำกบั ติดตาม ประเมินผลการบริหารและการจัดการศึกษา ๔ ดเี ย่ยี ม

มาตรฐานท่ี ๓ กระบวนการจดั การเรยี นการสอนท่ีเน้นผูเ้ รียนเปน็ สำคญั

๑. การมมี กี ระบวนการจัดการเรยี นการสอนทีส่ ร้างโอกาสให้นักเรยี น
ทกุ คนมีสว่ นร่วม

๒. การจัดการเรยี นการสอนทย่ี ดึ โยงกับบริบทของชุมชนและท้องถน่ิ

๓. การตรวจสอบและประเมินความรู้
ความเข้าใจของผู้เรยี นอย่างเป็นระบบ และมปี ระสิทธิภาพ

มาตรฐานท่ี ๔ ระบบการประกนั คุณภาพภายในทมี ีประสทิ ธผิ ล

๑. การใชร้ ะบบการประกันคุณภาพภายใน เพอื่ ยกระดับคุณภาพ
การจัดการศึกษาให้ดีย่งิ ขนึ้

รวม

เกณฑ์ในการตดั สนิ คุณภาพของมาตรฐาน ระดบั ๓ ดี
ระดบั ๔ ดเี ย่ียม ระดับ ๑ ปรับปรงุ
ระดบั ๒ พอใช้

๒๓

ส่วนที่ ๓ สรุปผล แนวทางการพัฒนา และความต้องการช่วยเหลือ

รายงานประจำปีของสถานศึกษาถือเปน็ ข้อมูลสารสนเทศสำคญั ท่สี ถานศึกษาจะต้องนำไปวิเคราะห์

สังเคราะหเ์ พื่อสรปุ การเชอ่ื มโยงหรือสะท้อนภาพความสำเร็จกับแผนพฒั นาการจัดการศกึ ษาของสถานศึกษา

(๓ – ๔ ป)ี และนำไปใชใ้ นการวางแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา ดังนั้น จากผลการ

ดำเนินงานของสถานศกึ ษา สามารถสรุปผลการประเมินในภาพรวมของจดุ เด่น จุดควรพัฒนาของแต่ละ

มาตรฐาน พรอ้ มทงั้ แนวทางการพัฒนาในอนาคตและความต้องการการช่วยเหลือได้ดังนี้

สรปุ ผล

จุดเดน่ จดุ ควรพัฒนา

Øดา้ นคณุ ภาพผ้เู รียน Øดา้ นคุณภาพผู้เรยี น

นกั เรยี นมีความสามารถในการอ่านคดิ วเิ คราะห์ สถานศึกษาควรเรง่ พฒั นาผูเ้ รียน เพอ่ื ให้

ความสามารถในการสื่อสาร คิดคำนวณและคิด คะแนนเฉล่ยี ทดสอบระดบั ชาติ (O-NET) ใน

วเิ คราะห์ ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี ปกี ารศึกษาต่อไปสูงข้นึ และสูงกว่าคะแนนเฉลี่ย

คณุ ลักษณะอนั พงึ ประสงค์ อยู่ในระดับดีเยยี่ ม ระดับชาติ

สามารถใช้เทคโนโลยใี นการสืบคน้ ข้อมลู ในการ

พัฒนาการเรยี นองตนเอง มีความอ่อน น้อมถ่อมตน

มีคณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงคต์ ามที่กำหนดไวใ้ น

หลกั สูตร มีความสามัคคใี นหมู่คณะ ช่วยเหลือซ่งึ กัน

และกนั ในการทำงานนักเรียนมสี ขุ ภาพรา่ งกาย

สมบูรณแ์ ข็งแรงรกั การออกกาลังกาย มี สมรรถนะ

ทางกายและนำ้ หนักสว่ นสงู เปน็ ไปตามเกณฑ์

Øด้านกระบวนการบรหิ ารและการจดั การ Øดา้ นกระบวนการบริหารและการจดั การ

โรงเรยี นกมุ ภวาปี มกี ารบริหารและการจัดการ สร้างเครอื ข่ายความรว่ มมือของผูม้ สี ่วน

อย่างเป็นระบบ โรงเรยี นไดใ้ ช้เทคนิคการประชมุ เกยี่ วข้องในการจดั การศึกษาของโรงเรียนใหม้ ีความ

ที่หลากหลายวธิ เี ชน่ การประชมุ แบบมสี ว่ นรว่ ม เขม้ แข็ง มีส่วนรว่ มรับผดิ ชอบต่อผลการจดั การศึกษา

การประชมุ ระดมสมอง การประชุมกลุ่ม เพือ่ ให้ และการขบั เคล่ือนคุณภาพการจดั การศึกษามากข้ึน

ทุกฝา่ ยมสี ว่ นร่วมในการกำหนดวิสัยทศั นพ์ ันธกจิ

เป้าหมาย ท่ีชัดเจน มกี ารปรับแผนพฒั นาคุณภาพ

การจัดการศกึ ษา แผนปฏิบัติการประจำปี

ทส่ี อดคล้องกับผลการจดั การศกึ ษา สภาพปัญหา

ความตอ้ งการพฒั นา และนโยบายการปฏิรูป

การศกึ ษาท่ีมุ่งเนน้ การพัฒนาให้ผ้เู รยี นมคี ุณภาพ

ตามมาตรฐานการเรยี นรูต้ ามหลกั สตู รสถานศกึ ษา

ครูผ้สู อนสามารถจดั การเรียนรู้ได้อยา่ งมคี ุณภาพ

มีการดำเนนิ การนิเทศ กำกับ ติดตาม ประเมินผล

การดำเนินงาน และจดั ทำรายงานผลการจดั

การศกึ ษา เพ่ือใชเ้ ปน็ ฐานในการวางแผนพัฒนา

คุณภาพสถานศึกษา

๒๔

จุดเดน่ จุดควรพัฒนา

Øด้านกระบวนการเรยี นการสอนทเี่ น้นผู้เรยี น Øดา้ นกระบวนการเรียนการสอนท่เี น้นผูเ้ รียน

เปน็ สำคัญ เปน็ สำคัญ

ครูและบุคลากรทางการศึกษา สายงานการสอน ควรติดตัง้ เคร่ืองฉายโปรเจคเตอร์ ให้ครบทุก

มีความตัง้ ใจ มุ่งม่นั ในการพฒั นาการสอนและ หอ้ งเรียน เพ่ือให้นักเรียนได้เรียนรผู้ า่ นสื่อเสมอื นจรงิ

ออกแบบการจดั การเรยี นรู้บรู ณาการตามโครงการ ตามกิจกรรมการเรยี นรู้ทีค่ รูจัดข้นึ

ที่โรงเรยี นเข้าร่วม กิจกรรมการเรยี นรทู้ ค่ี รจู ดั

ส่งเสรมิ ให้นกั เรยี นได้เรยี นรโู้ ดยการคดิ ไดป้ ฏบิ ัตจิ รงิ

ได้แสวงหาความร้จู ากสอื่ และเทคโนโลยีอยา่ ง

ต่อเนื่อง นักเรียนมีส่วนร่วมในการจดั บรรยากาศ

การเรยี นรู้ มกี ารบรู ณาการหลกั สูตรทอ้ งถ่นิ เขา้ กบั

รายวิชาตา่ ง ๆ ทั้งการบูรณาการตามงานสวน

พฤกษศาสตรโ์ รงเรียน ตามโครงการอนรุ ักษ์

พนั ธุกรรมพชื อันเน่ืองมาจากพระราชดำริ สมเด็จ

พระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกมุ ารี และ

โครงการพลเมืองดี วนิ ัยเด่น : คนดี มีวนิ ยั รกั ภมู ใิ จ

ในชาติ สามารถเชีย่ วชาญตามความถนัด มีความ

รับผดิ ชอบต่อครอบครัว ชุมชน สงั คม และ

ประเทศชาติ ด้วยการจดั การเรียนรตู้ ามแนวคดิ

“STAR STEMS” ส่งผลให้นักเรยี นไดเ้ รียนร้ตู าม

มาตรฐานการเรยี นรแู้ ละตัวชี้วัดควบคกู่ ับการเรียนรู้

ส่ิงทมี่ อี ยู่ในทอ้ งถน่ิ ซง่ึ จะก่อให้เกดิ ความรักและหวง

แหนในท้องถ่นิ ของตนเอง

Øด้านการประกันคณุ ภาพภายในที่มปี ระสทิ ธผิ ล Øด้านการประกันคณุ ภาพภายในที่มีประสทิ ธผิ ล

โรงเรยี นกมุ ภวาปี ใหค้ วามสำคัญกับการ โรงเรียนจดั ระบบใหค้ รูประเมินตนเองรายบุคคล

ดำเนินงานประกนั คุณภาพการศึกษา ครแู ละ แตย่ ังขาดการให้ข้อมูลย้อนกลับแก่ครใู นการพัฒนา

บคุ ลากรทางการศึกษาสายการสอนส่งแบบประเมิน ตนเอง ในการจัดกจิ กรรมการเรยี นรเู้ พ่อื ยกระดบั

ตนเองรายบุคคล การดำเนินงานประกันคุณภาพ คุณภาพของผู้เรยี น

ภายในโรงเรยี นเนน้ การมสี ่วนรว่ ม

แนวทางการพัฒนาในอนาคต
โรงเรยี นกุมภวาปี มีแนวทางในการพัฒนาตนเองในอนาคตดังนี้
๑. พัฒนานักเรยี นในปกี ารศึกษาต่อไปให้คะแนนเฉลย่ี ระดับโรงเรียนในการประเมินระดับชาติ

(O-NET) สูงกวา่ คา่ เฉล่ียระดับชาติ
๒. สง่ เสรมิ ใหเ้ กิดชุมชนแหง่ การเรียนรู้ (PLC) กบั ครูและบุคลากรทางการศึกษามากขึ้น
๓. พฒั นาสถานศึกษาให้เป็นแหลง่ เรยี นรขู้ องชุมชน
๔. ใช้สื่อและเทคโนโลยีในการจดั กิจกรรมการเรียนรู้มากข้ึน

๒๕

ความตอ้ งการและการชว่ ยเหลอื
โรงเรยี นกุมภวาปี มคี วามต้องการและการชว่ ยเหลอื ดังน้ี
๑. การจัดสรรงบประมาณเพื่อใชใ้ นการสรา้ งหลังคาอเนกประสงค์ (โดม) เพื่อใช้ในการทำกจิ กรรมของ

นักเรียน
๒. การพัฒนาครูในด้าน รปู แบบและกลวิธีใหม่ ๆ ในการจัดกจิ กรรมการเรียนรู้
๓. การจัดสรรครผู ู้สอนใหม้ ีความเพยี งพอกับความต้องการจำเปน็ ของโรงเรยี น

๒๖

ภาคผนวก

-ประกาศใชม้ าตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา
-รูปภาพประกอบการดำเนนิ งานของโรงเรยี นกมุ ภวาปี ปีการศกึ ษา ๒๕๖๐


Click to View FlipBook Version