รายงานผลการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา (Self-Assessment Report: SAR)
รายงานผลการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา (Self-Assessment Report: SAR)
รายงานผลการประเมินคุณภาพภายในสถานศกึ ษา
(Self-Assessment Report : SAR)
โรงเรียนกุมภวาปี
อำเภอกมุ ภวาปี จังหวดั อดุ รธานี
ประจำปี ๒๕๖๔
สำนักงานเขตพืน้ ทีก่ ารศกึ ษามธั ยมศึกษาอดุ รธานี
สำนกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พืน้ ฐาน
กระทรวงศกึ ษาธกิ าร
รายงานผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา (Self-Assessment Report: SAR)
คำนำ
อาศัยอำนาจตามความในมาตรา ๕ วรรคหนึ่ง แห่งพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พุทธศักราช
๒๕๕๒ ซึ่งแก้ไขเพ่ิมเตมิ โดยพระราชบัญญตั ิการศึกษาแห่งชาติ(ฉบบั ที่ ๒) พ.ศ.๒๕๔๕ และมาตรา ๔๗ วรรค
สอง แห่งพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.๒๕๔๒ ได้ออกกฎกระทรวงการประกันคุณภาพการศึกษา
พ.ศ.๒๕๖๑ เพือ่ ให้การดำเนินการประกันคุณภาพการศกึ ษาภายในสถานศึกษาเปน็ ไปอยา่ งมีประสิทธิภาพ ให้
หน่วยงานต้นสังกัดหรือหน่วยงานที่กำหับดูแลสถานศึกษา ให้คำปรึกษา ช่วยเหลือและแนะนำสถานศึกษา
เพื่อให้การประกนั คุณภาพการศกึ ษาพัฒนาอย่างต่อเน่ือง ได้รายงานผลการประเมินตนเองของสถานศึกษาให้
หน่วยงานต้นสังกัดหรือหน่วยงานท่ีกำกับดูแลสถานศึกษาทราบและใช้เป็นข้อมูลและแนวทางในการประเมิน
คุณภาพภายนอก การติดตามตรวจสอบ พร้อมข้อเสนอแนะให้แก่สถานศึกษาเพื่อใช้เป็นแนวทางในการ
ปรบั ปรงุ และพัฒนาคณุ ภาพการศึกษาต่อไป
เอกสารรายงานผลการประเมินตนเอง ประจำปีการศึกษา ๒๕๖๔ ของโรงเรียนกุมภวาปี อำเภอกุม
ภวาปี จงั หวดั อุดรธานี เลม่ น้ี เป็นเอกสารงานพฒั นาระบบประกันคุณภาพภายในสถานศกึ ษา ได้รวบรวมและ
สรุปผลการดำเนินการพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาของสถานศึกษา เพื่อการรับรองมาตรฐานมาตรฐาน
การศึกษาของโรงเรียนกุมภวาปี และใช้เป็นแนวทางการประเมินคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษา ระดับ
การศกึ ษาข้นั พื้นฐานตอ่ ไป
ขอขอบพระคุณผู้มีส่วนเกี่ยวข้องทุกท่านที่ได้ดำเนินการจัดทำรายงานการประเมินตนเอง ประจำปี
การศึกษา ๒๕๖๔ จนสำเรจ็ ลลุ ว่ งเปน็ อย่างดี
ผอู้ ำนวยการโรงเรียนกุมภวาปี
รายงานผลการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา (Self-Assessment Report: SAR)
สารบัญ
เรื่อง หนา้
คำนำ................................................................................................................................................. ก
สารบญั .............................................................................................................................................. ข
สว่ นที่ ๑ บทสรุปสำหรับผู้บรหิ าร..................................................................................................... ๑
ส่วนท่ี ๒ ผลการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา............................................................................... ๓
ขอ้ มูลท่ัวไปของสถานศกึ ษา....................................................................................................... ๓
ผลการประเมินตนเองของสถานศกึ ษา...................................................................................... ๕
มาตรฐานท่ี ๑ คณุ ภาพของผเู้ รียน..................................................................................... ๕
มาตรฐานที่ ๒ กระบวนการบริหารและการจัดการ............................................................๑๐
มาตรฐานที่ ๓ กระบวนการจัดการเรียนการสอนทเ่ี น้นผู้เรียนเป็นสำคัญ...........................๑๒
ผลการประเมินประสทิ ธภิ าพและโอกาสในการพฒั นาคณุ ภาพสถานศกึ ษา.............................. ๑๘
ด้านกายภาพ......................................................................................................................๑๘
ด้านบคุ ลากร......................................................................................................................๑๘
ดา้ นการสนับสนนุ จากภายนอก.........................................................................................๑๙
ภาคผนวก................................................................................................................................. ๒๑
ประกาศใช้มาตรฐานและเป้าหมายของสถานศึกษา...........................................................๒๒
คำสัง่ งานประกันคุณภาพ ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๔…………………………………………………………..๓๑
รายงานผลการทดสอบระดับชาติ (O-NET)……………………………………………………………….๔๔
ค่าสถิติผลสมั ฤทธท์ิ างการเรยี นปีการศึกษา 2564 โรงเรียนกมุ ภวาปี……………………………๕๐
จดหมายข่าวโรงเรยี นกุมภวาปี………………………………………………………………………………..๕๔
ตวั อยา่ งรางวัล เกียรติบัตร …………………………………………………………………………………….๗๓
รายงานผลการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา (Self-Assessment Report: SAR)
สว่ นท่ี ๑ บทสรุปสำหรับผ้บู รหิ าร
โรงเรียนกุมภวาปี ได้ดำเนินการด้านการสร้างความเข้มแข็งของระบบประกันคุณภาพภายในอย่าง
ต่อเนื่องจนถึงปัจจุบัน โดยได้ดำเนินการตามกฎกระทรวง การประกันคุณภาพการศึกษา พ.ศ.๒๕๖๑
ประกอบด้วย การกำหนดและประกาศใช้มาตรฐานของสถานศึกษา จัดทำแผนพัฒนาการจัดการศึกษาของ
สถานศึกษา ดำเนินการตามแผนพัฒนาการจัดการศึกษาของสถานศึกษา ประเมินผลและตรวจสอบคุณภาพ
การศกึ ษาภายในสถานศึกษา จัดทำรายงานผลการประเมินตนเองของสถานศึกษาและส่งรายงานต่อหน่วยงาน
ต้นสังกดั
ผลการดำเนนิ งาน
๑. มาตรฐานการศึกษาของสถานศกึ ษาโดยรวม : อยใู่ นระดับ ดเี ลศิ
ผลการดำเนินงาน การจัดการศึกษา มีคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาอยู่ใน
ระดับ ดเี ลิศจากการประเมนิ ผลการปฏิบตั งิ าน ปีการศกึ ษา ๒๕๖๔ ซึ่งมาตรฐานของสถานศกึ ษาสอดคล้องตาม
มาตรฐานระดบั การศึกษาขั้นพน้ื ฐาน พ.ศ.๒๕๖๑ ของกระทรวงศึกษาธกิ ารทัง้ ๓ มาตรฐานคอื
คณุ ภาพผ้เู รยี น ผลการประเมนิ ตนเองอยใู่ นระดบั ดเี ลิศ
กระบวนการบริหารและการจดั การ มีผลการประเมนิ อยู่ในระดบั ดเี ลศิ
กระบวนการจัดการเรยี นการสอนทเ่ี นน้ ผ้เู รยี นเป็นสำคญั มผี ลการประเมนิ อย่ใู นระดบั ดีเลิศ
๒. หลักฐานสนบั สนนุ :
๒.๑ ประกาศมาตรฐานการศึกษา ปีการศกึ ษา ๒๕๖๔ โรงเรียนกุมภวาปี
๒.๒ แผนพฒั นาการศกึ ษา โรงเรยี นกมุ ภวาปี
๒.๓ รายงานผลสัมฤทธิป์ ีการศึกษา 2564 กลมุ่ บรหิ ารวิชาการ โรงเรียนกุมภวาปี
๒.๔ หลกั สตู รบรู ณาการทอ้ งถนิ่ เพือ่ เสรมิ สรา้ งสมรรถนะนักเรยี น โรงเรยี นกุมภวาปี
๒.๕ รายงานผลการดำเนินกิจกรรม/ โครงการต่าง ๆ โรงเรียนกุมภวาปี
๒.๖ แผนการจดั การเรยี นรู้ แบบบนั ทกึ ผลการเรยี นของครผู ้สู อน
๓. กลยทุ ธส์ ถานศกึ ษา (Strategy)
๓.๑ จดั กิจกรรมการเรียนรู้ทีเ่ น้นผเู้ รียนเปน็ สำคญั ให้มีคุณภาพตามมาตรฐานการศกึ ษาข้ันพื้นฐาน
และโรงเรียนมาตรฐานสากล
๓.๒ จดั กจิ กรรมสง่ เสริมคุณธรรม จรยิ ธรรม ใหผ้ ้เู รยี นมีทักษะชีวิตและคุณลักษณะอนั พึงประสงค์
๓.๓ จดั กิจกรรมการเรียนรูเ้ พ่อื ให้ผเู้ รยี นเกดิ ทักษะด้านวทิ ยาศาสตร์ คณติ ศาสตร์ เทคโนโลยี มี
ศกั ยภาพเป็นพลโลก กิจกรรมรักษ์สิง่ แวดลอ้ ม
๓.๔ จัดกิจกรรมใหผ้ ูเ้ รียนและบคุ ลากรทางการศกึ ษามคี ุณลักษณะตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
๓.๕ บริหารจัดการระบบคุณภาพให้มีประสิทธิภาพสอดคล้องกับทิศทางการพัฒนาการจัด
การศึกษาตามมาตรฐานสากล
รายงานผลการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา (Self-Assessment Report: SAR)
๓.๖ จัดกิจกรรมพัฒนาผู้บริหาร ครู บุคลากร ให้มีประสิทธิภาพตามมาตรฐานการศึกษาขั้น
พ้ืนฐานและมาตรฐานสากล
๓.๗ นเิ ทศ กำกบั ติดตาม ประเมนิ ผล วจิ ยั และพฒั นาอย่างเป็นระบบและต่อเนือ่ ง
๔. จุดเนน้ สถานศึกษา
๔.๑ สง่ เสรมิ ความปลอดภยั ในสถานศึกษา
๔.๒ ส่งเสรมิ และพัฒนาใหผ้ ู้เรยี นมคี ณุ ภาพตามมาตรฐานการศึกษาข้ันพน้ื ฐาน
๔.๓ ส่งเสรมิ และพัฒนาให้ผู้เรยี นมคี ณุ ธรรม จริยธรรม มที กั ษะชีวิตและคณุ ลกั ษณะอันพงึ ประสงค์
๔.๔ พัฒนาทักษะผเู้ รยี นด้านวทิ ยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ เทคโนโลยี เสริมทกั ษะรักษ์สิ่งแวดลอ้ ม
๔.๕ พัฒนาผู้เรียนมศี ักยภาพในการเปน็ สมาชกิ ของประชาคมอาเซียน และมคี วามเปน็ พลโลก
๔.๖ พัฒนาผู้เรียนและบุคลากรทางการศึกษา ให้มีคุณลักษณะตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ
พอเพียง
๔.๗ พฒั นาผ้บู ริหาร ครู บุคลากร ใหม้ ีประสทิ ธภิ าพตามเกณฑ์มาตรฐานวิชาชพี
๔.๘ พฒั นาระบบนเิ ทศ ตดิ ตาม ประเมินผล วจิ ัยและพฒั นา
๕. ค่านยิ มองค์กร (Core Value)
การปฏิบัติงานที่ตนเองรับผิดชอบให้มีประสิทธิภาพที่สุดและการช่วยเหลือเกื้อกูลในการ
ปฏิบัตงิ านของเพอื่ นรว่ มงาน
๖. คำขวัญ
เรยี นดี มีวนิ ยั ใฝ่เรยี นรู้ คคู่ ณุ ธรรม
รายงานผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา (Self-Assessment Report: SAR)
สว่ นที่ ๒ ผลการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา
ข้อมลู ทว่ั ไปของสถานศกึ ษา
๑.๑ ชื่อสถานศึกษา โรงเรียนกุมภวาปี ตั้งอย่เู ลขท่ี ๑๖๔ หมูท่ ี่ ๓ ตำบลกมุ ภวาปี อำเภอกมุ ภวาปี
จังหวดั อดุ รธานี รหัสไปรษณยี ์ ๔๑๑๑๐ โทรศัพท์ ๐๔๒-๓๓๔๖๘๗
Website: www.kwp.ac.th
๑.๒ สงั กดั สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพืน้ ฐาน
๑.๓ สำนกั งานเขตพื้นที่การศกึ ษามธั ยมศกึ ษา เขต ๒๐
๑.๔ เปดิ สอนตง้ั แตร่ ะดับชัน้ มธั ยมศึกษาปีที่ ๑ - ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปีท่ี ๖
๑.๕ เขตพืน้ ที่บริการการศกึ ษา โรงเรียนกมุ ภวาปี รบั ผิดชอบจัดการศกึ ษาในพืน้ ท่ี ตำบลกุมภวาปี
ตำบลตูมใต้ ตำบลแชแล และตำบลเวยี งคำ
ผบู้ ริหารโรงเรียน
๒.๑ ผูอ้ ำนวยการสถานศึกษา
ช่ือ-สกลุ นายสวุ ิทูรย์ ภักดสี มยั วุฒกิ ารศกึ ษาสูงสุด การศึกษามหาบัณฑิต (กศ.ม.)
สาขา การบริหารการศกึ ษา ดำรงตำแหน่งในโรงเรยี นนตี้ ง้ั แต่ พ.ศ. ๒๕๖๓
๒.๒ รองผ้อู ำนวยการสถานศึกษา
๒.๒.๑ ชอ่ื -สกุล นายศุภศร ไชยคุณ วุฒิการศึกษาสูงสุด ศกึ ษาศาสตรมหาบัณฑิต (ศษ.ม.)
สาขา การบรหิ ารการศกึ ษา ดำรงตำแหน่งในโรงเรียนน้ีตง้ั แต่ พ.ศ. ๒๕๕๑
๒.๒.๓ ชอื่ -สกุล นายกำจดั ศกั ด์วิ งษ์ วุฒิการศกึ ษาสูงสดุ การศกึ ษาบัณฑิต (กศ.บ.)
สาขา การบริหารการศกึ ษา ดำรงตำแหน่งในโรงเรยี นนต้ี ง้ั แต่ พ.ศ. ๒๕๕๙
๒.๒.๔ ชื่อ-สกลุ นายองอาจ ประเทศสิงห์ วุฒกิ ารศกึ ษาสงู สดุ การศึกษามหาบณั ฑิต (กศ.ม.)
สาขา การบริหารการศึกษา ดำรงตำแหนง่ ในโรงเรียนนตี้ ัง้ แต่ พ.ศ. ๒๕๕๙
๒.๒.๕ ช่อื -สกลุ นางสาวรตั นจ์ นิ นั ท์ ไพรดีพะเนาว์ วฒุ ิการศกึ ษาสูงสุด การศกึ ษามหาบัณฑิต
(กศ.ม.)
สาขา การบริหารการศึกษา ดำรงตำแหนง่ ในโรงเรียนนต้ี ง้ั แต่ พ.ศ. ๒๕๖๔
จำนวนครแู ละบุคลากร จำนวน ๑๓๐ คน (ขอ้ มูล ณ วนั ที่ 10 พ.ค. 2565) จำแนกเปน็
ขา้ ราชการครู จำนวน ๑๑๐ คน
พนักงานราชการ จำนวน ๒ คน
ลกู จา้ งประจำ จำนวน ๒ คน
ลูกจา้ งชว่ั คราว จำนวน ๑๖ คน
รายงานผลการประเมินตนเองของสถานศกึ ษา (Self-Assessment Report: SAR)
ขอ้ มูลนกั เรียน (ณ วนั ท่ี ๑ เมษายน ๒๕๖๕ )
ระดบั ชนั้ เรยี น จำนวนห้อง เพศ รวม เฉลี่ยตอ่ ห้อง
ชาย หญงิ
๔๐๕ ๓๔
มธั ยมศึกษาปที ่ี ๑ ๑๒ ๑๙๑ ๒๑๔ ๓๕๗ ๓๐
๔๐๒ ๓๔
มัธยมศึกษาปีท่ี ๒ ๑๒ ๑๖๔ ๑๙๓ ๑,๑๖๔
๓๕๖ ๓๖
มธั ยมศกึ ษาปที ่ี ๓ ๑๒ ๑๗๒ ๒๓๐ ๓๑๖ ๓๒
๒๙๘ ๓๐
รวมระดับช้ัน ม.ตน้ ๓๖ ๕๒๗ ๖๓๗ ๙๗๐
๒,๑๓๔
มธั ยมศึกษาปที ่ี ๔ ๑๐ ๑๒๘ ๒๒๘
มัธยมศกึ ษาปีท่ี ๕ ๑๐ ๑๐๙ ๒๐๗
มัธยมศกึ ษาปที ี่ ๖ ๑๐ ๑๐๕ ๑๙๓
รวมระดับช้ัน ม.ปลาย ๓๐ ๓๔๒ ๖๒๘
รวม ๖๖ ๘๖๙ ๑,๒๖๕
ผลการประเมนิ คณุ ภาพภายนอกรอบลา่ สุด (รอบ๓ /รอบ ๔/หรืออนื่ ๆ )
ผลการประเมนิ รอบ ๔
มาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาโดยรวม : อยู่ในระดบั ดี
คณุ ภาพผู้เรยี น ผลการประเมนิ อยใู่ นระดบั ดี
กระบวนการบรหิ ารและการจดั การ ผลการประเมินอย่ใู นระดบั ดี
กระบวนการจัดการเรียนการสอนทเี่ น้นผเู้ รยี นเปน็ สำคญั ผลการประเมนิ อยู่ในระดับ ดี
รายงานผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา (Self-Assessment Report: SAR)
ผลการประเมนิ ตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศกึ ษา ระดบั การศึกษาขัน้ พ้ืนฐาน
มาตรฐานท่ี ๑ คุณภาพผ้เู รยี น
๑. ระดับคุณภาพ ดีเลิศ
๒. กระบวนการพัฒนา
ประเด็นพิจารณา ๑.๑.๑ ผู้เรียนมีความสามารถในการอ่าน เขียน การสื่อสารและการคิดคำนวณ
ประกอบด้วยมาตรฐานของสถานศกึ ษา ๓ ข้อ ได้แก่ ๑) นักเรียนรอ้ ยละ ๘๐ มีผลสัมฤทธทิ์ างการเรยี นรายวิชา
ภาษาไทย อยู่ในระดับ ๒ ขึ้นไป ๒) นักเรียนร้อยละ ๘๐ มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรายวิชาคณิตศาสตร์ อยู่ใน
ระดับ ๒ ขึ้นไป ๓) นักเรียนร้อยละ ๕๐ มีความสามารถในการสื่อสารภาษาอังกฤษอย่างง่ายได้ โรงเรียนได้
ดำเนินการตามโครงการส่งเสริมและพัฒนาความสามารถของนักเรียน ได้แก่ กิจกรรมวนั สุนทรภู่, กิจกรรมวนั
ภาษาไทยแหง่ ชาติ, โครงการรกั การอา่ น, กิจกรรมวนั คริสมาสต์ และโครงการยกระดบั ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน
นอกจากนี้โรงเรยี นได้มีโครงการนเิ ทศ ติดตาม การจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้ เพื่อสง่ เสรมิ และใหแ้ นวทางในการจัด
กิจกรรมการเรียนรู้ในชั้นเรียน เพื่อพัฒนาให้ผู้เรียนเกิดการพัฒนาตามมาตรฐานที่ตั้งไว้ จากนั้นเก็บรวบรวม
ข้อมูลโดยพจิ ารณาจากผลสัมฤทธท์ิ างการเรียนรายวิชาภาษาไทย คณิตศาสตร์และรายวชิ าภาษาองั กฤษ
ประเด็นพิจารณา ๑.๑.๒ ผู้เรียนมคี วามสามารถในการคิดวิเคราะหค์ ิดอย่างมีวิจารณญาณ อภิปราย
แลกเปลี่ยนความคิดเห็นและแก้ปัญหา มาตรฐานของสถานศึกษาคือ นักเรียนร้อยละ ๖๐ มีผลการกระทำ
ชิ้นงาน/โครงงาน สามารถนำเสนอกระบวนการทำงานได้ โดยโรงเรียนได้ดำเนินการตามกิจกรรม/โครงการ
เสริมหลักสูตรของกลุ่มสาระการเรียนรู้ต่าง ๆ ได้แก่ กิจกรรมวันภาษาไทย, กิจกรรมวันคริสต์มาส, กิจกรรม
ตรษุ จนี , การสอนรายวชิ าโครงงานวทิ ยาศาสตร์, รายวิชาบูรณาการท้องถิ่นเพือ่ เสริมสร้างสมรรถนะ จากนั้นใช้
ขอ้ มลู การนำเสนอชนิ้ งานหรือนวตั กรรมของนกั เรียนในกจิ กรรมขา้ งต้น ในการประเมินตามประเด็นพิจารณา
ประเด็นพิจารณา ๑.๑.๓.ผู้เรียนมคี วามสามารถในการสรา้ งนวัตกรรม มาตรฐานของสถานศึกษาคือ
นักเรยี นรอ้ ยละ ๓๐ สามารถสร้างนวัตกรรมจากการทำงานเปน็ กลมุ่ ได้ โดยโรงเรยี นไดด้ ำเนินการตามกิจกรรม/
โครงการเสริมหลักสูตรของกลุ่มสาระการเรียนรู้ต่าง ๆ ได้แก่ สัปดาห์วิทยาศาสตร์, กิจกรรมวันภาษาไทย,
กจิ กรรมวันคริสตม์ าส, กจิ กรรมตรุษจนี , การสอนรายวิชาโครงงานวิทยาศาสตร์, รายวชิ าบูรณาการท้องถิ่นเพ่ือ
เสรมิ สร้างสมรรถนะ จากนนั้ ใช้ขอ้ มูลการนำเสนอชน้ิ งานหรอื นวัตกรรมของนักเรียนในกจิ กรรมขา้ งตน้ ในการ
ประเมินตามประเด็นพิจารณา
ประเด็นพิจารณา ๑.๑.๔ ผู้เรียนมีความสามารถในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
มาตรฐานของสถานศึกษาคือนักเรียนร้อยละ ๘๕ มีผลการเรียนในสาระเทคโนโลยี ในระดับ ๒ ขึ้นไป โดย
โรงเรียนได้ดำเนินการตามโครงการพัฒนาการเรียนการสอนคอมพิวเตอร์เพื่อส่งเสริมความสามารถในการใช้
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร จากนนั้ ประเมินผลโดยใช้ผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียนรายวิชาคอมพิวเตอร์
ประเด็นพิจารณา ๑.๑.๕ ผู้เรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนตามหลักสูตรสถานศึกษา มาตรฐานของ
สถานศึกษาคือ นักเรียนร้อยละ ๗๐ มีผลการเรียนเฉลี่ยรวมตามหลักสูตรสถานศึกษาระดับ ๒ ขึ้นไป โดย
ดำเนนิ การพัฒนานกั เรยี นตามโครงการยกระดับผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน กจิ กรรมเสริมหลกั สูตรของกลุ่มสาระ
การเรียนรู้ เช่น กิจกรรมกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ, โครงการนิเทศการสอน, กิจกรรมวนั สุนทรภู่
และวันภาษาไทยแห่งชาติ, งานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน จากนั้นมีการส่งเสริมคุณภาพของการจัดกิจกรรม
รายงานผลการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา (Self-Assessment Report: SAR)
การเรียนรู้โดยใช้โครงการนิเทศการจัดการเรียนรู้ เมื่อจบปีการศึกษาใช้ข้อมูลผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของ
นกั เรียนทุกรายวชิ าในการประเมนิ ตามมาตรฐานทีต่ ัง้ ไว้
ประเด็นพจิ ารณา ๑.๑.๖ ผู้เรียนมีความรู้ ทักษะพื้นฐาน และเจตคติที่ดีต่องานอาชีพ มาตรฐานของ
สถานศึกษาคือ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓ และ ๖ มีความรู้และทักษะพื้นฐานต่องานอาชีพ อย่างน้อย ๑
อย่าง โดยโรงเรียนได้ดำเนินโครงการพัฒนาการเรียนการสอนกลุ่มสาระการงานอาชีพ รวมทั้งได้จัดกิจกรรม
การเรียนรู้รายวิชาบูรณาการท้องถิ่นเพื่อเสริมสร้างสมรรถนะ ในระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓ ภาคเรียนที่ ๑
ดำเนินการในหัวข้อ “สรรค์สรา้ งจากรวงข้าว เรียวยาวจากบ้องไผ่ อร่อยถกู ใจขา้ วหลามเมอื งใหม่กุมภวา” ภาค
เรียนที่ ๒ ดำเนินการในหวั ขอ้ “ฮีตสิบสอง ครรลองอีสาน ทำทานวิถี ประเพณีบุญข้าวสาก” และในระดับชัน้
มัธยมศกึ ษาปีท่ี ๖ ดำเนินการในหวั ขอ้ “ผลติ ภณั ฑแ์ หล่งลุ่มน้ำปาว” จากนัน้ ประเมนิ ทักษะอาชีพของนักเรียน
ช้ันมธั ยมศกึ ษาปีท่ี ๓ และ ๖
ประเดน็ พจิ ารณา ๑.๒.๑ ผู้เรียนมคี ณุ ลักษณะและค่านยิ มที่ดีตามทส่ี ถานศกึ ษากำหนด มาตรฐานของ
สถานศกึ ษาคอื นักเรยี นร้อยละ ๙๐ มีผลการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์และค่านิยมทด่ี ีอยู่ในระดับ ๒
ขึ้นไป โดยโรงเรียนดำเนินการพัฒนาตามโครงการระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน ประกอบด้วยกิจกรรมการ
ประชุมผู้ปกครอง กจิ กรรมโรงเรียนกมุ ภวาปีปลอดภัย หา่ งไกลยาเสพติด, โครงการคณุ ธรรม จริยธรรมนำชีวิต,
ประกอบด้วยกิจกรรมวันไหว้ครู, คนดีศรีกุมภวา, แม่ดีเด่น-ลูกกตัญญู, นักเรียนอาสาจราจร, สภานักเรียน
พิทักษ์ไพรและสิ่งแวดล้อม, โครงการส่งเสริมประชาธิปไตย ประกอบด้วยกิจกรรมการเลือกตั้งสภานักเรียน
โครงการดนตรีต้านยาเสพติดและโรคเอดส์ กิจกรรมTo be Number One จากนั้นใช้ข้อมูลผลการประเมิน
คณุ ลักษณะอันพงึ ประสงค์ของนกั เรียนจากแต่ละรายวิชาเมอ่ื สนิ้ ภาคการศกึ ษาทัง้ 2 ภาคเรยี นในการพิจารณา
ประเมินมาตรฐานของสถานศกึ ษา
ประเดน็ พจิ ารณา ๑.๒.๒ ผู้เรียนมคี วามภมู ใิ จในท้องถ่ินและความเปน็ ไทย มาตรฐานของสถานศึกษา
คือ นกั เรียนทกุ คนมีส่วนร่วมในกิจกรรมประเพณีของท้องถน่ิ อยา่ งภาคภมู ิใจและเผยแพร่การเข้าร่วมกิจกรรม
ทางสอื่ ออนไลน์ในรูปแบบตา่ ง ๆ โดยโรงเรยี นดำเนนิ โครงการประเพณีบญุ บง้ั ไฟสบื สานมรดกไทย, โครงการสืบ
สานประเพณีแห่เทียนเข้าพรรษา, โครงการประเพณีเข้าพรรษาแข่งขันเรือยาว อำเภอกุมภวาปี จากนั้น
ประเมินผลจากการเผยแพร่ภาพกจิ กรรมลงบนสื่อออนไลน์ของนกั เรยี น
ประเด็นพิจารณา ๑.๒.๓. ผู้เรยี นยอมรับท่ีจะอยรู่ ่วมกนั บนความแตกต่างและหลากหลาย มาตรฐาน
ของสถานศกึ ษาคือ นักเรยี นทกุ คนอย่รู ่วมกันอยา่ งมคี วามสขุ บนความแตกตา่ งและหลากหลาย โรงเรยี นดำเนิน
ตามโครงการชมรม ทู บี นัมเบอร์ วัน (TO BE NUMBER ONE) โรงเรียนกุมภวาปี กิจกรรมกีฬาภายในของ
โรงเรียนกุมภวาปี จากนั้นประเมินผลจากการร่วมมือกันทำงานและการไม่เกิดการทะเลาะวิวาทในการทำ
กิจกรรม เช่น การร่วมกันทำงานในคณะสี กีฬาภายในโรงเรียนกุมภวาปี
ประเด็นพจิ ารณา ๑.๒.๔ ผู้เรยี นมีสุขภาวะทางรา่ งกายและจิตสงั คม มาตรฐานของสถานศึกษาคือ ๑)
นักเรียนร้อยละ ๙๐ มีสมรรถภาพทางกายเป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐาน ๒) นักเรียนร้อยละ ๙๐ มีร่างกาย
แข็งแรงไม่เกี่ยวข้องกับสารเสพติดและไม่แก้ปัญหาโดยใชค้ วามรุนแรง ๓) นักเรียนร้อยละ ๘๐ บริโภคอาหาร
เช้าและอาหารถูกสุขลักษณะเป็นไปตามเกณฑ์ โดยโรงเรียนดำเนนิ โครงการ/กิจกรรมทดสอบสมรรถภาพทาง
กาย ประจำปีการศึกษา ๒๕๖๔, โครงการแข่งขันกีฬาภายใน ประจำปี การศึกษา ๒๕๖๔, โครงการสภา
รายงานผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา (Self-Assessment Report: SAR)
นักเรียนโรงเรียนกุมภวาปีปลอดภัย ห่างไกลยาเสพติด จากนั้นเก็บข้อมูลจากผลการประเมินสมรรถภาพ
ร่างกายจากกลุ่มสาระการเรียนรูส้ ุขศึกษาพลศึกษา เก็บข้อมูลด้านสุขภาพและความเสี่ยงด้านยาเสพย์ติดกับ
งานอนามัยและงานระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน ใช้ข้อมูลที่ได้ในการประเมินมาตรฐานของสถานศึกษาตาม
ประเดน็ พิจารณา
ผลการดำเนนิ งาน ข้อมูล หลักฐาน เอกสารเชงิ ประจักษ์ ตามประเดน็ พิจารณา
ประเด็นพิจารณา ๑.๑.๑ ผู้เรียนมีความสามารถในการอ่าน เขียน การสื่อสารและการคิดคำนวณ
ประกอบดว้ ยมาตรฐานของสถานศกึ ษา ๓ ข้อ ไดแ้ ก่ ๑) นักเรียนร้อยละ ๘๐ มผี ลสัมฤทธิท์ างการเรียนรายวิชา
ภาษาไทย อยู่ในระดับ ๒ ขึ้นไป ๒) นักเรียนร้อยละ ๘๐ มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรายวิชาคณิตศาสตร์ อยู่ใน
ระดับ ๒ ขึ้นไป ๓) นักเรียนร้อยละ ๕๐ มีความสามารถในการสื่อสารภาษาอังกฤษอย่างง่ายได้ ผลการ
ดำเนินการพบว่าอยู่ในระดับดี โดย ๑) ร้อยละของนักเรียนที่มีผลการเรียนวิชาภาษาไทย ระดับ ๒ ขึ้นไป
เท่ากบั ๗๗.๒๐ ซ่ึงตำ่ กว่าเกณฑท์ ่ีตัง้ ไว้ ๒) รอ้ ยละของนกั เรยี นทมี่ ผี ลการเรียนวิชาคณติ ศาสตร์ ระดบั ๒ ข้ึนไป
เท่ากับ ๖๔.๕๐ ซึ่งเพิ่มขึ้นจากปีการศึกษาที่แล้ว ซึ่งมีค่าเท่ากับ ๖๑.๔๐ อย่างไรก็ตามค่าสถิติที่ได้ของปี
การศกึ ษาปัจจบุ ันต่ำกวา่ เกณฑท์ ่ีตัง้ ไว้ ๒) ร้อยละของนกั เรียนที่สามารถส่อื สารภาษาองั กฤษอย่างงา่ ยได้เท่ากับ
๗๕.๗๐ ซึ่งสงู กวา่ เกณฑ์ที่ต้ังไว้
ประเดน็ พิจารณา ๑.๑.๒ ผูเ้ รยี นมคี วามสามารถในการคิดวิเคราะห์คิดอย่างมวี ิจารณญาณ อภิปราย
แลกเปลี่ยนความคิดเห็นและแก้ปัญหา มาตรฐานของสถานศึกษาคือ นักเรียนร้อยละ ๖๐ มีผลการกระทำ
ชิ้นงาน/โครงงาน สามารถนำเสนอกระบวนการทำงานได้ ผลการดำเนินการพบว่าอยู่ในระดับดีเลิศ โดย
นักเรียนร้อยละ ๙๗.๑๐ มผี ลการกระทำช้นิ งาน/โครงงาน สามารถนำเสนอกระบวนการทำงานได้
ประเดน็ พิจารณา ๑.๑.๓ ผูเ้ รยี นมคี วามสามารถในการสรา้ งนวัตกรรม มาตรฐานของสถานศึกษาคือ
นักเรียนร้อยละ ๓๐ สามารถสร้างนวัตกรรมจากการทำงานเป็นกลุ่มได้ ผลการดำเนินการพบว่าอยู่ในระดบั ดี
เลศิ โดยนกั เรียนร้อยละ ๙๗.๑๐ สามารถสร้างนวตั กรรมจากการทำงานเปน็ กลุม่ ได้
ประเด็นพิจารณา ๑.๑.๔ ผู้เรียนมีความสามารถในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
มาตรฐานของสถานศกึ ษาคอื นักเรียนร้อยละ ๘๕ มีผลการเรียนในสาระเทคโนโลยี ในระดับ ๒ ขึ้นไป ผลการ
ประเมินอยใู่ นระดับดี โดยนักเรียนร้อยละ ๖๗.๕๐ มีผลการเรียนในสาระเทคโนโลยี ในระดับ ๒ ขน้ึ ไป ซ่ึงสูง
กว่าปีการศึกษาที่ผา่ นมา คอื ร้อยละ ๖๗.๑๐ อยา่ งไรก็ตามร้อยละดังกล่าวต่ำกว่าเกณฑ์ทตี่ ัง้ ไว้
ประเด็นพิจารณา ๑.๑.๕ ผู้เรียนมีผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนตามหลักสูตรสถานศึกษา มาตรฐานของ
สถานศึกษาคือ นักเรียนร้อยละ ๗๐ มีผลการเรียนเฉลี่ยรวมตามหลักสูตรสถานศึกษาระดับ ๒ ขึ้นไป ผลการ
ประเมินอยูใ่ นระดับดีเลิศ โดยนักเรียนร้อยละ ๗๔.๘ มีผลการเรียนเฉลี่ยรวมตามหลกั สูตรสถานศึกษาในระดับ
๒ ขึ้นไป ซึ่งสูงกว่าเกณฑท์ ี่ตั้งไว้ นอกจากนี้คะแนนผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดับชาติ (O-NET) ประจำปี
การศึกษา ๒๕๖๔ ของโรงเรยี นกุมภวาปีสูงขึ้นจากปีการศึกษา ๒๕๖๓ ทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้และมีคะแนน
เฉลย่ี สงู กว่าคะแนนเฉลย่ี ระดบั ประเทศทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้
ประเด็นพิจารณา ๑.๑.๖ ผู้เรยี นมคี วามรู้ ทักษะพน้ื ฐาน และเจตคติทีด่ ีตอ่ งานอาชพี มาตรฐานของ
สถานศึกษาคือ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓ และ ๖ มีความรู้และทักษะพื้นฐานต่องานอาชีพ อย่างน้อย ๑
รายงานผลการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา (Self-Assessment Report: SAR)
อยา่ ง ผลการดำเนนิ งานอยู่ในระดับดเี ลิศ โดยนกั เรยี นชน้ั มัธยมศกึ ษาปีที่ ๓ และ ๖ มีความรู้และทกั ษะพ้ืนฐาน
ตอ่ งานอาชพี อย่างนอ้ ยคนละ ๑ อยา่ ง
ประเด็นพิจารณา ๑.๒.๑ ผู้เรียนมีคุณลักษณะและค่านิยมที่ดีตามที่สถานศึกษากำหนด มาตรฐาน
ของสถานศกึ ษาคือ นักเรียนรอ้ ยละ ๙๐ มีผลการประเมินคณุ ลักษณะอนั พงึ ประสงคแ์ ละค่านิยมที่ดีอยู่ในระดับ
๒ ข้ึนไป ผลการดำเนนิ งานอยู่ในระดบั ดีเลิศ โดยนักเรยี นรอ้ ยละ ๙๖.๕๗ มีผลการประเมนิ คุณลักษณะอันพึง
ประสงคแ์ ละคา่ นิยมท่ีดอี ยู่ในระดบั ๒ ขึ้นไป ซ่งึ สูงกว่าเกณฑ์ทตี่ ัง้ ไว้
ประเด็นพจิ ารณา ๑.๒.๒ ผู้เรียนมีความภมู ใิ จในทอ้ งถนิ่ และความเป็นไทย มาตรฐานของสถานศึกษา
คอื นกั เรยี นทกุ คนมีสว่ นร่วมในกิจกรรมประเพณีของท้องถ่ินอย่างภาคภมู ิใจและเผยแพร่การเข้าร่วมกิจกรรม
ทางสื่อออนไลน์ในรูปแบบต่าง ๆ ผลการดำเนินงานอยู่ในระดับยอดเยี่ยม โดยนักเรียนทุกคนมีส่วนร่วมใน
กจิ กรรมประเพณขี องท้องถิ่น ซ่ึงเป็นไปตามเกณฑ์ทต่ี ้ังไว้
ประเด็นพิจารณา ๑.๒.๓. ผู้เรียนยอมรับท่ีจะอยูร่ ่วมกันบนความแตกต่างและหลากหลาย มาตรฐาน
ของสถานศึกษาคือ นักเรียนทุกคนอยู่ร่วมกันอย่างมีความสุขบนความแตกต่างและหลากหลาย ผลการ
ดำเนินงานของมาตรฐานสถานศึกษาอยใู่ นระดับดเี ลศิ โดยนักเรยี นยอมรับทีจ่ ะอย่รู ่วมกันบนความแตกตา่ งและ
หลากหลาย
ประเด็นพจิ ารณา ๑.๒.๔ ผูเ้ รียนมีสุขภาวะทางรา่ งกายและจิตสังคม มาตรฐานของสถานศึกษาคือ ๑)
นักเรียนร้อยละ ๙๐ มีสมรรถภาพทางกายเป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐาน ๒) นักเรียนร้อยละ ๙๐ มีร่างกาย
แข็งแรงไม่เกี่ยวขอ้ งกับสารเสพติดและไม่แก้ปัญหาโดยใชค้ วามรุนแรง ๓) นักเรียนร้อยละ ๘๐ บริโภคอาหาร
เช้าและอาหารถูกสุขลักษณะเป็นไปตามเกณฑ์ ผลการประเมิณอยู่ในระดับดีเลิศ โดย ๑) นักเรียนร้อยละ
๙๘.๖๔ มีสมรรถภาพทางกายเป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐาน ๒) นักเรียนร้อยละ ๙๘.๔๑ มีร่างกายแข็งแรงไม่
เกี่ยวข้องกบั สารเสพติดและไม่แก้ปญั หาโดยใช้ความรุนแรงและ ๓) นักเรยี นร้อยละ ๘๗.๙๔ บรโิ ภคอาหารเช้า
และอาหารถูกสขุ ลกั ษณะ ซงึ่ สงู กว่าเกณฑท์ ีต่ ง้ั ไวท้ งั้ ๓ หวั ขอ้
นวัตกรรมหรือรปู แบบการดำเนนิ การในมาตรฐานที่ ๑ คณุ ภาพของผเู้ รยี น
ในการดำเนินงานตามมาตรฐานท่ี ๑ คณุ ภาพผเู้ รียน โรงเรยี นมรี ูปแบบในการดำเนินงานดังน้ี
๑) การประชุมทำความเข้าใจในการดำเนินงานประกันคุณภาพการศึกษาแนวใหม่ซึ่งเปลี่ยน
จาก ๕ ด้าน ๑๕ มาตรฐาน ๖๕ ตัวบ่งชี้ มาเป็น ๔ มาตรฐาน ในปีการศึกษา ๒๕๖๐ และ ๓ มาตรฐาน ในปี
การศึกษา ๒๕๖๑ ซึ่งทางโรงเรียนได้ดำเนินการในปีการศึกษา ๒๕๖๑ จากนั้นร่วมกันกำหนดมาตรฐานของ
สถานศึกษา ผ่านการเห็นชอบจากคณะกรรมการสถานศึกษาและประกาศใช้
๒) จัดทำคำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการดำเนนิ งานประกันคุณภาพการศึกษาโรงเรียนกมุ ภวาปี
แยกตามมาตรฐานและตัวบง่ ชี้ มีการกำหนดผู้รบั ผิดชอบและขอบเขตงานอย่างชดั เจน
๓) คณะทำงานแต่ละตวั บง่ ชีว้ างแผน ดำเนนิ การพฒั นาผ้เู รียนตามมาตรฐานของสถานศึกษา/
ตวั บง่ ช้ี ใหบ้ รรลผุ ลตามท่ีต้ังไว้ จากนนั้ รายงานผลเมือ่ สิน้ ปกี ารศึกษา
รายงานผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา (Self-Assessment Report: SAR)
๑. แผนการพัฒนาคุณภาพ เพอื่ ยกระดบั ให้สงู ข้นึ
จดุ เดน่ จุดทีค่ วรพัฒนา
๑. ผู้เรยี นมีผลสมั ฤทธิ์ทางการเรยี นระดับชาติ ๑. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรยี นรายวชิ าคณิตศาสตร์
(O-NET) ประจำปีการศึกษา ๒๕๖๔ ของ ภาษาไทย และเทคโนโลยี ตำ่ กวา่ เกณฑ์มาตรฐาน
โรงเรียนกุมภวาปีสูงขึ้นจากปีการศึกษา การศึกษาของสถานศกึ ษาทตี่ ้งั ไว้
๒๕๖๓ ทุกกล่มุ สาระการเรียนรู้และมีคะแนน
เฉลี่ยสูงกว่าคะแนนเฉลี่ยระดับประเทศทุก
กลมุ่ สาระการเรียนรู้
๒. นักเรียนมีผลการกระทำชนิ้ งาน/โครงงาน
สามารถนำเสนอกระบวนการทำงานได้
๓. นักเรียนสามารถสร้างนวัตกรรมจากการ
ทำงานเปน็ กลุ่มได้
๔. ผู้เรียนมผี ลสัมฤทธิ์ทางการเรยี นตาม
หลักสูตรสถานศกึ ษา ตามมาตรฐานของ
สถานศกึ ษาทกี่ ำหนดไว้
๕. ผเู้ รียนมีคุณลักษณะและคา่ นยิ มท่ีดีตามท่ี
สถานศึกษากำหนด มาตรฐาน ของ
สถานศกึ ษา
๖. ผู้เรียนมคี วามภมู ใิ จในท้องถ่นิ และความ
เป็นไทย
๗. ผเู้ รียนมสี ุขภาวะทางร่างกายและจิตสงั คม
แผนการพัฒนาคณุ ภาพ เพ่ือยกระดับให้สงู ขน้ึ
โรงเรียนกุมภวาปมี แี ผนในการดำเนินงานในปกี ารศึกษา ๒๕๖๕ เพ่อื ยกระดบั ให้สงู ขนึ้ ดงั ต่อไปน้ี
(๑) โครงการยกระดับคณุ ภาพผู้เรยี น โดยมหี อ้ งเรยี นวทิ ย์เข้มขน้ เพอ่ื พฒั นานักเรียนใหม้ ีความรู้
ทักษะ คณุ ลกั ษณะตามเกณฑ์ท่ตี ้งั ไว้
(๒) โครงการ/กจิ กรรมตามตามนกั เรียนโดยใช้สื่อและเทคโนโลยีในการประสานระหว่างครูทีป่ รกึ ษา
ครูผูส้ อน นักเรียน และผูป้ กครองให้มีประสทิ ธิภาพ
(๓) โครงการ/กจิ กรรมพัฒนาครูเพื่อเพ่ิมสมรรถนะในการจัดการเรยี นรฐู้ านสมรรถนะ
(๔) โครงการ/กิจกรรมการนิเทศและติดตามประเมนิ ผลการศึกษาอย่างเปน็ ระบบ
รายงานผลการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา (Self-Assessment Report: SAR)
มาตรฐานที่ ๒ กระบวนการบรหิ ารและการจัดการ
๑. ระดบั คณุ ภาพ ดีเลิศ
๒. กระบวนการพฒั นา
ประเด็นพิจารณา ๒.๑ มีเป้าหมาย วิสัยทัศน์ และพันธกิจที่ชัดเจน มาตรฐานของสถานศึกษาคือ
โรงเรียนมีเป้าหมาย วิสัยทัศน์ และพันธกิจที่ชัดเจน โดยโรงเรียนได้ประกาศใช้มาตรฐานของสถานศึกษา ปี
การศกึ ษา ๒๕๖๔ โดยการประกาศลงในเวบ็ ไซต์ของโรงเรยี น
ประเด็นพิจารณา ๒.๒ มรี ะบบบรหิ ารจัดการคุณภาพของสถานศึกษา มาตรฐานของสถานศึกษาคือ
โรงเรียนใช้การบริหารคุณภาพแบบกระจายอำนาจ โรงเรียนได้ดำเนินการโดยการดำเนินโครงการต่าง ๆ ใน
สถานศึกษาโดยใช้การบริหารแบบกระจายอำนาจ โดยมีการแบ่งการบริหารออกเป็นกลุ่มงาน ประกอบด้วย
กลุ่มบริหารงานบุคคล กลุ่มบรหิ ารท่ัวไป กลมุ่ บริหารวชิ าการ กลมุ่ บรหิ ารงบประมาณ
ประเด็นพิจารณา ๒.๓ ดำเนินงานพัฒนาวิชาการที่เน้นคุณภาพผู้เรียนรอบด้านตามหลักสูตร
สถานศกึ ษาและทุกกลุ่มเป้าหมาย มาตรฐานของสถานศกึ ษาคือ โรงเรยี นมีเวทที างวิชาการให้นกั เรียนทุกคนได้
แลกเปลีย่ นเรยี นรู้ร่วมกันของทุกกลมุ่ สาระการเรียนรู้ โรงเรยี นพัฒนามาตรฐานของสถานศึกษาโดยดำเนินตาม
กจิ กรรม/โครงการ กจิ กรรมวนั สนุ ทรภแู่ ละวนั ภาษาไทยแห่งชาติ, กจิ กรรมรายวชิ าบรู ณาการทอ้ งถ่ิน, โครงการ
ยกระดับผลสมั ฤทธิท์ างการเรียน, งานสวนพฤกษศาสตรโ์ รงเรียน, โครงการกีฬาภายใน, โครงการสง่ เสรมิ ทกั ษะ
ความสามารถดา้ นกีฬา (กีฬาภายนอก) หลกั สูตรรายวิชาบรู ณาการท้องถน่ิ เพื่อเสริมสรา้ งสมรรถนะ
ประเด็นพิจารณา ๒.๔ พัฒนาครูและบุคลากรให้มีความเชี่ยวชาญทางวิชาชีพ มาตรฐานของ
สถานศึกษาคือ ๑) ขา้ ราชการครูและบุคลากรทางการศึกษารอ้ ยละ ๖๐ ไดร้ ับการสนบั สนนุ ใหไ้ ด้รับการอบรม
ตรงตามหน้าที่ที่ปฏิบัติอย่างน้อย ๒๐ ชั่วโมงต่อปี ๒) ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาร้อยละ ๘๐
ได้รบั การสง่ เสรมิ ให้มีความก้าวหนา้ ทางวิชาชพี โดยโรงเรียนกุมภวาปีดำเนนิ กิจกรรม/โครงการ กจิ กรรมอบรม
การจดั การเรียนร้ฐู านสมรรถนะในรูปแบบออนไลน์, กิจกรรมการอบรมเชิงปฏิบัติการสร้างหลักสูตรบูรณาการ
ท้องถิ่นเพื่อเสริมสร้างสมรรถนะนักเรยี นภาคเรียนที่ ๑, กิจกรรมการอบรมเชิงปฏบิ ัติการสรา้ งหลกั สูตรบูรณา
การท้องถ่นิ เพ่อื เสริมสร้างสมรรถนะนกั เรียนภาคเรียนท่ี ๒, กจิ กรรมการอบรมเชิงปฏิบัติการการประเมินและ
ปรบั ปรุงหลกั สูตรบูรณาการท้องถนิ่ เพ่อื เสริมสร้างสมรรถนะนักเรยี น, แบบบันทึกการประชมุ หัวหน้ากลมุ่ สาระ
และแบบบนั ทึกการประชุมกลมุ่ สาระการเรียนรู้ และกจิ กรรมส่งเสรมิ ขวญั และกำลงั ใจ
ประเด็นพิจารณา ๒.๕ จัดสภาพแวดล้อมทางกายภาพและสังคมที่เอื้อต่อการจัดการเรียนรู้อยา่ งมี
คุณภาพ มาตรฐานของสถานศึกษาคือ ๑) โรงเรียนมกี ารจัดหอ้ งเรียนคุณภาพห้องเรียนและห้องปฏิบัติการท่ี
เพียงพอ ๒) โรงเรียนมีสภาพแวดล้อมที่ร่มรื่น สะอาด ปลอดภัย เพียงพอต่อนักเรียน เหมาะสมต่อการเรยี นรู้
๓) โรงเรียนมีแหล่งเรียนรู้ที่หลากหลาย โดยโรงเรียนมีศูนย์การเรียนรู้ได้แก่ ศูนย์การเรียนรู้อาเซียน แหล่ง
เรียนรู้งานสวนพฤกษศาสตรโ์ รงเรียนกมุ ภวาปี นอกจากนี้โรงเรยี นดำเนนิ การพัฒนาห้องคอมพิวเตอร์ โรงเรียน
กุมภวาปี, การพัฒนาห้องสมุด โรงเรียนกุมภวาปี ห้องเรียน I Classroom โดยการสนับสนุนจากสำนักงาน
คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน นอกจากนี้โรงเรียนกุมภวาปียังเป็นเป็นศูนย์พัฒนาศักยภาพบุคคลเพ่ือ
ความเปน็ เลิศ (Human Capital Excellence Center: HCEC)
รายงานผลการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา (Self-Assessment Report: SAR)
ประเด็นพิจารณา ๒.๖ จัดระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ เพื่อสนับสนุนการบริหารจัดการและการ
จัดการเรียนรู้ มาตรฐานของสถานศึกษาคือโรงเรียนมีระบบอินเทอร์เน็ตแบบไร้สายที่สนับสนุนการบริหาร
จัดการและการจดั การเรียนรู้อย่างเพยี งพอ โดยโรงเรียนดำเนินการการขยายระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ตแบบ
ไร้สายบริเวณทางเดนิ ระหว่างอาคาร เพ่ือให้นกั เรยี นสามารถใช้ในการสืบค้นไดอ้ ยา่ งทวั่ ถงึ
ผลการดำเนนิ งาน ขอ้ มูล หลกั ฐาน เอกสารเชงิ ประจกั ษ์
ประเด็นพิจารณา ๒.๑ มีเป้าหมาย วิสัยทัศน์ และพันธกิจที่ชัดเจน มาตรฐานของสถานศึกษาคือ
โรงเรียนมเี ปา้ หมาย วสิ ัยทัศน์ และพันธกจิ ทชี่ ดั เจน ผลการประเมนิ อยู่ในระดับดเี ลิศ
ประเดน็ พิจารณา ๒.๒ มีระบบบริหารจัดการคุณภาพของสถานศึกษา มาตรฐานของสถานศึกษาคือ
โรงเรยี นใช้การบรหิ ารคณุ ภาพแบบกระจายอำนาจ ผลการประเมินอยู่ในระดบั ดีเลศิ
ประเด็นพิจารณา ๒.๓ ดำเนินงานพัฒนาวิชาการที่เน้นคุณภาพผู้เรียนรอบด้านตามหลักสูตร
สถานศกึ ษาและทุกกลุ่มเป้าหมาย มาตรฐานของสถานศกึ ษาคือ โรงเรียนมเี วทที างวชิ าการใหน้ ักเรียนทุกคนได้
แลกเปล่ียนเรียนรูร้ ่วมกนั ของทกุ กลมุ่ สาระการเรียนรู้ ผลการประเมินอยู่ในระดับดเี ลิศ
ประเด็นพิจารณา ๒.๔ พัฒนาครูและบุคลากรให้มีความเชี่ยวชาญทางวิชาชีพ มาตรฐานของ
สถานศึกษาคือ ๑) ขา้ ราชการครูและบุคลากรทางการศกึ ษารอ้ ยละ ๖๐ ได้รับการสนับสนนุ ใหไ้ ด้รับการอบรม
ตรงตามหน้าที่ที่ปฏิบัติอย่างน้อย ๒๐ ชั่วโมงต่อปี ๒) ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาร้อยละ ๘๐
ได้รับการส่งเสริมให้มีความก้าวหน้าทางวิชาชีพ ผลการประเมินอยูใ่ นระดับดเี ลิศ โดย ๑) ข้าราชการครูและ
บุคลากรทางการศึกษาร้อยละ ๑๐๐ ได้รับการสนับสนุนให้ได้รับการอบรมตรงตามหน้าที่ที่ปฏิบัติอย่างน้อย
๒๐ ชว่ั โมงต่อปี ๒) ข้าราชการครแู ละบุคลากรทางการศกึ ษารอ้ ยละ ๑๐๐ ไดร้ บั การส่งเสริมใหม้ คี วามก้าวหน้า
ทางวชิ าชพี
ประเด็นพิจารณา ๒.๕ จัดสภาพแวดล้อมทางกายภาพและสังคมที่เอื้อต่อการจัดการเรียนรู้อยา่ งมี
คุณภาพ มาตรฐานของสถานศึกษาคือ ๑) โรงเรียนมกี ารจัดห้องเรียนคุณภาพห้องเรียนและห้องปฏิบัติการที่
เพียงพอ ๒) โรงเรียนมีสภาพแวดล้อมที่ร่มรื่น สะอาด ปลอดภัย เพียงพอต่อนักเรยี น เหมาะสมต่อการเรยี นรู้
๓) โรงเรยี นมแี หลง่ เรียนรทู้ ่ีหลากหลาย ผลการประเมนิ อย่ใู นระดบั ดเี ลิศ
ประเด็นพิจารณา ๒.๖ จัดระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ เพื่อสนับสนุนการบริหารจัดการและการ
จัดการเรียนรู้ มาตรฐานของสถานศึกษาคือโรงเรียนมีระบบอินเทอร์เน็ตแบบไร้สายที่สนับสนุนการบริหาร
จัดการและการจัดการเรยี นรอู้ ย่างเพียงพอ ผลการประเมนิ มาตรฐานอย่ใู นระดับดีเลิศ
นวัตกรรม รูปแบบการดำเนนิ การในมาตรฐานท่ี ๒ กระบวนการบรหิ ารและการจัดการของผูบ้ ริหาร
ในการดำเนนิ งานตามมาตรฐานท่ี ๒ กระบวนการบริหารและการจดั การ ของผู้บริหาร โรงเรียนมี
รปู แบบในการดำเนนิ งานควบคูก่ บั มาตรฐานอ่ืน ๆ ดังนี้
๑) การประชุมทำความเข้าใจในการดำเนินงานประกันคุณภาพการศึกษาแนวใหม่ซึ่งเปลี่ยน
จาก ๕ ด้าน ๑๕ มาตรฐาน ๖๕ ตัวบ่งชี้ มาเป็น ๔ มาตรฐาน ในปีการศึกษา ๒๕๖๐ และ ๓ มาตรฐาน ในปี
รายงานผลการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา (Self-Assessment Report: SAR)
การศึกษา ๒๕๖๑ ซึ่งทางโรงเรยี นได้ดำเนินการในปีการศึกษา ๒๕๖๑ จากนั้นร่วมกนั กำหนดมาตรฐานของ
สถานศกึ ษา ผ่านการเห็นชอบจากคณะกรรมการสถานศกึ ษาและประกาศใช้
๒) จัดทำคำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินงานประกันคุณภาพการศึกษาโรงเรียนกมุ ภวาปี
แยกตามมาตรฐานและตัวบ่งชี้ มกี ารกำหนดผ้รู ับผดิ ชอบและขอบเขตงานอยา่ งชดั เจน
๓) คณะทำงานแต่ละตัวบ่งช้ีวางแผน ดำเนินการพัฒนาผเู้ รียนตามมาตรฐานของสถานศึกษา/
ตัวบง่ ชี้ ใหบ้ รรลผุ ลตามทต่ี ัง้ ไว้ จากน้ันรายงานผลเมื่อส้นิ ปีการศกึ ษา
3. แผนการพฒั นาคุณภาพเพอื่ ยกระดับให้สงู ข้ึน
จดุ เด่น จุดที่ควรพฒั นา
๑. มเี ป้าหมาย วสิ ัยทัศน์ และพันธกจิ ทช่ี ดั เจน ๑. ขยายสญั ญาณอนิ เทอรเ์ นต็ ไร้สายให้
มาตรฐานของสถานศกึ ษาคือ โรงเรยี นมี ครอบคลมุ และเพียงพอในบริเวณโรงเรียน
เป้าหมาย วิสยั ทัศน์ และพนั ธกจิ ท่ีชดั เจน
๒. มีระบบบริหารจดั การคุณภาพของ ๒. พฒั นาหอ้ งเรียนคอมพวิ เตอร์ให้มีความ
สถานศึกษา ซึ่งโรงเรยี นกุมภวาปีใชห้ ลักการ ทันสมัย
บริหารแบบกระจายอำนาจ
๓. มกี ารจัดการเรียนรู้โดยใช้บรบิ ทของทอ้ งถน่ิ ๓. ปรบั ปรุงหลกั สตู รบรู ณาการทอ้ งถิ่นเพอื่
ซึง่ โรงเรยี นกมุ ภวาปไี ด้พฒั นาหลกั สูตรรายวิชา เสริมสร้างสมรรถนะให้มคี วามทันสมัย
บรู ณาการท้องถนิ่ เพ่ือเสริมสรา้ งสมรรถนะ
นักเรยี น
๔. มแี หล่งเรยี นร้ทู ี่หลากหลาย ไดแ้ ก่ อาคาร
สวนพฤกษศาสตรโ์ รงเรียน ศูนยก์ ารเรยี นรู้
อาเซียนศึกษา ห้องสมดุ และระบบอนิ เทอรเ์ นต็
ไรส้ ายภายในโรงเรียน
แผนการพัฒนาคณุ ภาพ เพ่ือยกระดบั ใหส้ งู ขนึ้
โรงเรียนกุมภวาปมี แี ผนในการดำเนินงานในปีการศกึ ษา ๒๕๖๕ เพ่อื ยกระดบั ให้สงู ขน้ึ ดังตอ่ ไปนี้
(๑) กิจกรรม/โครงการ ขยายสัญญาณอินเทอร์เนต็ ไรส้ าย โรงเรยี นกมุ ภวาปี
(๒) กิจกรรม/โครงการ ห้องเรยี นคอมพวิ เตอร์ I Classroom โรงเรียนกุมภวาปี
(๓) กิจกรรม/โครงการ ประเมนิ และปรับปรุงหลกั สตู รบูรณาการทอ้ งถน่ิ เพือ่ เสรมิ สร้างสมรรถนะ
นกั เรยี น
มาตรฐานท่ี ๓ กระบวนการจดั การเรยี นการสอนทเี่ นน้ ผเู้ รียนเป็นสำคัญ
ระดบั คณุ ภาพ ดีเลิศ
รายงานผลการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา (Self-Assessment Report: SAR)
กระบวนการพฒั นา
ประเด็นพิจารณา ๓.๑ จัดการเรียนรู้ผ่านกระบวนการคิดและปฏิบัติจริง และสามารถนำไป
ประยุกต์ใช้ในชีวิตได้ มาตรฐานของสถานศึกษาคือ ครูจัดกระบวนการเรียนการสอนที่มุ่งเน้นให้นักเรียนเกิด
สมรรถนะการเรียนร้ใู นศตวรรษ ที่ ๒๑ โรงเรยี นพัฒนาเพ่อื ให้ได้มาตรฐานโดยดำเนินโครงการจัดทำและพัฒนา
หลกั สูตรสถานศกึ ษาให้สอดคล้องกับหลักสูตรแกนกลาง ศกั ยภาพความสนใจของผู้เรียนและสภาพท้องถิ่นโดย
จัดการเรียนรู้ตามหลักสูตรรายวิชาบูรณาการท้องถิ่นเพือ่ เสริมสรา้ งสมรรถนะนักเรียนทุกระดับชั้น โครงการ
การนิเทศ กำกบั ติดตาม รายงาน และประเมนิ การปฏบิ ตั งิ านอยา่ งเปน็ ระบบและต่อเน่ือง
ประเด็นพิจารณา ๓.๒. ใช้สื่อ เทคโนโลยีสารสนเทศ และแหล่งเรยี นรู้ท่ีเอือ้ ตอ่ การเรียนรู้ มาตรฐาน
ของสถานศึกษาคือ ๑) ครู ทุกกลุ่มสาระสร้างและใช้สื่อเทคโนโลยีอย่างเหมาะสมในการจัดการเรียนรู้ ๒) ครู
ส่งเสรมิ ใหน้ ักเรยี นผลิตและใช้ส่อื เทคโนโลยีสารสนเทศในการเรียนรู้ โดยโรงเรยี นดำเนนิ กิจกรรม/โครงการการ
นิเทศ กำกับ ติดตาม รายงาน และประเมินการปฏิบัติงานอย่างเป็นระบบและต่อเนื่อง ส่งเสริมให้มีการใช้
Platform Cisco WebExและ Platform อนื่ ๆ ในการสง่ เสรมิ การเรียนร้ขู องนกั เรยี นในชว่ งทมี่ ีการระบาดของ
โรคไวรัสโคโรนา ในปกี ารศึกษา ๒๕๖๔ อย่างเป็นระบบ
ประเด็นพิจารณา ๓.๓ มีการบริหารจัดการชั้นเรียนเชิงบวก มาตรฐานของสถานศึกษาคือ ๑) ครูมี
ข้อมูลนักเรียนที่สอนเป็นรายบุคคลและนำผลการสังเคราะห์ไปพัฒนาการเรียนรู้ ๒) ครูและนักเรียนร่วมกัน
กำหนดแนวทางการเรียนรู้และการปฏบิ ัตติ นในห้องเรยี น โดยดำเนนิ การตามโครงการการนเิ ทศ กำกับ ตดิ ตาม
รายงาน และประเมินการปฏิบตั งิ านอย่างเปน็ ระบบและตอ่ เนอ่ื ง พบว่าจำวนครูทมี่ แี ผนการจดั การเรียนรเู้ ชิงรุก
มีมากขึ้น มีข้อมูลของนักเรียนแต่ละบุคคลและนำผลการสังเคราะห์ไปพัฒนาการจัดการเรยี นรู้ ครูนำผลการ
สะท้อนจากนักเรียนเป็นส่วนหนึ่งในการกำหนดแนวทางการจัดการเรียนรู้ นอกจากนี้ยังมีครูที่ส่งแผนการ
จดั การเรียนรู้เชิงรุกเขา้ ประกวดในโครงการของสำนักงานเขตพ้นื ทกี่ ารศกึ ษามธั ยมศึกษาเขต ๒๐
ประเด็นพิจารณา ๓.๔ ตรวจสอบและประเมินผู้เรียนอย่างเป็นระบบและนำผลมาพัฒนาผู้เรียน
มาตรฐานของสถานศกึ ษาคือ ๑) ครูมแี ผนการวดั และประเมินผลชดั เจนโดยมีการกำหนดสัดส่วนคะแนนจำนวน
ชิ้นงานและพฤติกรรมของนักเรียน ๒) ครูมีวิธีการวัดและประเมินผลที่หลากหลายและสอดคล้องกับ
วัตถปุ ระสงคข์ องการจดั การเรียนรู้ โรงเรยี นดำเนินโครงการการนเิ ทศ กำกบั ตดิ ตาม รายงาน และประเมินการ
ปฏิบัติงานอย่างเป็นระบบและต่อเนื่องพบว่าครูมีแผนการวัดและประเมินนักเรียนชัดเจนในแต่ละภาคเรียน
โดยมีการกำหนดสัดส่วนคะแนน จำนวนชิ้นงาน และพฤติกรรมนักเรียนชัดเจน และนำผลมาเป็นแนวทางใน
การพัฒนาผ้เู รียน
ประเดน็ พจิ ารณา ๓.๕ มีการแลกเปลีย่ นเรยี นรู้และใหข้ อ้ มลู สะท้อนกลับเพือ่ พัฒนาและปรับปรุงการ
จัดการเรียนรู้ มาตรฐานของสถานศึกษาคือ ๑) ครูเเต่ละกลุ่มสาระการเรียนรู้มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้เเละ
แก้ปัญหาโดยใช้กระบวนการ PLC ในการประชุมหัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้ ๒) โรงเรียนมีระบบการนิเทศ
ภายในเพื่อพัฒนาและปรับปรุงการจัดการเรียนการสอน โรงเรียนดำเนินโครงการการนิเทศ กำกับ ติดตาม
รายงาน และประเมินการปฏิบัติงานอย่างเป็นระบบและต่อเนื่อง พบว่านักเรียนสะท้อนกลับหลังจัดกิจกรรม
การเรยี นรู้ ครนู ำผลการสะทอ้ นกลับมาพัฒนาการเรียนรู้ ครมู กี ารทำใชร้ ูปแบบอง PLC เพือ่ แลกเปลย่ี นเรยี นรู้
รายงานผลการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา (Self-Assessment Report: SAR)
ผลการดำเนนิ งาน ข้อมูล หลกั ฐาน เอกสารเชิงประจักษ์ ตามประเด็นพจิ ารณา
ประเด็นพิจารณา ๓.๑ จัดการเรียนรู้ผ่านกระบวนการคิดและปฏิบัติจริง และสามารถนำไป
ประยุกต์ใช้ในชีวิตได้ มาตรฐานของสถานศึกษาคือ ครูจัดกระบวนการเรียนการสอนที่มุ่งเน้นให้นักเรียนเกดิ
สมรรถนะการเรียนรู้ในศตวรรษ ที่ ๒๑ ผลการดำเนินงานอยู่ในระดับดีเลศิ
ประเด็นพิจารณา ๓.๒. ใช้สื่อ เทคโนโลยีสารสนเทศ และแหล่งเรียนรู้ที่เอือ้ ต่อการเรียนรู้ มาตรฐาน
ของสถานศึกษาคือ ๑) ครู ทุกกลุ่มสาระสร้างและใช้สื่อเทคโนโลยีอย่างเหมาะสมในการจัดการเรียนรู้ ๒) ครู
ส่งเสรมิ ให้นกั เรียนผลติ และใช้สื่อเทคโนโลยีสารสนเทศในการเรียนรู้ ผลการประเมนิ พบวา่ ครมู กี ารสร้างและใช้
สอื่ เทคโนโลยีในการจัดกิจกรรมการเรยี นรู้อย่างน้อยกลุ่มสาระละ ๑ คน นกั เรยี นผลิตผลงานโดยใช้สื่อโซเชียล
และใชส้ ื่อเทคโนโลยใี นการเรยี นรู้ ผลการดำเนนิ งานอยู่ในระดับดเี ลศิ
ประเด็นพิจารณา ๓.๓ มีการบริหารจัดการชั้นเรียนเชิงบวก มาตรฐานของสถานศึกษาคือ ๑) ครูมี
ข้อมูลนักเรียนที่สอนเป็นรายบุคคลและนำผลการสังเคราะห์ไปพัฒนาการเรียนรู้ ๒) ครูและนักเรียนร่วมกัน
กำหนดแนวทางการเรียนรู้และการปฏิบัติตนในหอ้ งเรียน ผลการดำเนนิ งานอย่ใู นระดับดเี ลิศ
ประเด็นพิจารณา ๓.๔ ตรวจสอบและประเมินผู้เรียนอย่างเป็นระบบและนำผลมาพัฒนาผู้เรียน
มาตรฐานของสถานศกึ ษาคอื ๑) ครมู แี ผนการวัดและประเมนิ ผลชัดเจนโดยมกี ารกำหนดสัดสว่ นคะแนนจำนวน
ชิ้นงานและพฤติกรรมของนักเรียน ๒) ครูมีวิธีการวัดและประเมินผลที่หลากหลายและสอดคล้องกับ
วตั ถุประสงค์ของการจดั การเรยี นรู้ ผลการดำเนินงานอยใู่ นระดับดเี ลิศ
ประเด็นพิจารณา ๓.๕ มีการแลกเปลยี่ นเรยี นรู้และให้ขอ้ มลู สะท้อนกลับเพือ่ พฒั นาและปรับปรุงการ
จัดการเรียนรู้ มาตรฐานของสถานศึกษาคือ ๑) ครูเเต่ละกลุ่มสาระการเรียนรู้มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้เเละ
แก้ปัญหาโดยใช้กระบวนการ PLC ในการประชุมหัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้ ๒) โรงเรียนมีระบบการนิเทศ
ภายในเพื่อพัฒนาและปรบั ปรุงการจัดการเรียนการสอน ผลการดำเนินงานอยูใ่ นระดบั ดี
นวตั กรรม รปู แบบการดำเนินการในมาตรฐานที่ ๓ กระบวนการจดั การเรียนการสอนท่ีเนน้ ผเู้ รยี นเปน็
สำคัญ
ในการดำเนินงานตามมาตรฐานท่ี ๓ กระบวนการจดั การเรียนการสอนทีเ่ นน้ ผเู้ รยี นเป็นสำคัญ
โรงเรยี นมรี ูปแบบในการดำเนินงานควบคูก่ ับมาตรฐานอืน่ ๆ ดงั น้ี
๑) การประชุมทำความเข้าใจในการดำเนินงานประกันคุณภาพการศึกษาแนวใหม่ซึ่งเปลี่ยน
จาก ๕ ด้าน ๑๕ มาตรฐาน ๖๕ ตัวบ่งชี้ มาเป็น ๔ มาตรฐาน ในปีการศึกษา ๒๕๖๐ และ ๓ มาตรฐาน ในปี
การศึกษา ๒๕๖๑ ซึ่งทางโรงเรียนได้ดำเนินการในปีการศึกษา ๒๕๖๑ จากนั้นร่วมกนั กำหนดมาตรฐานของ
สถานศึกษา ผา่ นการเห็นชอบจากคณะกรรมการสถานศึกษาและประกาศใช้
๒) จัดทำคำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินงานประกันคุณภาพการศึกษาโรงเรียนกุมภวาปี
แยกตามมาตรฐานและตวั บง่ ช้ี มีการกำหนดผู้รับผิดชอบและขอบเขตงานอยา่ งชดั เจน
๓) คณะทำงานแตล่ ะตวั บ่งชวี้ างแผน ดำเนินการพัฒนาผ้เู รยี นตามมาตรฐานของสถานศึกษา/
ตวั บง่ ช้ี ให้บรรลผุ ลตามทตี่ ัง้ ไว้ จากนั้นรายงานผลเมอ่ื สนิ้ ปีการศกึ ษา
รายงานผลการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา (Self-Assessment Report: SAR)
แผนการพฒั นาคุณภาพเพื่อยกระดบั ใหส้ ูงขึน้
จดุ เดน่ จดุ ท่คี วรพฒั นา
๑. โรงเรียนมีจัดการเรยี นรู้ผ่านกระบวนการคิด ๑. การประเมินการเรียนรฐู้ านสมรรถนะ
และปฏิบัติจริงและมีการบูรณาการความรใู้ นแต่
ละรายวิชาเข้ากบั บรบิ ททอ้ งถน่ิ ในรายวิชา ๒. การพฒั นาสื่อการเรยี นรใู้ นแต่ละกลุม่ สาระ
บรู ณาการทอ้ งถนิ่ เพอ่ื เสริมสรา้ งสมรราถนะ การเรียนรู้
๒. มกี ารใชส้ ่ือ เทคโนโลยสี ารสนเทศ และแหล่ง
เรยี นรู้ทเ่ี อื้อตอ่ การเรยี นรู้อยา่ งเหมาะสม
แผนการพฒั นาคณุ ภาพ เพือ่ ยกระดบั ใหส้ งู ข้ึน
โรงเรียนกมุ ภวาปมี ีแผนในการดำเนนิ งานในปีการศึกษา ๒๕๖๕ เพื่อยกระดบั ให้สูงข้ึนดงั ต่อไปน้ี
(๑) กิจกรรม/โครงการ การพัฒนาครูในหัวข้อการประเมนิ ผลการเรยี นรฐู้ านสมรรถนะ
(๒) กิจกรรม/โครงการ การพัฒนาครใู นหัวข้อการสรา้ งสือ่ การเรยี นรใู้ นชั้นเรยี น
รายงานผลการประเมินตนเองของสถานศกึ ษา (Self-Assessment Report: SAR)
มาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา โดยรวม
๑. ระดับคุณภาพ ดเี ลิศ
๒. กระบวนการพัฒนา
ในการดำเนนิ งานตามมาตรฐานการศกึ ษาของสถานศึกษา โรงเรยี นมีกระบวนการในการพฒั นาดังน้ี
๑) การประชุมทำความเข้าใจในการดำเนินงานประกันคุณภาพการศึกษา จากนั้นร่วมกันกำหนด
มาตรฐานของสถานศึกษา ผ่านการเหน็ ชอบจากคณะกรรมการสถานศกึ ษาและประกาศใช้
๒) จัดทำคำสั่งแต่งตัง้ คณะกรรมการดำเนินงานประกันคณุ ภาพการศึกษาโรงเรยี นกุมภวาปี แยกตาม
มาตรฐานและตัวบง่ ช้ี มีการกำหนดผู้รับผิดชอบและขอบเขตงานอย่างชดั เจน
๓) โรงเรยี นจัดทำแผนพฒั นาคุณภาพการศกึ ษาซ่งึ สร้างขนึ้ ใหม้ ีความสอดคลอ้ งกับมาตรฐานการศึกษา
ของสถานศึกษา คณะทำงานแต่ละตัวบ่งชี้วางแผนดำเนินการพัฒนาผู้เรียนโดยใช้โครงการ/ กิจกรรม ตาม
แผนพฒั นาคณุ ภาพการศกึ ษาซึง่ สรา้ งขึ้น
๔) คณะทำงานแต่ละตวั บ่งช้ีรายงานผลการปฏิบตั งิ านเมอื่ สนิ้ ปีการศึกษา
๕) งานประกันคุณภาพการศึกษาของโรงเรียนจัดทำรายงานผลการปฏิบัติงานประจำปีการศึกษา
๒๕๖๔ ส่งสำนักงานเขตพื้นทก่ี ารศกึ ษามัธยมศึกษาอุดรธานี
๓. ผลการดำเนินงาน ขอ้ มูล หลักฐาน เอกสารเชงิ ประจักษ์ ตามตัวช้วี ัด
๓.๑ ประกาศมาตรฐานการศกึ ษา ปีการศึกษา ๒๕๖๔ โรงเรยี นกุมภวาปี
๓.๒ แผนพฒั นาการศึกษา โรงเรยี นกมุ ภวาปี
๓.๓ รายงานผลสมั ฤทธ์ิปีการศกึ ษา 2564 กลมุ่ บริหารวิชาการ โรงเรียนกมุ ภวาปี
๓.๔ หลกั สูตรบูรณาการทอ้ งถนิ่ เพือ่ เสริมสรา้ งสมรรถนะนักเรียน โรงเรยี นกมุ ภวาปี
๓.๕ รายงานผลการดำเนินกจิ กรรม/ โครงการต่าง ๆ โรงเรยี นกมุ ภวาปี
๓.๖ แผนการจัดการเรยี นรู้ แบบบนั ทึกผลการเรียนของครูผู้สอน
๔. แผนการพฒั นาคณุ ภาพเพอ่ื ยกระดบั ใหส้ งู ข้ึน
จดุ เด่น จดุ ทค่ี วรพัฒนา
๑. ผู้เรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนระดับชาติ ๑. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรยี นรายวิชาคณิตศาสตร์
(O-NET) ประจำปีการศึกษา ๒๕๖๔ ของ ภาษาไทย และเทคโนโลยี ต่ำกว่าเกณฑ์
โรงเรียนกุมภวาปีสูงขึน้ จากปีการศึกษา ๒๕๖๓ มาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาทีต่ ง้ั ไว้
ทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้และมีคะแนนเฉลี่ยสูง
กว่าคะแนนเฉลีย่ ระดับประเทศทุกกลุม่ สาระการ
เรยี นรู้
๒. นักเรียนมีผลการกระทำชิ้นงาน/โครงงาน ๒. ขยายสัญญาณอินเทอร์เน็ตไร้สายให้
สามารถนำเสนอกระบวนการทำงานได้ ครอบคลมุ และเพียงพอในบริเวณโรงเรียน
รายงานผลการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา (Self-Assessment Report: SAR)
จุดเดน่ จดุ ทคี่ วรพัฒนา
๓. นักเรียนสามารถสร้างนวัตกรรมจากการ ๓. พัฒนาห้องเรียนคอมพิวเตอร์ให้มีความ
ทำงานเป็นกลุ่มได้ ทนั สมัย
๔. ผ้เู รยี นมผี ลสัมฤทธท์ิ างการเรยี นตามหลักสูตร ๔. ปรับปรุงหลักสูตรบูรณาการท้องถิ่นเพื่อ
สถานศึกษา ตามมาตรฐานของสถานศึกษาท่ี เสริมสรา้ งสมรรถนะให้มีความทันสมัย
กำหนดไว้
๕. ผู้เรียนมีคุณลักษณะและค่านิยมที่ดีตามท่ี ๕. การประเมินการเรยี นร้ฐู านสมรรถนะ
สถานศึกษากำหนด มาตรฐาน ของสถานศกึ ษา
๖. ผู้เรียนมีความภูมิใจในท้องถิ่นและความเปน็ ๖. การพัฒนาสื่อการเรียนรู้ในแต่ละกลุ่มสาระ
ไทย การเรยี นรู้
๗. ผู้เรยี นมีสขุ ภาวะทางร่างกายและจติ สงั คม
๘. มีเป้าหมาย วิสัยทัศน์ และพันธกิจที่ชัดเจน
มาตรฐานของสถานศึกษาคือ โรงเรียนมี
เป้าหมาย วิสยั ทัศน์ และพันธกจิ ทชี่ ดั เจน
๙. มีระบบบริหารจัดการคุณภาพของ
สถานศึกษา ซึ่งโรงเรียนกุมภวาปีใช้หลักการ
บริหารแบบกระจายอำนาจ
๑๐. มีการจดั การเรยี นรู้โดยใช้บรบิ ทของท้องถิ่น
ซึ่งโรงเรียนกุมภวาปีได้พัฒนาหลักสูตรรายวิชา
บูรณาการท้องถิ่นเพื่อเสริมสร้างสมรรถนะ
นกั เรียน
๑๑. มีแหล่งเรียนรู้ที่หลากหลาย ได้แก่ อาคาร
สวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน ศูนย์การเรียนรู้
อาเซียนศกึ ษา ห้องสมุด และระบบอินเทอร์เน็ต
ไร้สายภายในโรงเรียน
๑๒. โรงเรียนมีจัดการเรียนรู้ผ่านกระบวนการ
คิดและปฏิบตั ิจริงและมีการบรู ณาการความร้ใู น
แต่ละรายวิชาเข้ากับบริบทท้องถิ่น ในรายวิชา
บรู ณาการท้องถ่ินเพ่ือเสรมิ สรา้ งสมรราถนะ
๑๓. มีการใช้สื่อ เทคโนโลยีสารสนเทศ และ
แหล่งเรยี นร้ทู ีเ่ ออ้ื ตอ่ การเรยี นรู้อยา่ งเหมาะสม
รายงานผลการประเมินตนเองของสถานศกึ ษา (Self-Assessment Report: SAR)
ผลการประเมินประสิทธิภาพและโอกาสในการพัฒนาคุณภาพสถานศึกษา
แบบบนั ทึกการวเิ คราะห์ประสิทธิภาพ และโอกาสในการพัฒนาคุณภาพของสถานศกึ ษา
ปกี ารศึกษา ๒๕๖๔
ช่อื สถานศึกษา โรงเรียนกุมภวาปี สงั กัดสำนกั งานเขตพน้ื ทีก่ ารศึกษามธั ยมศกึ ษาอดุ รธานี
คำช้ีแจง ใหส้ ถานศกึ ษา ทำเคร่อื งหมาย ในช่องท่สี อดคล้องกับสภาพบรบิ ทของสถานศึกษา
๑. ระดบั การศึกษาขั้นพนื้ ฐาน
1) ความพรอ้ มดา้ นปจั จยั นำเข้า (Input)
รายการ แนวการพิจารณา ระดับ
ด้านกายภาพ ความพร้อม
๑) การจัดห้องเรยี นต่อ มีการจัดห้องเรยี น ครบตามระดับชั้นท่ีเปิดสอน
มีการจัดหอ้ งเรียน แบบคละช้ัน ๒ ระดับชั้น ๓ มาก
ระดบั ชัน้ มีการจัดห้องเรียน แบบคละชั้นมากกวา่ ๒ ระดับช้นั ๒ ปานกลาง
๒) ห้องปฏิบตั กิ าร/หอ้ งพิเศษ / มหี ้องปฏบิ ตั ิการ/ห้องพเิ ศษ/แหลง่ เรยี นรู้เพยี งพอและ ๑ น้อย
พรอ้ มใช้งาน ๓ มาก
แหลง่ เรียนรใู้ นโรงเรยี น มหี ้องปฏิบัตกิ าร/หอ้ งพเิ ศษ/แหลง่ เรียนรู้เพียงพอแตไ่ ม่
๒ ปานกลาง
๓) สื่อเทคโนโลยีประกอบ พรอ้ มใช้งาน หรอื มไี ม่เพยี งพอแตพ่ ร้อมใชง้ าน
การเรยี นการสอน มหี อ้ งปฏบิ ตั กิ าร/ห้องพเิ ศษ/แหลง่ เรียนรูไ้ มเ่ พยี งพอ ๑ น้อย
ด้านบคุ ลากร และไมพ่ ร้อมใช้งาน ๓ มาก
มสี ื่อเทคโนโลยีส่งเสริมการเรียนรู้อยา่ งหลากหลาย และ
๑) ผบู้ รหิ ารสถานศึกษา ๒ ปานกลาง
ครบทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้
๒) จำนวนครู มสี ือ่ เทคโนโลยีส่งเสรมิ การเรียนรอู้ ย่างหลากหลาย แต่ ๑ นอ้ ย
ไม่ครบทุกกลมุ่ สาระการเรยี นรู้ ๓ มาก
มีสอ่ื เทคโนโลยีส่งเสรมิ การเรยี นรไู้ มห่ ลากหลาย และไม่ ๒ ปานกลาง
๑ น้อย
ครบทุกกลุ่มสาระการเรยี นรู้
๓ มาก
มีผู้อำนวยการสถานศกึ ษา ๒ ปานกลาง
มีผูร้ กั ษาการในตำแหน่งผ้อู ำนวยการสถานศกึ ษา
ไมม่ ีผอู้ ำนวยการ/ผู้รักษาการในตำแหน่งผู้อำนวยการ ๑ น้อย
สถานศึกษา
มจี ำนวนครูครบทุกระดบั ชัน้ และทุกรายวชิ า
มจี ำนวนครูครบทุกระดับชั้นแตไ่ มค่ รบทกุ รายวิชา หรือมี
ครูไมค่ รบทกุ ระดับช้นั แต่ครบทุกรายวชิ า
มจี ำนวนครไู มค่ รบทุกระดับช้นั และไม่ครบทกุ รายวชิ า
รายงานผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา (Self-Assessment Report: SAR)
รายการ แนวการพิจารณา ระดบั
ความพร้อม
๓) จำนวนช่วั โมงเฉลีย่ การพัฒนา มีชั่วโมงเฉลี่ยต้ังแต่ ๒๐ ชั่วโมงข้นึ ไป ๓ มาก
ตนเองของครรู ะดับการศึกษา ช่วั โมงเฉลีย่ ระหวา่ ง ๑๐ - ๑๙ ชว่ั โมง ๒ ปานกลาง
ขั้นพื้นฐาน ทั้งหมดใน มชี ่วั โมงเฉล่ยี นอ้ ยกว่า ๑๐ ช่วั โมง ๑ น้อย
ปกี ารศกึ ษาทผ่ี ่านมา
๔) จำนวนช่วั โมงเฉลี่ยการเข้า มีชั่วโมงเฉล่ยี ต้ังแต่ ๕๐ ช่ัวโมงข้ึนไป ๓ มาก
ร่วมกิจกรรม PLC ของครู มีชวั่ โมงเฉลีย่ ระหว่าง ๒๕ - ๔๙ ช่วั โมง ๒ ปานกลาง
ระดับการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน มีชวั่ โมงเฉลี่ยนอ้ ยกวา่ ๒๕ ชว่ั โมง ๑ น้อย
ทั้งหมดในปีการศึกษา
ทผ่ี ่านมา
๖) บคุ ลากรสนบั สนุน มีบุคลากรสนบั สนุนงานวชิ าการ และธรุ การ ๓ มาก
มีบคุ ลากรสนับสนุนงานวิชาการ หรอื ธรุ การ ๒ ปานกลาง
ไม่มีบุคลากรสนับสนุน ๑ น้อย
๗) ของบุคลากรเกี่ยวกับการ มกี ารประชุม/อบรม/แลกเปล่ียนเรยี นรู้ เรื่องการประกนั ๓ มาก
ประกันคุณภาพการศึกษา คุณภาพฯ กับครทู กุ คน
ในปกี ารศกึ ษาท่ผี า่ นมา มกี ารประชุม/อบรม/แลกเปลี่ยนเรยี นรู้ เรอ่ื งการประกัน ๒ ปานกลาง
คุณภาพฯ กับครทู ่ีรับผิดชอบงานประกันคณุ ภาพการศกึ ษา
ไม่มีการประชุม/อบรม/แลกเปล่ยี นเรียนรู้ เรื่องการ ๑ นอ้ ย
ประกนั คุณภาพฯ
ดา้ นการสนบั สนุนจากภายนอก
๑) การมสี ว่ นร่วมของผู้ปกครอง ผปู้ กครองร้อยละ ๘๐ ขนึ้ ไป เข้ารว่ มประชุมหรือกจิ กรรม ๓ มาก
ของสถานศึกษา
ผปู้ กครองร้อยละ ๕๐ - ๗๙ เขา้ ร่วมประชมุ หรือกจิ กรรม ๒ ปานกลาง
ของสถานศึกษา
ผปู้ กครองนอ้ ยกวา่ รอ้ ยละ ๕๐ เขา้ ร่วมประชุมหรือ ๑ นอ้ ย
กจิ กรรมของสถานศกึ ษา
๒) การมีส่วนร ่วมของคณะ คณะกรรมการสถานศกึ ษาเขา้ ร่วมประชุมกับสถานศกึ ษา ๓ มาก
กรรมการสถานศึกษาข้ัน อยา่ งนอ้ ย ๔ ครง้ั ตอ่ ปี
พ้นื ฐาน คณะกรรมการสถานศกึ ษาเขา้ ร่วมประชมุ กับสถานศกึ ษา ๒ ปานกลาง
๒-๓ ครัง้ ต่อปี
คณะกรรมการสถานศกึ ษาเขา้ ร่วมประชมุ กับสถานศึกษา ๑ นอ้ ย
นอ้ ยกวา่ ๒ ครง้ั ตอ่ ปี
รายงานผลการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา (Self-Assessment Report: SAR)
รายการ แนวการพิจารณา ระดับ
ความพร้อม
๓) การสนับสนุนจากหน่วยงาน / ไดร้ บั การสนบั สนุนเพียงพอ และสง่ ผลต่อการพฒั นา ๓ มาก
องคก์ รที่เกีย่ วข้อง สถานศึกษา ๒ ปานกลาง
ได้รับการสนับสนุนเพียงพอ แต่ไม่ส่งผลตอ่ การพัฒนา ๑ น้อย
สถานศึกษาหรอื ได้รบั การสนบั สนุนไม่เพียงพอ แตส่ ่งผล สรุประดับความพรอ้ ม
ต่อการพัฒนาสถานศกึ ษา
ไดร้ บั การสนับสนนุ ไม่เพียงพอ และไมส่ ง่ ผลต่อการ
พฒั นาสถานศกึ ษา
มีความพร้อมอยใู่ นระดบั มาก ๑๒ รายการ
มีความพรอ้ มอยู่ในระดบั ปานกลาง - รายการ
มคี วามพร้อมอยู่ในระดับน้อย - รายการ
รายงานผลการประเมินตนเองของสถานศกึ ษา (Self-Assessment Report: SAR)
ภาคผนวก
- ประกาศมาตรฐานของสถานศึกษา
- คำส่งั งานประกนั คุณภาพ ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๔
- รายงานผลการทดสอบระดบั ชาติ (O-NET)
- ค่าสถิตผิ ลสัมฤทธิท์ างการเรียนปกี ารศกึ ษา 2564 โรงเรียนกุมภวาปี
- จดหมายข่าวโรงเรยี นกมุ ภวาปี
- รางวัล เกยี รติบัตร นวัตกรรม ท่เี ป็นแบบอย่าง ทงั้ ๓ มาตรฐาน
รายงานผลการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา (Self-Assessment Report: SAR)
มาตรฐานของสถานศกึ ษา ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๔
โรงเรยี นกมุ ภวาปี
สหวทิ ยาเขตล่มุ นา้ ปาว
ตาบลกมุ ภวาปี อาเภอกมุ ภวาปี จังหวัดอุดรธานี
สานักงานเขตพ้ืนทีก่ ารศกึ ษามัธยมศกึ ษาเขต ๒๐
สานักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขนั้ พนื้ ฐาน
กระทรวงศึกษาธิการ
รายงานผลการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา (Self-Assessment Report: SAR)
รายงานผลการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา (Self-Assessment Report: SAR)
รายงานผลการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา (Self-Assessment Report: SAR)
รายงานผลการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา (Self-Assessment Report: SAR)
รายงานผลการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา (Self-Assessment Report: SAR)
รายงานผลการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา (Self-Assessment Report: SAR)
รายงานผลการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา (Self-Assessment Report: SAR)
รายงานผลการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา (Self-Assessment Report: SAR)
รายงานผลการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา (Self-Assessment Report: SAR)
รายงานผลการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา (Self-Assessment Report: SAR)
รายงานผลการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา (Self-Assessment Report: SAR)
รายงานผลการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา (Self-Assessment Report: SAR)
รายงานผลการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา (Self-Assessment Report: SAR)
รายงานผลการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา (Self-Assessment Report: SAR)
รายงานผลการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา (Self-Assessment Report: SAR)
รายงานผลการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา (Self-Assessment Report: SAR)
รายงานผลการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา (Self-Assessment Report: SAR)
รายงานผลการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา (Self-Assessment Report: SAR)
รายงานผลการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา (Self-Assessment Report: SAR)
รายงานผลการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา (Self-Assessment Report: SAR)
รายงานผลการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา (Self-Assessment Report: SAR)
รายงานผลการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา (Self-Assessment Report: SAR)
รายงานผลการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา (Self-Assessment Report: SAR)
รายงานผลการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา (Self-Assessment Report: SAR)