The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

นาย พิชนุพันธ์ โทนุบล 633050096-0

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by kcsnz2543, 2021-12-01 04:28:27

นาย พิชนุพันธ์ โทนุบล 633050096-0

นาย พิชนุพันธ์ โทนุบล 633050096-0

นายพิชนุพันธ์ โทนุบล 633050096-0 เลขที่ 4 PRINTMAKING
FOR TEACHERS


ภาพพิมพ์สำหรับครู

เสนอ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ปัทมพร ทนันชัยบุตร



Title
1 : Collagraph
2 : Monoprint
3 : Woodcut

01

ภาพพิมพ์เทคนิควัสดุปะติด Collograph

จัดอยู่ในกระบวนการภาพพิมพ์จากส่วนร่อง การสร้างแม่พิมพ์เกิดจากการนำเอาเศษวัสดุที่มีลายผิวต่างๆ มาปะติดบน
แม่พิมพ์เช่น ส่วนการพิมพ์สามารถพิมพ์ได้ทั้งผิวส่วนนูนและสามารถพิมพ์ร่วมกับพื้นผิวจากส่วนร่องได้ด้วย

วัสดุอุปกรณ์
กระดาษชานอ้อย สำหรับทำแม่พิมพ์นี้ต้องมีแข็งแรง ไม่บางและหนาจนเกินไป
กาวสำหรับยึดวัสดุให้ติดกับพื้นรอง
วัสดุที่มีพื้นผิวแบบต่าง ๆ เช่น กระสอบ ใบไม้ ผ้าลูกไม้ กระดาษทราย เป็นต้น
สเปร์สีขาวหรือแล็คเกอร์สำหรับเคลือบผิววัสดุ
สีพลาสติกสีขาว

ขั้นตอนการสร้างแม่พิมพ์
1.นำแบบร่างมาร่างโครงสร้างลงบนกระดาษชานอ้อย
2. ตัดเศษวัสดุมา ปะ ติดลงในส่วนโครงสร้างให้ได้ใกล้เคียงกับแบบร่าง
3.เมื่อแม่พิมพ์แห้งสนิทให้นำเอาแม่พิม์ไปเข้าแท่นพิมพ์เพื่อรีดให้วัสดุติดกับแม่พิมพ์
4.นำสีพลาสติกสีขาวที่ผสมกาวและน้ำในอัตราส่วน น้ำ 1 ส่วน กาว1 ส่วน สี 1 ส่วน ทาลงบนแม่พิมพ์
และทิ้งไว้ให้แห้ง สีพลาสติกจะช่วยรักษาแม่พิมพ์ให้มีความแข็งแรงมากขึ้น
5.พ่นสีสเปร์บนแม่พิมพ์เพื่อรักษาแม่พิมพ์ให้แข็งแรงและยังช่วยป้องกันไม่ให้แม่พิมพ์ดูดซับหมึกและง่ายต่อการล้าง
ทำความสะอาดแม่พิมพ์

02

การพิมพ์

ในการพิมพ์เทคนิคนี้สามารถพิมพ์ได้ 3 แบบ ดังนี้

1.การพิมพ์จากส่วนนูน
- นำสีมากลิ้งบนแม่พิมพ์ สีจะติดบริเวณผิวส่วนบนของวัสดุ
- นำไปเข้าแท่นพิมพ์
2.การพิมพ์จากส่วนร่อง
- นำหมึกพิมพ์มาอุดลงบนแม่พิมพ์
- เช็ดหมึกที่ติดอยู่บนผิวส่วนบนและผิวส่วนร่องที่ไม่ต้องการออก
ด้วยผ้าสารูหรือผ้าขาวบางและเช็ดหมึกครั้งสุดท้าย
ด้วยกระดาษลอกลาย
- เตรียมกระดาษพิมพ์งานโดยทำการชื้นกระดาษ
- นำไปพิมพ์ตามขั้นตอนการพิมพ์
3.การพิมพ์ผสมทั้งการพิจากส่วนนูนและส่วนร่อง
- เป็นการพิมพ์จากพื้นผิวส่วนบนและส่วนร่องให้ปรากฏในผลงาน

ตัวอย่างผลงาน (ของนิสิตสาขาทัศนศิลป์ วิชาเอกศิลปะภาพ
พิมพ์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม)

ช่วงเวลาหนึ่งจนถึงเวลานี้ 03

เทคนิค : Collagraph อุปกรณ์
ขนาด : 21x29.7 1.เก้าลาเท็กซ์
ผู้จัดทำ : นายพิชนุพันธ์ โทนุบล 2.แผ่นบับเบิล
3.กระดาษชานอ้อย
4.สีพิมพ์
5.ลูกกลิ้ง
6.กระดาษนกกระจอก

ขั้นตอนการทำ
1.ร่างรูปคนลงในกระดาษชานอ้อยที่เป็นแม่พิมพ์
2.ใช้กระดาษบางส่วนติดลงตามเส้นร่างคน
เพื่อให้เกิดความนูน
3.ให้บับเบิลวางทับแม่พิมพ์ หลังจากนั้นเอาลูกกลิ้ง
กลิ้งหมึกไปที่แม่แบบเพื่อให้ได้พื้นผิวของบับเบิล

04

พิชพยัคฆ์

เทคนิค : (woodcut)
ขนาด : 21x 29.7
ผู้จัดทำ : นายพิชนุพันธ์ โทนุบล

ขั้นตอนการทำ
1.ร่างรูปลงในกระดาษชานอ้อยที่เป็นแม่พิมพ์
2.ใช้กระดาษบางส่วนติดลงตามเส้นร่างเพื่อให้เกิด
ความนูน
3.ให้บับเบิลวางทับแม่พิมพ์ หลังจากนั้นเอาลูกกลิ้ง
กลิ้งหมึกไปที่แม่แบบเพื่อให้ได้พื้นผิวของบับเบิล

05

ภาพพิมพ์สีน้ำ monoprint

เป็นภาพพิมพ์ชนิดหนึ่งที่สามารถพิมพ์ได้แค่ครั้งเดียว กล่าวคือ ถ้าพิมพ์อีกรอบผลลัพธ์
ที่ได้จะไม่เหมือนเดิมต่างจากภาพพิมพ์อื่นๆหรือชนิดอื่น ที่สามารถพิมพ์ได้ครั้งละมากๆ
และผลลัพธ์ออกมาเหมือนกัน

วัสดุอุปกรณ์
1.แผ่นที่จะสร้างแม่พิมพ์ คือกระจอก ไม้ หรืออะไรก็ได้ที่ต้องการ
เพราะภาพพิมพ์สีน้ำจะแต่งกันที่พื้นผิว
2.สีเชื้อน้ำ สีน้ำ สีโปสเตอร์ หรือสีอะคริลิคเป็นต้น

วิธีการพิมพ์
1.เลือกสีที่ต้องการลงบนแม่พิมพ์
2.ห้ามให้สี่แห้งเพราะเวลาการพิมพ์สีจะไม่ติดกลับกับกระดาษเพราะฉะนั้นเราควรเตรี
ยมสเปย์พ่นน้ำไว้ ใส่บนลงแม่พิมพ์เพื่อไม่ให้แม่พิมพ์อย่างนั้นเอง
3.การพิมพ์ เอากระดาษวางทับบนลงแม่พิมพ์ จากนั้นออกแรงถูให้ทั่วแผ่นกระดาษ
4.ค่อยๆนำกระดาษออกจากแม่พิมพ์

07

ตัวอย่างภาพพิมพ์สีน้ำ monoprint

ศิลปิน : Kardkongta

วิหคโศกี 08

เทคนิค : monoprint วัสดุอุปกรณ์
ขนาด : 21x 29.7 1.แผ่นที่จะสร้างแม่พิมพ์ คือกระจก
ผู้จัดทำ : นายพิชนุพันธ์ โทนุบล 2.สีน้ำ
3.พู่กัน
4.สเปย์พ่นน้ำ
5.กระดาษ100ปอนด์

วิธีการพิมพ์
1.เลือกสีที่ต้องการลงบนแม่พิมพ์
2.ห้ามให้สี่แห้งเพราะเวลาการพิมพ์สีจะไม่ติด
กับกระดาษ เพราะฉะนั้นควรเตรียมสเปย์พ่นน้ำไว้
ใส่บนลงแม่พิมพ์เพื่อไม่ให้แม่พิมพ์อย่างนั้นเอง
3.การพิมพ์ เอากระดาษวางทับบนลงแม่พิมพ์
จากนั้นออกแรงถูให้ทั่วแผ่นกระดาษ
4.ค่อยๆนำกระดาษออกจากแม่พิมพ์

บุหรงรังรอง 06

เทคนิค : monoprint
ขนาด : 21x 29.7
ผู้จัดทำ : นายพิชนุพันธ์ โทนุบล

วัสดุอุปกรณ์
1.แผ่นที่จะสร้างแม่พิมพ์ คือกระจก
2.สีน้ำ
3.พู่กัน
4.สเปย์พ่นน้ำ
5.กระดาษ100ปอนด์

วิธีการพิมพ์
1.เลือกสีที่ต้องการลงบนแม่พิมพ์
2.ห้ามให้สี่แห้งเพราะเวลาการพิมพ์สีจะไม่ติด
กับกระดาษ เพราะฉะนั้นควรเตรียมสเปย์พ่นน้ำไว้
ใส่บนลงแม่พิมพ์เพื่อไม่ให้แม่พิมพ์อย่างนั้นเอง
3.การพิมพ์ เอากระดาษวางทับบนลงแม่พิมพ์
จากนั้นออกแรงถูให้ทั่วแผ่นกระดาษ
4.ค่อยๆนำกระดาษออกจากแม่พิมพ์

09

ภาพพิมพ์แกะไม้ Woodcut

คือศิลปะการพิมพ์แบบนูน (relief printing) โดยที่ภาพที่จะพิมพ์ใช้แกะบนผิวไม้ก่อน ส่วนที่จะ
ปรากฏบนภาพพิมพ์จะเป็นระดับเดียวกับหน้าไม้ ส่วนอื่นที่ไม่ต้องการจะพิมพ์ก็แกะลึกลงไปด้วยสิ่ว
ร่อง ส่วนที่จะให้เป็น "สีขาว" ก็แกะออกไปด้วยมีดหรือสิ่วหน้าแบน เหลือไว้แต่ตัวแบบหรือรูปที่เป็น
"สีดำ" ระดับเดียวกับพื้นผิวของหน้าไม้ รูปที่แกะจะแกะตามยาวของเนื้อไม้ซึ่งต่างจากการภาพพิมพ์
ลายแกะไม้ (wood engraving) ในยุโรปไม้ที่ใช้จะเป็นไม้บีชส่วนในประเทศญี่ปุ่นจะใช้ไม้เชอร์รีเมื่อ
ต้องการพิมพ์ก็จะทาส่วนพิมพ์ด้วยลูกกลิ้งมือ ทำให้หมึกเกาะบริเวณที่ต้องการจะพิมพ์แต่ไม่เกาะบน
ส่วนอื่นๆ ของพิมพ์ที่ไม่ต้องการจะพิมพ์ การพิมพ์หลายสีก็ใช้พิมพ์ไม้หลายพิมพ์แต่ละสีก็จะใช้พิมพ์
ต่างจากสีอื่น
ศิลปะการแกะไม้สำหรับภาพพิมพ์แกะไม้เรียกว่า"การแกะพิมพ์สำหรับภาพพิมพ์แกะไม้"
(xylography) แต่มักจะไม่ใช้กันในการแกะที่แกะเฉพาะแต่ภาพแต่จะใช้สำหรับการแกะพิมพที่มีทั้ง
ตัวหนังสือและภาพ

10

ตัวอย่างภาพพิมพ์แกะไม้ (Woodcut)

ศิลปิน : คัตสึชิกะ โฮกูไซ

ตัวอย่างผลงานศิลปิน
คลื่นยักษ์นอกฝั่ งคานางาวะ เป็นภาพพิมพ์แกะไม้
ขนาดกว้าง 10 นิ้ว ยาว 15 นิ้ว ที่เก็บรักษาอยู่ที่
พิพิธภัณฑ์ศิลปะเมโทรโปลิตัน ในนิวยอร์ก เป็นหนึ่ง
ในผลงานในชุด ทัศนียภาพ 36 มุมของภูเขาฟูจิ
ของคัตสึชิกะ โฮกูไซ ศิลปินชาวญี่ปุ่น เผยแพร่ครั้ง
แรกในปี ค.ศ. 1832 ในยุคเอโดะ
ขนาด: 26 ซม. x 38 ซม.
สร้างเมื่อ: พ.ศ. 2363–พ.ศ. 2374
เป็นส่วนหนึ่งของ: ทัศนียภาพ 36 มุมของภูเขาฟูจิ

11

วัสดุอุปกรณ์

1.แผ่นไม้อัด หรือแผ่นพลาสวูด
2​ .เครื่องมือแกะไม้ที่เป็นตัวU และตัวV
3​ .กระดาษนกกระจอก
4​ .สีที่ใช้ในการพิมพ์

อาหารจานโปรด ขั้นตอนการทำ

เทคนิค : (woodcut) 1. วาดภาพลงบนกระดานไม้อัดตามขนาดที่ต้องการต่อจากนั้นใช้
ขนาด : 21x 29.7 ดินสอEEหรือปากกาเคมีหัวม้าตัด เส้นเพิ่มเติม เพื่อความชัดเจนขณะที่แกะ
ผู้จัดทำ : นายพิชนุพันธ์ โทนุบล ไม้
2. ร่างแบบหรือรูปที่ต้องการแกะโดยใช้เครื่องมือแกะไม้ซึ่งส่วนใหญ่จะใช้
ที่เป็นตัวUและตัวVเป็น ส่วนใหญ่ (รูปที่นามาใช้ในการแกะจะต้องมีลายเส้น
คมชัดและหนาประมาณ 1-3 มิลลิเมตร)
3. เมื่อแกะเสร็จจะได้แม่พิมพ์เสร็จเรียบร้อย
4. ขั้นตอนต่อมาคือการตีสี ใช้ลูกกลิ้งตีสีให้แตก ซึ่งนิยมตีลงบนกระจกหรือ
พื้นที่มีความเรียบ ในทีนี้จะใช้ สีดาสีเดียว เมื่อสีแตกเป็นเนื้อเดียวกัน
5. เมื่อกลิ้งสีจนแตกเป็นเนื้อเดียวกันแล้ว ก็ให้กลิ้งสีลงไปยังแม่พิมพ์ที่เรา
แกะไว้ โดยกลิ้งให้สีติดกับ แม่พิมพ์ทั่วถึงกัน
6. ทาการคว่ากระดาษโดยให้กระดาษอยู่ด้านบน ส่วนแม่พิมพ์อยู่ด้วยล่าง
จากนั้นใช้บาเร็งขูดกระดาษให้ ทั่ว
7. เมื่อขูดสีเสร็จแล้วก็นากระดาษออกแล้วดูผลงานว่าสีติดทั่วทั้งงาน
เรียบร้อย

12

วัสดุอุปกรณ์ เทคนิค : (woodcut) แมวเหงาเจ้า Gonzo
ขนาด : 21x 29.7
1.แผ่นไม้อัด หรือแผ่นพลาสวูด ผู้จัดทำ : นายพิชนุพันธ์ โทนุบล
2​ .เครื่องมือแกะไม้ที่เป็นตัวU และตัวV
3​ .กระดาษนกกระจอก
​4.สีที่ใช้ในการพิมพ์

ขั้นตอนการทำ

1. วาดภาพลงบนกระดานไม้อัดตามขนาดที่ต้องการต่อจากนั้นใช้ดินสอEEหรือ
ปากกาเคมีหัวม้าตัด เส้นเพิ่มเติม เพื่อความชัดเจนขณะที่แกะไม้
2. ร่างแบบหรือรูปที่ต้องการแกะโดยใช้เครื่องมือแกะไม้ซึ่งส่วนใหญ่จะใช้ที่เป็น
ตัวUและตัวVเป็น ส่วนใหญ่ (รูปที่นามาใช้ในการแกะจะต้องมีลายเส้นคมชัด
และหนาประมาณ 1-3 มิลลิเมตร)
3. เมื่อแกะเสร็จจะได้แม่พิมพ์เสร็จเรียบร้อย
4. ขั้นตอนต่อมาคือการตีสี ใช้ลูกกลิ้งตีสีให้แตก ซึ่งนิยมตีลงบนกระจกหรือ
พื้นที่มีความเรียบ ในทีนี้จะใช้ สีดาสีเดียว เมื่อสีแตกเป็นเนื้อเดียวกัน
5. เมื่อกลิ้งสีจนแตกเป็นเนื้อเดียวกันแล้ว ก็ให้กลิ้งสีลงไปยังแม่พิมพ์ที่เราแกะ
ไว้ โดยกลิ้งให้สีติดกับ แม่พิมพ์ทั่วถึงกัน
6. ทาการคว่ากระดาษโดยให้กระดาษอยู่ด้านบน ส่วนแม่พิมพ์อยู่ด้วยล่าง จาก
นั้นใช้บาเร็งขูดกระดาษให้ ทั่ว
7. เมื่อขูดสีเสร็จแล้วก็นากระดาษออกแล้วดูผลงานว่าสีติดทั่วทั้งงานให้
เรียบร้อย

13

วัสดุอุปกรณ์

1.แผ่นไม้อัด หรือแผ่นพลาสวูด
2​ .เครื่องมือแกะไม้ที่เป็นตัวU และตัวV
3​ .กระดาษนกกระจอก
​4.สีที่ใช้ในการพิมพ์

KON E-SAN ขั้นตอนการทำ

เทคนิค : (woodcut) 1. วาดภาพลงบนกระดานไม้อัดตามขนาดที่ต้องการต่อจากนั้นใช้ดินสอEEหรือ
ขนาด : 21x 29.7 ปากกาเคมีหัวม้าตัด เส้นเพิ่มเติม เพื่อความชัดเจนขณะที่แกะไม้
ผู้จัดทำ : นายพิชนุพันธ์ โทนุบล 2. ร่างแบบหรือรูปที่ต้องการแกะโดยใช้เครื่องมือแกะไม้ซึ่งส่วนใหญ่จะใช้ที่เป็น
ตัวUและตัวVเป็น ส่วนใหญ่ (รูปที่นามาใช้ในการแกะจะต้องมีลายเส้นคมชัด
และหนาประมาณ 1-3 มิลลิเมตร)
3. เมื่อแกะเสร็จจะได้แม่พิมพ์เสร็จเรียบร้อย
4. ขั้นตอนต่อมาคือการตีสี ใช้ลูกกลิ้งตีสีให้แตก ซึ่งนิยมตีลงบนกระจกหรือ
พื้นที่มีความเรียบ ในทีนี้จะใช้ สีดาสีเดียว เมื่อสีแตกเป็นเนื้อเดียวกัน
5. เมื่อกลิ้งสีจนแตกเป็นเนื้อเดียวกันแล้ว ก็ให้กลิ้งสีลงไปยังแม่พิมพ์ที่เราแกะ
ไว้ โดยกลิ้งให้สีติดกับ แม่พิมพ์ทั่วถึงกัน
6. ทาการคว่ากระดาษโดยให้กระดาษอยู่ด้านบน ส่วนแม่พิมพ์อยู่ด้วยล่าง จาก
นั้นใช้บาเร็งขูดกระดาษให้ ทั่ว
7. เมื่อขูดสีเสร็จแล้วก็นากระดาษออกแล้วดูผลงานว่าสีติดทั่วทั้งงานให้
เรียบร้อย

14

วัสดุอุปกรณ์

1.แผ่นไม้อัด หรือแผ่นพลาสวูด
2​ .เครื่องมือแกะไม้ที่เป็นตัวU และตัวV
3​ .กระดาษนกกระจอก
​4.สีที่ใช้ในการพิมพ์

ใต้ร่ม ขั้นตอนการทำ

เทคนิค : (woodcut) 1. วาดภาพลงบนกระดานไม้อัดตามขนาดที่ต้องการต่อจากนั้นใช้ดินสอEEหรือ
ขนาด : 21x 29.7 ปากกาเคมีหัวม้าตัด เส้นเพิ่มเติม เพื่อความชัดเจนขณะที่แกะไม้
ผู้จัดทำ : นายพิชนุพันธ์ โทนุบล 2. ร่างแบบหรือรูปที่ต้องการแกะโดยใช้เครื่องมือแกะไม้ซึ่งส่วนใหญ่จะใช้ที่
เป็นตัวUและตัวVเป็น ส่วนใหญ่ (รูปที่นามาใช้ในการแกะจะต้องมีลายเส้นคม
ชัดและหนาประมาณ 1-3 มิลลิเมตร)
3. เมื่อแกะเสร็จจะได้แม่พิมพ์เสร็จเรียบร้อย
4. ขั้นตอนต่อมาคือการตีสี ใช้ลูกกลิ้งตีสีให้แตก ซึ่งนิยมตีลงบนกระจกหรือ
พื้นที่มีความเรียบ ในทีนี้จะใช้ สีดาสีเดียว เมื่อสีแตกเป็นเนื้อเดียวกัน
5. เมื่อกลิ้งสีจนแตกเป็นเนื้อเดียวกันแล้ว ก็ให้กลิ้งสีลงไปยังแม่พิมพ์ที่เราแกะ
ไว้ โดยกลิ้งให้สีติดกับ แม่พิมพ์ทั่วถึงกัน
6. ทาการคว่ากระดาษโดยให้กระดาษอยู่ด้านบน ส่วนแม่พิมพ์อยู่ด้วยล่าง จาก
นั้นใช้บาเร็งขูดกระดาษให้ ทั่ว
7. เมื่อขูดสีเสร็จแล้วก็นากระดาษออกแล้วดูผลงานว่าสีติดทั่วทั้งงานเให้
เรียบร้อย

15

อ้างอิง

ภาพพิมพ์ ทัศนศิลป์. (2564). Collograph = ภาพพิมพ์เทคนิควัสดุปะติด. ​
สืบค้นเมื่อ 24 พฤาจิกายน 2564.

แหล่งที่มา : http://53010610041.blogspot.com/2012/09/collograph.html
วรรณธนา จิรมหาศาล. (มปป). ขั้นตอนการทาภาพพิมพ์แกะไม้.
สืบค้นเมื่อ 24 พฤาจิกายน 2564

แหล่งที่มา : http://www.thaischool.in.th/_files_school/10106250/data/
1010 6250_1_ 20170127-133653.pdf


Click to View FlipBook Version