รายงานโครงงานสำรวจ
เรื่อง
การทำขลุย่ บ้านลาว กรณศี ึกษาชมุ ชนบางไสไ้ ก่
คณะผู้ทำโครงงาน
นาย สุกฤต อสิ มาแอล เลขท่ี 3 ม.4/6
นางสาว แพรพยิ ดา อินทะหอม เลขที่ 18 ม.4/6
นางสาว สนุ นั ทา คำสวัสดิ์ เลขที่ 20 ม.4/6
นางสาว ชนญั ชิดา เฉลิมรตั นโกมล เลขที่ 22 ม.4/6
นางสาว เบญจวรรณ อธคิ มประภา เลขท่ี 30 ม.4/6
นางสาว วรรณวสิ า หวังกุลกลาง เลขท่ี 34 ม.4/6
ครทู ป่ี รึกษา
ครูภูษณทัศ ผลทับทมิ ธนา
โรงเรยี นชิโนรสวทิ ยาลยั
รายงานโครงงานนเี้ ป็นส่วนประกอบหนง่ึ ของรายวิชา ธนบุรีของเรา
ระดบั ชั้นมัธยมศึกษาปที ี่ 4 ภาคเรยี นที่ 2 ปกี ารศกึ ษา 2563
1
หัวขอ้ โครงงาน การศกึ ษาการทำขล่ยุ บา้ นลาว กรณศี ึกษาชมุ ชนบางไสไ้ ก่
ผูจ้ ัดทำ นาย สกุ ฤต อิสมาแอล
นางสาว แพรพิยดา อินทะหอม
นางสาว สุนนั ทา คำสวสั ดิ์
นางสาว ชนญั ชิดา เฉลมิ รตั นโกมล
นางสาว เบญจวรรณ อธคิ มประภา
นางสาว วรรณวสิ า หวังกลุ กลาง
ระดบั ชั้น มธั ยมศกึ ษาปีที่ 4/6
ที่ปรกึ ษา ครภู ูษณทัศ ผลทับทมิ ธนา
สถานศึกษา ชโิ นรสวิทยาลยั
ปี พ.ศ. 2563
บทคดั ย่อ
การทำโครงงานครง้ั นี้เปน็ การศึกษาเก่ยี วกบั ชุมชนบางไส้ไก่ โดยมวี ตั ถุประสงคเ์ พ่อื ศกึ ษาการทำขลุ่ย
บา้ นลาว ในชมุ ชนบางไส้ไก่ เเขวงหริ ญั รจู ี เขตธนบุรี กรงุ เทพมหานคร โดยดำเนนิ การระยะเวลาประมาณ 10
สัปดาห์ และได้มีการใหท้ ำแบบสอบถามความคดิ เหน็ ที่มตี อ่ ชมุ ชนบางไส้ไก่ ด้วยแบบสอบถามแบบ Google
Form
พบว่า ชมุ ชนบางไส้ไก่ มีช่ือเสยี งทางขล่ยุ บ้านลาวทเ่ี ป็นภูมปิ ญั ญาประจำชุมชนบางไสไ้ กท่ ี่นา่ สนใจเปน็
อย่างมาก ทำให้ทางผู้จัดทำไดม้ กี ารศึกษาเกี่ยวกับชมุ ชนบางไสไ้ ก่ต้ังแต่ประวตั ิความเปน็ มาตลอดจน การทำ
ขลุ่ยบ้านลาว และพบว่าการทำขลุย่ นีส้ ามารถนำไปต่อยอดและพฒั นาไดอ้ กี หากได้รบั การสนับสนนุ ทด่ี ี
2
กิตตกิ รรมประกาศ
โครงงานน้สี ำเรจ็ ลลุ ว่ งได้ด้วยความกรุณาจาก ครภู ูษณทัศ ผลทับทิมธนา ครทู ี่ปรกึ ษาโครงงานท่ีได้ให้
คำเสนอแนะ แนวคิด ตลอดจนแก้ไขข้อบกพร่องต่าง ๆ มาโดยตลอด จนโครงงานเล่มนี้เสร็จสมบูรณ์ ผู้จัดทำ
จงึ ขอกราบขอบพระคุณเปน็ อยา่ งสูง
ขอกราบพระคณุ พ่อ คณุ แม่ และผ้ปู กครอง ทใี่ ห้คำปรกึ ษาเรื่องต่าง ๆ รวมทั้งเปน็ กำลังใจทด่ี เี สมอมา
ขอขอบคณุ เพ่อื น ๆ ที่ชว่ ยใหค้ ำแนะนำดี ๆ เกีย่ วกบั ชุมชนบางไสไ้ กแ่ ละโครงงานนี้
สุดท้ายนี้ขอขอบคุณทุกคน ที่ได้ให้ความร่วมมือในการทำแบบสอบถามเรื่องชุมชนบางไส้ไก่ จนทำให้
โครงงานสำเรจ็ ลุลว่ งไปได้
สุกฤต อสิ มาแอล
แพรพิยดา อินทะหอม
สนุ นั ทา คำสวสั ด์ิ
ชนัญชดิ า เฉลิมรตั นโกมล
เบญจวรรณ อธิคมประภา
วรรณวิสา หวังกุลกลาง
3
สารบญั หน้า
2
บทคดั ย่อ 3
กติ ตกิ รรมประกาศ 4
สารบญั 5
บทที่ 1 บทนำ 5
5
ทีม่ าและความสำคญั ของโครงงาน 5
วตั ถปุ ระสงค์ 6
สมมตุ ิฐานของการศกึ ษาคน้ คว้า 6
ตวั แปรท่ีเกยี่ วข้อง 6
ขอบเขตของการศกึ ษาคน้ ควา้ 7
นยิ ามศพั ท์เฉพาะ 12
บทท่ี 2 เอกสารท่ีเก่ยี วข้อง 12
บทท่ี 3 วิธกี ารศกึ ษาและเครือ่ งมือในการศกึ ษา 12
เครอื่ งมอื อุปกรณ์ และวัสดทุ ใ่ี ชใ้ นการศึกษา 13
วิธีการศกึ ษา 14
บทที่ 4 ผลการศึกษาและอภิปรายผลการศกึ ษา 14
บทที่ 5 สรุปผลการศึกษา 14
ประโยชนท์ ่ีได้รับ 15
ขอ้ เสนอแนะ 16
เอกสารอ้างองิ
ภาคผนวก
4
บทที่ 1
บทนำ
ทมี่ าและความสำคัญของโครงงาน
ชุมชนบางไส้ไก่บ้านสมเด็จ หรือ “หมู่บ้านลาว” มีประวัติที่ยาวนานกว่า 200 ปี การตั้ง
“หมู่บ้านลาว” นั้นเกิดจากการอพยพของบรรพบุรุษชาวลาวเวียงจันทร์ ถึงสองครั้งด้วยกัน จนเป็นชุมชนบาง
ไส้ไก่ในปัจจุบัน ทั้งนี้ชุมชนบางไส้ไก่ยังมีสิ่งที่น่าสนใจ เช่น วัฒนธรรม ภูมิปัญญา เเละสถานที่สำคัญ อันเกิด
จากการผสมผสานศาสนาและวัฒนธรรมที่หลากหลายจนทำให้ชุมชนบางไส้ไก่โดดเด่นขึ้นมาในหมู่ชุมชนที่มี
ความหลากหลายสูงท้งั ทางเชอ้ื ชาติและศาสนา
เน่ืองจากชุมชนบางไสไ้ ก่มภี ูมปิ ัญญาท่ีน่าสนใจ คือ ขลุ่ยบา้ นลาว การทำขล่ยุ ของชุมชนบางไสไ้ กม่ ักจะ
ทำมาจากไม้ไผ่ที่ได้มาจากธรรมชาติ กรรมวิธีในการทำขลุ่ย โดยคนสมัยก่อนได้มีการใช้สารตะกั่วในการทำ
ลวดลายต่าง ๆ ก่อนที่จะปรับเปลี่ยนกรรมวิธีการทำลวดลาย ให้ปลอดภัยมากยิ่งขึ้น ปจจุบันนี้การทำขลุ่ยแต่
ละครงั้ นนั้ ต้องทำอย่างพิถีพถิ ันและมีกรรมวธิ ีทำหลากหลายข้นั ตอน จึงใช้เวลาในการทำขลุ่ยนานกว่าจะได้แต่
ละเลา ที่สำคัญเป็นสิ่งที่คิดมาจากภูมิปัญญา คณะผู้จัดทำเห็นว่าการทำขลุ่ยบ้านลาวนั้นเป็นภูมิปัญญาอย่าง
หนึ่งที่หาดูได้ยากมากในปัจจุบัน เพราะค่อยๆ ลดหายไปจากสังคม ดังนั้น เราจึงควรที่จะหันมาอนุ รักษ์ หวง
แหน ภูมิปญั ญานเี้ อาไว้ เพื่อให้เยาวชนรุ่นหลงั ได้เห็น ไดป้ ฏิบัติสบื เจตนารมณข์ องตนรุน่ กอ่ นๆ จงึ ทำการศึกษา
เพือ่ จะนำมาเผยแพรแ่ กท่ ่านผทู้ ่สี นใจ
วัตถุประสงค์โครงงาน
1. เพอ่ื ศกึ ษาความเปน็ มาเเละวถิ ชี ีวิตของชมุ ชนบางไส้ไกใ่ นอดตี เเละในปจั จบุ นั ชุมชนบางไสไ้ ก่มี
ความเปลี่ยนเเปลงอยา่ งไร
2. เพอ่ื ศึกษาวิธีการทำขลยุ่ เเละสถานทสี่ ำคญั ทมี่ อี ยใู่ นชมุ ชนบางไส้ไก่
3.เพ่ือใหค้ นร่นุ หลงั รู้จักการทำขล่ยุ ของชมุ ชนบางไส้ไก่
สมมุติฐานของการศึกษาโครงงาน
ชาวบ้านในชมุ ชนบางไสไ้ ก่มวี ธิ ีการทำขล่ยุ ต่างจากอดีตอยา่ งไร และ ทำไมชาวบ้านในชุมชนบางไส้ไก่
ถึงมผี ู้ทสี่ ามารถทำขลยุ่ ได้น้อยลง
5
ขอบเขตของการศกึ ษาโครงงาน
เพ่ือศกึ ษาขลยุ่ บา้ นลาว ในชุมชนบางไส้ไก่ เเขวงหริ ัญรจู ี เขตธนบรุ ี กรงุ เทพมหานคร ซง่ึ ดำเนินการ
ภายในเวลาประมาณ 10 สัปดาห์
นยิ ามศพั ทเ์ ฉพาะ
หมู่บา้ นลาว คอื คำทีไ่ ด้มาจากบรรพบรุ ษุ ของชุมชนบางไส้ไกเ่ ปน็ ชาวลาวทถ่ี กู ต้อนมาจากเวยี งจันทร์
เเละไดต้ ้ังรกรากบริเวณคลองบางไส้ไก่
ขลยุ่ บ้านลาว คอื ขลยุ่ ทท่ี ำมอื จากไมร้ วก ซง่ึ มเี สยี งท่ไี พเราะ มลี วดลายทเี่ ปน็ เอกลักษณ์ เเต่มีลวดลาย
หลกั ๆ 7 ลาย ไดเ้ เก่ ลายดอกพิกลุ ลายรดน้ำ ลายรมดำ ลายหิน ลายกระจบั ลายหกคะเมน ลายตลก
6
บทที่ 2
เอกสารที่เก่ียวข้อง
ประวตั ิและความเป็นมา
ชุมชนบางไส้ไก่บ้านสมเดจ็ หรือเรียกตามภาษาชาวบ้านว่า “หม่บู ้านลาว” มปี ระวัตยิ าวนานกว่า 200
ปีตามที่ผู้สูงอายุท่านได้เล่าต่อ ๆกันมาว่า แต่เดิมที่ดินบริเวณนี้เป็นป่ารกร้าง มีต้นไม้สูงใหญ่อยู่มากมาย เช่น
ต้นตะเคียน ต้นประดู่ ต้นโพธิ์ เป็นต้น การตั้ง “หมู่บ้านลาว” นี้ เกิดจากการอพยพของครอบครัวชาวลาว
เวียงจันทน์ (ประเทศลาว) ถงึ 2 ครง้ั ด้วยกันดังนี้
ครั้งแรก เกิดขึ้นในสมัยพระเจ้าตากสินมหาราชแห่งกรุงธนบุรี พ.ศ.2321 ได้ให้เจ้าพระยามหากษัตริย์
ศึกยกทพั ไปตีนครเวยี งจันทนซ์ ึ่งตรงกับสมัยพระเจ้าศิรบิ ุญสารครองราชสมบตั ิในอาณาจักรล้านช้างเวยี งจันทน์
ซง่ึ ไมใ่ หค้ วามรว่ มมือกบั กองทัพไทยในการยกทพั ไปปราบปรามพมา่
ในปีพ.ศ.2322 เจ้านันทเสนจึงตกลงใจเปิดประตูเมืองให้กองทัพไทยเข้ายึดเมืองเอาไว้ได้ ทำให้
อาณาจักรล้านช้างเวียงจันทน์ได้สูญเสียเอกราชให้แก่ไทยในปีนั้น ครั้งนั้นเจ้าพระยามหากษัตริย์ศึกได้อัญเชิญ
พระแก้วมรกต ซึ่งเป็นพระคู่บ้านคู่เมืองของอาณาจักรล้านช้างมาประดิษฐานในไทย รวมทั้งได้กวาดต้อน
ครอบครัวชาวลาวเวยี งจันทน์บางส่วนเขา้ มาดว้ ย ทางการไทยไดใ้ หม้ าตั้งถนิ่ ฐานท่ี “หมบู่ ้านลาว” แหง่ น้ี
ครั้งที่สอง เกิดขึ้นสมัยสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว (รัชกาลที่3) พ.ศ.2367 เจ้าอนุวงศ์ซึ่งได้
สืบราชสมบัติในอาณาจักรล้านช้างเวียงจันทน์ต่อจากเจ้าอินทวงศ์ (พระเชษฐา) ได้พยายามกอบกู้อิสรภาพคืน
จากไทย แต่ไมป่ ระสบผลสำเร็จ ในครัง้ น้นั เรียกวา่ “สงครามเจา้ อนวุ งศ”์ เกิดขน้ึ ในระหวา่ งปพี .ศ.2367-2371
ผลของสงครามครั้งนั้นทางการไทยได้ทำลายนครเวียงจันท์จนหมดสิ้น เหลือไว้เพียงแต่หอพระแก้ว
และวัดสีสะเกดเท่านั้น ครอบครัวชาวลาวเวียงจันทน์และชาวลาวฝั่งซ้ายของแม่น้ำโขงทั้งหมดได้ถูกกวาดต้อน
เข้ามาตั้งถิ่นฐานในภาคกลางและภาคตะวันออกเฉียงเหนือของไทย และบางส่วนก็ให้มาสมทบตั้งถิ่นฐานอยู่ที่
"หมูบ่ ้านลาว"แหง่ น้ี
ขอบคุณทม่ี าจาก : page Facebook ชมุ ชนบางไส้ไก่
7
ทมี่ าของขลยุ่ บา้ นลาว
ในสมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวรัชกาลที่ 4 พระบาทสมเด็จพระปิ่นเกล้าเจ้าอยู่หัว
พระองค์ทรงโปรดการขับร้องแอ่วเพลงลาวและการเปา่ แคนซงึ่ เป็นศิลปะประจำชาติของลาวอยา่ งมากพระองค์
ทรงขับร้องแอ่วเพลงลาวและเป่าแคนเป็นประจำทุกวันชาวลาวที่ถูกกวาดต้อนมาเป็นเชลยและไพร่นั้นทำแคน
และขลุ่ยกันแทบทุกบ้านคนไทยได้หันมานิยมเป่าแคนกันมากขึ้นละทิ้งการละเล่นของไทยและดนตรีไทยจนทำ
ให้พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอย่หู ัวทรงเกรงวา่ ดนตรขี องลาวจะมีอิทธพิ ลเหนอื ดนตรีไทยเพราะลาวเป็น
ข้าของไทยดงั พระราชดำริ
ต่อมาพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวได้ออกประกาศห้ามมิให้มีการเล่นแอ่วลาวเป่าแคนโดย
ประกาศเมื่อวนั ศกุ รเ์ ดือน 12 แรม 14 คำ่ ปีฉลสู ัปตศกตรงกับ พ.ศ. 2401
เมื่อพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวได้ประกาศห้ามมิให้มีการเล่นแอ่วลาวเป่าแคนแล้วลาวบางไส้
ไก่ก็เลิกการทำแคนเพราะไม่มีผู้เล่นแคนชาวลาวบางไส้ไก่จึงหันมาทำขลุ่ยแทนจนถึงสมัยพระบาทสมเด็จพระ
จุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวรัชกาลที่ 5 ได้มีเจ้านายในสายสกุลสนิทวงศ์พระองค์หนึ่งทรงพระนามว่าพระองค์เจ้า
สนิทพงษ์พัฒนเดชพระโอรสในพระเจ้าบรมวงศ์เธอกรมหลวงวงศาธิราชสนิทกรมวังที่ประทั บอยู่ริมคลองบาง
หลวงซ่ึงอยใู่ กลก้ บั คลองบางไส้ไกพ่ ระองค์เจ้าสนทิ พงษพ์ ฒั นเดชทรง
โปรดดนตรีไทยมากได้ทรงประทานคำแนะนำการทำขลุ่ยให้กับชาวลาวบางไส้ไก่ชาวบ้านลาวบางไส้ไก่
เรียกพระองค์เจ้าสนิทพงษ์พัฒนเดชว่าหม่อมเจ้าตุ้มพระองค์เจ้าสนิทพงษ์พัฒนเดชประสูติเมื่อวันที่ 17
ธันวาคม พ.ศ. 2418 ในสมัยรัชกาลที่ 5 ได้รับการสถาปนาเป็นพระเจ้าวรวงศ์เธอพระองค์เจ้าสนิทพงษ์พัฒน
เดชเมื่อพ.ศ. 2467 ทรงสำเร็จการศึกษาจากโรงเรียนพระตำหนักสวนกุหลาบรับราชการในกระทรวง
ต่างประเทศกระทรวงพระคลังมหาสมบัติและกระทรวงทหารเรือตามลำดับดำรงตำแหน่งปลัดทูลฉล อง
กระทรวงทหารเรือและสุดท้ายดำรงตำแหน่งเป็นรองเสนาบดีกระทรวงทหารเรือสิ้นพระชนม์ในรัชกาลที่ 8
เม่อื วันท่ี 17 กนั ยายน พ.ศ. 2481 พระชันษา64 ปี
ปรากฏว่าขลุ่ยของบ้านลาวบางไส้ไก่มีคุณภาพมากขึ้นกว่าเดิมและเป็นที่ต้องการของนักดนตรีในยุคนั้น
อยา่ งแพรห่ ลายและต่อมาขลุ่ยของบ้านลาวบางไส้ไก่ได้รับความนิยมเพ่ิมขึ้นอย่างรวดเร็วและแพร่หลายออกไป
ในวงการดนตรไี ทยและทำให้เพื่อการขายเพิ่มมากข้นึ และคุณภาพดขี ึน้ จนกระทัง่ ถงึ ปัจจุบนั น้ี
ขอบคณุ ท่มี าจาก : โครงงานวจิ ยั หัตถกรรมไทย ความเป็นมาและการผลติ ในปัจจบุ นั
8
วธิ ีการทำขลุ่ย
วสั ดุอปุ กรณใ์ นการทำขล่ยุ
1. ไมร้ วกใช้ไมไ้ ผส่ ีสุกไผส่ ีสุกเปน็ ไมไ้ ผ่ท่มี ผี ิวสวยขนาดของปล้องและรูพอเหมาะ
2. ทราย
3. อิฐมอญในละเอียด
4. กาบมะพร้าว
5. นำ้ มันหมูหรือน้ำมนั พชื
6. ไม้สอดจบั ขลยุ่ ไวใ้ ชเ้ วลาเทตะกว่ั ทำลวดลาย
7. ตะกว่ั
8. กระทะ
9. เตา
10 สวา่ น
11. เหล็กเจาะเหล็กกระทงั่
12. มดี เหลก็ ปลายแหลมสำหรบั เจาะปากนกแก้ว
13. มีดตอกสำหรับแกะดากปากขลยุ่
14. ขผี้ ึง้
15. ตะหลวิ
16. เลื่อย
17 เหล็กแหยขผี้ ้งึ
ขัน้ ตอนการทำขลุ่ยของชมุ ชนบางไส้ไก่
ข้นั ตอนในการทำขลยุ่ ของชุมชนบางไสไ้ กไ่ ว้อยา่ งละเอียดทกุ ขน้ั ตอนดังน้ี
1.ระบบภายนอกเร่ิมต้นการทำเน้ือไม้ใหแ้ หง้ คดั เลอื กขนาด ขัดเงา ทำลาย
2.ระบบภายในเรม่ิ ดว้ ยระยะส่วนเจาะรู แกะปากนกแกว้ ใสเ่ สยี ง และปรบั แตง่ เสียงเป็นขน้ั ตอน
สุดท้าย
เตรยี มไมด้ ้วยการผึง่ แดด
เมอื่ จะนำไมไ้ ผ่รวกมาทำขล่ยุ น้นั ตอ้ งแน่ใจเสยี ก่อนว่าเนอ้ื ไมแ้ ห้งสนทิ ดีจริง เพราะความแหง้ หรือ
สดของเนื้อไมม้ ีผลกบั เสียงขลุ่ยและสภาพอายุการใชง้ านโดยตรง
9
คัดเลือกขนาด
ต้องการจะทำขลุ่ยประเภทใดเมื่อไรจึงจะคัดเลือกไปใช้โดยพิจารณาตามขนาดความยาวและความโตของขลุ่ยชนิด
นัน้ ๆ เป็นเกณฑ์ การพจิ ารณาเน้ือไม้ก็มคี วามสำคัญดว้ ยเชน่ เดียวกัน
ขัดผวิ
นำมาชดั ผิวให้สะอาดหมดจดปราศจากคราบลกปรกทจ่ี ับ ติดอยโู่ ดยรอบ อุปกรณส์ ำคัญที่ใช้ในการขัด
ผิวนี้สมัยกอ่ นนยิ มใช้ "ดนิ ส้ม" เปน็ ตัวยาสำคัญ มีฝอยเปลอื กมะพร้าวเป็นตัวขัดถู
เทลาย
การทำลวดลายขลุ่ยก็คือกรรมวิธีทำผิวไม้ให้เป็นรอยไหม้อย่างสวยงาม ด้วยความร้อนที่อุณหภูมิ
พอเหมาะ อุปกรณ์ที่สำคัญที่ใช้ในขั้นตอนนี้ก็มตี ะกั่ว ซึ่งนำมาใสกระทะตั้งบนเตาไฟหลอมเหลวช้อนเทลาย ใช้
สำหรบั ตกั ตะกวั่ เทหยอดให้เปน็ ลายต่าง ๆ ตามต้องการ ในการเทลายขลยุ่ ชา่ งจะมีท่อนไมก้ ลมโตยาวพอขนาด
มือจับถือเป็นด้ามสวมเข้าทางปลายด้าน ที่จะทำเป็นปากเป๋าวางเลาขลุ่ยพาดบนขอบกระทะพร้อม ๆ กับที่มือ
ขา้ งหนึง่ พลิกหมุนเลาขลยุ่ ไปมามือ หนึ่งกจ็ ับช้อนตักตะกัว่ เทราดรดลงบนเลาขลยุ่
ช่างจะใช้ "รง" เขยี นเป็นลวดลายตา่ ง ๆ ตามทอ่ี อก แบบในลักษณะเดียวกบั ทใี่ ช้ในการเขยี นจิตรกรรม
จากนั้นจะนำขลุ่ยเลานั้นไปลนไฟที่ให้ความร้อนจาก กำมะถัน ซึ่งเปลวไฟต้องนิ่งและให้อุณหภูมิที่พอเหมาะ
สมำ่ เสมอตลอดทัง้ เลาขลยุ่
ขีดเส้นกะลาย
ภายหลังจากเทลายแล้ว ช่างจะนำไม้นั้นมาวัดระยะทำเครื่องหมายแบ่งเป็นส่วนต่าง ๆ เพื่อ เตรียม
สำหรับเจาะรูในขั้นต่อไป ในการวัดระยะนี้จะมีอุปกรณ์สำหรับเป็นแม่แบบอยู่อันหนึ่ง เรียกว่า "ส่วน" ขอบ
ของส่วนจะถูกบากเป็นรูปสามเหลี่ยมเล็ก ๆ ทำรอยให้เห็นชัดเจน ส่วนนี้จะมีหลายขนาดตามแต่ระดับ เสียง
ของขลุยประเภทต่าง ๆ
เจาะรู
การเจาะรูขลุ่ยในสมัยก่อนใช้สว่านมือและเหล็กเผาไฟร้อนเป็นเครื่องเจาะ แต่ในปัจจุบัน เทคโนโลยี
พัฒนาขึ้นมากกว่าเดิม ช่างจึงนำสว่านไฟฟ้ามาใช้แทน แต่บางรายก็ยังคงใช้สว่านมีออยู่ตามเดิม มีรูต้องเจาะ
ครัง้ ละ 14 รู รรู ะดับเสียงของขลุย่ แต่ละประเภทจะมีขนาดใหญเ่ ลก็ ไมเ่ ท่ากัน
แกะปากนกแก้ว
หลังจากเจาะรูกลมขนาดเล็กเป็นการเริ่มต้นแล้ว ช่างจะใช้มีดขนาดเล็กพอเหมาะมือมีคมเฉียบ บาง
ค่อย ๆ แกะขยายออกเป็นชอ่ งสี่เหลี่ยมผืนผ้า ขอบล่างทำเปน็ มุมเฉยี งออกมาจากด้านใน แซะปลาย ขอบให้เท
ลาดเป็นทางไปตามผวิ โค้งของเลาขลุย่ สน้ั ยาวพอสวยงาม มลี ักษณะเปน็ แฉกตอนปลายคลา้ ย กบั หางนก
10
ใส่เสยี ง
ในชั้นตอนนี้ช่างจะทำไม้อีกชิ้นหนึ่งซึ่งเรียกว่า "ดาก" ประกอบเข้ากับเลาขลุ่ยเพื่อทำให้เกิดเสียง อาจ
กล่าวว่าเป็นกรรมวิธีสำคัญประการหนง่ึ และถอื วา่ เปน็ หัวใจของการทำขลยุ่
การเหลาไม้ดากจะต้องเหลาให้กลมพอดีหรือใกล้เคียงกับรูด้านในของเลาขลุ่ยมีความยาว เท่ากับ
ระยะห่างจากปลายขลุ่ยต้านเป่ามาถึงช่องของปากนกแก้วด้านหนึ่งของดากปาดออกเป็นช่อง สำหรับเบาลม
ผ่าน ด้านที่ปาดออกนี้เวลาใสจะหันเข้าหาช่องปากนกแก้ว ตอนปลายหน้าตัดของดากจะ มีลักษณะเป็นมุม
โคง้ งนขน้ึ เล็กน้อย เพอ่ื ใหร้ บั กับมุมปากนกแกว้
ขณะที่ใส่ไม้ดากเข้ากับเลาขลุย่ ช่างจะทดลองเปา่ เพ่ือตรวจสอบลมและเสียงขลุย่ ไปพรอ้ ม ๆ กับ ค่อย
ๆ หมุนปรับมุมไม้ดากให้ขนานเข้าหาทำมุมพอดีกับช่องเป่ากนกแก้ว เมื่อได้ที่ดีแล้วจะใช้เหล็กเส้น ยาวท่ี
เรยี กว่า "เหลก็ กระทงุ้ " สอดเข้าทางปลายต้านล่างกระทุ้งไมล้ ่ิมหมุนไม้ดากใหแ้ นน่ กระชับดังย่ิงขึ้น จากน้ันก็จะ
ใส่เทียนไขที่ตัดเป็นชิ้นเล็ก เตรียมไว้แล้วลงไปตรงช่องปากนกแก้ว เอาเหล็กกระทุ้งเผาไฟ จนร้อนแยงเข้าไปจี้
ทำให้เทียนไขหลอมละลายไหลไปฉาบไล้อุดรอยรั่วหรือช่องว่างที่มีอยู่ระหว่างผิว ไม้ดากกับผิวด้านในเลาขลุ่ย
เพ่อื ป้องกันไมใ่ หล้ มทเ่ี ป่าเข้ามาไหลวนเวียนเขา้ ไปตามรอยรวั่
ปรบั แต่งเสียง
การตรวจสอบระดับเสียงขลุ่ยนับว่าเป็นขั้นตอนสุดท้ายของการทำขลุ่ย ซึ่งต้องอาศัยความ ชำนาญ
เกี่ยวกับเสียงขลุ่ยและวิธีการแก้ไขปรับแต่งพอสมควร ช่างจะต้องรู้จักการเป๋าทดลองเสียงในระดับต่าง ( ของ
ขลุ่ยเพื่อตรวจสอบให้แน่ใจว่าเสียงคู่แปด เสียง นิ้วควง นิ้วแทนของขลุ่ยนั้นมีเสียงตรงและผิดเพี้ยนกันน้อย
ท่สี ดุ
ขอบคณุ ที่มาจาก : โครงงานวจิ ยั หัตถกรรมไทย ความเป็นมาและการผลิตในปจั จบุ นั
11
บทที่ 3
วธิ ีดำเนินการทำโครงงาน
วิธีการศกึ ษา
1.ศึกษาและรวบรวมเอกสารเกยี่ วกับส่วนประกอบทจ่ี ะศกึ ษา
2.ศกึ ษาและรวบรวมขอ้ มลู ต่าง ๆท่เี กยี่ วขอ้ งกบั การทำขล่ยุ
3.ทำแบบสอบถาม
4.รวบรวมแบบสอบถามแล้วนำมาวิเคราะห์
เครอื่ งมอื ทใ่ี ชใ้ นการศึกษา
1.แบบสอบถาม
2.บทสัมภาษณบ์ นอินเตอร์เนต็
3.เครอื่ งมอื IT
12
บทที่ 4
ผลการวเิ คราะห์ขอ้ มลู
คณุ เคยไปชุมชนบางไสไ้ กไ่ หม
เคย
ไม่เคย
คุณคดิ วา่ การสัญจรบรเิ วณชมุ ชนบางไสไ้ ก่เปน็ อย่างไร
แออดั รถตดิ หนาแน่น
สะดวกคล่องตัว
เบาบางไมค่ ่อยมีรถสญั จรผา่ น
คณุ คดิ ว่าการจราจร เปน็ อยา่ งไร
ปกติ
แออัด
บางตา
คณุ คิดวา่ ช่วงอายขุ องคนในชุมชนอายุเท่าไหร่
4-17
18-29
30-59
60 ขน้ึ ไป
13
บทที่ 5
สรปุ ผล อภปิ ราย และเสนอแนะ
สรปุ ผลการศกึ ษาโครงงาน
จากการศึกษาชุมชนบางไส้ไก่ พบว่าชาวบ้านในชุมชนบางไส้ไก่ มีภูมิปัญญาที่สืบสืบต่อมาอย่าง
ยาวนาน คือ ขลุ่ยบ้านลาว เป็นเครื่องเป่าชนิดหนึ่ง ซึ่งทำมาจาก ส่วนประกอบของไม้ไผ่ศรีสุก ซึ่งตอนนี้
ค่อนข้างจะหายากแล้ว เพราะการทำลวดลายที่ว่านี้จะต้องนำตะกั่วมาละลายแล้วจึงนำมาราดบนขลุ่ยไม้ไผ่ให้
เกิดเป็นลายแตเ่ นือ่ งสารสะสมจากตะกั่วนั้นเป็นผลร้ายต่อสุขภาพของชาวบ้านในชุมชนจึงเลิกทำขลุ่ยลายน้ีกนั
แต่เน่อื งจากการทำขล่ยุ แตล่ ะคร้ังสามารถทำได้โดยยากจงึ ทำให้ ขลุ่ยบ้านลาวเร่ิมจางหายไป
ประโยชนท์ ่ไี ด้รบั
1. ไดร้ ับทราบขอ้ มลู เกี่ยวกบั ความเป็นมา วถิ ชี ีวติ ตลอดจนผลงานที่เปน็ วฒั นธรรมของชมุ ชนบางไส้ไก่
2. ได้เป็นส่อื ในการชว่ ยอนุรักษว์ ฒั นธรรมของไทย
3. เพ่ือนำข้อมลู มาใชป้ ระโยชนใ์ นการศึกษาเกีย่ วกบั ชุมชนบางไสไ้ ก่
ข้อเสนอแนะ
1. ต้องมีการสนับสนุนขลยุ่ บา้ นลาวให้มากกว่าน้ี
2.อาจนำวสั ดุอยา่ งอนื่ มาทดแทนไม้รวก เช่น ทอ่ PVC พลาสติก
3.ผู้นำของหมบู่ ้านลาวควรจะสนับสนนุ การทำขลุ่ยให้มากข้นึ
14
เอกสารอา้ งองิ
จิราพร เเซเ่ ตียว. “รอยลาวศรีภมู ิถึงลาว บางไส้ไก่”. (ออนไลน์). เขา้ ถงึ ได้จาก:
http://www.muangboranjournal.com/post/roy_thonburi2019 สืบค้น 4 กุมภาพนั ธ์ 2564.
ทายาทตระกูลหย่.ี “ชุมชนบางไสไ้ ก่ กบั การต่อลมหายใจของ ขลุ่ยบา้ นลาว” (ออนไลน)์ . เข้าถงึ ไดจ้ าก :
https://www.bloggang.com/viewdiary.php?id= smalleyedrace&month=12-
2007&date=20&group=3&gblog=8 สืบคน้ 16 กุมภาพนั ธ์ 2564.
โทรนดั เทยี นอดุ ม. “บางที บางหน . กับ . บางคน ณ บางไสไ้ ก”่ . (ออนไลน)์ . เข้าถึงไดจ้ าก :
http://tronutsu.blogspot.com/2015/06/blog-post_23.html สบื ค้น 16 กุมภาพนั ธ์ 2564.
ไทยโพสต.์ “หม่บู ้านลาว ชีวติ ใหม่ใต้รม่ พระบารมี 238 ปี กรุงรตั นโกสินทร์”. (ออนไลน)์ . เข้าถงึ ได้จาก :
https://www.thaipost.net/main/detail/63573 สืบคน้ 15 กมุ ภาพันธ์ 2564.
ธัชกร สุวรรณจรสั เเละคนอน่ื ๆ. “การพัฒนาทักษะทางเทคโนโลยีสารสนเทศเเละการสื่อสารเเบบมีส่วนร่วม
ของชมุ ชนเพอื่ ส่งเสรมิ การตลาดเเละอนุรกั ษภ์ ูมิปัญญาท้องถนิ่ ขลยุ่ บ้านลาว”. ปรญิ ญานพิ นธ์
บณั ฑิต. สาขาวิชาเทคโนโลยเี เละส่ือสารการศกึ ษา. คณะครศุ าสตร์. สถาบันมหาวทิ ยาลัยราชภัฏบ้าน
สมเดจ็ เจ้าพระยา. 2563.
วกิ พิ เี ดีย. “วัดบางไสไ้ ก”่ . (ออนไลน)์ . เข้าถงึ ได้จาก : https://th.m.wikipedia.org/wiki/วัดบางไส้ไก่ สืบค้น
4 กุมภาพันธ์ 2564.
สารคดี. “กำเเพงบา้ นขลยุ่ ”. (ออนไลน์). เขา้ ถงึ ได้จาก : https://www.sarakadee.com/2015/08/18/
kampang-baanklui/ สบื คน้ 4 กมุ ภาพนั ธ์ 2564.
Ban Lao Community. “ประวัติความเปน็ มาของการทำขลยุ่ ในหมู่บา้ นลาว”. (ออนไลน์). เข้าถงึ ไดจ้ าก :
https://sites.google.com/site/banlaocommunity/prawati-chumchn สืบคน้ 16 กุมภาพันธ์
2564.
sanook. “เยอื นถิ่นชา่ งฝีมอื ชมุ ชนวดั บางไส้ไก”่ . (ออนไลน์). เข้าถงึ ไดจ้ าก:sanook.com/travel/533651/
สืบคน้ 4 กุมภาพนั ธ์ 2564.
soraya. “บางไสไ้ ก่ ลมหายใจหลายวัฒนธรรม”. (ออนไลน)์ . เข้าถึงไดจ้ าก :
https://issuu.com/soraya67/docs/sarakadee_bang_saikai สบื คน้ 16 กมุ ภาพันธ์ 2564.
WATTHAI. “วดั บางไส้ไก่”. (ออนไลน์). เขา้ ถงึ ได้จาก : http://watthaiapp.6te.net/ watbangsaikai.html
สืบคน้ 17 กมุ ภาพันธ์ 2564.
15
ภาคผนวก
ภาพขณะทก่ี ำลังทำงานร่วมกัน
16