The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

สรุปผลการขับเคลื่อนการดำเนินงานศูนย์การเรียนรู้ต้นแบบ-Co-Learning-Space

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

สรุปผลการขับเคลื่อนการดำเนินงานศูนย์การเรียนรู้ต้นแบบ-Co-Learning-Space

สรุปผลการขับเคลื่อนการดำเนินงานศูนย์การเรียนรู้ต้นแบบ-Co-Learning-Space

สรุปผลการขบั เคลือ่ นการดำเนินงานศูนย์การเรียนรตู้ ้นแบบ (Co-Learning space) ของหอ้ งสมดุ ประชาชนจังหวัดเลย

คำนำ

รายงานฉบบั นเี้ ปน็ รายงานผลการดำเนินงานการขบั เคลอื่ นการดำเนินงานของศูนยก์ ารเรียนรู้ตน้ แบบ ( Co-
Learning Space ) ห้องสมดุ ประชาชนจงั หวัดเลย ซึ่งเป็นการดำเนนิ งานพัฒนาหอ้ งสมุดประชาชนให้ตอบโจทย์กบั
สภาพสังคมทีเ่ ปลยี่ นเปน็ สงั คมแห่งการเรยี นรู้ท่ไี ด้รับอิทธพิ ลจากการปฏิวตั ทิ างเทคโนโลยีสารสนเทศอย่างรวดเร็ว
สง่ ผลทำใหม้ ีการปรบั เปลย่ี นกระบวนทัศน์ทางการศึกษาไปในทศิ ทางที่เนน้ ความสำคญั ของการเรียนรู้ การเรยี นรู้ใน
ยุคนเี้ กิดข้นึ ได้ทุกท่ีทุกเวลา ด้วยเหตุนี้จึงจำเปน็ ตอ้ งมีความรคู้ วามเขา้ ใจเก่ียวกบั การออกแบบพนื้ ท่ีการเรียนรหู้ รือ
สภาพแวดล้อม การเรียนรู้ท่จี ะช่วยเออ้ื ใหเ้ กิดการเรียนรู้อย่างเต็มศักยภาพ เพ่ือให้สอดคล้องกับวถิ ชี ีวิต การเรยี นรู้
การทำงานของคนในยุคปจั จุบันท่ีเปลีย่ นไป และสำนักงาน กศน. ไดก้ ำหนดนโยบายในการขบั เคล่ือน กศน. สู่
กศน. WOW ของรฐั มนตรีช่วยวา่ การกระทรวงศึกษาธิการ (นางกนกวรรณ วลิ าวัลย์ ) ภายใตแ้ นวคิด Co-
Learning Space โดยการปรบั ปรุงพื้นที่บริการของห้องสมุดประชาชนให้มีการใชป้ ระโยชนใ์ หค้ ้มุ คา่ มากท่สี ดุ ทงั้ ใน
ด้านพ้นื ท่ีและกิจกรรม โดยยึดความตอ้ งการของประชาชนเปน็ หลกั เพื่อต่อยอดการเรยี นรู้ตลอดชวี ติ เรียนไดใ้ นทุก
พื้นท่ี จดั ให้มเี ทคโนโลยีท่เี หมาะสม ได้แก่ อินเทอรเ์ นต็ wifi เครอ่ื งคอมพิวเตอร์ รวมทั้งหนังสือใหม่ๆ ท่สี ามารถอา่ นที่
ห้องสมดุ และยมื ไปอ่านท่บี ้าน มุมกิจกรรมตา่ งๆ มุมเด็ก มุมผ้สู งู อายุ มมุ สร้างสรรค์ และมุมที่สามารถนั่งทำงานได้
เพมิ่ เวลาในการเปิดให้บรกิ าร บริหารจดั การในเรื่องของเจ้าหนา้ ทใ่ี หเ้ พยี งพอ โดยไดร้ ับความรว่ มมอื จากภาคเอกชน
ในการสนับสนุนองค์ความรู้ ตลอดจนหนังสือใหมๆ่ ซง่ึ จากนโยบายและแนวคิดดงั กล่าว ทำให้ห้องสมุดประชาชน
จงั หวัดเลย ไดด้ ำเนินการปรบั พน้ื ท่เี พ่อื การเรยี นรู้ และพฒั นาให้เป็นเป็นศนู ย์การเรียนรู้ต้นแบบ ( Co- Learning
Space ) โดยมีการเพิ่มพื้นท่ีการให้บรกิ ารภายในศนู ยก์ ารเรยี นรตู้ ้นแบบ ( Co- Learning Space ) ประกอบดว้ ย
โซนสง่ เสรมิ การอ่าน คน้ คว้าข้อมลู สื่อ ( Learning Zone ), โซนพักผอ่ นนั่งเลน่ (Relax Zone ) , โซนกาแฟ
(Coffee Zone), โซนกจิ กรรม ( Activities Zone) โซนห้องประชมุ ( Co-Working Zone ) สำหรับบริการการ
เรียนรูร้ ่วมกนั ตามความสนใจและความต้องการของผู้รับบริการการศึกษาตามอธั ยาศยั ทุกชว่ งวยั

โดยเนื้อหาในเลม่ ประกอบด้วย ๕ บท คือ บทนำ ขัน้ ตอนการดำเนนิ งาน สรุปผลการดำเนนิ งาน
ปญั หาอปุ สรรค์และข้อเสนอแนะในการขับเคล่ือนการดำเนินงาน ศนู ย์การเรียนรตู้ ้นแบบ loei Co-Learning Space
และภาคผนวก ซ่งึ การดำเนนิ งานครัง้ นี้ต้องขอขอบคุณท่านผูอ้ ำนวยการสำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและ
การศกึ ษาตามอธั ยาศัยจังหวัดเลย ผ้อู ำนวยการศูนย์การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอเมืองเลย
คณะครูและบุคลากร ผใู้ ช้บริการหอ้ งสมุด ตลอดจนผู้เก่ียวขอ้ งทุกทา่ น ท่ีให้คำปรึกษาและความรว่ มมือในการ
ขับเคลือ่ นการดำเนินงานศนู ย์การเรียนรู้ต้นแบบ loei Co-Learning Space ให้ผ่านลลุ ว่ งไปได้ดว้ ยดี และหวงั ว่า
รายงานฉบับนเี้ ปน็ ประโยชน์ตอ่ การดำเนินงานพัฒนาหอ้ งสมดุ ประชาชนใหเ้ ป็นศนู ยเ์ รยี นรู้ (Co- Learning Space )
ต่อไป

ห้องสมดุ ประชาชนจงั หวดั เลย
กันยายน ๒๕๖๔

เอกสารรายงานผลการขับเคลอ่ื นการดำเนินงาน ศูนยก์ ารเรยี นรตู้ น้ แบบ Loei Co-Learning Space

สรุปผลการขบั เคลอ่ื นการดำเนินงานศูนย์การเรียนรตู้ น้ แบบ (Co-Learning space) ของหอ้ งสมุดประชาชนจงั หวัดเลย

สารบัญ

เรอ่ื ง หน้า
คำนำ

บทที่ ๑ บทนำ ๑๐
บทที่ ๒ ขัน้ ตอนการดำเนนิ งาน ๒๖
บทท่ี ๓ สรปุ ผลการดำเนินงาน ๓๐
บทที่ ๔ ปญั หา อปุ สรรค และข้อเสนอแนะ ๑๔
บทที่ ๕ ภาคผนวก

เอกสารรายงานผลการขับเคลอ่ื นการดำเนินงาน ศนู ยก์ ารเรยี นรตู้ น้ แบบ Loei Co-Learning Space

สรุปผลการขับเคลอื่ นการดำเนินงานศูนยก์ ารเรียนรตู้ น้ แบบ (Co-Learning space) ของห้องสมดุ ประชาชนจงั หวัดเลย ๑

๑. บทนา

๑.๑ แนวคิดการดาเนินงานศนู ยก์ ารเรียนร้ตู ้นแบบ ( Co – Learning Space ) ของห้องสมุด
ประชาชนจงั หวดั เลย

สังคมในปัจจุบันเป็ นสังคมแห่งการเรียนรู้ท่ีได้รบั อิทธิพลจากการปฏิวัติทางเทคโนโลยี
สารสนเทศอย่างรวดเรว็ ส่งผลทาให้มกี ารปรบั เปล่ยี นกระบวนทศั น์ทางการศกึ ษาไปในทศิ ทางทเ่ี น้น
ความสาคญั ของการเรยี นรู้ การเรยี นรใู้ นยุคน้ีเกดิ ขน้ึ ไดท้ ุกทท่ี ุกเวลา ด้วยเหตุน้ีจงึ จาเป็นต้องมคี วามรู้
ความเขา้ ใจเก่ยี วกบั การออกแบบพน้ื ทก่ี ารเรยี นรหู้ รอื สภาพแวดลอ้ ม การเรยี นรทู้ จ่ี ะช่วยเออ้ื ใหเ้ กดิ การ
เรยี นรู้อย่างเต็มศักยภาพ เพ่ือให้สอดคล้องกับวถิ ีชีวิต การเรียนรู้ และการทางานของคนในยุค
ปัจจุบนั ทเ่ี ปล่ยี นไป รูปแบบการทางาน มกั จะไปนัง่ ทางาน อ่านหนังสอื ประชุม หรอื ทางานกลุ่มตาม
สถานท่ีสาธารณะ มากข้นึ ไม่ว่าจะเป็นร้านกาแฟ ห้องสมุด ด้วยเหตุผลหลากหลายไม่ว่าจะเป็น
ต้องการพน้ื ทใ่ี นการสร้างแรงบลั ดาลใจใหม่ ๆ ท่เี อ้อื ต่อการเกดิ แนวคดิ ใหม่ ๆ ในการทางาน หรอื
บางครงั้ จะรสู้ กึ วา่ มสี มาธมิ ากกว่าทบ่ี า้ น ทโ่ี รงเรยี น หรอื ทท่ี างาน แต่พน้ื ทล่ี กั ษณะเชน่ น้ีทม่ี ใี หบ้ รกิ าร
อย่ใู นปัจจุบนั ยงั เป็นขอ้ จากดี ในการเขา้ ถงึ ของหลาย ๆ คน ซ่งึ การบรกิ ารของหอ้ งสมุดประชาชนยงั ไม่
ตอบโจทยส์ าหรบั การทางาน หรอื การอ่านหนงั สอื อย่างมสี มาธิ รวมถงึ สงิ่ อานวยความสะดวกต่าง ๆ
ท่ีมีความทันสมัย เพ่ือสอดคล้องกับสภาพสังคมท่ีเปล่ียนแปลงไปทาให้รูปแบบการเรียนรู้ของ
ผู้รบั บรกิ ารห้องสมุดเปลย่ี นไปดว้ ยคนในปัจจุบนั เปลย่ี นไปมกี ารนาเทคโนโลยมี าใชใ้ นการค้นคว้าหา
ความรู้มากข้ึน และจากการท่ีสานักงาน กศน. กาหนดนโยบายในการปรบั เปล่ียนการให้บรกิ าร
ห้องสมุดประชาชนให้เป็ นแหล่งเรียนรู้ในลักษณะศูนย์การเรยี นรู้ต้นแบบ (Co-learning Space)
นโยบายในการขบั เคล่อื น กศน. สู่ กศน. WOW ของรฐั มนตรชี ่วยว่าการกระทรวงศกึ ษาธกิ าร (นาง
กนกวรรณ วลิ าวลั ย)์ โดยการจดั ใหม้ ศี ูนยก์ ารเรยี นรตู้ ้นแบบ กศน. ใน ๕ ภูมภิ าค เป็น ศูนยเ์ รยี นรู้
ต้นแบบ (Co – Learning Space) และกาหนดใหศ้ ูนยก์ ารเรยี นรตู้ ้นแบบ (Co – Learning Space)
มีพ้ืนท่ีบริการการเรียนรู้ร่วมกันตามความสนใจและความต้องการของผู้รับบริการการศึกษาตาม
อธั ยาศยั ทกุ ชว่ งวยั

ดว้ ยเหตุน้ี ห้องสมุดประชาชนจงั หวดั เลย จงึ จาเป็นต้องปรบั เปล่ยี นและพฒั นารูปแบบการ
เรยี นรูท้ ห่ี ลากหลายเป็นไปตามความตอ้ งการของผรู้ บั บรกิ ารทุกชว่ งวยั ยงิ่ ขน้ึ จงึ ไดน้ าแนวคดิ ดงั กลา่ ว
สกู่ ารพฒั นาปรบั ปรุงหอ้ งสมุดประชาชนซ่ึงมสี ภาพเก่า ขาดการใหบ้ รกิ ารเทคโนโลยที ท่ี นั สมยั สภาพ
ภายในไม่ความทนั สมยั น่าใช้บรกิ าร ให้กลายเป็นศูนยก์ ารเรยี นรตู้ ้นแบบ (Co – Learning Space)
เพ่อื ให้ผู้เรยี น ผู้ใช้บรกิ ารมคี วามพงึ พอใจมากท่สี ุด มกี ารจดั พ้นื ท่เี พ่อื จดั กจิ กรรม มพี ้นื ท่พี กั ผ่อน มี
พน้ื ทน่ี ัง่ รบั ประทานอาหาร สาหรบั ผใู้ ชบ้ รกิ าร ดงั นนั้ หอ้ งสมดุ ประชาชนจงั หวดั เลย จงึ ไดม้ ุ่งเน้นทจ่ี ะจดั
สภาพแวดล้อมท่เี หมาะสม ให้เป็นประโยชน์ต่อผู้เรยี น ผู้รบั บรกิ ารมากท่ีสุด จดั พ้นื ท่สี าหรบั ให้น่า
เรียนรู้ ให้เหมาะกับความต้องการของผู้ใช้บรกิ าร การจดั กิจกรรมท่ีตรงกับความต้องการผู้เรียน/
ผรู้ บั บรกิ าร กจิ กรรมตอบสนองต่อการเรยี นรู้ มอี ุปกรณ์ ในการจดั กจิ กรรม มที ป่ี รกึ ษาสาหรบั การทา
กจิ กรรม สามารถ จดั กจิ กรรมไดค้ รบวงจร เพ่อื ตอบสนองการเรยี นรู้ และได้จดั ทาโครงการศูนยก์ าร
เรยี นรตู้ น้ แบบ Co – Learning Space ในการจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้ และเพม่ิ พน้ื ในในการใหบ้ รกิ าร

เอกสารรายงานผลการขบั เคลอ่ื นการดำเนนิ งาน ศูนย์การเรยี นรตู้ น้ แบบ Co-Learning Space

สรุปผลการขับเคลอ่ื นการดำเนนิ งานศนู ย์การเรียนรู้ตน้ แบบ (Co-Learning space) ของห้องสมุดประชาชนจงั หวดั เลย ๒

ไดแ้ ก่ โซนส่งเสรมิ การอา่ น คน้ ควา้ ขอ้ มูล ส่อื ( Learning Zone ) โซนพกั ผ่อนนงั่ เล่น

(Relax Zone ) โซนกาแฟ ( Coffee Zone ) โซนทท่ี างานหรอื หอ้ งประชุม ( CO-Working Zone )

และโซนกจิ กรรม (Activities Zone ) โดยมกี ลุ่มเป้าหมายเป็นผู้รบั บรกิ ารการศกึ ษาตามอธั ยาศยั ทุก

ช่วงวยั

วตั ถปุ ระสงค์

๑. เพอ่ื เป็นการสง่ เสรมิ การใหบ้ รกิ ารคน้ ควา้ หาความรทู้ งั้ ในรปู แบบ Online และ Offline
๒. เพอ่ื ใหบ้ รกิ ารพน้ื ทส่ี าหรบั การพกั ผ่อนนงั่ เลน่ พบปะพดู คยุ อา่ นหนงั สอื
๓. เพอ่ื ใหบ้ รกิ ารพน้ื ทจ่ี บิ กาแฟ การบรกิ ารจาหน่ายเคร่อื งดม่ื หรอื ผลติ ภณั ฑจ์ ากกลุ่มวชิ าชพี
ของ
๔. เพอ่ื เป็นการเพม่ิ พน้ื ทก่ี ารจดั กจิ กรรมสาหรบั กลุ่มเป้าหมายทกุ ชว่ งวยั
๕. เพอ่ื ใหบ้ รกิ ารหอ้ งประชมุ กลุ่มย่อย หอ้ งสอนเสรมิ นอกเวลาเรยี นตามความเหมาะสม

เป้าหมาย ( Output )

๑. เชงิ ปรมิ าณ ( กลมุ่ เป้าหมาย )
ผรู้ บั บรกิ ารการศกึ ษาตามอธั ยาศยั ทกุ ชว่ งวยั จานวน ๖๐๐ คน

๒. เชงิ คุณภาพ

๒.๑) ผู้รบั บรกิ ารการศึกษาตามอธั ยาศัย ร้อยละ ๘๐ มคี วามพึงพอใจในการเข้ารบั
บรกิ ารศูนยก์ ารเรยี นรตู้ น้ แบบ กศน.๕ ภมู ภิ าคเป็น Co – Learning Space

๒.๒) ผรู้ บั บรกิ ารการศกึ ษาตามอธั ยาศยั ไดร้ บั บรกิ ารการอา่ นทท่ี นั สมยั และทกั ษะ
ในการเรยี นรูต้ ามความต้องการ มนี ิสยั รกั การอ่าน โดยผ่านกระบวนการเรยี นรทู้ ่หี ลากหลายพฒั นา
ศกั ยภาพดว้ ยการเรยี นรดู้ ว้ ยตนเอง และสามารถนาความรทู้ ไ่ี ดร้ บั ไปประยุกตใ์ ชใ้ หเ้ กดิ ประโยชน์สงู สุด

วิธีการดาเนิ นการ

๑. ประชุมมอบนโยบายและแนวทางการดาเนินงาน
๒. เสนอโครงการ แต่งตงั้ คณะกรรมการดาเนนิ โครงการ และวางแผนการดาเนนิ
๓. ดาเนนิ งานพฒั นาหอ้ งสมดุ ประชาชนใหเ้ ป็นศูนยก์ ารเรยี นรตู้ ้นแบบ (Co – Learning
Space) เปิดพน้ื ทส่ี าหรบั การทางาน/การเรยี นรู้ พน้ื ทส่ี าหรบั ทากจิ กรรมต่างๆ ดงั น้ี

- โซนสง่ เสรมิ การอ่าน คน้ ควา้ ขอ้ มลู สอ่ื (Learning Zone)
- โซนผกั ผ่อนนงั่ เล่น (Relax Zone)
- โซนหอ้ งประชมุ ( Co-Working Zone )
- โซนกจิ กรรม ( Activities Zone)
๔. สรุปผลการปฏบิ ตั งิ าน ปี ๒๕๖๔ และเผยแพร่

เอกสารรายงานผลการขับเคลื่อนการดำเนนิ งาน ศูนยก์ ารเรยี นรตู้ น้ แบบ Co-Learning Space

สรุปผลการขบั เคลื่อนการดำเนินงานศูนย์การเรียนรตู้ น้ แบบ (Co-Learning space) ของหอ้ งสมดุ ประชาชนจังหวัดเลย ๓

ท่ีปรึกษาโครงการ ผอู้ านวยการ กศน. อาเภอเมอื งเลย
นายสุพฒั น์ สวุ รรณสงิ ห์

ผ้รู บั ผิดชอบโครงการ บรรณารกั ษจ์ า้ งเหมาบรกิ าร
บรรณารกั ษจ์ า้ งเหมาบรกิ าร
๑. นางศรญั ญา ชชั วาลย์ บรรณารกั ษช์ านาญการ
๒. นางอรุณี วเิ ศษนนั ท์ บรรณารกั ษ์
๓. นางสาวพมิ พจ์ นั ทร์ จติ รพานชิ
๔. นางสาววรรณพร ยอดคา

ระยะเวลาในการดาเนิ นการ
ไตรมาสท่ี ๒ - ไตรมาสท่ี ๔ (เดอื นมนี าคม พ.ศ. ๒๕๖๔ - กนั ยายน พ.ศ. ๒๕๖๔ )

สถานท่ีดาเนิ นการ
หอ้ งสมุดประชาชนจงั หวดั เลย

การประเมิน
๑. แบบสารวจความพงึ พอใจ
๒. สรปุ ผลการดาเนนิ โครงการ

ผลที่คาดว่าจะได้รบั

ผู้รบั บรกิ ารร้อยละ ๘๐ มคี วามพงึ พอใจในการเข้ารบั บรกิ ารศูนย์การเรยี นรูต้ ้นแบบ Co –
Learning Space และไดร้ บั บรกิ ารการอ่าน และการส่งเสรมิ การเรยี นรูต้ ามความต้องการ มนี ิสยั รกั การ
อ่าน โดยผ่านกระบวนการเรยี นรูท้ ่หี ลากหลาย ตอบสนองความต้องการของผูร้ บั บรกิ ารทุกช่วงวยั
และสามารถนาความรทู้ ไ่ี ดร้ บั ไปประยุกตใ์ ชใ้ หเ้ กดิ ประโยชน์สงู สุดตามความตอ้ งการของตนเอง

เอกสารรายงานผลการขบั เคลอื่ นการดำเนินงาน ศนู ย์การเรยี นรตู้ น้ แบบ Co-Learning Space

สรปุ ผลการขับเคลื่อนการดำเนินงานศูนยก์ ารเรยี นรู้ต้นแบบ (Co-Learning space) ของห้องสมดุ ประชาชนจงั หวัดเลย ๔

๑.๒. องค์ประกอบเพ่ือการให้บริการศูนย์การเรียนรู้ต้นแบบ Co – Learning Space
ของห้องสมดุ ประชาชนจังหวัดเลย

ห้องสมุดประชาชนจังหวัดเลย ได้ดำเนินการปรับปรุงพัฒนาพื้นท่ีเพ่ือจัดตั้งศูนย์การเรียนรู้ต้นแบบ
( Co –Learning Space ) โดยดำเนินการพัฒนาปรับปรงุ สภาพแวดลอ้ มทง้ั ภายนอกและภายในห้องสมุดให้
เอ้ืออำนวยต่อการเข้ารับบริการ โดยมีพ้ืนที่ให้บริการการเรียนรู้ร่วมกันที่ตอบสนองความต้องการของ
ผู้รับบริการทุกช่วงวัย และเพ่ือเป็นการเปิดโอกาสให้เรียนรู้อย่างเสมอภาคเท่าเทียมกันอย่างต่อเน่ือง โดย
ไดม้ กี ารพน้ื ที่การใหบ้ ริการภายในศูนย์การเรยี นรู้ตน้ แบบ (Co – Learning Space) ดังนี้

๑. โซนสง่ เสริมการอ่าน คน้ คว้าขอ้ มูล สื่อ ( Learning Zone )
ให้บริการค้นคว้าความรู้ทั้ง on line ด้วยสื่อ/อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ การให้บริการ Tablet

สำหรับการสืบค้นข้อมูล การให้บริการ E-book การให้บริการงานห้องสมุดผ่านระบบเช่ือมโยงแหล่ง
เรียนรู้ และ Application ต่างๆ ด้วยอินเทอร์เน็ต และการให้บริการในรูปแบบ Off line เป็นการ
ให้บรกิ ารห้องสมุดดว้ ยรปู แบบปกติ เชน่ บรกิ ารการอา่ น การจดั กิจกรรมการส่งเสริมการอา่ น

๒. โซนพักผ่อนนงั่ เล่น (Relax Zone )
ให้บริการพื้นที่เพื่อการพักผ่อนนงั่ เลน่ พบปะพดู คุยอ่านหนังสอื หรอื พักคอย มบี รกิ าร

Wifi ฟรี อินเทอรเ์ น็ต

๓. โซนกาแฟ (Coffee Zone)
จัดพื้นท่ีให้บรกิ ารสำหรบั นงั่ พกั ผ่อนสบาย ๆ น่ังเลน่ เพอ่ื อ่านหนงั สอื จบิ กาแฟ และมีบริการ

กาแฟ อาหารว่าง เครื่องด่ืม และจำหน่ายผลิตภัณฑ์จากการจัดกิจกรรมต่าง ๆ ของศูนย์การเรียนรู้ต้นแบบ
Co-Learning Space

๔. โซนกิจกรรม ( Activities Zone) อยใู่ นบริเวณเดยี วกัน
จัดโซนให้บริการห้องหรือพ้ืนที่จัดกิจกรรมสำหรับกลุ่มเป้าหมายทุกช่วงวัย เพื่อบริการ

บุคคลภายนอก หรือกิจกรรมที่ห้องสมุดจัดข้ึนด้วยรูปแบบและวิธีต่างๆ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อส่งเสริมการ
ใช้ห้องสมุด และส่งเสริมการอ่าน สอดคล้องกับการส่งเสริมให้มีการอ่านตลอดชีวิต เช่น การจัดกิจกรรม
บ้านหลังเรียน กิจกรรมส่งเสริมการอ่านสำหรับเด็ก กิจกรรมส่งเสริมการเรียนรู้ของนักศึกษา การจัด
กิจกรรมสำหรับผู้สูงอายุ กิจกรรม DIY กิจกรรมส่งเสริมการเรียนรู้ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
และกิจกรรมการจดั นทิ รรศการส่งเสรมิ การเรยี นรู้ในโอกาสตา่ งๆ เป็นตน้

๕. โซนห้องประชมุ ( Co-Working Zone )
ให้บริการห้องประชุมกลุ่มย่อย ห้องปฏิบัติงานกลุ่ม ห้องสอนเสริม หรือกิจกรรมอื่น ๆ ตาม

ความเหมาะสม โดยได้ดำเนินการวางแผนทปี่ รบั ปรงุ หอ้ งประชมุ เดิมทีม่ ีอยแู่ ลว้ ตกแต่งใหส้ วยงาม ดังนี้
๑. จดั โตะ๊ ใหม้ คี วามเหมาะสมสาหรบั การประชุมและการทางาน
๒. จดั บรรยากาศหอ้ งประชมุ ใหม้ คี วามสวยงาม สะอาด เหมาะสมตอ่ การเขา้ ใช้บรกิ าร
๓. เลอื กพน้ื ทท่ี ม่ี คี วามเป็นสว่ นตวั ไม่ไดเ้ ป็นบรเิ วณทม่ี คี นเขา้ ออกเป็นประจา

เอกสารรายงานผลการขับเคล่ือนการดำเนนิ งาน ศูนย์การเรยี นรตู้ น้ แบบ Co-Learning Space

สรุปผลการขับเคล่อื นการดำเนินงานศูนย์การเรียนรู้ตน้ แบบ (Co-Learning space) ของหอ้ งสมดุ ประชาชนจังหวัดเลย ๕

๑.๓ ภาพประกอบเปรยี บเทยี บก่อนและหลงั การดำเนินการ

โซนส่งเสรมิ การอ่าน คน้ ควา้ ขอ้ มูล สื่อ ( Learning Zone )
พักผอ่ นน่ังเล่น (Relax Zone )

ก่อนดำเนินการ

หลงั ดำเนนิ การ

เอกสารรายงานผลการขับเคลื่อนการดำเนินงาน ศูนยก์ ารเรยี นรตู้ น้ แบบ Co-Learning Space

สรปุ ผลการขบั เคล่อื นการดำเนนิ งานศนู ย์การเรยี นรตู้ น้ แบบ (Co-Learning space) ของหอ้ งสมุดประชาชนจังหวัดเลย ๖

โซนพักผอ่ นน่ังเล่น (Relax Zone )

กอ่ นดำเนนิ การ

หลังดำเนินการ

เอกสารรายงานผลการขบั เคล่อื นการดำเนนิ งาน ศูนย์การเรยี นรตู้ น้ แบบ Co-Learning Space

สรปุ ผลการขับเคลอ่ื นการดำเนนิ งานศนู ย์การเรียนรู้ต้นแบบ (Co-Learning space) ของห้องสมุดประชาชนจงั หวดั เลย ๗

โซนกาแฟ (Coffee Zone)

หลังดำเนินการ

เอกสารรายงานผลการขบั เคล่ือนการดำเนนิ งาน ศนู ย์การเรยี นรตู้ น้ แบบ Co-Learning Space

สรปุ ผลการขบั เคลือ่ นการดำเนินงานศนู ยก์ ารเรียนรู้ต้นแบบ (Co-Learning space) ของหอ้ งสมดุ ประชาชนจงั หวัดเลย ๘

โซนกิจกรรม ( Activities Zone)

กอ่ นดำเนินการ

หลังดำเนินการ

เอกสารรายงานผลการขบั เคลอื่ นการดำเนนิ งาน ศนู ย์การเรยี นรตู้ น้ แบบ Co-Learning Space

สรปุ ผลการขบั เคล่อื นการดำเนินงานศนู ย์การเรียนรู้ต้นแบบ (Co-Learning space) ของหอ้ งสมดุ ประชาชนจงั หวัดเลย ๙

โซนห้องประชุม ( Co-Working Zone )

ก่อนดำเนินการ

หลงั ดำเนนิ การ

เอกสารรายงานผลการขบั เคลอื่ นการดำเนนิ งาน ศนู ย์การเรยี นรตู้ น้ แบบ Co-Learning Space

สรปุ ผลการขบั เคล่อื นการดำเนินงานศูนย์การเรียนรู้ตน้ แบบ (Co-Learning space) ของหอ้ งสมุดประชาชนจังหวดั เลย ๑๐

๒. ขนั้ ตอนการดาเนินงาน

๒.๑ การจัดเตรยี มองคป์ ระกอบภายในศนู ยก์ ารเรียนรู้ตน้ แบบ ( Co-Learning Space )

สถานท่ี (โซนการใหบ้ รกิ ารต่างๆ )
ห้องสมุดประชาชนจังหวัดเลย ได้ดำเนินการจัดเตรียมองค์ประกอบภายศูนย์การเรียนรู้ต้นแบบ Co
– Learning Space โดยดำเนินการปรับปรุงสภาพแวดล้อมภายในห้องสมุด เพื่อเพ่ิมการให้บริการในโซน
ต่าง ๆ ดงั น้ี
๑. โซนส่งเสริมการอา่ น ค้นควา้ ขอ้ มูล ส่ือ ( Learning Zone )

ได้ดำเนินการเพ่ิมรูปแบบการให้บริการแบบ on line ด้วยส่ือ/อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ การ
ใหบ้ รกิ าร Tablet สำหรบั การสืบค้นขอ้ มลู การใหบ้ รกิ าร E-book การให้บริการงานห้องสมุดผ่านระบบ
เชื่อมโยงแหล่งเรียนรู้ และ Application ต่างๆ ด้วยอินเทอร์เน็ต และการให้บริการในรูปแบบ Off line
เป็นการให้บริการห้องสมุดดว้ ยรปู แบบปกติ เช่น บริการการอา่ น การจดั กจิ กรรมการส่งเสริมการอ่าน

๒. โซนพกั ผอ่ นน่ังเลน่ (Relax Zone )
จดั พนื้ ท่ีเพอ่ื การพักผ่อนนงั่ เลน่ พบปะพูดคุยอ่านหนังสอื หรือพักคอย มีบริการ

Wifi ฟรี อินเทอรเ์ น็ต

๓. โซนกาแฟ (Coffee Zone)
จัดพ้ืนท่ีใหบ้ รกิ ารสำหรับน่งั พกั ผ่อนสบาย ๆ น่ังเล่น เพอ่ื อ่านหนังสอื จบิ กาแฟ และมีบริการ

กาแฟ อาหารว่าง เครื่องด่ืม และจำหน่ายผลิตภัณฑ์จากการจัดกิจกรรมต่าง ๆ ของศูนย์การเรียนรู้ต้นแบบ
Co-Learning Space

๔. โซนกิจกรรม ( Activities Zone)
จัดโซนให้บริการห้องหรือพ้ืนที่จัดกิจกรรมสำหรับกลุ่มเป้าหมายทุกช่วงวัย เพื่อบริการ

บุคคลภายนอก หรือกิจกรรมที่ห้องสมุดจัดข้ึนด้วยรูปแบบและวิธีต่างๆ โดยมีวัตถุประสงค์เพ่ือส่งเสริมการ
ใช้ห้องสมุด และส่งเสริมการอ่าน สอดคล้องกับการส่งเสริมให้มีการอ่านตลอดชีวิต เช่น การจัดกิจกรรม
บ้านหลังเรียน กิจกรรมส่งเสริมการอ่านสำหรับเด็ก กิจกรรมส่งเสริมการเรียนรู้ของนักศึกษา การจัด
กิจกรรมสำหรับผู้สูงอายุ กิจกรรม DIY กิจกรรมส่งเสริมการเรียนรู้ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
และกิจกรรมการจัดนทิ รรศการส่งเสรมิ การเรียนร้ใู นโอกาสตา่ งๆ เปน็ ตน้

๕. โซนห้องประชุม ( Co-Working Zone )
โดยไดด้ ำเนนิ การวางแผนท่ีปรบั ปรงุ ห้องประชมุ เดมิ ที่มอี ยู่แลว้ ตกแตง่ ใหส้ วยงาม ดงั นี้
๔.๑ จดั โต๊ะใหม้ คี วามเหมาะสมสาหรบั การประชุมและการทางาน
๔.๒ จดั บรรยากาศห้องประชุมให้มีความสวยงาม สะอาด เหมาะสมตอ่ การเข้าใช้

บริการ

เอกสารรายงานผลการขบั เคลือ่ นการดำเนินงาน ศนู ย์การเรยี นรตู้ น้ แบบ Co-Learning Space

สรปุ ผลการขับเคล่ือนการดำเนนิ งานศูนย์การเรียนรตู้ ้นแบบ (Co-Learning space) ของห้องสมุดประชาชนจังหวัดเลย ๑๑
/
งบประมาณทใี่ ช้สำหรบั การพฒั นาและปรับปรุงโซนใหบ้ รกิ ารตา่ ง ๆ
หอ้ งสมดุ ประชาชนจงั หวัดเลยได้รบั การจดั สรรงบประมาณรายจา่ ยประจำปงี บประมาณ พ.ศ.

๒๕๖๔ เพื่อขบั เคล่ือนการดำเนนิ งานศูนยก์ ารเรยี นรูต้ น้ แบบ (Co – Learning Space) ในรอบท่ี ๑ และ
รอบที่ ๒ รวมเป็นเงนิ ทั้งสนิ้ ๗๕,๐๐๐ บาท (เจ็ดหมื่นห้าพันบาทถว้ น) ดังนี้

- ครง้ั ที่ ๑ สำนักงาน กศน. จังหวดั เลย แจ้งการจัดสรรงบประมาณรายจา่ ยประจำปีงบประมาณ
พ.ศ. ๒๕๖๔แผนงาน : ยุทธศาสตร์เพ่อื สนับสนนุ ดา้ นการพัฒนาและเสริมสรา้ งศักยภาพทรัพยากรมนุษย์
โครงการขับเคลอื่ นการพฒั นาการศกึ ษาทย่ี ่ังยืน งบรายจ่ายอ่ืน รหัสงบประมาณ
๒๐๐๐๒๓๕๐๕๒๗๐๐๐๒๗ แหล่งของเงิน ๖๔๑๑๕๐๐ ค่าใช้จา่ ยโครงการศูนยก์ ารเรียนรตู้ ้นแบบ กศน.
ใน ๕ ภมู ภิ าคเป็น Co – Learning Space ครั้งที่ ๑ ระหวา่ งเดือนตุลาคม ๒๕๖๓ - มีนาคม ๒๕๖๔
จำนวน ๔๘,๐๐๐ (ส่หี มืน่ แปดพนั บาทถว้ น) เมื่อวนั ท่ี ๒๔ มนี าคม ๒๕๖๔

- ครั้งที่ ๒ สำนักงาน กศน. จังหวดั เลย แจง้ การจัดสรรงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ
พ.ศ. ๒๕๖๔แผนงาน : ยทุ ธศาสตร์เพอ่ื สนับสนุนด้านการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพทรัพยากรมนษุ ย์
โครงการขบั เคลื่อนการพัฒนาการศึกษาทยี่ ่งั ยืน งบรายจ่ายอื่น รหัสงบประมาณ
๒๐๐๐๒๓๕๐๕๒๗๐๐๐๒๗ แหล่งของเงิน ๖๔๑๑๕๐๐ ค่าใช้จา่ ยโครงการศูนยก์ ารเรียนรตู้ น้ แบบ กศน.
ใน ๕ ภูมภิ าคเป็น Co – Learning Space ครั้งท่ี ๒ จำนวน ๒๗,๐๐๐ (สองหมื่นเจด็ พันบาทถ้วน) เมอ่ื
วนั ท่ี ๘ มถิ นุ ายน ๒๕๖๔

วัสดอุ ปุ กรณ์สำหรับจดั มมุ ใหบ้ รกิ ารต่าง ๆ

ที่ รายการวสั ดอุ ุปกรณ/์ กจิ กรรมที่ งบประมาณ
๓๒,๔๖๐ บาท
๑ โซนส่งเสริมการอา่ น คน้ คว้าข้อมูล ส่ือ
วัสดุอุปกรณ์ ประกอบด้วย ๑๒,๒๖๐ บาท
๑.๑ หนงั สอื ใหม่
๑.๒ E-book ๒๗,๐๐๐ บาท
๒.๓ ค่าเช่า Tablet สำหรบั ใหบ้ ริการจำนวน ๔ เคร่ือง ๓,๒๘๐ บาท
๑.๔ ตัวขยายสัญญาณ WiFi ๗๕,๐๐๐ บาท

๒ โซนผกั ผอ่ นน่ังเล่น โซนกจิ กรรม และโซนกาแฟ
วสั ดุอุปกรณ์ ประกอบด้วย
๒.๑ หญา้ เทียม
๒.๒ เบาะโฟม
๒.๓ โตะ๊ ญป่ี นุ่

๓ ป้ายโซนหอ้ งประชุมและปา้ ยศนู ย์การเรยี นรตู้ น้ แบบ
Co-learning space และป้ายมุมให้บรกิ ารตา่ งๆ

๔ ปา้ ยศนู ย์การเรียนรตู้ ้นแบบบริเวณดา้ นหนา้ หอ้ งสมดุ
รวมเป็นเงินทงั้ ส้นิ

เอกสารรายงานผลการขบั เคล่อื นการดำเนนิ งาน ศูนย์การเรยี นรตู้ น้ แบบ Co-Learning Space

สรุปผลการขับเคลื่อนการดำเนนิ งานศูนย์การเรยี นรู้ต้นแบบ (Co-Learning space) ของหอ้ งสมุดประชาชนจังหวัดเลย ๑๒
/
๒.๒ การจัดกิจกรรมการเรยี นรู้ การให้บริการ และงบประมาณท่ใี ช้( แยกตามโซนท่ใี หบ้ รกิ าร )

วัสดุอุปกรณ์สำหรับจัดกจิ กรรมการเรียนรู้ การใหบ้ ริการ ในโซนกจิ กรรม และโซนห้องประชุม โดย
ห้องสมุดประชาชนจังหวัดเลยได้เตรียมวัสดุสำหรับจัดกิจกรรมส่งเสริมการอ่านและจัดกิจกรรมการเรียนรู้
ดังน้ี

งบประมาณท่ใี ช้สำหรบั จดั กิจกรรมการเรียนรู้
ห้องสมุดประชาชนจังหวัดเลยได้รับการจัดสรรงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ.

๒๕๖๔ เพื่อขับเคล่ือนการดำเนินงานศูนย์การเรียนรู้ต้นแบบ (Co – Learning Space) ในรอบท่ี ๓ จาก
สำนักงาน กศน. จังหวัดเลย ตามแผนงาน : ยุทธศาสตรเ์ พื่อสนับสนุนด้านการพฒั นาและเสรมิ สร้างศกั ยภาพ
ทรัพยากรมนุษย์โครงการขับเคล่ือนการพัฒนาการศึกษาที่ย่ังยืน งบรายจ่ายอ่ืน รหัสงบประมาณ
๒๐๐๐๒๓๕๐๕๒๗๐๐๐๒๗ แหล่งของเงิน ๖๔๑๑๕๐๐ ค่าใช้จ่ายโครงการศูนยก์ ารเรียนรู้ต้นแบบ กศน.
ใน ๕ ภูมิภาคเป็น Co – Learning Space คร้งั ที่ ๓ ไตรมาส ๔ จำนวน ๒๙,๘๐๐ (สองหมื่นเก้าพันแปด
รอ้ ยบาทถ้วน) เมอื่ วันที่ ๒๖ สงิ หาคม ๒๕๖๔

วัสดุอปุ กรณ์สำหรบั จดั กจิ กรรมการเรียนรู้ การให้บรกิ าร ในโซนกิจกรรม และโซนหอ้ งประชมุ

ที่ กจิ กรรม/รายการวัสดุอุปกรณ์ งบประมาณ

๑. กิจกรรมการประดิษฐก์ ารด์ /กิจกรรมการทำสื่อส่งเสริมการอ่าน/การทำ ๑๓,๗๘๐

พวงกุญแจ/การทำที่ค่ันหนังสือ/กจิ กรรมพับกระดาษ ๓ มิติ/การทำพดั

จากกระดาษ มีรายการวัสดุอปุ กรณ์ดังน้ี

๑.๑ กระดาษการด์ ขาว

๑.๒ สติกเกอร์ A๔ ขาวด้าน

๑.๓ กระดาษ A๔

๑.๔ หมกึ HP สี , ดำ

๑.๕ หมึก HP ๘๕

๑.๖ หมึก Cannon

๑.๗ พลาสติกเคลือบ A๔

๒. กิจกรรมบ้านหลังเรียนจากงานศิลปะ มีรายการวัสดุอุปกรณ์ ดงั น้ี ๘,๕๓๐

๒.๑ กระดาษการด์ สี A๔

๒.๒ แผน่ ใสปกรายงาน A๔

๒.๓ คัตเตอร์

๒.๔ ปนื กาว

๒.๕ กาวแทง่ (ใชก้ บั ปืนกาว)

๒.๖ จานสี

๒.๗ พ่กู นั กลม

๒.๘ ปลั๊กไฟยาว ๑๐ เมตร

เอกสารรายงานผลการขบั เคลื่อนการดำเนนิ งาน ศูนย์การเรยี นรตู้ น้ แบบ Co-Learning Space

สรปุ ผลการขบั เคลอ่ื นการดำเนินงานศนู ย์การเรยี นรูต้ น้ แบบ (Co-Learning space) ของห้องสมุดประชาชนจงั หวัดเลย ๑๓

ที่ กิจกรรม/รายการวัสดุอุปกรณ์ งบประมาณ /

๓. กิจกรรมการเพน้ ท์ถุงผา้ รกั การอา่ น มีรายการวสั ดุอปุ กรณ์ ดังนี้ ๔,๙๘๐
๓.๑ กรรไกร
๓.๒ ถงุ ผา้ ๒,๕๑๐
๓.๓ สอี ะครลี ิค
๒๙,๘๐๐
๔. กิจกรรมการประดษิ ฐส์ มดุ ทำมือ มวี ัสดุอุปกรณ์ ดังน้ี
๔.๑ สเี มจกิ
๔.๒ แท่นตัดกระดาษ
๔.๓ กระดาษโฟโต้ ๑๕๐ แกรม
๔.๔ ปากกาลูกล่ืน
รวม

เอกสารรายงานผลการขับเคลื่อนการดำเนนิ งาน ศูนยก์ ารเรยี นรตู้ น้ แบบ Co-Learning Space

สรปุ ผลการขบั เคล่ือนการดำเนินงานศนู ย์การเรยี นรู้ต้นแบบ (Co-Learning space) ของห้องสมดุ ประชาชนจังหวดั เลย ๑๔
/
๒.๓ ภาพประกอบ

กิจกรรมการให้บรกิ ารโซนสง่ เสริมการอ่าน คน้ คว้าข้อมูล สือ่ ( Learning Zone )

เอกสารรายงานผลการขับเคลอื่ นการดำเนินงาน ศนู ย์การเรยี นรตู้ น้ แบบ Co-Learning Space

สรุปผลการขบั เคลอ่ื นการดำเนินงานศนู ยก์ ารเรยี นรูต้ น้ แบบ (Co-Learning space) ของหอ้ งสมุดประชาชนจงั หวัดเลย ๑๕
/
กจิ กรรมการใหบ้ รกิ ารโซนส่งเสริมการอา่ น คน้ คว้าขอ้ มูล สอื่ ( Learning Zone )

เอกสารรายงานผลการขบั เคลื่อนการดำเนนิ งาน ศนู ย์การเรยี นรตู้ น้ แบบ Co-Learning Space

สรปุ ผลการขับเคลื่อนการดำเนินงานศูนย์การเรียนรตู้ น้ แบบ (Co-Learning space) ของหอ้ งสมดุ ประชาชนจังหวดั เลย ๑๖

กิจกรรมการให้บริการโซนผักผอ่ นนั่งเลน่ (Relax Zone ) /

เอกสารรายงานผลการขบั เคลอื่ นการดำเนนิ งาน ศูนย์การเรยี นรตู้ น้ แบบ Co-Learning Space

สรุปผลการขบั เคลอ่ื นการดำเนนิ งานศูนย์การเรียนร้ตู น้ แบบ (Co-Learning space) ของห้องสมุดประชาชนจงั หวัดเลย ๑๗

/

กจิ กรรมการใหบ้ ริการโซนผักผ่อนนง่ั เลน่ (Relax Zone )

เอกสารรายงานผลการขบั เคล่อื นการดำเนนิ งาน ศนู ยก์ ารเรยี นรตู้ น้ แบบ Co-Learning Space

สรุปผลการขับเคลอ่ื นการดำเนนิ งานศนู ยก์ ารเรียนรู้ต้นแบบ (Co-Learning space) ของห้องสมดุ ประชาชนจงั หวัดเลย ๑๘

/

โซนกาแฟ (Coffee Zone)

เอกสารรายงานผลการขบั เคลื่อนการดำเนนิ งาน ศนู ยก์ ารเรยี นรตู้ น้ แบบ Co-Learning Space

สรปุ ผลการขับเคล่อื นการดำเนนิ งานศูนยก์ ารเรียนรู้ตน้ แบบ (Co-Learning space) ของห้องสมุดประชาชนจงั หวัดเลย ๑๙

/

โซนกจิ กรรม ( Activities Zone)

กิจกรรมบา้ นหลังเรียน

กิจกรรม 2 เมษาวนั รกั การอ่าน

เอกสารรายงานผลการขบั เคล่อื นการดำเนินงาน ศนู ยก์ ารเรยี นรตู้ น้ แบบ Co-Learning Space

สรุปผลการขับเคลือ่ นการดำเนินงานศูนย์การเรียนรู้ตน้ แบบ (Co-Learning space) ของหอ้ งสมุดประชาชนจังหวดั เลย ๒๐
/

กิจกรรมการเรียนออนไลน์

เอกสารรายงานผลการขบั เคลื่อนการดำเนนิ งาน ศนู ยก์ ารเรยี นรตู้ น้ แบบ Co-Learning Space

สรปุ ผลการขบั เคล่อื นการดำเนินงานศูนยก์ ารเรียนรู้ต้นแบบ (Co-Learning space) ของหอ้ งสมดุ ประชาชนจงั หวัดเลย ๒๑

/

โซนกิจกรรม ( Activities Zone)

กิจกรรมการประดิษฐส์ มุดทามือ

เอกสารรายงานผลการขับเคล่ือนการดำเนินงาน ศูนย์การเรยี นรตู้ น้ แบบ Co-Learning Space

สรปุ ผลการขับเคลอ่ื นการดำเนินงานศูนยก์ ารเรียนรตู้ ้นแบบ (Co-Learning space) ของห้องสมุดประชาชนจงั หวัดเลย ๒๒

/

โซนกิจกรรม ( Activities Zone)

กิจกรรมการประดิษฐส์ ายคลอ้ งแมส

เอกสารรายงานผลการขับเคลือ่ นการดำเนินงาน ศนู ย์การเรยี นรตู้ น้ แบบ Co-Learning Space

สรุปผลการขบั เคล่ือนการดำเนนิ งานศนู ย์การเรียนรู้ตน้ แบบ (Co-Learning space) ของหอ้ งสมุดประชาชนจงั หวัดเลย ๒๓

/

การให้บริการโซนห้องประชุม ( Co-Working Zone )/หอ้ งทำงานกลมุ่ ยอ่ ย

เอกสารรายงานผลการขับเคลือ่ นการดำเนินงาน ศนู ย์การเรยี นรตู้ น้ แบบ Co-Learning Space

สรปุ ผลการขับเคลือ่ นการดำเนินงานศูนยก์ ารเรยี นรู้ตน้ แบบ (Co-Learning space) ของห้องสมดุ ประชาชนจงั หวัดเลย ๒๔

/

กจิ กรรมการออกให้บริการส่งเสรมิ การอา่ นภายนอก

กิจกรรมสานกั งาน กศน.ส่งความสุขใหน้ อ้ ง

กิจกรรมส่งเสริมการอ่านสาหรบั เด็กเจ็บป่ วยในโรงพยาบาล

เอกสารรายงานผลการขับเคล่อื นการดำเนินงาน ศูนย์การเรยี นรตู้ น้ แบบ Co-Learning Space

สรปุ ผลการขบั เคล่อื นการดำเนนิ งานศูนย์การเรียนรตู้ น้ แบบ (Co-Learning space) ของหอ้ งสมุดประชาชนจงั หวดั เลย ๒๕
/

กิจกรรมรถโมบายหอ้ งสมุดเคล่อื นท่ี

กิจกรรมหอ้ งสมดุ เคล่ือนท่ีสาหรบั ชาวตลาด

เอกสารรายงานผลการขับเคลอ่ื นการดำเนนิ งาน ศนู ย์การเรยี นรตู้ น้ แบบ Co-Learning Space

สรปุ ผลการขบั เคลื่อนการดำเนนิ งานศูนยก์ ารเรียนรตู้ ้นแบบ (Co-Learning space) ของหอ้ งสมุดประชาชนจงั หวัดเลย ๒๖
/
๓. สรปุ ผลการดาเนินงาน

๓.๑ จาการดำเนินงานของศูนย์การเรยี นรตู้ น้ แบบ Co – Learning Space หอ้ งสมดุ
ประชาชนจังหวัดเลย มีจำนวนผู้รบั บริการ จำนวน ๖๗๐ คน แยกตามเพศ ดงั น้ี

เพศ จำนวน (คน)
ชาย ๒๗๘
หญิง ๓๙๒
รวม ๖๗๐

41%
59%

๓.๒ ผลการประเมินความพึงพอใจของผู้รับบริการ ศูนย์การเรียนรู้ต้นแบบ Co – Learning
Space ห้องสมุดประชาชนจังหวัดเลย ได้ดำเนินการเก็บข้อมูลและแบบประเมินความพึงพอใจของผู้
เข้ารับบริการ สามารถสรุปความพึงพอใจต่อการให้บริการ ศูนย์การเรียนรู้ต้นแบบ Co-Learning
Space ประจำปี ๒๕๖๔ ดังน้ี

จากการสำรวจความพึงพอใจของเข้ารับริการศูนย์การเรียนรู้ต้นแบบ Co-Learning Space
ประจำปี ๒๕๖๔ โดยมีผูเ้ ขา้ รับบริการจำนวนท้ังหมด ๖๗๐ คน (จากเป้าหมายท้ังหมด ๖๐๐ คน) โดย
การสมุ่ ตัวอย่าง จำนวน ๓๐๐ คน สรุปได้ดังต่อไปน้ี

เอกสารรายงานผลการขับเคล่อื นการดำเนินงาน ศนู ย์การเรยี นรตู้ น้ แบบ Co-Learning Space

สรปุ ผลการขบั เคลอ่ื นการดำเนนิ งานศนู ย์การเรียนรตู้ น้ แบบ (Co-Learning space) ของหอ้ งสมดุ ประชาชนจังหวัดเลย ๒๗

ตอนที่ ๑ ข้อมลู ทั่วไปของผู้ตอบแบบสอบถาม /

สถานภาพสว่ นตัว จำนวน (n) รอ้ ยละ
๑. เพศ
๑๓๘ ๔๖.๐๐
๑.๑ ชาย ๑๖๒ ๕๔.๐๐
๑.๒ หญิง ๓๐๐ ๑๐๐

รวม ๒๘ ๙.๓๓
๒. อายุ ๘๒ ๒๗.๓๓
๗๐ ๒๓.๓๓
๒.๑ ต่ำกว่า ๑๕ ปี ๑๐๑ ๓๓.๖๘
๒.๒ ๑๖ - ๓๐ ปี ๑๙ ๖.๓๓
๒.๓ ๓๑ - ๔๐ ปี ๓๐๐ ๑๐๐
๒.๔ ๔๑ – ๕๐ ปี
๒.๕ ๕๑ ปขี ้นึ ไป ๒๒ ๗.๓๓
๕๙ ๑๙.๖๗
รวม ๔๕ ๑๕.๐๐
๓. ระดบั การศกึ ษา (สำหรับบคุ คลทว่ั ไป) ๙ ๓.๐๐
๗๔ ๒๔.๖๗
๓.๑ ประถมศึกษา ๑ ๐.๓๓
๓.๒ มัธยมศกึ ษาตอนต้น
๓.๓ มัธยมศึกษาตอนปลาย - -
๓.๔ ต่ำกว่าปริญญาตรี ๖๖ ๒๒.๐๐
๓.๕ ปรญิ ญาตรี ๒๔ ๘.๐๐
๓.๖ สงู กว่าปรญิ ญาตรี ๓๐๐ ๑๐๐
๔. ระดับการศกึ ษา (สำหรับนกั ศึกษา กศน.)
๔.๑ ประถมศึกษา
๔.๒ มธั ยมศกึ ษาตอนต้น
๔.๓ มัธยมศกึ ษาตอนปลาย

รวม

จากตารางสรุป พบว่า ผู้รับบริการส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง จำนวน ๑๖๒ คน คิดเป็นร้อยละ
๕๔.๐๐ ผู้เข้ารับบริการส่วนใหญ่อยู่ในช่วงอายุระหว่าง ๔๑ - ๕๐ ปี จำนวน ๑๐๑ คน คิดเป็นร้อยละ
๓๓.๖๘ ผู้เขา้ รับบรกิ ารมีระดับการศึกษาสำหรบั บคุ คลทั่วไปสว่ นใหญม่ ีระดบั การศึกษา ปริญญาตรี จำนวน
๗๔ คน คิดเป็นร้อยละ ๒๔.๖๗ ผู้เข้ารับบริการมีระดับการศึกษาสำหรับนักศึกษา กศน. ส่วนใหญ่มี
ระดับการศึกษา มัธยมศึกษาตอนต้น จำนวน ๖๖ คน คิดเป็นร้อยละ ๒๒.๐๐ ของผู้เข้าร่วมกิจกรรม
ทัง้ หมด

เอกสารรายงานผลการขับเคลอ่ื นการดำเนนิ งาน ศนู ย์การเรยี นรตู้ น้ แบบ Co-Learning Space

สรปุ ผลการขบั เคลื่อนการดำเนินงานศูนยก์ ารเรยี นร้ตู น้ แบบ (Co-Learning space) ของห้องสมุดประชาชนจังหวัดเลย ๒๘

ตอนท่ี ๒ ความพึงพอใจกิจกรรมการเรยี นรู้ หรือการให้บริการ /

ประเด็นคำถาม ระดับความพึงพอใจ คดิ เปน็

มากท่ีสดุ มาก ปานกลาง นอ้ ย นอ้ ย รอ้ ยละ

(คน) (คน) (คน) (คน) ทสี่ ดุ

(คน)

๑. โซนทำงานหรือประชุม (Co – Working Zone ) ๒๓๓ ๖๗ - - - ๙๕.๖๐

๒. โซ น ส่ งเส ริม ก ารอ่ าน ค้น คว้าข้ อ มู ล สื่ อ ๒๒๙ ๗๑ - - - ๙๕.๒๐
(Learning Zone )

๓ . โซนกจิ กรรม ( Activities Zone ) ๒๓๑ ๖๙ - - - ๙๕.๔๐

๔. โซนพกั ผ่อน ( Relex Zone ) ๒๓๘ ๖๒ - - - ๙๕.๘๐

๕. โซนกาแฟ (Coffee Zone ) ๒๕๙ ๔๑ - - - ๙๗.๒๐

คดิ เป็นคา่ เฉลี่ยรวมเทา่ กบั ๔.๗๙ คิดเป็น ๙๕.๘๔ %

สรุปจากความพึงพอใจผ้เู ข้ารับบริการ ศูนย์การเรียนร้ตู น้ แบบ Co-Learning Space ประจำปี
๒๕๖๔ จำนวน ๖๗๐ คน จากเป้าหมายทงั้ หมด ๖๐๐ คน) โดยการสุ่มตวั อย่าง จำนวน ๓๐๐ คน โดย
มผี ลความพึงพอใจดังน้ี

เอกสารรายงานผลการขบั เคลื่อนการดำเนินงาน ศนู ย์การเรยี นรตู้ น้ แบบ Co-Learning Space

สรปุ ผลการขบั เคลอ่ื นการดำเนนิ งานศนู ยก์ ารเรียนรู้ต้นแบบ (Co-Learning space) ของห้องสมดุ ประชาชนจงั หวดั เลย ๒๙
/
๑. โซนทำงานหรือประชุม (Co – Working Zone ) ค่าเฉลี่ยเท่ากับ ๔.๗๘ คิดเป็นร้อยละ
๙๕.๖๐ % มผี ลความพึงพอใจอยใู่ นระดบั มากที่สุด

๒. โซนสง่ เสริมการอ่าน คน้ คว้าขอ้ มลู ส่ือ (Learning Zone ) มคี า่ เฉลย่ี เท่ากับ ๔.๗๖ คิด
เป็นรอ้ ยละ ๙๕.๒๐ % มีผลความพงึ พอใจอยู่ในระดบั มากทส่ี ุด

๓ . โซนกิจกรรม ( Activities Zone ) มีค่าเฉลย่ี เทา่ กับ ๔.๗๗ คดิ เป็นรอ้ ยละ ๙๕.๔๐% มี
ผลความพึงพอใจอยู่ในระดับ มากที่สดุ

๔. โซนพักผ่อน ( Relex Zone )มคี ่าเฉลี่ยเท่ากับ ๔.๗๙ คิดเปน็ รอ้ ยละ ๙๕.๘๐ % มผี ล
ความพึงพอใจอยู่ในระดบั มากทีส่ ดุ

๕ . โซนกาแฟ (Coffee Zone ) มีคา่ เฉล่ียเทา่ กับ ๔.๘๖ คดิ เป็นร้อยละ ๙๗.๒๐ % มีผลความ
พึงพอใจอย่ใู นระดบั มากทีส่ ุด

สรปุ จากการดำเนนิ งานศูนยก์ ารเรียนรู้ต้นแบบ Co-Learning Space ประจำปี ๒๕๖๔
ของหอ้ งสมุดประชาชนจังหวัดเลย สังกัดศูนย์การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั อำเภอ
เมืองเลย สำนกั งานสง่ เสริมการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั จังหวัดเลย ผเู้ ข้ารับบรกิ าร
มคี วามพึงพอใจ คอื โซนกาแฟ (Coffee Zone ) สูงสดุ ๙๗.๒๐ % และพงึ พอใจนอ้ ยท่สี ุด คือ
โซนส่งเสรมิ การอ่าน คน้ ควา้ ขอ้ มูล ส่ือ (Learning Zone ) ๙๕.๒๐ % และมีผลรวมค่าเฉลย่ี ทั้ง ๕
โซน เท่ากับ ๔.๗๙ คิดเปน็ ๙๕.๘๔ % มผี ลความพึงพอใจอยูม่ นระดับมากท่สี ดุ

หมายเหตุ มีความพึงพอใจ อยู่ในระดบั นอ้ ยที่สุด
๑.๐๐ - ๑.๔๙ หมายถึง มีความพึงพอใจ อยู่ในระดบั น้อย
๑.๕๐ - ๒.๔๙ หมายถึง มคี วามพึงพอใจ อยู่ในระดบั ปานกลาง
๒.๕๐ - ๓.๔๙ หมายถงึ มคี วามพึงพอใจ อยู่ในระดบั มาก
๓.๕๐ - ๔.๔๙ หมายถงึ มีความพึงพอใจ อยู่ในระดับ มากที่สุด
๔.๕๐ - ๕.๐๐ หมายถึง

เอกสารรายงานผลการขับเคลือ่ นการดำเนินงาน ศูนย์การเรยี นรตู้ น้ แบบ Co-Learning Space

สรุปผลการขบั เคล่อื นการดำเนินงานศูนยก์ ารเรยี นรตู้ ้นแบบ (Co-Learning space) ของหอ้ งสมุดประชาชนจังหวดั เลย ๓๐
/
๔. ปัญหาอปุ สรรคและขอ้ เสนอแนะ

ข้อคิดเหน็ /ข้อเสนอแนะของผ้เู ขา้ ร่วมโครงการ (จากแบบสอบถาม)
๑. จากแบบประเมนิ ความพงึ พอใจ ผรู้ บั บรกิ ารมคี วามตอ้ งการใหม้ บี รกิ ารตแู้ ชเ่ ครอ่ื งด่มื
๒. สถานทส่ี วยงาม ร่มรน่ื เงยี บสงบ เหมาะแกก่ ารเขา้ มาใชบ้ รกิ าร
๓. มารบั บรกิ ารครงั้ ไหน หอ้ งสมดุ มกี ารปรบั เปลย่ี นไปทุกครงั้ มคี วามสวยงาม น่าเขา้ ใช้
บรกิ าร
๔. บางโซนรอ้ นมาก อยากให้หอ้ งสมุดตดิ แอร์
๕. อยากใหม้ บี รกิ ารคอมพวิ เตอร์ และบรกิ าร Wifi ความเรว็ สงู

ปัญหาและอปุ สรรคในการดาเนินงาน/
๑. วัสดุ - อุปกรณบ์ างประเภททีม่ คี วามจำเป็นต่อการให้บริการและการดำเนินงานของ ศูนยก์ าร

เรยี นรูต้ ้นแบบ Co-Learning Space ประจำปี ๒๕๖๔ แต่มขี อ้ จำกัดในการจัดซื้อ
๒. การใหบ้ ริการอินเตอร์ไมเ่ พยี งพอ
๓. จำนวนผรู้ ับบริการการอ่าน การยืม - คนื ลดจำนวนลง เน่ืองจากสถานการณ์การแพร่ระบาด

ของเช้ือไวรสั Co-vid ๑๙
๔. ในสถานการณ์การแพร่ระบาดของเช้ือไวรัส Co-vid ๑๙ ทำให้การดำเนนิ การจดั กิจกรรมไม่

สมำ่ เสมอ และจำกัดผเู้ ข้ารว่ มกิจกรรม เพอื่ เป็นการป้องกันการแพร่ระบาดเชื้อไวรัส Co-vid ๑๙

แนวทางแก้ไข
๑. ดำเนนิ การจดั กิจกรรมและจดั เตรยี มวัสดอุ ปุ กรณ์ให้มีความสอดคล้องกับระเบียบการ

จัดซ้ือ/จัดจา้ งของพัสดุ
๒. ปรับเปลี่ยนการให้บรกิ ารในรูปแบบออนไลนม์ ากข้ึน
๓. การบริการยืม - คนื หนงั สอื สามารยมื ไดแ้ บบออนไลน์ โดยการสืบค้นรายชอ่ื หนังสือท่ี

ต้องการจากระบบเชอื่ มโยงแหลง่ เรียนรู้ และอนิ บอ๊ กข้อความใหเ้ จา้ หน้าทจี่ ดั หาหนังสือทตี่ อ้ งการ และ
สามารถมารับหนังสือ ณ จดุ บรกิ ารทีเ่ ตรียมไว้ และสง่ หนังสือได้ ณ จดุ บริการทหี่ อ้ งสมุดจัดไวบ้ รกิ าร

๔. การบรกิ ารการอา่ นภายในห้องสมดุ จดั โซนทนี่ ง่ั ให้มีระยะห่าง เชน่ ลดจำนวนเกา้ อตี้ ่อโต๊ะ
ขยายระยะหา่ งระหว่างโต๊ะ ผใู้ ชบ้ รกิ ารและผใู้ ห้บรกิ ารยืนหา่ งกนั ประมาณ 4 ถงึ 6 ฟุต รวมถึงการใชบ้ รกิ าร
ตอบคำถามด้วยเชน่ กนั

๕. ขยายวนั คืนหนังสอื อัตโนมัติ
๖. ลดหรือเล่อื นการจัดกิจกรรมบางกจิ กรรมท่เี ส่ยี งต่อการแพร่ระบาดของเช้อื ไวรัส เชน่ กิจกรรม

เล่านิทานหรือกิจกรรมอนื่ ใด

เอกสารรายงานผลการขบั เคลื่อนการดำเนนิ งาน ศนู ยก์ ารเรยี นรตู้ น้ แบบ Co-Learning Space

สรปุ ผลการขบั เคลื่อนการดำเนนิ งานศูนย์การเรียนรู้ตน้ แบบ (Co-Learning space) ของห้องสมดุ ประชาชนจังหวัดเลย

ภาคผนวก

เอกสารรายงานผลการขับเคล่อื นการดำเนนิ งาน ศูนย์การเรยี นรตู้ น้ แบบ Loei Co-Learning Space



หน่วยงาน/สถานศึกษา ศูนยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั อำเภอเมอื งเลย
๑. ชือ่ โครงการ

โครงการ ศูนย์การเรียนรู้ต้นแบบ กศน.๕ ภมู ิภาคเป็น Co – Learning Space

๒. สอดคลอ้ งกบั นโยบาย ยทุ ธศาสตร์ แผน และพนั ธกจิ

สอดคลอ้ งกับนโยบายและจุดเนน้ การดำเนินงาน
ข้อ ๓ พัฒนาหลกั สตู ร สอ่ื เทคโนโลยีและนวัตกรรมทางการศกึ ษา แหล่งเรียนรู้ และรปู แบบ การ
จดั การศึกษาและการเรยี นรู้ ในทกุ ระดบั ทกุ ประเภท เพ่อื ประโยชนต์ อ่ การจัดการศกึ ษาทเี่ หมาะสม กับทุก
กลมุ่ เปา้ หมาย มีความทันสมยั สอดคล้องและพรอ้ มรองรบั กับบรบิ ทสภาวะสงั คมปัจจุบัน ความต้องการ ของ
ผู้เรยี น และสภาวะการเรียนรู้ในสถานการณต์ า่ ง ๆ ทจี่ ะเกดิ ขนึ้ ในอนาคต
๓.๒ พัฒนาแหล่งเรียนรู้ประเภทต่าง ๆ อาทิ Digital Science Museum/ Digital Science Center/
Digital Library ศูนย์การเรียนรู้ทุกช่วงวัย และศูนย์การเรียนรู้ต้นแบบ กศน. (Co-Learning Space) เพ่ือให้
สามารถ “เรยี นรไู้ ดอ้ ยา่ งทว่ั ถึง ทุกท่ี ทกุ เวลา”

ภารกจิ ต่อเนอื่ ง
๑. ด้านการจดั การศกึ ษาและการเรียนรู้ ข้อ. ๑.๔ การศึกษาตามอัธยาศยั

๑) พัฒนาแหลง่ การเรยี นรทู้ มี่ ีบรรยากาศและสภาพแวดลอ้ มทเ่ี อ้อื ตอ่ การอ่านและพฒั นาศกั ยภาพ
การเรยี นรู้ใหเ้ กดิ ข้นึ ในสงั คมไทย ใหเ้ กดิ ข้ึนอย่างกว้างขวางและทวั่ ถงึ เชน่ การพฒั นา กศน. ตําบล ห้องสมดุ
ประชาชนทุกแหง่ ใหม้ ีการบรกิ ารทที่ นั สมยั สง่ เสริมและสนบั สนุนอาสาสมัครส่งเสรมิ การอา่ น การสร้างเครือข่าย
ส่งเสรมิ การอ่าน จดั หนว่ ยบริการหอ้ งสมดุ เคล่ือนที่ หอ้ งสมดุ ชาวตลาด พรอ้ มหนังสอื และอปุ กรณเ์ พ่ือจัดกิจกรรม
ส่งเสริมการอ่านและการเรยี นรทู้ ห่ี ลากหลายใหบ้ ริการกบั ประชาชนในพ้นื ท่ตี ่าง ๆ อยา่ งทว่ั ถงึ สม่ำเสมอ รวมทงั้
เสริมสรา้ งความพร้อมในด้านบุคลากร สื่ออปุ กรณ์เพอ่ื สนบั สนนุ การอ่าน และการจัดกิจกรรมเพอื่ สง่ เสรมิ การอ่าน
อยา่ งหลากหลายรปู แบบ

๓) ประสานความร่วมมือหน่วยงาน องค์กร หรือภาคส่วนต่าง ๆ ท่ีมีแหล่งเรียนรอู้ น่ื ๆ เพ่ือส่งเสรมิ การ
จัดการศึกษาตามอัธยาศัยให้มีรปู แบบที่หลากหลาย และตอบสนองความต้องการของประชาชน เช่น พพิ ิธภัณฑ์
ศนู ยเ์ รียนรู้ แหลง่ โบราณคดี วัด ศาสนาสถาน ห้องสมดุ รวมถงึ ภมู ิปญั ญาทอ้ งถิ่น เป็นตน้

๓. ดา้ นเทคโนโลยีเพ่ือการศกึ ษา
๓.๒ พัฒนาการเผยแพร่การจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยโดยผ่านระบบ เทคโนโลยี
ดิจทิ ัล และช่องทางออนไลนต์ ่าง ๆ เชน่ Youtube Facebook หรอื Application อ่นื ๆ เพอื่ ส่งเสริม ให้ครู กศน.
นาํ เทคโนโลยีดจิ ทิ ลั มาใชใ้ นการสร้างกระบวนการเรียนรดู้ ว้ ยตนเอง (Do It Yourself : DIY)
๓. หลกั การและเหตผุ ล
ตามท่ี สำนกั งาน กศน.ไดอ้ นมุ ัตโิ ครงการประจำปงี บประมาณ ๒๕๖๔ ใหส้ ถาบนั สง่ เสรมิ และพฒั นา
นวัตกรรมการเรียนรู้ ดำเนนิ โครงการศูนย์การเรียนรู้ต้นแบบ กศน.๕ ภูมิภาคเป็น Co – Learning Space
เพ่ือมงุ่ เนน้ พฒั นาหอ้ งสมุดประชาชนใหเ้ ปน็ ศนู ย์การเรยี นรู้ตน้ แบบ (Co – Learning Space ) โดยเปิดพนื้ ทเี่ พอื่
ยกระดบั การเรยี นรู้ ทท่ี ันสมยั ร่วมกนั ตามความสนใจ ตอบสนองความต้องการผู้รบั บรกิ ารการศกึ ษาตามอัธยาศัย
ทุกช่วงวัย โดยเปิดพนื้ ทส่ี ำหรบั การทำงาน/การเรียนรู้ พืน้ ท่ีสาหรบั ทำกจิ กรรมต่างๆ ห้องประชุมกลุ่มยอ่ ย
รวมทงั้ ให้บรหิ ารห้องสมุดทง้ั ในรปู แบบดจิ ทิ ลั และสบื ค้นหนงั สอื ในหอ้ งสมุดด้วยตนเอง บรกิ ารอนิ เทอร์เนต็

มลั ติมเี ดยี เพือ่ รองรบั การเรียนร้แู บบ Active learning ตามที่ได้มีการจัดการชี้แจงแนวทางการขับเคลือ่ นการ
ดำเนนิ งานศนู ยก์ ารเรียนร้ตู น้ แบบ ( Co – Learning Space ) ทางสถานีโทรทัศนเ์ พอื่ การศึกษา ( ETV ) ใน
รายการสายใย กศน. ซ่ึงออกอากาศในวันท่ี ๑๘ กมุ ภาพันธ์ ๒๕๖๔ ใหส้ ำนักงาน กศน.จังหวัดๆ ละ
๑๐๐,๐๐๐ บาท โดยไดร้ ับจัดสรรงบประมาณระยะแรก จำนวน ๔๘,๐๐๐ บาท ระยะที่ ๒ จำนวน
๕๒,๐๐๐ บาท นนั้

ศนู ย์การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัยอำเภอเมอื งเลย จงึ ไดด้ ำเนินการจัดทำโครงการ
ศูนย์การเรยี นรู้ตน้ แบบ กศน.๕ ภมู ภิ าคเปน็ Co – Learning Space ในระยะแรกข้ึน เพ่ือดำเนินการตาม
นโยบายดังกลา่ ว โดยไดด้ ำเนนิ การจัดกจิ กรรม ได้แก่ โซนสง่ เสริมการอา่ น ค้นควา้ ข้อมูล ส่ือ ( Learning
Zone ) โซนผักผ่อนนงั่ เลน่ (Relax Zone ) โดยมีกลุ่มเปา้ หมายเป็นผรู้ บั บริการการศกึ ษาตามอธั ยาศัยทุกช่วง
วยั

๔. วตั ถปุ ระสงค์
๔.๑ เพ่ือเป็นการสง่ เสริมการใหบ้ รกิ ารค้นคว้าหาความรู้ทง้ั ในรปู แบบ Online และ Offline
๔.๒ เพอื่ ให้บรกิ ารพื้นท่ีสำหรับการพกั ผอ่ นนั่งเลน่ พบปะพูดคุย อ่านหนงั สือ
๔.๓ เพื่อให้บริการพ้ืนท่ีจิบกาแฟ การบริการจำหน่ายเคร่ืองดื่มหรือผลิตภัณฑ์จากกลุ่มวิชาชีพของ

กศน.ตำบล

๕. เป้าหมาย ( Output )
๕.๑ เชิงปรมิ าณ ( กลมุ่ เป้าหมาย )
๑) ผ้รู บั บริการการศึกษาตามอธั ยาศยั ทุกช่วงวยั จำนวน ๒๐๐ คน

๕.๒ เชิงคุณภาพ
๑) ผู้รับบริการการศึกษาตามอัธยาศัย รอ้ ยละ ๘๐ มคี วามพึงพอใจในการเข้ารับบริการศนู ยก์ าร

เรยี นรตู้ น้ แบบ กศน.๕ ภมู ภิ าคเป็น Co – Learning Space
๒) ผรู้ ับบริการการศกึ ษาตามอธั ยาศยั ได้รบั บรกิ ารการอา่ นทที่ ันสมยั และทกั ษะในการเรยี นรตู้ าม

ความต้องการ มนี ิสัยรักการอ่าน โดยผ่านกระบวนการเรียนรู้ทหี่ ลากหลายพัฒนาศักยภาพด้วยการเรียนร้ดู ้วย
ตนเอง และสามารถนำความร้ทู ่ีได้รับไปประยุกตใ์ ช้ให้เกิดประโยชนส์ งู สดุ

๖. วธิ กี ารดำเนนิ การ

กลุ่มเปา้ หมายและเปา้ หมาย พนื้ ที่ ระยะเวลา
ดำเนินการ ดำเนินการ
กิจกรรมหลัก วัตถุประสงค์ กลุ่มเปา้ หมาย เป้าหมาย กศน. อำเภอ งบประมาณ
เมืองเลย
(เชิงคณุ ภาพ)
กศน.อำเภอ
๑. ประชุมมอบ ผู้อำนวยการมอบ บคุ ลากร กศน. ๑.ผรู้ บั บรกิ าร เมอื งเลย ๒๖ มนี าคม
๒๕๖๔
นโยบายและแนว นโยบายและแนว อำเภอเมืองเลย การศกึ ษาตาม หอ้ งสมดุ
ประชาชน
ทางการดำเนนิ งาน ทางการ อธั ยาศัยร้อยละ ๘๐ จังหวดั เลย

ดำเนนิ การในที่ มคี วามพงึ พอใจใน

ประชมุ ผบู้ รหิ าร การเขา้ รบั บรกิ าร

ศนู ย์การเรียนรู้

๒. เสนอโครงการ - เพื่อมอบหมาย - บรรณารกั ษ์ ต้นแบบ กศน.๕ ๓๑ มนี าคม
๒๕๖๔
- แตง่ ตัง้ งาน กำหนดพ้ืนท่ี ห้องสมุด ภูมิภาคเป็น Co–
คณะกรรมการ และแนวทางการ ประชาชน Learning Space เมษายน ๔๘,๐๐๐
ดำเนินโครงการ ทำงาน “เฉลมิ ราช ๒.ผู้รบั บริการ - กันยายน บาท
กมุ ารี” จงั หวัด การศึกษาตาม ๒๕๖๔
- วางแผนการ ๑. เพ่อื เปน็ การ เลย อธั ยาศัย ได้รับ
ดำเนนิ ส่งเสริมการ - บรรณารกั ษ์ บริการการอ่านที่
ให้บรกิ ารคน้ คว้า หอ้ งสมดุ ทันสมัยและทกั ษะใน
๓. ดำเนนิ งานศนู ย์ หาความรูท้ งั้ ใน ประชาชนจังหวัด การเรยี นรตู้ าม
การเรยี นรู้ต้นแบบ รปู แบบ Online เลย ความต้องการ มนี สิ ยั
(Co – Learning และ Offline รกั การอ่าน โดยผา่ น
Space) เปดิ พน้ื ที่ ๒. เพ่อื เด็ก เยาวชน กระบวนการเรยี นรทู้ ่ี
สำหรบั การทำงาน/ ใหบ้ รกิ ารพน้ื ที่ นักศึกษา กศน. หลากหลายพัฒนา
การเรียนรู้ พืน้ ท่สี า สำหรบั การ ตำบล และ ศักยภาพด้วยการ
หรบั ทำกจิ กรรม พักผ่อนนงั่ เลน่ ประชาชนท่วั ไป เรยี นรู้ด้วยตนเอง
ตา่ งๆ ดังนี้ พบปะพูดคุย และสามารถนำ
- โซนสง่ เสรมิ การ อา่ นหนังสอื ความรู้ที่ไดร้ ับไป
อา่ น คน้ คว้าขอ้ มลู ๓. เพื่อ ประยุกต์ใช้ใหเ้ กดิ
สอ่ื ประโยชนส์ ูงสดุ
(Learning Zone)

- โซนผกั ผอ่ นนง่ั เล่น ใหบ้ รกิ ารพ้นื ทีจ่ บิ

(Relax Zone) กาแฟ การบริการ

จำหน่ายเคร่ืองดมื่

หรือผลิตภัณฑ์
จากกลุ่มวชิ าชีพ
ของ กศน.ตำบล

๖. สรปุ ผลการ เพอ่ื สรปุ ผลการ คณะทำงาน ห้อสมุด วันสุดท้าย
ปฏบิ ัติงาน ปี ๒๕๖๔ ดำเนินงาน ประชาชน ของไตรมาส
และเผยแพร่ จังหวัดเลย

๗. วงเงินงบประมาณทัง้ โครงการ
ใชเ้ งินงบประมาณรายจ่ายประจำปี พ.ศ. ๒๕๖๔ จากแผนงาน : ยทุ ธศาสตร์เพอ่ื สนบั สนนุ ด้านการพฒั นาและ

เสรมิ สร้างศกั ยภาพทรพั ยากรมนุษย์ โครงการขับเคลอื่ นการพฒั นาการศึกษาทย่ี ง่ั ยืน งบรายจา่ ยอน่ื รหสั งบประมาณ
๒๐๐๐๒๓๕๐๕๒๗๐๐๐๒๗ แหลง่ ของเงิน ๖๔๑๑๕๐๐ เปน็ จำนวนเงนิ ท้งั สิน้ ๔๘,๐๐๐ บาท (สีห่ มืน่ แปดพนั บาท
ถ้วน) รายละเอยี ดดงั น้ี

- โซนส่งเสรมิ การอ่าน ค้นควา้ ขอ้ มูล สือ่ ( Learning Zone ) รายละเอยี ดดงั นี้

- จดั ชือ้ หนงั สอื ใหม่ เป็นเงนิ ๕,๐๐๐ บาท

- จดั ช้อื E-book เป็นเงนิ ๕,๐๐๐ บาท

- คา่ เชา่ Tablet ๔ เดือน จำนวน ๔ เครือ่ งๆละ ๔,๙๙๐ เป็นเงิน ๑๙,๙๖๐ บาท

- ตวั ขยายสญั ญาณ Wifi จำนวน ๑ ตัว เป็นเงนิ ๒,๕๐๐ บาท

- โซนพักผอ่ นนงั่ เล่น (Relax Zone ) รายละเอียดดังนี้

- หญ้าเทยี ม จำนวน ๔ เมตรๆละ ๙๐๐ บาท เปน็ เงิน ๓,๖๐๐ บาท
เปน็ เงิน ๗,๙๖๐ บาท
- เบาะโฟม จำนวน ๔ ตัวๆละ ๑,๙๙๐ บาท เป็นเงิน ๗๐๐ บาท

- โต๊ะญีป่ ุน่ จำนวน ๒ ตัวๆละ ๓๕๐ บาท

- ป้ายศูนยก์ ารเรยี นรู้ต้นแบบ จำนวน ๒ ปา้ ย เปน็ เงิน ๓,๒๘๐ บาท

รวมเป็นเงินทงั้ ส้ิน ๔๘,๐๐๐ บาท (สห่ี ม่ืนแปดพนั บาทถ้วน)

หมายเหตุ ขอถั๋วเฉลย่ี ตามทีจ่ า่ ยจรงิ

๘. แนวการใช้จา่ ยงบประมาณ จำนวนเงนิ งบประมาณ (บาท)
กิจกรรมหลัก
ไตรมาส ๑ ไตรมาส ๒ ไตรมาส ๓ ไตรมาส ๔
(ต.ค. – ธ.ค. ๖๓) (ก.ค. – ก.ย. ๖๔)
(ม.ค. – ม.ี ค. ๖๔) (เม.ย.-ม.ิ ย. ๖๔)
ด ำ เนิ น ง า น ศู น ย์ ก า ร เรี ย น รู้ ต้ น แ บ บ
( Co – Learning Space ) เปิดพื้นที่ ๔๘,๐๐๐
สำหรับการทำงาน/การเรียนรู้ พื้นที่
สาหรบั ทำกิจกรรมตา่ งๆ ดังน้ี
- โซนสง่ เสรมิ การอา่ น คน้ คว้าขอ้ มูล
สอ่ื ( Learning Zone )
- โซนผกั ผอ่ นน่งั เลน่ (Relax Zone )

๙. ผูร้ บั ผิดชอบโครงการ
๙.๑ ศนู ยก์ ารศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั อำเภอเมืองเลย
๙.๒ หอ้ งสมุดประชาชนจังหวดั เลย

๑๐. เครือข่าย

๑๑. โครงการท่เี ก่ยี วขอ้ ง
๑๑.๑ โครงการส่งเสรมิ การอ่าน
๑๑.๒ โครงการส่งเสรมิ อาชีพระยะสน้ั กศน.อำเภอเมอื งเลย
๑๑.๓ โครงการการศกึ ษาตามอธั ยาศยั

๑๒. ผลลัพธ์ (Outcome)
๑๒.๑ ผู้รับบริการการศึกษาตามอัธยาศัยได้รับความรู้ที่หลากหลายรูปแบบ ทันสมัย ตรงตามความ

ตอ้ งการ
๑๒.๒ ผ้รู ับบริการการศึกษาตามอัธยาศัยมพี ื้นทีใ่ นการพักผอ่ นนง่ั เล่น พบปะพูดคุย อา่ นหนังสอื
๑๒.๓ มีศูนย์การเรยี นรตู้ น้ แบบ Co – Learning Space ครบวงจร
๑๒.๔ มกี ิจกรรมที่เหมาะสมสำหรบั ผรู้ ับบริการการศึกษาตามอัธยาศยั ทุกชว่ งวัย







หน่วยงาน/สถานศกึ ษา ศูนย์การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัยอำเภอเมอื งเลย
๑. ชอ่ื โครงการ

โครงการ ศนู ย์การเรียนรู้ตน้ แบบ กศน.๕ ภูมิภาคเป็น Co – Learning Space ครัง้ ท่ี ๒

๒. สอดคล้องกบั นโยบาย ยทุ ธศาสตร์ แผน และพันธกจิ
สอดคลอ้ งกบั นโยบายและจุดเน้นการดำเนนิ งาน
ข้อ ๓ พฒั นาหลกั สตู ร ส่ือ เทคโนโลยีและนวัตกรรมทางการศึกษา แหลง่ เรียนรู้ และรปู แบบ การ

จัดการศึกษาและการเรียนรู้ ในทุกระดบั ทกุ ประเภท เพือ่ ประโยชนต์ ่อการจัดการศกึ ษาท่ีเหมาะสม กบั ทกุ
กลุ่มเปา้ หมาย มีความทันสมยั สอดคลอ้ งและพรอ้ มรองรับกบั บรบิ ทสภาวะสงั คมปัจจุบนั ความต้องการ ของ
ผเู้ รยี น และสภาวะการเรียนรใู้ นสถานการณต์ า่ ง ๆ ท่จี ะเกดิ ขน้ึ ในอนาคต

๓.๒ พัฒนาแหล่งเรียนรู้ประเภทต่าง ๆ อาทิ Digital Science Museum/ Digital Science Center/
Digital Library ศูนย์การเรียนรู้ทุกช่วงวัย และศูนย์การเรียนรู้ต้นแบบ กศน. (Co-Learning Space) เพ่ือให้
สามารถ “เรยี นรไู้ ด้อยา่ งท่วั ถงึ ทุกที่ ทกุ เวลา”

ภารกิจตอ่ เนื่อง
๑. ด้านการจดั การศกึ ษาและการเรียนรู้ ขอ้ . ๑.๔ การศกึ ษาตามอธั ยาศัย

๑) พัฒนาแหลง่ การเรยี นรู้ทม่ี บี รรยากาศและสภาพแวดลอ้ มทเี่ อือ้ ต่อการอา่ นและพฒั นาศกั ยภาพ
การเรยี นรู้ใหเ้ กิดขนึ้ ในสงั คมไทย ใหเ้ กดิ ข้ึนอย่างกว้างขวางและทัว่ ถึง เช่น การพฒั นา กศน. ตําบล หอ้ งสมดุ
ประชาชนทกุ แหง่ ใหม้ กี ารบรกิ ารท่ที นั สมัย สง่ เสริมและสนบั สนนุ อาสาสมัครสง่ เสรมิ การอ่าน การสรา้ งเครอื ข่าย
ส่งเสรมิ การอ่าน จัดหน่วยบรกิ ารหอ้ งสมุดเคลื่อนท่ี ห้องสมดุ ชาวตลาด พรอ้ มหนงั สือและอปุ กรณเ์ พ่ือจัดกจิ กรรม
สง่ เสริมการอ่านและการเรียนรู้ทห่ี ลากหลายใหบ้ ริการกบั ประชาชนในพ้นื ท่ตี ่าง ๆ อย่างทั่วถึง สมำ่ เสมอ รวมทง้ั
เสริมสรา้ งความพร้อมในดา้ นบุคลากร ส่ืออปุ กรณ์เพอื่ สนบั สนนุ การอ่าน และการจัดกิจกรรมเพื่อสง่ เสรมิ การอ่าน
อย่างหลากหลายรูปแบบ

๓) ประสานความร่วมมือหน่วยงาน องค์กร หรือภาคสว่ นตา่ ง ๆ ท่ีมีแหล่งเรียนรู้อนื่ ๆ เพ่ือส่งเสริม การ
จดั การศึกษาตามอัธยาศัยให้มีรปู แบบท่ีหลากหลาย และตอบสนองความต้องการของประชาชน เช่น พิพิธภัณฑ์
ศูนยเ์ รยี นรู้ แหล่งโบราณคดี วัด ศาสนาสถาน หอ้ งสมดุ รวมถงึ ภมู ิปัญญาทอ้ งถน่ิ เป็นต้น

๓. ด้านเทคโนโลยีเพ่อื การศกึ ษา
๓.๒ พฒั นาการเผยแพรก่ ารจดั การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั โดยผ่านระบบ เทคโนโลยี
ดิจทิ ลั และชอ่ งทางออนไลน์ต่าง ๆ เช่น Youtube Facebook หรือ Application อน่ื ๆ เพอ่ื สง่ เสริม ใหค้ รู กศน.
นําเทคโนโลยีดจิ ิทลั มาใช้ในการสร้างกระบวนการเรียนรู้ดว้ ยตนเอง (Do It Yourself : DIY)

๓. หลกั การและเหตผุ ล
ตามท่ี สำนักงาน กศน.ได้อนมุ ัติโครงการประจำปงี บประมาณ ๒๕๖๔ ให้สถาบันสง่ เสรมิ และพฒั นา

นวัตกรรมการเรยี นรู้ ดำเนนิ โครงการศนู ย์การเรียนรตู้ น้ แบบ กศน.๕ ภูมิภาคเปน็ Co – Learning Space
เพอ่ื มงุ่ เน้นพฒั นาหอ้ งสมุดประชาชนให้เป็นศูนย์การเรยี นรู้ตน้ แบบ (Co – Learning Space ) โดยเปดิ พนื้ ทเ่ี พือ่
ยกระดับการเรียนรู้ ท่ที นั สมัยรว่ มกันตามความสนใจ ตอบสนองความตอ้ งการผ้รู บั บริการการศกึ ษาตามอัธยาศัย

ทกุ ชว่ งวยั โดยเปิดพ้ืนทส่ี ำหรบั การทำงาน/การเรียนรู้ พ้นื ที่สาหรบั ทำกจิ กรรมตา่ งๆ ห้องประชมุ กลมุ่ ยอ่ ย
รวมทั้งใหบ้ รหิ ารหอ้ งสมดุ ท้งั ในรูปแบบดจิ ิทลั และสบื ค้นหนงั สือในหอ้ งสมดุ ด้วยตนเอง บรกิ ารอนิ เทอร์เน็ต
มลั ตมิ เี ดยี เพ่ือรองรบั การเรียนรู้แบบ Active learning ตามท่ีได้มีการจัดการชี้แจงแนวทางการขับเคลือ่ นการ
ดำเนนิ งานศูนยก์ ารเรยี นร้ตู น้ แบบ ( Co – Learning Space ) ทางสถานีโทรทัศน์เพอ่ื การศึกษา ( ETV ) ใน
รายการสายใย กศน. ซึ่งออกอากาศในวันท่ี ๑๘ กมุ ภาพนั ธ์ ๒๕๖๔ ใหส้ ำนกั งาน กศน.จงั หวดั ๆ ละ
๑๐๐,๐๐๐ บาท โดยไดร้ บั จัดสรรงบประมาณครงั้ ที่ ๒ จำนวน ๒๗,๐๐๐ บาท น้นั

ศนู ยก์ ารศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัยอำเภอเมอื งเลย จงึ ไดด้ ำเนนิ การจดั ทำโครงการ
ศนู ยก์ ารเรยี นรตู้ น้ แบบ กศน.๕ ภมู ภิ าคเปน็ Co – Learning Space คร้ังท่ี ๒ ตามนโยบายดงั กลา่ ว โดยได้
ดำเนนิ การจัดกิจกรรม ไดแ้ ก่ โซนห้องประชมุ ( Co-Working Zone ) โซนกิจกรรม ( Activities Zone) โดย
มกี ลมุ่ เป้าหมายเปน็ ผ้รู บั บรกิ ารการศึกษาตามอธั ยาศยั ทกุ ชว่ งวัย

๔. วตั ถปุ ระสงค์
๔.๑ เพือ่ เป็นการเพม่ิ พื้นที่การจดั กจิ กรรมสำหรับกลมุ่ เป้าหมายทุกชว่ งวัย
๔.๒ เพ่ือให้บรกิ ารห้องประชุมกลุ่มยอ่ ย ห้องสอนเสริมนอกเวลาเรยี นตามความเหมาะสม

๕. เป้าหมาย ( Output )
๕.๑ เชิงปริมาณ ( กล่มุ เปา้ หมาย )
๑) ผรู้ บั บริการการศกึ ษาตามอัธยาศยั ทกุ ช่วงวัย จำนวน ๒๐๐ คน

๕.๒ เชงิ คณุ ภาพ
๑) ผรู้ ับบรกิ ารการศกึ ษาตามอัธยาศยั รอ้ ยละ ๘๐ มีความพึงพอใจในการเข้ารับบริการศูนยก์ าร

เรียนรตู้ น้ แบบ กศน.๕ ภมู ิภาคเป็น Co – Learning Space
๒) ผ้รู ับบรกิ ารการศกึ ษาตามอัธยาศัย ไดร้ บั บรกิ ารการอ่านท่ที นั สมัยและทักษะในการเรยี นรู้ตาม

ความต้องการ มนี ิสัยรกั การอ่าน โดยผ่านกระบวนการเรียนรู้ทหี่ ลากหลายพัฒนาศักยภาพด้วยการเรียนรู้ด้วย
ตนเอง และสามารถนำความรทู้ ี่ได้รบั ไปประยุกต์ใช้ให้เกิดประโยชน์สงู สุด

๖. วธิ กี ารดำเนินการ

กลุ่มเปา้ หมายและเปา้ หมาย พน้ื ท่ี ระยะเวลา
ดำเนนิ การ ดำเนินการ
กิจกรรมหลกั วัตถุประสงค์ กลุ่มเปา้ หมาย เป้าหมาย งบประมาณ
กศน. อำเภอ
(เชงิ คุณภาพ) เมืองเลย

๑. ประชุมมอบ ผอู้ ำนวยการมอบ บคุ ลากร กศน. ๑.ผู้รบั บริการ ๑๕ มถิ นุ ายน
นโยบายและแนว นโยบายและแนว ๒๕๖๔
ทางการดำเนินงาน ทางการ อำเภอเมอื งเลย การศกึ ษาตาม
ดำเนนิ การในท่ี
อัธยาศัยรอ้ ยละ ๘๐

มีความพึงพอใจใน

ประชมุ ผบู้ รหิ าร การเข้ารบั บรกิ าร

ศูนยก์ ารเรยี นรู้

๒. เสนอโครงการ - เพ่ือมอบหมาย - บรรณารักษ์ ตน้ แบบ กศน.๕ กศน.อำเภอ ๒๒ มถิ นุ ายน
เมอื งเลย ๒๕๖๔
- แตง่ ต้ัง งาน กำหนดพ้ืนที่ หอ้ งสมดุ ภูมภิ าคเป็น Co– ๒๗,๐๐๐
คณะกรรมการ และแนวทางการ ประชาชน Learning Space หอ้ งสมดุ กรกฏาคม บาท
ดำเนนิ โครงการ ทำงาน “เฉลมิ ราช ๒.ผรู้ บั บรกิ าร ประชาชน -
กุมารี” จงั หวดั การศึกษาตาม จังหวดั เลย
- วางแผนการ ๑. เพ่ือเปน็ การ เลย อธั ยาศยั ได้รับ กนั ยายน
ดำเนนิ เพ่มิ พนื้ ทีก่ ารจดั - บรรณารกั ษ์ บรกิ ารการอา่ นท่ี หอ้ สมุด ๒๕๖๔
กจิ กรรมสำหรบั ห้องสมุด ทนั สมัยและทกั ษะใน ประชาชน
๓. ดำเนนิ งานศูนย์ กลมุ่ เปา้ หมายทกุ ประชาชนจังหวดั การเรียนรูต้ าม จังหวัดเลย วันสุดท้าย
การเรียนรู้ต้นแบบ ช่วงวยั เลย ความตอ้ ง การ มนี ิสัย ของไตรมาส
(Co – Learning ๒. เพ่อื ใหบ้ ริการ รักการอ่าน โดยผ่าน
Space) เปิดพ้ืนที่ หอ้ งประชุมกลมุ่ เด็ก เยาวชน กระบวนการเรียนรทู้ ี่
สำหรบั การทำงาน/ ยอ่ ย ห้องสอน นกั ศึกษา กศน. หลากหลายพัฒนา
การเรยี นรู้ พนื้ ท่ีสา เสริมนอกเวลา ตำบล และ ศกั ยภาพด้วยการ
หรบั ทำกจิ กรรม เรยี นตามความ ประชาชนทั่วไป เรยี นร้ดู ว้ ยตนเอง
ตา่ งๆ ดังน้ี เหมาะสม และสามารถนำ
- โซนห้องประชุม ความรู้ทไ่ี ด้รับไป
( Co-Working ประยุกต์ใช้ใหเ้ กดิ
Zone ) ประโยชนส์ งู สดุ

- โซนกิจกรรม

( Activities Zone)

๖. สรุปผลการ เพ่ือสรปุ ผลการ คณะทำงาน

ปฏิบัติงาน ปี ๒๕๖๔ ดำเนินงาน

และเผยแพร่

๗. วงเงินงบประมาณท้ังโครงการ
ใช้เงินงบประมาณรายจ่ายประจำปี พ.ศ. ๒๕๖๔ จากแผนงาน : ยุทธศาสตรเ์ พอื่ สนบั สนนุ ด้านการพฒั นาและ

เสรมิ สร้างศกั ยภาพทรัพยากรมนษุ ย์ โครงการขับเคลอื่ นการพัฒนาการศกึ ษาทีย่ ง่ั ยนื งบรายจา่ ยอน่ื รหสั งบประมาณ
๒๐๐๐๒๓๕๐๕๒๗๐๐๐๒๗ แหลง่ ของเงนิ ๖๔๑๑๕๐๐ เปน็ จำนวนเงินทั้งส้ิน ๒๗,๐๐๐ บาท (สองหม่ืนเจ็ดพนั
บาทถว้ น) รายละเอียดดังน้ี

คา่ ปา้ ยประชาสัมพันธ์โครงการฯ จำนวน ๑ ป้าย เปน็ เงิน ๓,๙๐๐ บาท
- ขนาด ๓๘๐ × ๗๖ ซม. จำนวน ๑ ปา้ ย เป็นเงนิ ๓,๗๐๐ บาท
- ขนาด ๓๘๐ × ๔๓ ซม. จำนวน ๑ ป้าย เป็นเงิน ๓,๕๐๐ บาท
- ขนาด ๓๔๗ × ๗๖ ซม. จำนวน ๑ ป้าย เปน็ เงนิ ๓,๐๐๐ บาท
- ขนาด ๒๘๓ × ๑๒๐ ซม. จำนวน ๒ ปา้ ย เปน็ เงิน ๕,๒๐๐ บาท
- ขนาด ๑๗๕ × ๑๒๐ ซม. จำนวน ๒ ปา้ ย เป็นเงนิ ๓,๔๐๐ บาท
- ขนาด ๑๘๘ × ๘๓ ซม. จำนวน ๒ ป้าย เป็นเงิน ๓,๐๐๐ บาท
- ขนาด ๑๖๕ × ๔๓ ซม. จำนวน ๑ ปา้ ย เปน็ เงนิ ๑,๓๐๐ บาท
- ขนาด ๑๕๕ × ๕๒ ซม.

รวมเปน็ เงินทั้งสนิ้ ๒๗,๐๐๐ บาท (สองหมื่นเจ็ดพันบาทถว้ น)

หมายเหตุ ขอถั๋วเฉล่ยี ตามทจี่ ่ายจรงิ

๘. แนวการใช้จ่ายงบประมาณ

กจิ กรรมหลกั จำนวนเงินงบประมาณ (บาท)

ไตรมาส ๑ ไตรมาส ๒ ไตรมาส ๓ ไตรมาส ๔

(ต.ค. – ธ.ค. ๖๓) (ม.ค. – มี.ค. ๖๔) (เม.ย.-ม.ิ ย. ๖๔) (ก.ค. – ก.ย. ๖๔)

ด ำ เนิ น ง า น ศู น ย์ ก า ร เรี ย น รู้ ต้ น แ บ บ

( Co – Learning Space ) เปิดพื้นที่ ๒๗,๐๐๐

สำหรับการทำงาน/การเรียนรู้ พื้นที่

สาหรบั ทำกิจกรรมตา่ งๆ ดังน้ี

- โซนหอ้ งประชุม

( Co-Working Zone )

- โซนกจิ กรรม

( Activities Zone)

๙. ผู้รบั ผดิ ชอบโครงการ
๙.๑ ศูนย์การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั อำเภอเมืองเลย
๙.๒ ห้องสมุดประชาชนจังหวดั เลย

๑๐. เครอื ขา่ ย

๑๑. โครงการท่ีเกย่ี วข้อง
๑๑.๑ โครงการสง่ เสรมิ การอา่ น
๑๑.๒ โครงการสง่ เสรมิ อาชีพระยะสั้น กศน.อำเภอเมอื งเลย
๑๑.๓ โครงการการศกึ ษาตามอธั ยาศัย

๑๒. ผลลพั ธ์ (Outcome)
๑๒.๑ ผู้รับบริการการศึกษาตามอัธยาศัยได้รับความรู้ท่ีหลากหลายรูปแบบ ทันสมัย ตรงตามความ

ต้องการ
๑๒.๒ ผู้รบั บริการการศกึ ษาตามอธั ยาศยั มพี ้ืนทีใ่ นการพกั ผอ่ นนัง่ เล่น พบปะพูดคุย อ่านหนังสือ
๑๒.๓ มีศนู ย์การเรียนรู้ต้นแบบ Co – Learning Space ครบวงจร
๑๒.๔ มกี ิจกรรมทีเ่ หมาะสมสำหรบั ผู้รับบริการการศึกษาตามอัธยาศยั ทกุ ชว่ งวัย

๑๓. ดชั นีตัวชี้วัดผลสำเร็จของโครงการ
๑๓.๑ ตวั ชีว้ ดั ผลผลติ (Output)
ร้อยละ ๘๐ ท่ีเขา้ รับบริการการศกึ ษาตามอธั ยาศัยเปน็ ไปตามเป้าหมายท่ีกำหนด
๑๓.๒ ตวั ชี้วดั ผลลพั ธ์ (Outcome)

ผรู้ ับบริการการศึกษาตามอัธยาศยั ร้อยละ ๘๐ มีความพึงพอใจในการเข้ารับบริการศนู ยก์ ารเรียนรู้
ต้นแบบ กศน.๕ ภูมิภาคเป็น Co – Learning Space และได้รับบรกิ ารการอา่ นที่ทันสมัยและทักษะในการ
เรียนรู้ตามความต้องการ มนี ิสัยรักการอ่าน โดยผ่านกระบวนการเรียนรู้ท่ีหลากหลายพัฒนาศักยภาพด้วยการ
เรียนรู้ด้วยตนเอง และสามารถนำความรทู้ ี่ไดร้ ับไปประยุกต์ใช้ให้เกิดประโยชนส์ งู สุด
๑๔. การตดิ ตามและประเมินผลโครงการ

๑๔.๑ แบบสำรวจความพงึ พอใจ
๑๔.๒ สรุปผลการดำเนนิ โครงการ




Click to View FlipBook Version