บทที่ 2 เอกสารงานวจิ ยั ทเี่ กยี่ วขอ้ ง 59
ความสําคญั ของผ้นู ํา
ความสําคญั ของผู้นํา
ผู้นํา
ผู้นํา (Leader) คือบุคคลท่ีสามารถชกั จูงหรือชี้นําบุคคลอื่น
ให้ปฏิบตั งิ าน สํ าเร็จตามวตั ถุประสงคท์ ่ีวางไว้ได้อย่างมีประสิ ทธผิ ลและ
ประสิทธภิ าพ มคี วามสามารถทจี่ ะทาํ ให้องคก์ ารดาํ เนินไปอยา่ งก้าวหน้าและ
บรรลเุ ป้ าหมาย โดยการใช้อทิ ธพิ ลเหนือทศั นคตแิ ละการกระทาํ ของผอู้ นื่
สมพงษ์ เกษมสิ น (2519) การท่ีผู้นําใช้อิทธิพลและอํานาจหน้าที่ใน
ความสัมพนั ธซ์ ่ึงมอี ยูต่ อ่ ผู้ใต้บงั คบั บญั ชาในสถานการณต์ า่ งๆเพอื่ ปฏบิ ตั แิ ละ
อาํ นวยการ
ฟารดิ า อบิ ราฮิม (2537) เป็ นการใช้อาํ นาจกบั ผู้อน่ื ให้เกดิ การปฏบิ ตั ิ
เพอ่ื ความรเิ รม่ิ ของกลมุ่ เกดิ ผลงานตามเป้ าหมาย
คุณวุฒิ คนฉลาด (2540 หน้า 11) ได้แสดงความสํ าคญั ของคําว่า
ผู้บรหิ าร และผู้นําขององคก์ ารว่า การทอ่ี งคก์ ารหรอื หน่วยงานจะอยู่รอด
หรอื น้ัน ขึ้นอยู่กบั บุคคล 2 ประเภท คือผู้ท่ที ําหน้าทีเ่ ป็ นหัวหน้า ซ่ึง
เรยี กวา่ ผ้บู รหิ าร ทาํ หน้าทบี่ รหิ ารองคก์ าร อกี ประเภทหน่ึง คอื ผู้นํา
ความแตกต่างของผู้บริหารกบั ผู้นํา คือ ผู้บริหารเป็ นผู้มีตําแหน่งและมี
อํานาจตามกฎหมาย ส่ วนผู้นํา คือ ผู้ทมี่ พี ลงั อํานาจสามารถโน้มน้าว
จติ ใจคนอน่ื ให้ทาํ ตามโดยอาศัยคุณความดี
เบนนิส (Bennis ,1984 , pp.15-16) กลา่ ววา่ ผ้นู ํามคี วามสําคญั ตอ่ องคก์ าร
ในด้าน เป็ นผู้รบั ผิดชอบต่อประสิ ทธิผลขององคก์ าร ความสํ าเร็จของ
องคก์ ารขึ้นอยู่กบั ความตระหนักรู้ในความสํ าคญั ของคุณภาพขององคก์ าร
เป็ นผู้เปลยี่ นแปลงองคก์ ารให้เหมาะสมกบั ส่ิงแวดล้อม และเป็ นผู้สนองความ
ตอ้ งการทางการศึกษาของชุมชน
บทที่ 2 เอกสารงานวจิ ยั ทเ่ี กยี่ วข้อง
ความสําคญั ของผ้นู ํา
60
เอทซโิ อนิ (Etzioni , 1964 , p.116) ให้ความหมายของภาวะผู้นําว่า เป็ น
พลงั อํานาจท่ีมอี ยู่ในตวั มีอทิ ธพิ ลต่อกลไกการบรหิ ารควบคู่ไปกบั การนํา
บุคลากรในองคก์ าร
แคซและคาน (Katz and Kahn , 1978 , p.528) ได้ให้ความหมายของภาวะ
ผู้นําว่า เป็ นอทิ ธพิ ลทม่ี ตี ่อกลไกการบรหิ ารควบคู่ไปกบั การนําบุคลากรใน
องคก์ าร
เฮาส์และเบทซ์ (House and Baetz , 1979 ,p.345) อธบิ ายว่า ภาวะผู้นํา
เกดิ ขนึ้ ในกลมุ่ คนทม่ี ากกวา่ สองคนขนึ้ ไป ภาวะผู้นํามอี ทิ ธพิ ลตอ่ พฤตกิ รรม
ของกลมุ่ คนให้สอดคลอ้ งกบั ความมงุ่ หมายขององคก์ าร
Hersey and Blanchard (1993) ให้ความหมายว่า เป็ นกระบวนการที่ใช้
อิทธิพลให้บุคคลหรือกลุ่มบุคคลพยายามปฏิบัติงานในหน้ าท่ีให้บรรลุ
เป้ าหมายภายใตส้ ถานการณท์ ก่ี าํ หนดไว้
Greenberg and Baron (1995) กล่าวว่า เป็ นความสามารถท่ีมีอิทธิพลต่อ
สมาชกิ ภายในกลุม่ ทาํ ให้บรรลุจุดประสงคท์ ตี่ ง้ั ไว้ ซ่งึ แหลง่ ทม่ี า
ของอทิ ธพิ ลมาจากตาํ แหน่งหน้าทภ่ี ายในองคก์ ารหรอื ภายนอกองคก์ าร
พนิดา ดามาพงษ์ (2535) ให้ความหมายของผู้นําว่ามหี ลายแบบ
คอื
1. เป็ นศิลปในการทาํ ให้ผู้อน่ื ยอมตาม ทาํ ให้ผู้อน่ื เกดิ ความประทบั ใจเชื่อ
ฟงั ภกั ดแี ละเกดิ ความรว่ มมอื
2. เป็ นการใช้อทิ ธพิ ลทาํ ให้การเปลยี่ นแปลงเกดิ ความรว่ มมอื ไปส่จู ุดมงุ่ หมาย
3. เป็ นรปู แบบของการชกั จงู ใจให้ยอมทาํ ตามโดยสมคั รใจหรอื สร้างแรงบนั ดาล
ใจให้ยอมรบั
4. เป็ นผลของการมปี ฏสิ ัมพนั ธม์ กี ารกระตุ้นซ่ึงกนั และกนั เพอื่ ไปสู่อุดมการณ์
เดยี วกนั ด้วยความสมคั รใจ ซ่ึงความเป็ นผู้นําเป็ นความสามารถของบุคคลท่ี
ทาํ ให้ผู้อนื่ ยอมทาํ ตามดว้ ยความสมคั รใจ เพอ่ื ไปจุดมุง่ หมายรว่ มกนั
บทที่ 2 เอกสารงานวจิ ยั ทเี่ กย่ี วข้อง
ความสําคญั ของผ้นู ํา
61
ผนู้ ํา ถอื เป็ นบุคคลทมี่ คี วามสําคญั ยง่ิ ตอ่ การบรหิ ารตอ่ การบรหิ ารงาน
ในองคก์ ารให้มปี ระสิทธภิ าพและประสบผลสําเร็จโดยขนึ้ อยูก่ บั ภาวะผู้นําทมี ี
อยู่ในตัวของแต่ละบุคคลว่าจะสามารถนํามาใช้ ได้อย่างเหมาะสมกับ
สถานการณต์ า่ งๆหรอื ไม่
เราทุกคนต้องมภี าวะผู้นําในตวั เองในการจดั การความรู้ เพอื่
ปรับตัวเองให้อยู่ในโลกที่เปลี่ยนแปลงได้ ดังน้ัน ภาวะผู้นํา หรือ
Leadership น้นั จะต้องมใี นทุกระดบั ไมใ่ ช่เพยี งผบู้ งั คบั บญั ชาเทา่ น้นั .
ความโดดเด่นมีความหมายกว้างและหลากหลาย ชวนให้ นึกถึง
ความสามารถ ความดุร้าย, ศักดศิ์ ร,ี ความเป็ นผู้นํา, ศักดศิ์ ร,ี ความสามารถใน
การสร้างผลลพั ธ,์ และคําส่ังของการกระทํา เพือ่ ก้าวไปข้างหน้าสู่เป้ าหมาย
เพอื่ ให้บรรลเุ ป้ าหมายและรปู แบบ องคป์ ระกอบ ความกลา้ หาญ ความสามารถ
ในการโน้มน้าวใจ และระยะเวลาในการตดั สินใจเป็ นกระบวนการ การกระทาํ
ทม่ี อี ทิ ธพิ ลอยา่ งมากสามารถกาํ หนดเป้ าหมายและบรรลเุ ป้ าหมายของกลอ้ งได้
1 โดยใช้อํานาจหรืออํานาจสร้างความสัมพนั ธร์ ะหว่างลูกคร่ึงกบั หน่ึงทีม
เป้ าหมายหรอื เป้ าหมายจะถูกรวมเข้ากบั น๊ อตทาํ ให้ความพยายามทจ่ี ะรวมกนั
ในการดาํ เนินการ หลายๆ อยา่ งรวมถงึ เทคนิคการจดั การภาพลกั ษณท์ ด่ี แี ละ
การใช้ทกั ษะความเป็ นผนู้ ํา สามารถจงู ใจคนในหน่วยงานได้
2 และเป็ นความสามารถทจ่ี ะให้ เป้ าหมายของ ภายใต้การบงั คบั บญั ชาจะมี
ภาพภายใตค้ าํ ส่ังของความเคารพและไวว้ างใจในฟารม์ กญั ชา
เพอื่ สนบั สนุนจาํ นวนผู้นําโดยตรง Chu จะใช้ความสามารถและพลงั ของพวก
เขาเพอื่ เป็ นผู้นําทมี ปฏบิ ตั กิ าร หนาให้ไดต้ ามวตั ถุประสงค์ รวดเร็ว
บทท่ี 2 เอกสารงานวจิ ยั ทเ่ี กยี่ วขอ้ ง
ความสําคญั ของผ้นู ํา
62
คนไทยได้ให้การยอมรบั พุทธศาสนาตง้ั แตพ่ ุทธศตวรรษท่ี 2 และได้ถอื เป็ น
ศาสนาของชาติ ทําให้พุทธศาสนามีบทบาทสํ าคญั ในฐานะผู้นําทางด้าน
จติ ใจ ซ่ึงเป็ นศนู ยก์ ลางของชุมชน แตเ่ มอ่ื สภาพสังคมเปลย่ี นแปลงไป ทาํ
ให้สญู เสียบทบาทในช่วงหลายปีทผ่ี า่ นมานีเ้ อง กลา่ วคอื เดมิ ระบบการศึกษา
อยทู่ ว่ี ดั พระมบี ทบาทเป็ นผนู้ ํา แตต่ อ่ มาไดย้ ้ายศนู ยก์ ลางการศึกษาออกจาก
การดูแลของวดั ทาํ ให้ด้านการให้การศึกษาของพระสงฆน์ ้อยลง นําไปสู่
ผลกระทบตอ่ ด้านอนื่ ๆ อกี ด้วยอยา่ งหลกี เลย่ี งไมไ่ ด้ แตอ่ ยา่ งไรก็ตาม วดั
ไม่ได้สูญเสี ยบทบาทไปท้งั หมด ยงั คงรกั ษาสถานการณ์เป็ นผู้นําทางจิต
วญิ ญาณ เป็ นทพ่ี ่ึงทางใจแก่พุทธศาสนิกชนอยู่จนกระท่งั ปัจจุบนั โดยมี
พระสงฆเ์ ป็ นผู้ขบั เคลือ่ นบทบาทดงั กล่าว พระสงฆถ์ ือว่าเป็ นศาสนทายาท
และเป็ นหน่ึงในพระรตั นตรยั ซ่งึ เป็ นหวั ใจสําคญั ของพุทธศาสนา เป็ นองคก์ ร
ที่ทํางานเกี่ยวกบั พุทธศาสนาซ่ึงเป็ นที่ยอมรบั ของชุมชนในฐานะเป็ นผู้นํา
ดงั น้ัน พระสงฆน์ อกจากต้องทาํ หน้าทเ่ี พอื่ ขดั เกลากเิ ลสของตนเอง ศึกษา
ไตรสิกขาแล้ว ยงั ต้องทาํ หน้าทเ่ี พอ่ื สังคมหรอื ชุมชนอกี ด้วย เพราะในความ
เป็ นจรงิ แล้ว ชีวติ ของพระสงฆม์ คี วามสัมพนั ธอ์ ย่างแนบแน่นกบั ชุมชนทง้ั
ด้านการเป็ นอยู่ และความช่วยเหลอื อน่ื ๆ ในขณะเดยี วกนั พระสงฆต์ ้อง
ทําหน้าที่ตอบแทนชุมชนตามนโยบายที่พระพุทธเจ้าได้ตรสั ไว้ว่า “ภิกษุ
ท้งั หลาย เธอท้งั หลายจงจาริกไปเพ่ือประโยชน์เกื้อกูล และความสุขแก่
มหาชน เพื่ออนุเคราะห์ชาวโลก” (ฉลอง พนั ธจ์ นั ทร์ และคณะ, 2553)
ปัจจุบนั งานพฒั นาส่วนมาก มรี ฐั เป็ นเจ้าภาพในกระบวนการขบั เคลอ่ื นใน
ฐานะเป็ นผู้ให้ การสนับสนุนด้านงบประมาณ ความคดิ ทรพั ยากรอน่ื ๆ
ประกอบกบั โลกทศั น์ของคนในสังคมต่อพระสงฆไ์ ด้เปลยี่ นไปเป็ นอย่างมาก
โดยเห็นความสําคญั ของวดั น้อยลงไปทุกที จงึ มคี วามจาํ เป็ นอยา่ งยง่ิ ทจ่ี ะต้อง
หนั มาทบทวนและให้การสนบั สนุนเพอื่ ส่งเสรมิ ศักยภาพของพระสงฆ์ ซง่ึ มอี ยู่
แล้ว ให้ปรากฏเป็ นรูปธรรมทชี่ ดั เจน ปัจจุบนั การพฒั นาชุมชนของพระสงฆ์
ส่วนใหญ่ จะเน้นทชี่ นบทมากกวา่ ในเมอื ง ด้วยเหตุทส่ี ภาพสังคมในชนบท
น้ันยงั มแี บบเก่าอยู่เป็ นจํานวนมากคอื เป็ นสังคมทมี่ วี ดั เป็ นศูนยก์ ลางในการ
ประกอบกจิ กรรมแทบทุกดา้ นของหมบู่ ้าน มภี กิ ษุเป็ นผู้นําทส่ี ําคญั ของชุมชน
ดงั น้นั พระสงฆจ์ งึ มคี วามเกยี่ วข้องกบั ชวี ติ ความเป็ นอยขู่ องชาวบา้ นโดยปรยิ าย
บทท่ี 2 เอกสารงานวจิ ยั ทเ่ี กยี่ วข้อง
ความสําคญั ของผ้นู ํา
63
กจิ กรรมใดทเี่ ป็ นไป เพอื่ สร้างความเจรญิ ก้าวหน้าให้แกห่ มูบ่ ้าน พระสงฆก์ ็
มกั เข้าไปเกยี่ วข้องด้วยเสมอ โดยยดึ หลกั วา่ เป็ นการให้ความช่วยเหลอื โดย
เมตตากรุณาโดยพืน้ ฐานความจรงิ ทวี่ ่าท่านเป็ นส่ วนหน่ึงในชุมชนแห่งน้ัน
และจาํ เป็ นต้องพง่ึ พาอาศัยปจั จยั การดาํ รงชพี จากชาวบ้าน ซง่ึ ความเป็ นอยูท่ ี่
สขุ สมบรู ณข์ องหมบู่ า้ นก็ยอ่ ม มผี ลตอ่ ความเป็ นอยขู่ องตวั