คำนำ
แผนบริหารและพัฒนาบุคลากรประจาปีงบประมาณ 2560 – 2564 วิทยาลัยการสาธารณสุข
สิรินธร จังหวัดยะลา (ฉบับปรับปรุง ธันวาคม พ.ศ. 2563) จัดทาขึ้นตามแนวทางการประกันคุณภาพ
ภายในสถาบันอุดมศึกษาและสอดคล้องกับแผนยุทธศาสตร์ของวิทยาลัย และนโยบายผู้บริหาร
โดยใช้กระบวนการมีส่วนร่วมของบุคลากรทุกภาคส่วน เพื่อเป็นกรอบแนวทางในการบริหารทรัพยากร
บุคคลท่ีครอบคลุมตั้งแต่การวิเคราะห์อัตรากาลัง การสรรหาให้ได้บุคลากรที่มีคุณภาพ การพัฒนาให้เป็น
บุคลากรที่มี ความรู้ ความสามารถ มีสมรรถนะเพียงพอสาหรับการปฏิบัติหน้าท่ีให้บรรลุวิสัยทัศน์ของ
วิทยาลัย มีคุณธรรม จริยธรรม และการรักษาบุคลากรให้อยู่ปฏิบัติงานในวิทยาลัยอย่างมีความสุข และ
มีความก้าวหน้าและมั่นคงในวิชาชีพ รวมทั้งการจัดการความรู้ของบุคลากรที่ทาให้เกิดความเชื่อมโยงและ
สามารถนาสู่การปฏิบัติท่ี สอดคล้องกับวิสัยทัศน์ ประเด็นยุทธศาสตร์ และบรรลุวิสัยทัศน์ของวิทยาลัย
การสาธารณสขุ สริ ินธร จงั หวดั ยะลา
วิทยาลัยการสาธารณสุขสริ นิ ธร จังหวดั ยะลา ขอขอบคุณบุคลากรทกุ คนทุกฝ่ายที่มสี ่วนร่วมในการ
จดั ทาแผนบรหิ ารและพัฒนาบุคลกรฉบับนขี้ ึ้นมา และหวังวาบุคลากรทุกระดับ สามารถนาแผนบริหารและ
พัฒนาบุคลากรฯ ไปใช้เป็นแนวทางในการดาเนินการพัฒนาบุคลากรได้อย่างเหมาะสมและเป็นรูปธรรม
เพือ่ รองรับการประเมินผลการปฏบิ ตั ิราชการประจาปแี ละการประกันคุณภาพภายในได้เปน็ อย่างดี
คณะกรรมการพัฒนาคณาจารย์และบุคลากรสายสนับสนนุ
ธนั วาคม 2563
สารบัญ
เรอื่ งืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืื หนา้
1. ขอ้ มูลพ้นฐานืและสภาพการณ์ทั่วไป
1.1 ประวัติความเป็นมาของวทิ ยาลยั 1
1.2 นโยบายวทิ ยาลัยการสาธารณสุขสริ นิ ธร จงั หวัดยะลา 6
1.3 แผนยทุ ธศาสตรว์ ทิ ยาลยั ปี 2560 – 2564 6
1.4 บทบาทหน้าทข่ี องวทิ ยาลยั การสาธารณสขุ สิรินธร จงั หวดั ยะลา 7
1.5 โครงสร้างการบริหารของวิทยาลัยการสาธารณสขุ สิรนิ ธร จังหวดั ยะลา 8
2. การวิเคราะห์ข้อมูลเพ่อใชป้ ระกอบการวางแผนการบริหารและพัฒนาบุคลากร 10
2.1 สภาพปจั จบุ ันดา้ นบุคลากรของวทิ ยาลัยการสาธารณสุขสิรินธร จงั หวดั ยะลา 19
2.2 การบริหารอาจารย์ผู้รบั ผดิ ชอบหลกั สูตร 20
2.3 กรอบอตั รากาลังและแผนความตอ้ งการอตั รากาลังของวทิ ยาลยั การสาธารณสขุ สริ ินธร 36
จังหวดั ยะลา 2561 – 2564
2.4 การสรรหาบุคลากร
3. การพัฒนาบุคลากร 38
3.1 หลักการจดั ทาแผนบคุ ลากร 39
39
3.2 วัตถุประสงค์การจัดทาแผนพฒั นาบคุ ลากร
3.3 วสิ ัยทัศนก์ ารพฒั นาบคุ ลากรวิทยาลยั การสาธารณสุขสิรนิ ธร จงั หวดั ยะลา 39
3.4 การวิเคราะห์องค์กรโดยใช้ SWOT เพ่ือกาหนดจดุ ยนื การพัฒนา 42
42
3.5 ขนั้ ตอนการดาเนินการ 42
3.6 การปรบั ปรุงแผนพฒั นาบคุ ลากร 48
3.7 ยทุ ธศาสตร์การพัฒนาบุคลากรวทิ ยาลยั การสาธารณสุขสิรนิ ธร จงั หวดั ยะลา 48
3.8 ระบบการส่งเสรมิ และพัฒนาบคุ ลากร (การจัดสรรทุนการศกึ ษา)
3.9 แนวทางการพัฒนาบุคลากรตามสมรรถนะของวทิ ยาลยั การสาธารณสุขสิรินธร จังหวดั ยะลา
4. ระบบคา่ ตอบแทนและสวสั ดกิ าร 52
4.1 คาจากดั ความ 52
4.2 กรอบแนวคิด 52
4.3 การจดั ระบบค่าตอบแทนและสวสั ดิการ
5. ระบบการประเมนิ ืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืื
5.1 การประเมนิ ต่อสัญญาจ้าง 55
5.2. การประเมนิ เล่ือนเงินเดือน/เลอื่ นค่าตอบแทน/เพิม่ ค่าจ้าง/ตอ่ สัญญาจ้างลกู จา้ งเหมาบรกิ าร 57
6. ระบบความกา้ วหน้าในสายวชืิ าชีพืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืื
6.1 ข้าราชการพลเรือน 62
6.2 สายอาจารย์ (ข้าราชการพลเรอื นในสถาบนั อดุ มศึกษา/พนักงานสถาบนั ) 64
6.3 ลูกจ้างประจา 65
6.4 พนักงานราชการและพนักงานกระทรวงสาธารณสุขทวั่ ไป 66
สารบัญื
(ต่อ)
เรื่องืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืื ืืืืืืืืหนา้
7. การรกั ษาไว้ืและเกษียณืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืื
7.1 การพัฒนาคณุ ภาพชีวติ 67
7.2 การเกษยี ณอายรุ าชการและสทิ ธิประโยชน์ท่ีข้าราชการพึงไดเ้ มือ่ พ้นจากราชการ
โดยไม่มีความผิด 68
7.3 การเตรยี มทดแทนอัตราเกษียณ 69
บทที่ 1
ข้อมลู พ้ืนฐาน และสภาพการณ์ท่ัวไป
1.1 ประวัติความเปน็ มาของวทิ ยาลัย
วิทยาลัยการสาธารณสุขสิรนิ ธร จงั หวัดยะลา ตั้งอยู่ เลขที่ 91 ถนนเทศบาล 1 ตาบลสะเตง
อาเภอเมือง จังหวัดยะลา มีเน้ือท่ี 16 ไร่ ตั้งอย่ใู นบริเวณเดียวกันกับส่วนราชการสังกัดกระทรวงสาธารณสุข
ตา่ ง ๆ ในจังหวัดยะลา
วิทยาลัยการสาธารณสุขสิรินธรจังหวัดยะลา เป็นสถาบันการศึกษาระดับอุดมศึกษา สังกัด
สถาบันพระบรมราชชนก สานักงานปลัดกระทรวง กระทรวงสาธารณสุข เร่ิมก่อต้ังเม่ือ พ.ศ. 2509 โดยใช้ชื่อ
ว่า “ศูนย์ฝึกและอบรมอนามัยภาคใต้ จังหวัดยะลา” แต่ในระยะแรกของการก่อตั้งนั้น ได้ใช้สถานที่จังหวัด
ราชบุรีเป็นสถานท่ีเรียนชั่วคราว ต่อมาพ.ศ. 2510 จึงย้ายมาเรียนที่จังหวัดยะลา และในปี พ.ศ. 2511
พระบาทสมเด็จพระเจา้ อยหู่ วั ทรงพระกรุณาโปรดเกลา้ ฯเสด็จพระราชดาเนินทรงประกอบพิธีเปิด เมื่อวนั จันทร์
ที่ 11 มีนาคม พ.ศ. 2511 ต่อมาในปี พ.ศ. 2517 เปลี่ยนชื่อเป็น “ศูนย์ฝึกอบรมการสาธารณสุขภาคใต้
จังหวัดยะลา” และเปลี่ยนชื่ออีกคร้ังในปี พ.ศ. 2521 เป็น “วิทยาลัยการสาธารณสุขภาคใต้ จังหวัดยะลา”
สังกัดกองฝึกอบรม สานักงานปลัดกระทรวง กระทรวงสาธารณสุข และเม่ือ วันที่ 7 มกราคม 2537
ได้รับพระราชทานช่ือเป็น “วิทยาลัยการสาธารณสุขสิรินธร จังหวัดยะลา” และพระราชทานพระราชานุญาต
ให้อัญเชิญอักษรพระนามาภิไธยของสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯสยามบรมราชกุมารี “สธ” เป็นสัญลักษณ์
ของวทิ ยาลยั
วิทยาลัยแห่งน้ีก่อต้ังมาเป็นระยะเวลาถึง 51 ปี มีความม่ันคงก้าวหน้ามาเป็นลา ดับ
ปัจจุบันได้ผลิตบุคลากรหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพช้ันสูงสาธารณสุขศาสตร์ (เทคนิคเภสัชกรรม)
และหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพช้ันสูงปฏิบัติการฉุกเฉินการแพทย์วิทยาลัยฯ ได้ร่วมมือในการผลิต
นักศึกษาหลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต (สาธารณสุขชุมชน) หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต (สาธารณสุขชุมชน)
ภาคพิเศษ หลักสูตรการแพทย์แผนไทยบัณฑิต ในโครงการสมทบทางวิชาการจากมหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา
อีกท้ังได้รับความร่วมมือในการผลิตนักศึกษาหลักสูตรสาธารณสุขศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาทันตสาธารณสุข
ในโครงการสมทบทางวิชาการจากมหาวิทยาลัยบูรพานอกจากน้ีวิทยาลัยยังได้รับความร่วมมือจากหน่วยงาน
อนื่ ๆ อนั ได้แก่ สถานบริการสาธารณสุข ส่วนราชการและหน่วยงานตา่ ง ๆ ท้ังในเขตและนอกเขตจังหวดั ยะลา
ทาให้วิทยาลัยสามารถดาเนินภารกิจตามบทบาทของวิทยาลัยได้ประสบผลสาเร็จด้วยดีตลอดมาออกไปรับใช้
สังคมเป็นจานวนมาก ด้วยความตระหนัก ความร่วมมือร่วมใจขององค์กรที่ปฏิบัติหน้าท่ีอย่างเต็มกาลัง
ความสามารถ
2
วิวัฒนาการของวิทยาลัยการสาธารณสุขสิรนิ ธรจงั หวัดยะลา
ตารางท่ี 1.1: แสดงววิ ฒั นาการของวทิ ยาลัยการสาธารณสุขสิรนิ ธรจังหวัดยะลา
ปี พ.ศ. วิวัฒนาการ
พ.ศ. ๒๕๐๙ เร่ิมก่อตั้ง “ศูนย์ฝึกและอบรมอนามัยภาคใต้ จังหวัดยะลา” (ศฝอ.) รับผู้จบม.ศ. ๓เข้า
เรียน “หลักสูตรการศึกษาสาหรับพนักงานอนามัย” รุ่นแรกและรุ่นท่ี๒เรียนท่ีจังหวัด
ราชบรุ รี ะยะเวลาเรียน ๑ ปี จบแล้วรับเงนิ เดือน ๖๙๐ บาท
พ.ศ. ๒๕๑๐ ยา้ ยมาเรียนที่จังหวัดยะลารับผู้จบม.ศ. ๓ เข้าเรียน “หลักสูตรวิชาพนักงานอนามัยจัตวา
“ระยะเวลา ๑ ปี จบแล้วรับเงนิ เดือน ๑,๐๑๕ บาท
พ.ศ. ๒๕๑๑ ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯเสด็จพระราชดาเนินทรงประกอบพิธีเปิดเม่ือวันจันทร์ที่
๑๑ มีนาคม ๒๕๑๑
พ.ศ. ๒๕๑๗ เปล่ยี นช่อื เปน็ “ศนู ยฝ์ ึกอบรมการสาธารณสขุ ภาคใต้จังหวัดยะลา” (ศฝส.ยะลา)
พ.ศ. ๒๕๒๑ เปลย่ี นช่อื เปน็ “วิทยาลยั การสาธารณสขุ ภาคใต้จังหวดั ยะลา” (วสส.ยะลา) รับผ้สู าเรจ็
ม.ศ. ๓ เข้าเรียน “หลักสูตรวิชาเจ้าหน้าที่สาธารณสุข (พนักงานอนามัย)” ระยะเวลา
เรียน ๒ ปี จบแลว้ รับเงนิ เดือน ๑,๕๓๕ บาท
พ.ศ. ๒๕๒๕ พัฒนา “หลักสูตรการศึกษาวิชาเจ้าหน้าที่สาธารณสุข (พนักงานอนามัย) โดยรับผู้จบ
ม.ศ.๕ และเปลี่ยนชื่อเป็น “หลักสูตรเจ้าพนักงานสาธารณสุข (พนักงานอนามัย)
ระยะเวลา ๒ ปีจบแล้วรบั เงินเดือน ๒,๒๐๕ บาท
พ.ศ. ๒๕๒๗ เปิดเรียน “หลักสูตรเจ้าพนักงานเภสัชกรรม” รับผู้จบม.ศ.๕ หรือม.๖ เรียนวิชา
วิทยาศาสตร์ไมต่ า่ กวา่ ๓๐ หนว่ ยกติ ระยะเวลาเรียน๒ปีจบแลว้ รับเงินเดือน ๒,๒๐๕ บาท
และกาหนดให้ผู้เข้าเรียนหลักสูตรเจ้าพนักงานสาธารณสุข (พนักงานอนามัย) ต้องจบ
ม.ศ. ๕ หรอื ม.๖ เรยี นวิชาวทิ ยาศาสตรไ์ ม่ตา่ กวา่ ๓๐ หนว่ ยกติ
พ.ศ. ๒๕๒๘ เปิด “หลักสูตรสาธารณสุขศาสตรบณั ฑิต (ต่อเน่ือง)” เรียนท่ีวทิ ยาลัยการภาคใตจ้ ังหวัด
ยะลา ๖ เดือนจากน้ันไปเรียนที่คณะสาธารณสุขศาสตร์มหาวิทยาลัยมหิดลอีก ๒ ปีเมื่อ
จบแล้วไดร้ ับปริญญาตรสี าธารณสุขศาสตรบัณฑติ
พ.ศ. ๒๕๓๑ เพม่ิ เวลาเรยี นหลักสตู รสาธารณสขุ ศาสตรบณั ฑิต (ต่อเนอ่ื ง) เรยี นท่ีวสส.ยะลาเปน็ เวลา ๙
เดอื นและไปเรยี นต่อทค่ี ณะสาธารณสขุ ศาสตร์มหาวทิ ยาลัยมหดิ ลอีก ๒ ปี
พ.ศ. ๒๕๓๔ พฒั นา “หลักสตู รเจ้าพนักงานสาธารณสุข (พนกั งานอนามยั )” โดยลดหน่วยกติ การเรยี น
จาก ๑๐๔ หน่วยกิต คงเหลือ ๘๕ หน่วยกิตและเปล่ียนช่ือหลักสูตรเป็น “หลักสูตร
ประกาศนียบัตรสาธารณสุขศาสตร์” จบแล้วรับเงินเดือน ๓,๔๐๐บาทและในเดือน
มิถุนายน ๒๕๓๔ ได้เปิดรับนักศึกษาหญิงเข้าเรียนในหลักสูตรนี้ด้วยโดยรับต่อเนื่องกัน
จานวนทั้งสน้ิ ๖ รุ่น (ร่นุ ที่๕๐-๕๕) รุ่นสดุ ทา้ ยรบั เขา้ เรียนเมอื่ เดอื นธนั วาคม ๒๕๓๖
พ.ศ. ๒๕๓๕ เพ่ือสนับสนนุ โครงการทศวรรษแหง่ การพฒั นาสถานีอนามัยตามนโยบายของกระทรวงให้
ผลติ บุคลากรเพิ่มโดยรบั นกั ศึกษาหลักสูตรประกาศนียบตั รสาธารณสุขศาสตรร์ ุ่นละ ๒๐๐
คนปีละ ๒ รุ่น ต้งั แตเ่ ดอื นมถิ นุ ายน ๒๕๓๕ – ธันวาคม ๒๕๓๗ (รุน่ ที่๕๒-๕๗)
3
ปี พ.ศ. ววิ ฒั นาการ
พ.ศ. ๒๕๓๗
พ.ศ. ๒๕๓๗ วันท่ี ๗ มกราคม ๒๕๓๗ ได้รับพระราชทานช่ือเปน็ “วทิ ยาลยั การสาธารณสุขสริ นิ ธร
พ.ศ. ๒๕๓๘ จังหวัดยะลา” และพระราชทานอนญุ าตให้อัญเชิญอักษรพระนามาภิไธย “สธ” เป็น
สัญลักษณข์ องวทิ ยาลัย
พ.ศ. ๒๕๓๘
พ.ศ. ๒๕๓๘ รับนกั ศกึ ษาโครงการพเิ ศษ ๕ จังหวัดชายแดนภาคใตเ้ ข้าเรียนในหลกั สตู ร
พ.ศ. ๒๕๓๙ ประกาศนียบตั รสาธารณสุขศาสตร์รุ่นที่๕๖, ๕๘ รุ่นละ ๕๐ คนและสิน้ สดุ โครงการในปี
พ.ศ. ๒๕๓๙ ๒๕๓๘
กระทรวงสาธารณสขุ ได้มีการเปลีย่ นแปลงนโยบายใหผ้ ลติ นักศกึ ษาหลักสูตร
ประกาศนยี บัตรสาธารณสุขศาสตร์น้อยลงโดยรบั ปลี ะ ๑ ร่นุ ๆ ละ ๒๐๐ คน และไดม้ ี
การพฒั นาหลักสูตรเป็นหลักสูตรประกาศนยี บัตรสาธารณสุขศาสตร์ (สาธารณสขุ ชมุ ชน)
และพร้อมกันน้ีได้พฒั นาหลักสูตรเจา้ พนกั งานเภสชั กรรม เป็นหลกั สตู รประกาศนียบตั ร
สาธารณสุขศาสตร์ (เทคนคิ เภสัชกรรม) ด้วยจบแล้วรบั เงนิ เดอื น ๕,๑๘๐ บาท
เปดิ หลกั สูตรทันตาภบิ าลรุ่นแรกเรยี กชื่อหลกั สูตรว่า “หลักสตู รประกาศนียบัตร
สาธารณสุขศาสตร์ (ทันตสาธารณสขุ )” เรียน ๒ ปีจบแล้วรบั เงนิ เดือน ๕,๑๘๐ บาท
ได้มีการลงนามร่วมบริหารโครงการและอนุเคราะห์สถานที่กับสถาบันบัณฑิตพฒั นบรหิ าร
ศาสตร์ (นิดา้ ) เมื่อวนั ท่ี ๒๐ พฤศจิกายน ๒๕๓๘ ในการจัดการเรียนการสอนหลกั สูตร
ระดบั ปริญญาโทคณะพัฒนาสังคมโดยเรียนวนั เสาร์-อาทติ ย์
เรม่ิ รับนักศึกษาหญิงเข้าศกึ ษาในหลกั สูตรประกาศนียบตั รสาธารณสุขศาสตร์
(สาธารณสุขชมุ ชน) อกี ครงั้ หน่งึ และเปล่ยี นแปลงระบบการสอบคดั เลือกจากเดมิ เป็นการ
คัดเลอื กจากผลสอบเอนทรานซร์ ่วมกับนักศึกษาที่สอบเอนทรานซเ์ ข้ามหาวิทยาลยั ทว่ั ไป
สถาบันพระบรมราชชนกโดยวทิ ยาลัยการสาธารณสุขสริ ินธรจังหวดั ยะลาได้ลงนาม
ข้อตกลงร่วมกับสถาบนั ราชภัฏยะลาผลติ นกั ศกึ ษาหลกั สูตรปริญญาตรวี ิทยาศาสตร
บณั ฑิต (สาธารณสุขชมุ ชน) เม่อื วันท่ี ๑๑ กนั ยายน ๒๕๓๙
4
ปี พ.ศ. วิวัฒนาการ
พ.ศ. ๒๕๔๐
พ.ศ. ๒๕๔๗ เปิดรับนักศึกษาหลักสูตรปริญญาตรีวิทยาศาสตรบัณฑิต (สาธารณสุขชุมชน)รุ่นแรก
จานวน ๔๘ คน
พ.ศ. ๒๕๔๘ เปดิ หลกั สตู รเวชกิจฉกุ เฉนิ เป็นรุ่นแรก เรยี กช่ือหลักสตู รวา่ “หลักสูตรประกาศนียบัตร
พ.ศ. ๒๕๕๐ เวชกิจฉุกเฉิน” เรียน ๒ ปี จบแลว้ รบั เงินเดือน ๖,๔๙๐ บาท
พ.ศ.๒๕๕๑
เปิดรับนักศึกษาหลักสูตรปริญญาตรีวิทยาศาสตรบัณฑิต (สาธารณสุขชุมชน) ภาค
พเิ ศษเรียนวันเสาร์ - อาทิตย์ จานวน ๑๐๐ คน
ร่วมลงนามการเปิดหลักสูตรแพทย์แผนไทย ร่วมกับมหาวิทยาลัยราชภัฎยะลา เรียน
ภาคปกติ เรยี นรนุ่ แรก จานวน ๕๐ คน
เปดิ หลกั สูตรปรญิ ญาโทภาคพิเศษ หลักสูตรวทิ ยาศาสตรมหาบัณฑติ สาขาวิชา
สาธารณสขุ ศาสตร์
ตราสัญลักษณว์ ิทยาลัย
อักษรพระนามาภิไธย “สธ” พร้อมมงกุฎ หมายถึง สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯสยามบรม
ราชกุมารี ทรงสถิตเป็นม่ิงขวญั ของวิทยาลัย ได้พระราชทานช่ือวิทยาลัยว่า “วิทยาลัยการสาธารณสุขสิรินธร”
และพระราชทานพระราชานญุ าตใหอ้ ัญเชิญอกั ษรพระนามาภิไธย “สธ” เปน็ สญั ลกั ษณข์ องวทิ ยาลัย
คาขวญั “ทน เสฎโฐมนสุ เสสุ” หมายถงึ ในหมมู่ นุษยผ์ ้ปู ระเสริฐสุด คือ คนท่ฝี ึกแล้ว
สีม่วง หมายถึง สีประจาพระองค์ของสมเดจ็ พระเทพรัตนราชสดุ าฯสยามบรมราชกมุ ารี
สีเหลอื ง หมายถงึ ความเจริญรงุ่ เรอื ง
ดอกไมป้ ระจาวิทยาลัย ดอกราชพฤกษ์
อตั ลักษณ์ของบณั ฑติ
“บรกิ ารสุขภาพด้วยหัวใจความเปน็ มนุษย์”
หมายถงึ การให้บริการท่ีเปน็ มิตร มีความรกั ความเมตตา ใส่ใจในปญั หาและความทุกข์ของ
ผู้รบั บริการและผเู้ ก่ียวข้อง ให้บริการตามปญั หาและความต้องการของผรู้ ับบรกิ ารท่เี ปน็ จรงิ โดยรับฟังความ
คิดเหน็ ของผูร้ ับบรกิ ารเปน็ หลัก
5
ปรชั ญา
การผลิตและพัฒนากาลังคนที่มีคุณภาพในการพัฒนางานสาธารณสุข จาเป็นต้องจัด
ประสบการณ์ทางการศึกษาโดยมีการประกันคุณภาพการศึกษาเพ่ือให้เกิดกระบวนการเรียนรู้ตลอดชีวิต
สร้างผลผลติ ท่ีตอบสนองความต้องการของชมุ ชนโดยยึดหลกั เศรษฐกิจพอเพยี ง
ปณธิ าน
วทิ ยาลยั จะพฒั นาศกั ยภาพอยา่ งต่อเนื่อง เพ่ือผลิตและพฒั นาบุคลากรดา้ นสขุ ภาพใหม้ ีความรู้
ความสามารถในการดาเนนิ งานสาธารณสขุ แบบองคร์ วม ตลอดจนการสร้างองค์ความรู้ วิจยั และพัฒนา แก้ไข
ปัญหาชุมชนทต่ี นรบั ผิดชอบไดอ้ ยา่ งเหมาะสม กอปรด้วยคุณธรรม จรยิ ธรรม มนุษยสมั พันธท์ ่ีดี รวมทง้ั ส่งเสรมิ
ศลิ ปวฒั นธรรม และเล่ือมใสในการปกครองระบอบประชาธปิ ไตย
วสิ ัยทศั น์
เป็นสถาบันอุดมศึกษาชั้นนา ด้านการจัดการสุขภาพชุมชน การวิจัย การบริการวิชาการ
ท่ีไดร้ บั การยอมรับในระดบั ประเทศ
คาอธบิ ายวสิ ัยทศั น์
สถาบันอุดมศึกษาช้ันนา หมายถึง การท่ีวิทยาลัยการสาธารณสุขสิรินธร จังหวัดยะลาได้รับ
การยอมรับจากสถาบันอุดมศึกษาและองค์กรระดับประเทศ ตลอดจนมีผลการจัดอันดับของวิทยาลัย
อยู่ในลาดับต้นของวิทยาลัยในเครือข่ายสถาบันวิชาการสาธารณสุขและเทคโนโลยีทางการแพทย์ จากการจัด
อนั ดับจากองค์กรประเมนิ คุณภาพ
การจัดการสุขภาพชุมชน หมายถึง การจัดการด้านสุขภาพท่ีเน้นกระบวนการหลัก 4 ด้าน
อันได้แก่การจัดทาแผนด้านสุขภาพ การจัดการงบประมาณเพ่ือใช้พัฒนาด้านสุขภาพ การจัดกิจกรรมด้าน
สุขภาพในหมู่บ้าน / ชุมชน และประการสุดท้ายคือการประเมินผลการดาเนินงาน ซ่ึงท้ังหมดน้ีต้องดาเนินการ
โดยสมาชกิ ชุมชน โดยวิทยาลยั มสี ่วนรว่ มในการขบั เคลื่อนและกระตนุ้ ใหเ้ กดิ กระบวนการ
คา่ นยิ มร่วม “MOPH”
M : Mastery หรือเป็นนายตนเอง คือเป็นบุคคลท่ีหม่ันฝึกฝนตนเองให้มีศักยภาพ ยึดม่ันใน
ความถกู ต้อง มีวนิ ยั ปฏิบตั ิตามกฎระเบยี บ บนพนื้ ฐานของการมสี านกึ รบั ผิดชอบ คุณธรรม และจริยธรรม
O : Originality หรือเร่งสร้างส่ิงใหม่ คือสร้างสรรค์นวัตกรรม สิ่งใหม่ ท่ีเหมาะสมและมี
ประสทิ ธภิ าพ เพ่อื ใหเ้ กดิ ประโยชน์ต่อระบบสขุ ภาพ
P : People centered หรือใส่ใจประชาชน คือต้องยึดประชาชนเป็นศูนย์กลางในการ
ทางานเพือ่ ประโยชนอ์ ันดีแก่ประชาชน โดยใช้หลกั เข้าใจ เข้าถึง พึง่ ได้
H : Humility หรืออ่อนน้อมถ่อมตน คือมีสัมมาคารวะ มีน้าใจ ให้อภัย รับฟังความเห็น
เสยี สละเพอ่ื ประโยชนส์ ว่ นรวม
6
อัตลกั ษณ์วิทยาลัยคุณธรรม
ซื่อสัตย์ รบั ผดิ ชอบ มีน้าใจ
พนั ธกิจ
1. ผลติ บุคลากรดา้ นสขุ ภาพ
2. ใหบ้ ริการวิชาการแก่ชุมชนและพัฒนากาลังคนด้านสุขภาพ
3. วจิ ยั จดั การองค์ความร้แู ละและสร้างนวตั กรรมสขุ ภาพ
4. ทานบุ ารงุ ศลิ ปวัฒนธรรม
5. พัฒนาระบบบรหิ ารจัดการ
1.2 นโยบายวิทยาลัยการสาธารณสุขสิรินธร จงั หวัดยะลา
1. นโยบายด้านการประกนั คุณภาพการศึกษา ให้นาระบบการประกันคุณภาพการศึกษาและการพัฒนา
คุณภาพการบริหารจัดการภาครฐั มาใช้ในการพัฒนางานใหเ้ กดิ วฒั นธรรมคุณภาพในการปฏบิ ตั ิงาน
2. นโยบายด้านการจัดการศึกษา จัดการเรียนการสอนที่สอดคล้องกับนโยบายระดับชาติ ระดับ
กระทรวงและใหบ้ ัณฑติ เกิดอัตลักษณ์ท่ีพึงประสงค์
3. นโยบายดา้ นการพัฒนาบุคลากร ให้พัฒนาความเชย่ี วชาญของอาจารย์ใหส้ อดคล้องกับอัตลักษณ์และ
เอกลกั ษณข์ องวิทยาลยั และพฒั นาสมรรถนะบุคลากรสายสนบั สนนุ ในการทางานท่ีมีคณุ ภาพ
4. นโยบายดา้ นการวจิ ัยและการสรา้ งองค์ความรู้ ให้มีการจดั การความร้ทู ุกพันธกจิ และพัฒนาสูก่ ารเป็น
องค์กรแหง่ การเรียนรู้
5. นโยบายด้านบริการวิชาการและสาธารณสุข เน้นพัฒนาหลักสูตรและการให้บริการวิชาการท่ี
สอดคล้องกับความต้องการของชมุ ชนและสอดคลอ้ งกบั นโยบายกระทรวงสาธารณสขุ
6. นโยบายด้านทานบุ ารุงศลิ ปวฒั นธรรม เน้นการทานบุ ารุงศลิ ปวฒั นธรรมท่สี อดคลอ้ งกับบรบิ ททอ้ งถิ่น
7. นโยบายด้านการบรหิ ารจัดการ การบรหิ ารงานเน้นการมสี ว่ นร่วมและยึดหลักธรรมาภบิ าล
8. นโยบายด้านการจัดทาระบบฐานข้อมูลเพื่อการตัดสินใจ ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศท่ีเหมาะสมมี
ประสทิ ธภิ าพเพอ่ื การตัดสินใจในการบรหิ ารงาน
1.3 แผนยทุ ธศาสตร์วิทยาลัย ปี 2560 – 2564
ประเด็นยทุ ธศาสตร์
1 การผลติ บคุ ลากรดา้ นสขุ ภาพท่มี ีคณุ ภาพได้มาตรฐานเพื่อตอบสนองระบบสุขภาพ
2. การใหบ้ ริการวชิ าการแก่ชุมชนและพฒั นากาลังคนด้านสุขภาพ
3. การวิจัย จดั การองค์ความร้แู ละและสรา้ งนวัตกรรมสุขภาพทม่ี ีคณุ ภาพสามารถนาไปใช้ประโยชนไ์ ด้
4. การทานุบารุงศลิ ปวฒั นธรรม ภมู ปิ ญั ญาท้องถน่ิ
5. การพัฒนาระบบบรหิ ารจดั การองคก์ รให้มคี วามเปน็ เลิศ และพฒั นาบุคลากรทกุ ระดับให้เขม้ แข็งมงุ่
สกู่ ารเปน็ สถาบนั อดุ มศึกษาที่ได้มาตรฐาน
7
กลยทุ ธ์
1.1 สนับสนุนกระบวนการการเรยี นร้ทู ส่ี ่งเสรมิ ใหน้ กั ศกึ ษามีคณุ ภาพ
2.1 เร่งพฒั นาหลกั สูตรอบรมทีต่ อบสนองระบบสุขภาพตามนโยบายกระทรวงสาธารณสุขจัดการ
บริการวชิ าการทส่ี อดคลอ้ งนโยบายกระทรวง
3. 1 ผลักดนั งานวิจยั ผลงานวชิ าการ การจดั การองค์ความรู้ นวัตกรรมให้ไดร้ บั การเผยแพร่
ระดบั ชาติ นานาชาติ
3.2 เร่งรดั การสรา้ งเครือข่ายความรว่ มมือทางการวจิ ยั เพื่อแสวงหาแหล่งทุนภายนอก
4.1 จัดการบรู ณาการการทานุบารงุ ศิลปวัฒนธรรม และภูมปิ ญั ญาท้องถ่ินกับพนั ธกจิ ต่างๆ ภายใต้
สังคมพหวุ ัฒนธรรมภายใต้เศรษฐกจิ พอเพยี งเพ่ือสนบั สนนุ ระบบสขุ ภาพ
5.1 สนบั สนนุ ใหบ้ ุคลากรมีการพฒั นาสมรรถนะทั้งการฝกึ อบรมท้งั ในและต่างประเทศ
5.2 พฒั นาระบบบรหิ ารการเงนิ และการใช้จ่ายเงนิ อย่างมีประสิทธิภาพ
5.3 พฒั นาบุคลากรให้มีความเช่ียวชาญทางดา้ นการจัดการขอ้ มลู และเทคโนโลยสี ารสนเทศด้วยการ
อบรมทั้งในและตา่ งประเทศ
5.4.หารายไดเ้ พ่ิมจากสถานบรกิ ารท่ีมีอยู่ของวิทยาลัย
1.4 บทบาทหนา้ ที่ของวทิ ยาลยั การสาธารณสุขสิรินธร จงั หวัดยะลา
วิทยาลัยการสาธารณสุขสิรินธร จังหวัดยะลา ซึ่งอยู่ในสังกัดสถาบันพัฒนากาลังคนด้านสาธารณสุข
เป็นสถานบริการสาธารณสุขอีกสถานะหนึ่ง นั้น ปัจจุบัน สถาบันพัฒนากาลังคนด้านสาธารณสุข ได้รับ
พระราชทานนามเป็นสถาบันพระบรมราชชนก ต้ังแต่ปี พ.ศ.2538 เป็นต้นมา โดยอาศัยอานาจตามความใน
มาตรา 21 แหง่ พระราชบญั ญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ.2534 แก้ไขเพมิ่ เติมโดยพระราชบญั ญัติ
ระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน (ฉบับที่ 5) พ.ศ. 2545 และตามระเบียบกระทรวงสาธารณสุข ว่าด้วยเงิน
บารุงของหน่วยบริการในสังกัดกระทรวงสาธารณสุข พ.ศ.2536 และท่ีแก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2544
ปลัดกระทรวงสาธารณสขุ จงึ ไดอ้ อกคาสัง่ ไว้ ณ วนั ที่ 7 มกราคม พ.ศ.2551 ดงั ต่อไปน้ี
1. ให้วิทยาลัยทุกแห่ง ในสังกัดสถาบันพระบรมราชชนกเป็นหน่วยบริการสาธารณสุขตามระเบียบ
กระทรวงสาธารณสุข ว่าด้วยเงินบารุงของหน่วยบริการในสังกัดกระทรวงสาธารณสุขอีกสถานะหน่ึง โดยใน
ดา้ นบริการสาธารณสขุ มีหน้าทร่ี บั ผดิ ชอบ ดงั นี้
1.1 จดั บรกิ ารสาธารณสุขในด้านต่างๆ ท่เี หมาะสมแก่ประชาชนท่วั ไป
1.2 เป็นแหลง่ ศึกษา คน้ คว้า วจิ ยั และฝกึ ภาคปฏบิ ัติของอาจารย์และนกั ศึกษา
2 . การจัดบริการสาธารณสุขในด้านใด ให้อยู่ในดุลพินิจของผู้อานวยการวิทยาลัย และความพร้อม
แต่ละวิทยาลัย โดยการดาเนินการของวิทยาลัยแต่ละแห่งที่เป็นหน่วยบริการสาธารณสุขให้ถือปฏิบัติตาม
ระเบียบกระทรวงสาธารณสุข ว่าด้วยเงินบารุงของหน่วยบริการในสังกัดกระทรวงสาธารณสุข และระเบียบ
ข้อบงั คับ มตคิ ณะรฐั มนตรีที่เกีย่ วข้อง หรอื ตามท่ีกระทรวงการคลัง หรอื สานักงบประมาณกาหนด
8
1.5 โครงสรา้ งการบริหารของวิทยาลัยการสาธารณสขุ สริ ินธร จังหวดั ยะลา
องค์กรบริหารสูงสุด
วิทยาลัยการสาธารณสุขสิรินธร จังหวัดยะลา มีคณะกรรมการบริหารวิทยาลัยเป็นองค์กร
บรหิ ารสูงสุดโดยมผี ู้อานวยการวทิ ยาลัยเป็นผู้บรหิ ารสูงสดุ
คณะกรรมการบริหารวิทยาลัย มีอานาจและหน้าที่ในการควบคุมดูแลกิจการทั่วไปของ
วิทยาลัย ให้ครอบคลุมทั้งในด้านนโยบายเก่ียวกับการศึกษา การวิจัย การให้บริการแก่สังคม การทานุบารุง
ศิลปะและวัฒนธรรม การเงินและทรัพย์สิน การออกระเบียบข้อบังคับว่าด้วยการบริหารบุคคล โดยให้ การ
ประกันคุณภาพการศึกษาเป็นเครื่องมือในการบริหารการศึกษาให้สอดคล้องกับ ยุทธศาสตร์/เป้าประสงค์ของ
วทิ ยาลัยเพ่ือบรรลุซงึ่ วิสัยทัศน์ของวิทยาลัยตอ่ ไป
การแบ่งส่วนงาน
วิทยาลัยมีการแบง่ สว่ นงาน ออกเป็น 5 ฝา่ ย และ 16 กลุ่มงาน ดังน้ี
1 ฝ่ายอานวยการ มี 2 กลุ่มงาน ดงั น้ี
1.1 กลมุ่ งานบรหิ ารท่วั ไปและบรหิ ารวชิ าการ
1.1.1 งานอาคารและสถานท่ี
1.1.2 งานความสะอาดภานนอกอาคารรอบวทิ ยาลยั และงานสนาม
1.1.3 งานยานพาหนะ
1.1.4 งานไฟฟา้ และซอ่ มบารงุ
1.1.5 งานพัสดุ
1.1.6 งานการเงินและบญั ชี
1.1.7 งานพัฒนาทรัพยากรมนษุ ย์
1.1.8 งานธุรการและสารบรรณ
1.1.9 งานประชาสัมพนั ธ์
1.2 กลมุ่ งานเทคโนโลยดี จิ ิทัลเพอ่ื การศึกษา
1.2.1 งานระบบสารสนเทศ
1.2.2 งานคอมพิวเตอร์ ระบบเครือข่ายและโสตทัศนปู กรณ์
1.2.3 งานวิทยบริการ
2. ฝ่ายวิชาการ มี 6 กลุ่ม ดังนี้
2.1 กลุม่ งานหลักสูตรสาธารณสขุ ชุมชน
2.2 กลมุ่ งานหลกั สตู รการแพทย์แผนไทย
2.3 กลมุ่ งานหลกั สตู รทันตสาธารณสุข
2.4 กลมุ่ งานหลักสูตรเทคนิคเภสัชกรรม
2.5 กลุ่มงานหลักสตู รฉกุ เฉนิ การแพทย์
2.6 กลมุ่ งานทะเบียน และประเมนิ ผลการศึกษา
3. ฝา่ ยยทุ ธศาสตร์และประกันคุณภาพการศึกษา มี 2 กลุม่ ดงั น้ี
3.1 กล่มุ งานยุทธศาสตร์
3.2 กลุ่มงานประกนั คณุ ภาพการศึกษา
9
4. ฝ่ายวิจยั และบริการวชิ าการ มี 3 กลุ่ม ดังนี้
4.1 กลุ่มงานวจิ ยั และวเิ ทศสัมพันธ์
4.2 กลมุ่ งานพฒั นากาลังคน
4.3 กลมุ่ งานบริการวิชาการ
5. ฝ่ายกจิ การนกั ศกึ ษา มี 3 กลมุ่ ดงั น้ี
5.1 กลุ่มงานพฒั นานักศกึ ษาและทานบุ ารุงศิลปวัฒนธรรม
5.2 กลุ่มงานสวสั ดิการนักศกึ ษา
5.3 กลุ่มงานวินัยและศิษย์เก่าสมั พันธ์
โครงสรา้ งการบริหารงานของวทิ ยาลยั การสาธารณสุขสริ ินธร จังหวัดยะลา
บทที่ 2
การวิเคราะหข์ ้อมูลเพื่อใช้ประกอบการวางแผนการบริหารและพัฒนาบุคลากร
2.1 สภาพปจั จบุ นั ด้านบคุ ลากรของวิทยาลัยการสาธารณสขุ สิรินธร จงั หวัดยะลา
ปัจจุบันวิทยาลัยการสาธารณสุขสิรินธร จังหวัดยะลามีบุคลากรทั้งสิ้น 116 คน (ข้อมูล
ณ เดอื นธันวาคม 2563) โดยมีบุคลากรสายวิชาการ จานวน 62 คน และบุคลากรสนบั สนุน 54 คน ดงั น้ี
2.1.1 จานวนบคุ ลากร จาแนกตามสายงาน
ด้านบคุ ลากร สายวชิ าการ สายสนับสนนุ รวม รอ้ ยละ
ขา้ ราชการ 46 9 55 47.41
ลกู จ้างประจา - 5 5 4.31
พนกั งานราชการ 1 2 3 2.59
พนักงานกระทรวงสาธารณสุข 7 11 18 15.51
ลูกจ้างเหมาบริการ 8 27 35 30.18
รวม 62 54 116 100.00
่ชือแกน จำนวนบคุ ลำกร จำแนกตำมสำยงำน
50
45
40
35
30
25
20
15 สายวิชาการ
10 สายสนบั สนนุ
5
0
11
2.1.2 จานวนบคุ ลากร จาแนกตามคุณวฒุ ิ
บุคลากร/วุฒิการศึกษา ตา่ กว่าปริญญาตรี ปรญิ ญาตรี ปรญิ ญาโท ปริญญาเอก รวม
10 62
สายวิชาการ - 22 30 - 54
10 116
สายสนบั สนนุ 23 25 6
รวม 23 47 36
่ชือแกน จานวนบุคลากร จาแนกตามคุณวุฒิ
35
30
25
20
15 สายวิชาการ
10 สายสนบั สนนุ
5
0
2.1.3 จานวนบุคลากรสายวชิ าการ จาแนกตามตาแหน่ง/วฒุ กิ ารศกึ ษา
บุคลากร/วุฒกิ ารศกึ ษา ปรญิ ญาตรี ปรญิ ญาโท ปรญิ ญาเอก รวม
ผู้อานวยการ - 1- 1
วทิ ยาจารย์ 11
พยาบาลวชิ าชีพ 2 63 8
เภสชั กร - 35 12
ทันตแพทย์ 5 61 13
9
แพทย์แผนไทย 7 51 8
อาจารย์ 62
2 7- 100
รวม
รอ้ ยละ 6 2-
22 30 10
35.48 48.39 16.13
สดั ส่วนอาจารย์ปริญญาเอก : โท : ตรี = 0.35 : 0.48 : 0.16
2.1.4 จานวนบุคลากรสายวชิ าการ จาแนกตามประเภท ลกู จ้างเหมา 12
บคุ ลากร/วฒุ ิการศกึ ษา ขา้ ราชการ พนักงานราชการ พนักงาน บริการ
กระทรวง รวม
สาธารณสขุ
1
ผอู้ านวยการ 1- - - 11
วิทยาจารย์ 71 3 - 8
พยาบาลวิชาชีพ 8- - - 12
เภสชั กร 12 - - - 13
ทันตแพทย์ 13 - - - 9
8
แพทยแ์ ผนไทย 5- 4 - 62
อาจารย์
-- -8
รวม 46 1 7 8
2.1.5 จานวนอาจารยท์ ป่ี ฏิบตั ิงานจริงและลาศึกษาตอ่
ลาดบั ที่ ประเภท จานวน (คน) รอ้ ยละ
1 อาจารยป์ ฏบิ ตั งิ านจรงิ 55 88.70
2 อาจารย์ลาศึกษาต่อปรญิ ญาเอก 2 3.23
3 อาจารยล์ าศึกษาต่อปริญญาโท 3 4.84
3 อาจารย์ลาศึกษาปรญิ ญาตรี 2 3.23
62 100
รวม
1) รายชือ่ อาจารย์ลาศกึ ษาตอ่ ปรญิ ญาเอก
1.1) นางสาวอรุโณทัย เดอรามันห์ ตาแหน่งเภสัชกรชานาญการพิเศษ ลาศึกษาต่อในหลักสูตร
สาธารณสุขศาสตรดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาสุขศึกษาและการส่งเสริมสุขภาพ (หลักสูตร 5 ปี) ต้ังแต่ 15 สิงหาคม
2560 - 9 สิงหาคม 2565 สามารถขยายถงึ 14 สงิ หาคม 2566
1.3) นางสาวฐิติกา กิมิเส ตาแหน่งทันตแพทย์ชานาญการ ลาศึกษาต่อในสาขาทันตสาธารณสุข
ต้ังแต่ 22 มิถุนายน 2559 – 21 มิถุนายน 2566 สามารถขยายถงึ 22 มิถนุ ายน 2567
2) รายชื่ออาจารยล์ าศึกษาต่อปรญิ ญาโท
2.1) นายอับดุลมาเละ กามา ตาแหน่ง แพทย์แผนไทย ลาศึกษาต่อในหลักสูตรการแพทย์แผนไทย
มหาบณั ฑติ (หลกั สูตร 2 ปี) ต้ังแต่ 1 สิงหาคม 2562 - 31 กรกฎาคม 2564
2.2) นางสาวพิชญาพร ไสยสิทธ์ิ ตาแหน่ง ทันตแพทย์ปฏิบัติการ ลาศึกษาต่อในหลักสูตร
การแพทยแ์ ผนไทยมหาบณั ฑิต (หลกั สูตร 2 ปี) ต้ังแต่ ตงั้ แต่ 1 สงิ หาคม 2563 ถงึ 31 กรกฎาคม 2565
2.3) นางสาวคอรีเยาะ อะแซ ตาแหน่ง แพทย์แผนไทยปฏิบัติการ ลาศึกษาต่อใน หลักสูตร
วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพช่องปาก (ทันตกรรมบูรณะ) (หลักสูตร 2 ปี) ต้ังแต่
1 มถิ ุนายน 2563 ถงึ 31 พฤษภาคม 2565 (หลกั สูตร 2 ปี)
13
3) รายช่อื อาจารยล์ าศกึ ษาต่อปริญญาตรี
3.1) นายวิทยา นาใจ ตาแหน่งเภสัชกรชานาญการ ลาศึกษาต่อในหลักสูตรแพทยศาสตรบัณฑิต
(หลักสูตร 5 ป)ี ต้งั แต่ 15 พฤษภาคม 2561 - 14 พฤษภาคม 2566 สามารถขยายถึง 14 พฤษภาคม 2567
3.2) นางสาวอัมพาพรรณ ผลพานิชย์ ตาแหน่งเภสัชกรปฏิบัติการ ลาศึกษาต่อในหลักสูตร
แพทยศาสตรบัณฑิต (หลักสูตร 5 ปี) ต้ังแต่ 15 พฤษภาคม 2561 - 14 พฤษภาคม 2566 สามารถขยายถึง
14 พฤษภาคม 2567
2.1.6 จานวนอาจารย์จาแนกตามหลกั สตู ร
ลาดับท่ี ประเภท อาจารย์ผู้รบั ผิดชอบหลักสตู ร อาจารย์ประจาหลกั สตู ร รวม
จานวน (คน) จานวน (คน)
1 ประกาศนยี บัตรวิชาชีพชน้ั สงู สาธารณสุขศาสตร์ 5 5 10
สาขาวชิ าเทคนคิ เภสชั กรรม
2 ประกาศนยี บตั รวชิ าชีพชนั้ สูง 5 5 10
สาขาวชิ าปฏบิ ตั ิการฉุกเฉินการแพทย์
4 สาธารณสขุ ศาสตรบณั ฑติ สาขาสาธารณสขุ ชุมชน 5 14 19
5 การแพทยแ์ ผนไทยบณั ฑิต 5 15 20
3 สาธารณสขุ ศาสตรบณั ฑิต สาขาทนั ตสาธารณสุข 5 12 17
2.1.7 จานวนนักศกึ ษาจาแนกรายหลักสูตร ประจาปีการศกึ ษา (พ.ศ. 2559 – 2563)
ลาดับ หลกั สูตร/สาขาวิชา จานวนนักศึกษา (จานวนคน)
2559 2560 2561 2562 2563
1 ประกาศนียบัตรวิชาชพี ชน้ั สูงสาธารณสขุ ศาสตร์ 74 72 69 63 63
สาขาวชิ าเทคนิคเภสชั กรรม
2 ประกาศนียบตั รวิชาชพี ช้นั สงู 46 46 54 56 56
สาขาวิชาปฏิบัตกิ ารฉุกเฉนิ การแพทย์
3 สาธารณสขุ ศาสตรบัณฑติ สาขาสาธารณสขุ ชุมชน 124 149 135 96 96
4 การแพทยแ์ ผนไทยบัณฑติ 149 116 104 147 147
5 สาธารณสขุ ศาสตรบณั ฑติ สาขาทันตสาธารณสขุ 112 121 118 104 104
่ชือแกน ช่ือแผนภูมิ ประกาศนียบตั รวิชาชีพชนั้ สงู สาธารณสขุ ศาสตร์
สาขาวิชาเทคนิคเภสชั กรรม
160
140 ประกาศนียบตั รวชิ าชีพชนั้ สงู
120 สาขาวิชาปฏิบตั ิการฉกุ เฉินการแพทย์
100
สาธารณสขุ ศาสตรบณั ฑิต สาขาสาธารณสขุ
80 ชมุ ชน
60
40 สาธารณสขุ ศาสตรบณั ฑิต สาขาทนั ต
20 สาธารณสขุ
0
2559 2560 2561 2562 2563
14
2.1.8 แผนการผลติ บณั ฑิตระยะ 5 ปี (พ.ศ. 2561 – 2565)
ลาดบั หลกั สตู ร/สาขาวิชา แผนการรับจานวนนักศึกษา (จานวนคน)
2561 2562 2563 2564 2565
1 ประกาศนยี บตั รวชิ าชพี ชั้นสูงสาธารณสุขศาสตร์ 43 43 43 43 43
สาขาวชิ าเทคนคิ เภสชั กรรม
2 ประกาศนยี บัตรวชิ าชีพชัน้ สงู 30 40 40 40 40
สาขาวชิ าปฏิบัติการฉุกเฉินการแพทย์
3 สาธารณสขุ ศาสตรบัณฑิต สาขาสาธารณสุขชมุ ชน 40 - 40 - 40
4 การแพทย์แผนไทยบัณฑติ 50 50 50 50 50
5 สาธารณสขุ ศาสตรบัณฑิต สาขาทนั ตสาธารณสขุ 50 50 50 50 50
6 วทิ ยาศาสตรบัณฑติ สาขาอาชีวอนามยั และความ - - - 50 50
ปลอดภัย
7 วิทยาศาสตรบณั ฑิต สาขาปฏิบัติการฉุกเฉนิ การแพทย์ - - - 50 50
2.1.9 สดั ส่วนอาจารย์ตอ่ นักศกึ ษาจาแนกตามหลกั สตู ร
ลาดั หลกั สูตร/สาขาวิชา ปีการศึกษา (อตั ราสว่ นอาจารย์ : นักศึกษา)
บ
1 ประกาศนยี บตั รวชิ าชีพช้ันสงู สาธารณสุขศาสตร์ 2561 2562 2563 2564 2565
สาขาวิชาเทคนคิ เภสชั กรรม 9 : 43 9 : 63 10 : 63 10 : 76 10 : 86
สัดสว่ นอาจารย์ 1 : 8 4.77 9.55 6.30 7.60 7.60
2 ประกาศนียบตั รวชิ าชพี ชั้นสูง
สาขาวิชาปฏิบตั ิการฉุกเฉินการแพทย์ 9 คน 11 คน 8 คน 10 คน 11 คน
สดั ส่วนอาจารย์ 1 : 8
3 สาธารณสขุ ศาสตรบัณฑติ สาขาสาธารณสุข 8 : 54 8 : 56 10 : 56 10 : 70 10 : 80
ชุมชน 6.75 7 5.60 7.00 8.00
สัดส่วนอาจารย์ 1 : 8
4 การแพทยแ์ ผนไทยบัณฑติ 7 คน 7 คน 7 คน 9 คน 10 คน
สดั สว่ นอาจารย์ 1 : 8 17 : 135 17 : 96 19 : 96 19 : 96 19 : 96
5 สาธารณสุขศาสตรบัณฑติ สาขาทนั ต 7.94 5.65 5.05 5.05 5.05
สาธารณสขุ 8 คน 6 คน 5 คน 5 คน 5 คน
สัดส่วนอาจารย์ 1 : 8
6 วิทยาศาสตรบณั ฑติ สาขาอาชีวอนามัยและ 14 :104 14 : 147 20 : 147 20 : 147 20 : 147
ความปลอดภยั 7.43 10.5 7.35 7.35 7.35
สัดสว่ นอาจารย์ 1 : 8
7 วทิ ยาศาสตรบัณฑติ 8 คน 11 คน 8 คน 8 คน 8 คน
สาขาปฏบิ ตั กิ ารฉุกเฉนิ การแพทย์
สัดส่วนอาจารย์ 1 : 8 14 : 118 14 : 104 17 : 104 17 : 104 17 : 104
8.43 7.43 6.12 6.12 6.12
9 คน 8 คน 7 คน 7 คน 7 คน
- - - 5 : 50 5 : 100
10 10
- - - 7 คน 12.5 คน
- - - 5 : 50 5 : 100
10 10
- - - 7 คน 12.5 คน
15
2.1.10 แผนพัฒนาคณุ วฒุ ิการศกึ ษาสายวิชาการ
ประเภท ปีการศกึ ษา 2563 ปกี ารศึกษา 2564
ระดบั ปริญญาเอก จานวน (คน) แผนพัฒนาคุณวฒุ ิ จานวน (คน) แผนพฒั นาคุณวฒุ ิ
ระดบั ปรญิ ญาโท
ระดับปรญิ ญาตรี 10 1 11 1
30 2 31 2
สดั สว่ นอาจารย์ เอก : โท : ตรี 22 - 20 -
0.35 : 0.48 : 0.16
0.18 : 0.50 : 0.32
2.1.11 จานวนบคุ ลากรสายสนับสนนุ ทว่ั ไป จาแนกตามตาแหน่ง/วุฒิการศึกษา
บคุ ลากร/วฒุ ิการศึกษา ตา่ กว่าปริญญาตรี ปรญิ ญาตรี ปรญิ ญาโท รวม
นักทรพั ยากรบุคคล - 3 1 4
นักวเิ คราะหน์ โยบายและแผน -
นกั จัดการงานท่วั ไป - 1 - 1
พนักงานพมิ พ์ 2 1 3 4
เจา้ พนกั งานธรุ การ 1 - 3
เจ้าหน้าทบ่ี ริหารงานท่วั ไป - 3 1 4
- 3 - 3
เจา้ พนกั งานพสั ดุ -
เจา้ พนกั งานการเงนิ และบัญชี - 1 - 1
นักวชิ าการเงินและบญั ชี 3
8 - - 0
พนกั งานบริการ 1 - 1 1
แมบ่ ้าน/พ่อบ้าน 4
พนักงานบริการเอกสารทว่ั ไป 1 1 - 5
พนกั งานขับรถยนต์ 1 1 - 9
ช่างปนู -
ช่างยนู ิตทันตกรรม 1 - - 1
ชา่ งซ่อมบารุง 21
พนักงานรักษาความปลอดภัย - - 4
รวม - - 1
- - 1
1 - 1
1 - 2
17 6 44
16
2.1.12 จานวนบุคลากรสายสนับสนนุ วิชาการ จาแนกตามตาแหนง่ /วุฒกิ ารศึกษา
บคุ ลากร/วุฒกิ ารศกึ ษา ต่ากวา่ ปริญญาตรี ปรญิ ญาตรี ปรญิ ญาโท รวม
พนกั งานพมิ พ์ 1 1 - 2
นักวชิ าการคอมพิวเตอร์ - 1 - 1
เจ้าหนา้ ที่คอมพิวเตอร์ - 1 - 1
บรรณารักษ์ - 1 - 1
นักจดั การงานทัว่ ไป - 2 - 2
เจ้าหนา้ ท่งี านวดั และประเมนิ ผลการศึกษา - 1 - 1
นกั วิชาการศึกษา - 2 - 2
ผูช้ ว่ ยห้องปฏิบตั ิการทดลอง 1 - - 1
2 8 1 10
รวม
2.1.13 จานวนบุคลากรสายสนับสนุนทัว่ ไป ลกู จา้ งประจา พนกั งาน พนกั งานกระทรวง ลกู จ้างเหมา รวม
บุคลากร/วุฒกิ ารศกึ ษา ข้าราชการ ราชการ สาธารณสขุ บรกิ าร
1- 4
นักทรพั ยากรบุคคล 2 -1 -1 1
นกั วเิ คราะหน์ โยบายและแผน - -1 4
นักจัดการงานทัว่ ไป 3 -- 1- 3
พนักงานพมิ พ์ - -- -- 4
เจ้าพนกั งานธุรการ 4 2- -3 3
เจ้าหน้าท่บี รหิ ารงานทว่ั ไป - -- 1- 1
- -- -- 0
เจา้ พนักงานพัสดุ - -- 1
เจ้าพนกั งานการเงนิ และบญั ชี -- 5- 5
นกั วชิ าการเงินและบญั ชี - -9 9
- -- -- 1
พนักงานบริการ - -3 4
แมบ่ ้าน/พ่อบา้ น - -1 -- 1
พนกั งานบริการเอกสารทว่ั ไป - -- -1 1
พนักงานขบั รถยนต์ - -- -1 1
ชา่ งปูน - 1- -2 2
ชา่ งยูนิตทนั ตกรรม - 1- 44
ชา่ งซ่อมบารงุ - 1- 8 20
พนักงานรักษาความปลอดภัย 9 --
--
รวม --
52
17
2.1.14 จานวนบุคลากรสายสนับสนุนวิชาการ
บคุ ลากร/วุฒกิ ารศึกษา ข้าราชการ ลกู จา้ งประจา พนักงาน พนกั งานกระทรวง ลกู จา้ งเหมา รวม
ราชการ สาธารณสขุ บรกิ าร
พนักงานพิมพ์ --- 2 -2
1 -1
นักวชิ าการคอมพิวเตอร์ ---
เจา้ หนา้ ท่คี อมพิวเตอร์ --- - 11
บรรณารกั ษ์ --- - 11
นักจัดการงานทั่วไป --- - 2 12
เจ้าหนา้ ท่ีงานวัดและประเมนิ ผลการศกึ ษา - - - - 11
นักวิชาการศกึ ษา --- - 22
ผู้ชว่ ยหอ้ งปฏบิ ัติการทดลอง --- - 11
รวม - - - 3 8 10
18
2.1.15 จานวนบุคลากรวทิ ยาลยั ที่จะเกษยี ณอายใุ นปงี บประมาณ พ.ศ. 2560 – 2564
จานวนผเู้ กษยี ณอายุราชการสายวชิ าการ
ปงี บ จา วฒุ กิ ารศกึ ษา ระดับตาแหน่ง ตาแหน่งทางการบริหาร ประเภทอาจารย์
ประมาณ นวน เอก โท ตรี ปฏิบัติ ชนก. ชนก. ทวั่ ไป รอง
หน.กลมุ่ ผู้ อาจารย์ อาจารย์ อาจารย์
การ พิเศษ ผอู้ านวย งาน/หน. ปฏิบตั ิ ผู้รบั ผิดชอบ ประจา ผสู้ อน
การ งาน หลักสตู ร
2560 - - - - - - - - - -- - --
2561 - - - - - - - - - -- - --
2562 - - - - - - - - - -- - --
2563 2 - 2 - - -2 - 1 -1 1 1 -
2464 - - - - - - - - - -- - --
ในปีงบประมาณ 2564 วิทยาลัยการสาธารณสุขสิรนิ ธร จงั หวัดยะลา ไมม่ ีบุคลากรสายวิชาการ
เกษยี ณอายรุ าชการ
จานวนผเู้ กษียณอายรุ าชการสายสนับสนุน
ปงี บ จา วฒุ ิการศึกษา ระดับตาแหน่ง ตาแหน่งทางการบริหาร ประเภทงาน
ประมาณ นวน โท ตรี ต่า ปฏิบตั ิ ชนก./ชนง ทวั่ ไป รอง
หน.กลุม่ งาน/ ผู้ปฏิบตั ิ สานักงาน ภาคสนาม
กวา่ ป. การ/งาน ผูอ้ านวย หน.งาน
ตรี การ
2560 - - - - - - -- - -- -
2561 - - - - - - -- - -- -
2562 2 - - 2 - - 2- - 2- 2
2563 - - - - - - -- - -- -
2464 1 - 1 - - 1 -- 1 -1 -
ในปีงบประมาณ 2562 - 2564 วิทยาลัยการสาธารณสุขสิรินธร จังหวัดยะลา จะมีบุคลากรสาย
สนับสนุนเกษียณอายรุ าชการท้ังสิ้น จานวน 3 คน ประกอบด้วย บุคลากรประเภทสานักงาน จานวน 1 คน และ
บุคลากรประเภทภาคสนาม จานวน 2 คน จะพบว่าบุคลากรสายสนับสนุนมีอัตราลดลง ดังน้ัน วิทยาลัยการ
สาธารณสุขสิรินธร จังหวัดยะลา ต้องดาเนินการวิเคราะห์อัตรากาลัง วิเคราะห์ภาระงาน และปัญหาเม่ือ
อตั รากาลงั ลดลงเพอื่ ดาเนนิ การสรรหาบุคลากรรายใหม่
19
2.2 การบรหิ ารอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลกั สูตร
“อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร” หมายถึง อาจารย์ประจาหลักสูตรที่มีภาระหน้าที่ในการ
บริหารและพัฒนาหลักสูตรและการเรยี นการสอน ตง้ั แตก่ ารวางแผน การควบคุมคณุ ภาพ การติดตามประเมนิ ผล
และการพัฒนาหลักสูตร อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรต้องอยู่ประจาหลักสูตรนั้นตลอดระยะเวลาท่ีจัดการศึกษา
โดยจะเป็นอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรเกินกว่า ๑ หลักสูตรในเวลาเดียวกันไม่ได้ ยกเว้น พหุวิทยาการหรือ
สหวิทยาการ ให้เป็นอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรได้อีกหนึ่งหลักสูตร และอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรสามารถ
ซ้าไดไ้ ม่เกิน ๒ คน
“อาจารย์ประจาหลักสูตร” หมายถึง อาจารย์ประจาท่ีมีคุณวุฒิตรงหรือสัมพันธ์กับสาขาวิชา
ของหลักสูตรที่เปิดสอน ซ่ึงมีหน้าที่สอนและค้นคว้าวิจัยในสาขาวิชาดังกล่าว ทั้งนี้ สามารถเป็นอาจารย์ประจา
หลักสูตรหลายหลักสูตรได้ในเวลาเดียวกัน แต่ต้องเป็นหลักสูตรท่ีอาจารย์ผู้นั้นมีคุณวุฒิตรงหรือสัมพันธ์กับ
สาขาวชิ าของหลกั สูตร
2.2.1 จานวน คุณวฒุ ิ และคุณสมบัติของอาจารย์
หลักสูตรปริญญาตรีทางวิชาชีพหรือปฏิบัติการ และหลักสูตรปริญญาตรี (ต่อเนื่อง)
ประกอบดว้ ย
2.2.1.1 อาจารย์ประจาหลักสูตร มีคุณวุฒิข้ันต่าปริญญาโทหรือเทียบเท่าหรือมีตาแหน่งผู้ช่วย
ศาสตราจารย์ และต้องมีผลงานทางวิชาการที่ไม่ใช่ส่วนหนึ่งของการศึกษาเพื่อรับปริญญาและเป็นผลงานทาง
วิชาการท่ีได้รับการเผยแพร่ตามหลักเกณฑ์ท่ีกาหนดในการพิจารณาแต่งตั้งให้บุคคลดารงตาแหน่งทางวิชาการ
อย่างน้อย ๑ รายการ ในรอบ ๕ ปีย้อนหลัง สาหรับหลักสูตรปริญญาตรีทางวิชาชีพหรือปฏิบัติการ ท่ีเน้นทักษะ
ด้านวิชาชีพตามข้อกาหนดของมาตรฐานวิชาชีพ อาจารย์ประจาหลักสูตรต้องมีคุณสมบัติเป็นไปตามมาตรฐาน
วิชาชีพน้ัน ๆ
กรณีร่วมผลิตหลักสูตรกับหน่วยงานอ่ืนที่ไม่ใช่สถาบันอุดมศึกษาหากจาเป็น บุคลากรท่ีมาจาก
หนว่ ยงานนน้ั อาจได้รบั การยกเวน้ คณุ วุฒิปริญญาโทและผลงานทางวชิ าการ แต่ต้องมีคุณวฒุ ิข้ันต่าปรญิ ญาตรีหรือ
เทยี บเทา่ และมปี ระสบการณ์การทางานในหน่วยงานแหง่ นนั้ มาแลว้ ไม่น้อยกว่า ๖ ปี
2.2.1.2 อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร มีคุณวุฒิและคุณสมบัติเช่นเดียวกับอาจารย์ประจา
หลักสูตร จานวนอย่างน้อย ๕ คน ในกรณีของหลักสูตรปริญญาตรีทางวิชาชีพหรือปฏิบัติการท่ีเน้นทักษะ ด้าน
การปฏิบัติเชิงเทคนิคในศาสตร์สาขาวิชานั้น อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรอย่างน้อย ๒ ใน ๕ คนต้องมี
ประสบการณ์ในด้านปฏิบัติการ โดยอาจเป็นอาจารย์ประจาของสถาบันอุดมศึกษา หรือเป็นบุคลากรของ
หน่วยงานที่ไม่ใช่สถาบันอุดมศึกษาซึ่งมีข้อตกลงในการผลิตบัณฑิตของหลักสูตรนั้นร่วมกันแต่ทั้งนี้ต้องไม่เกิน ๒
คน
กรณีร่วมผลิตหลักสูตรกับหน่วยงานอ่ืนท่ีไม่ใช่สถาบันอุดมศึกษาหากจาเป็น บุคลากรท่ีมาจาก
หน่วยงานนั้นอาจได้รับการยกเว้นคณุ วุฒิปรญิ ญาโทและผลงานทางวชิ าการแต่ต้องมีคุณวุฒิขั้นต่าปรญิ ญาตรีหรือ
เทียบเทา่ และมปี ระสบการณ์การทางานในหน่วยงานแห่งนั้นมาแลว้ ไม่น้อยกว่า ๖ ปี
กรณีท่ีหลักสูตรจัดให้มีวิชาเอกมากกว่า ๑ วิชาเอก ให้จัดอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรที่มี
คุณวุฒิและคุณสมบัติตรงหรือสัมพันธ์กับสาขาวิชาท่ีเปิดสอนไม่น้อยกว่าวิชาเอกละ ๓ คน และหากเป็นปริญญา
ตรที างวิชาชพี หรือปฏิบัติการท่ีเน้นทักษะดา้ นการปฏิบัติเชงิ เทคนิคในศาสตร์สาขาวชิ านน้ั ต้องมีสดั ส่วนอาจารย์ที่
มปี ระสบการณใ์ นดา้ นปฏิบตั กิ าร ๑ ใน ๓
20
กรณีที่มีความจาเป็นอย่างยิ่งสาหรับสาขาวิชาที่ไม่สามารถสรรหาอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร
ครบตามจานวน ทางสถาบันอุดมศึกษาต้องเสนอจานวนและคุณวุฒิของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรที่มีน้ันให้
คณะกรรมการการอุดมศกึ ษาพจิ ารณาเปน็ รายกรณี
2.2.1.3 อาจารย์ผู้สอน อาจเป็นอาจารย์ประจาหรืออาจารย์พิเศษที่มีคุณวุฒิข้ันต่าปริญญาโท
หรือเทียบเท่า หรอื มีตาแหน่งผู้ช่วยศาสตราจารย์ ในสาขาวิชานั้นหรือสาขาวิชาท่ีสัมพันธ์กันหรอื ในสาขาวิชาของ
รายวิชาท่สี อน
ในกรณีท่ีมีอาจารย์ประจาทีม่ ีคณุ วุฒิปริญญาตรหี รอื เทียบเท่า และทาหน้าท่อี าจารย์ผูส้ อนกอ่ นที่
เกณฑม์ าตรฐานหลกั สตู รระดบั ปริญญาตรี พ.ศ. ๒๕๕๘ จะประกาศใช้ ให้สามารถทาหน้าที่อาจารยผ์ ู้สอนต่อไปได้
สาหรับกรณีร่วมผลิตหลักสูตรกับหน่วยงานอื่นท่ีไม่ใช่สถาบันอุดมศึกษาหากจาเป็น บุคลากรท่ีมาจากหน่วยงาน
นั้นอาจได้รับการยกเว้นคุณวุฒิปริญญาโทและผลงานทางวิชาการแต่ต้องมีคุณวุฒิข้ันต่าปริญญาตรีหรอื เทียบเท่า
และมปี ระสบการณ์การทางานในหนว่ ยงานแห่งน้ันมาแลว้ ไม่น้อยกวา่ ๖ ปี
2.2.2 การแตง่ ต้ังอาจารยผ์ ้รู บั ผดิ ชอบหลกั สตู รและอาจารย์ประจาหลักสตู ร
2.2.2.1 เลขาคณะกรรมการดาเนินงานกลมุ่ วชิ าการ รวบรวมรายช่ืออาจารย์ ที่มคี ณุ สมบัติตาม
เกณฑ์ท่ีกาหนดไว้เช่น คุณวุฒิ ประสบการณ์ด้านการเรียนการสอน เป็นต้น เสนอคณะกรรมการดาเนินงานกลุ่ม
วิชาการ เพอ่ื คัดเลือกอาจารย์ผู้รบั ผิดชอบหลักสูตรและอาจารย์ประจาหลักสตู ร
2.2.2.2 รองผู้อานวยการกลุ่มวิชาการนารายช่ืออาจารย์ประจาหลักสูตรท่ีได้จากข้อ 1) เสนอ
คณะกรรมการบริหารเพอื่ พิจารณา/รบั รอง
2.2.2.3 รองผู้อานวยการกลุ่มวชิ าการทาหนังสือเสนอรายช่อื อาจารย์ผู้รับผดิ ชอบหลักสูตรและ
อาจารย์ประจาหลักสูตรต่อสภามหาวิทยาลัยของสถาบันสมทบคือมหาวิทยาลัยบูรพาและมหาวิทยาลัยราชภัฎ
ยะลา รบั รอง
ในกรณีท่ีอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรและอาจารย์ประจาหลักสูตรมีการโยกย้ายหรือลาออก
จากหน่วยงาน ให้ปฏิบัติการสรรหาอาจารย์ผูร้ ับผิดชอบหลักสูตรและอาจารย์ประจาหลักสตู รใหม่ตามข้ันตอนข้อ
2.2.2.1 – 2.2.2.3
2.2.2.4 คณะกรรมการดาเนินงานกลมุ่ วิชาการจัดทาคาสั่งแต่งตงั้ อาจารย์ผู้รบั ผิดชอบหลักสูตร
และอาจารย์ประจาหลักสตู รโดยผ้อู านวยการวิทยาลยั ลงนาม
20
2.3 กรอบอตั รากาลังและแผนความต้องการอัตรากาลงั ของวิทยาลยั การสาธารณสขุ ส
การจดั ทากรอบอตั รากาลังดว้ ยวทิ ยาลยั การสาธารณสุขสริ ินธร จังหวัดยะลา มีกา
การปฏบิ ตั ริ าชการจึงได้ทาการวิเคราะหแ์ ละวางกรอบอตั รากาลงั ตามโครงสรา้ งใหมด่ ังนี้
ลาดับ กลุ่มงาน/ฝา่ ย กรอบ อัตราตาแหน่งทค่ี าดวา่
อัตรากาลงั
ท่ี ระยะเวลา
เดมิ 2561 2562 2
1
กลุม่ งานบริหารท่ัวไปและบรหิ ารวชิ าการ
นักทรพั ยากรบคุ คล 3 33
นกั จดั การงานท่วั ไป 2 22
พนักงานพมิ พ์ 2 22
เจา้ พนกั งานธุรการ 4 44
เจ้าหนา้ ทธ่ี ุรการ 1 11
เจา้ พนกั งานพัสดุ 1 11
เจ้าพนักงานการเงนิ และบัญชี 1 11
นักวชิ าการเงินและบัญชี 1 11
พนกั งานบริการ 3 33
แม่บา้ น/พ่อบ้าน 9 99
พนกั งานบริการเอกสารทว่ั ไป 1 11
พนกั งานขบั รถยนต์
4 44
ช่างปนู 1 11
ชา่ งยูนติ ทันตกรรม 1 11
ช่างซ่อมบารุง 1 11
20
สริ นิ ธร จงั หวัดยะลา 2561 – 2564
ารปรบั โครงสร้างใหมใ่ หเ้ กดิ ความเหมะสมในการบรหิ ารตามนโยบายและเปา้ หมาย
าจะต้องใช้ในช่วง เพ่ิม/ลด หมายเหตุ
า4ปี 2562 2563
2564
2563 2564 2561
ฝ่ายอานวยการ
3 3 - - - ±1 30 กนั ยายน 2564 บุคลากรเกษยี ณอายุ
ราชการ สรรหาเพ่ือทดแทน (นางวรรณา คงยัง)
22 - - - -
22 - - - -
44 - - - -
11 - - - -
11 - - - -
11 - - - -
11 - - - -
33 - ±1 - - 30 กันยายน 2562 บคุ ลากรเกษยี ณอายุ
ราชการ สรรหาเพ่อื ทดแทน (นางเจิม ชมู ณ)ี
99 - - - -
11 - - - -
44 - - - - 30 กนั ยายน 2562 บคุ ลากรเกษียณอายุ
ราชการ สรรหาเพ่อื ทดแทน (นายอดศิ ร สะอะ)
11 - - - -
11 - - - -
11 - - - -
ลาดบั กลุ่มงาน/ฝ่าย กรอบ อัตราตาแหนง่ ทค่ี าดว่า
ที่ อัตรากาลงั ระยะเวลา
นักวิชาการคอมพิวเตอร์ เดมิ 2561 2562 2
เจา้ หน้าท่ีคอมพิวเตอร์
บรรณารักษ์ 1 กลุ่มงานเท
เจ้าหนา้ ทห่ี ้องสมุด 1 11
พนักงานพิมพ์ 0 11
พนักงานบริการ 1 00
1 11
2 1 11
11
พนกั งานพิมพ์
1 11
อาจารย์ผู้รับผดิ ชอบหลักสตู ร กลุม่ งาน
อาจารย์ประจาหลักสูตร
นักวชิ าการศึกษา 5 55
12 12 10
อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร 1 11
อาจารย์ประจาหลักสูตร
นักวชิ าการศึกษา กลุ่มงานห
5 55
อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลกั สตู ร 9 9 11
อาจารยป์ ระจาหลักสูตร 0 00
ผู้ชว่ ยหอ้ งปฏิบตั ิการทดลอง กลุม่ งาน
พนักงานพมิ พ์ 5 55
9 10 11
1 11
1 11
21
าจะตอ้ งใช้ในช่วง เพมิ่ /ลด หมายเหตุ
า4ปี 2564
2563 2564 2561 2562 2563 -
-
ทคโนโลยดี จิ ิทลั เพ่ือการศึกษา +1 *กาหนดเพิม่
-1 *กาหนดลด
11 - - - -
-
11 - - -
-
11 - - -
-
00 - - - - *กาหนดลด
-
11 - - -
-
11 - - - +2 *กาหนดเพม่ิ
- *กาหนดเพ่มิ
ฝา่ ยวชิ าการ
-
11 - - - - *กาหนดเพม่ิ และทดแทนผเู้ กษียณในปกี ารศึกษา
นหลักสูตรสาธารณสขุ ชมุ ชน 2563 จานวน 1ราย (นางสุจติ รา ศรปี ระสทิ ธิ
ตาแหน่งวทิ ยาจารย์ อาจารย์ประจาหลกั สตู ร)
55 - - -
-
10 10 - - 2 - -
11 - - -
หลักสตู รการแพทย์แผนไทย
55 - - -
12 14 - +2 +1
1 1 - - +1
นหลักสูตรทันตสาธารณสุข
55 - - -
13 13 +1 +1 +2
11 - - -
11 - - -
ลาดบั กลมุ่ งาน/ฝ่าย กรอบ อัตราตาแหน่งทีค่ าดวา่
อัตรากาลงั ระยะเวลา
ท่ี
เดิม 2561 2562 2
อาจารย์ผรู้ ับผดิ ชอบหลกั สตู ร
อาจารยป์ ระจาหลักสตู ร 5 กลมุ่ งาน
อาจารยผ์ รู้ ับผดิ ชอบหลกั สูตร 4 55
46
5
กลุ่มงาน
55
อาจารย์ประจาหลักสตู ร 3 34
*** หลักสตู รวิทยาศาสตรบณั ฑิต สาขาอาชวี อนามัยและความปลอดภัย
อาจารย์ผู้รับผดิ ชอบหลักสตู ร 5 --
*** หลกั สูตรวิทยาศาสตรบ
5 --
อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร
นักวชิ าการศกึ ษา 1 กลมุ่ งานทะ
เจ้าหน้าทีง่ านวัดและประเมนิ ผลการศึกษา 1 11
11
3 1
ฝ่ายยทุ ธศาส
นกั วเิ คราะหน์ โยบายและแผน
ก
11
กล
22
าจะต้องใช้ในชว่ ง เพม่ิ /ลด หมายเหตุ
า4ปี 2564
2563 2564 2561 2562 2563 -
- *กาหนดเพิม่
นหลักสตู รเทคนคิ เภสชั กรรม
- *ทดแทนผเู้ กษยี ณ ในปกี ารศกึ ษา 2563 (นายสุ
55 - - -
ชาติ สังแก้ว ตาแหนง่ พยาบาลวิชาชีพ อาจารย์ผุ้
6 6 - +2 - รบั ผิดชอบหลักสตู ร ปวส. สาขาวิชาปฏบิ ตั ิการ
ฉุกเฉินการแพทย์)
นหลักสตู รฉกุ เฉินการแพทย์
- *กาหนดเพ่มิ
5* 5 - - -
5 5 - +1 +1
-5- - - - * ดาเนินการ MOU กับหนว่ ยงานภายนอกในปี
บัณฑิต สาขาปฏิบัตกิ ารฉกุ เฉินการแพทย์ 2564 ส่งบคุ ลากรในวิทยาลยั พัฒนาเรียนใน
-5- - - หลกั สูตรที่หลักสูตรต้องการ
ะเบยี นและประเมินผลการศึกษา +1 - * ดาเนนิ การ MOU กับหนว่ ยงานภายนอกในปี
22 - - -1
00 - - 2564 สง่ บคุ ลากรในวทิ ยาลยั พฒั นาเรียนใน
- หลกั สูตรท่หี ลกั สตู รต้องการ
สตร์และประกันคุณภาพการศกึ ษา
- *กาหนดเพิม่
กลมุ่ งานยุทธศาสตร์ - *กาหนดลด
11 - - -
ลมุ่ งานบริการวิชาการ
ลาดับ กลุ่มงาน/ฝ่าย กรอบ อตั ราตาแหนง่ ทีค่ าดว่า
อัตรากาลงั ระยะเวลา
ท่ี
เดิม 2561 2562 2
นักจัดการงานทั่วไป (QA)
1 กลมุ่ งาน
4 11
1
นกั จัดการงานท่วั ไป (วจิ ยั ) 1 ฝ่ายว
นักทรัพยากรบคุ คล กล่มุ งา
1 11
5 1
1 กล
นักจัดการงานทวั่ ไป 115 11
เจา้ หนา้ ที่ธรุ การ
พนักงานบริการ กล
ฝ
รวม กลุ่มงานพัฒนานัก
กล่มุ
11
11
กลมุ่ งาน
11
116 120
าจะตอ้ งใชใ้ นช่วง เพม่ิ /ลด 23
หมายเหตุ
า4ปี
2563 2564 2561 2562 2563 2564
-
นประกนั คณุ ภาพการศึกษา
-
11 - - - -
วิจยั และบริการวิชาการ -
-
านวจิ ัยและวิเทศสัมพันธ์ -
+3-1
11 - - -
ลุ่มงานพัฒนากาลังคน
11 - - -
ลมุ่ งานบรกิ ารวิชาการ
ฝ่ายกิจการนักศึกษา
กศึกษาและทานุบารุงศลิ ปวัฒนธรรม
มงานสวัสดกิ ารนักศึกษา
11 - - -
11 - - -
นวินัยและศิษยเ์ กา่ สมั พันธ์
11 - - -
120 127 +1 +6-2 +6-1
24
วิทยาลัยการสาธารณสขุ สริ ินธร จงั หวดั ยะลา
มบี คุ ลากรในสังกัดสายวิชาการ
แยกตามหลกั สตู ร ดังน้ี
คุณวฒุ ิ 1. หลกั สูตรสาธารณสขุ ศาสตรบณั ฑิต สาขาวชิ าสาธารณส
ปรญิ ญาโท
ลําดบั คํานําหนา ชื่อ สกลุ วนั เดือน ป ปรญิ ญาตรี ปรญิ ญาเอก ตําแหนง ระดับ
ที่ ที่มา วิทยาลัย ชอ่ื ปริญญา
สาขาวิชาเอก ชอ่ื ปริญญา สาขาวชิ าเอก ชอ่ื ปรญิ ญา สาขาวชิ าเอก
อาจารยผรู ับผดิ ชอบหลกั สตู ร 1 เมษายน 2547 ปรญิ ญาเภสัชศาสตรบณั ฑติ เภสัชศาสตร ปรญิ ญาสาธารณสุขศาสตรมหา สาธารณสุขศาสตร - - เภสชั กร ชาํ นาญการพ
1 นาย อวริ ทุ ธ สงิ หก ุล 1 พฤษภาคม 2557 ปรญิ ญาครศุ าสตรบณั ฑติ ภาษาอังกฤษ บัณฑิต สาธารณสุขชุมชน - -
ปรญิ ญาวิทยาศาสตรบณั ฑติ สาธารณสุขชุมชน สาธารณสขุ ศาสตร Ph.D. Medicine Population Health
2 นาย ขจรศกั ด์ิ ไชยนาพงศ ปริญญาสาธารณสุขศาสตรมหา วทิ ยาจารย -
- บณั ฑติ
3 ดร. ชมพนู ชุ สภุ าพวานิช 11 มกราคม 2551 ประกาศนียบัตรพยาบาลศาสตร พยาบาลวิชาชพี ชาํ นาญการพ
(นางสาว) ปริญญาวทิ ยาศาสตรมหาบัณฑิต
4 ดร. (นาง) อญั ชลี พงศเกษตร 21 มถิ นุ ายน 2542 ปรญิ ญาสาธารณสุขศาสตรบัณฑติ อาชวี อนามัยและความ ปรญิ ญาสาธารณสุข Environment Toxicology, ปรญิ ญาดุษฎบี ัณฑติ การจดั การสิง่ แวดลอม วิทยาจารย ชํานาญการพ
ปลอดภัย ศาสตรมหาบัณฑติ Technology and Management.
5 นางสาว ซฮู ยั ลา สะมะแอ 26 สิงหาคม 2552 ปริญญาวิทยาศาสตรบณั ฑติ ปริญญาวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต - - วิทยาจารย -
ปรญิ ญาเกษตรศาสตรบณั ฑติ สาธารณสุขศาสตร จลุ ชีววทิ ยาการแพทย
ปริญญาวทิ ยาศาสตรบัณฑิต การจดั การการผลติ พืช
อนามยั สิ่งแวดลอม
อาจารยป ระจาํ หลกั สตู ร สอนบตุ ร 21 ธนั วาคม 2552 ปรญิ ญาวทิ ยาศาสตรบณั ฑิต สาธารณสขุ ชมุ ชน ปรญิ ญาวทิ ยาศาสตรมหาบัณฑติ อาชีวอนามยั และความปลอดภัย ปรญิ ญาวทิ ยาศาสตรดษุ ฎบี ณั ฑิต การวจิ ัยและการจัดการดา น วทิ ยาจารย ชํานาญการพ
6 ดร. จามรี ดารามะ ปริญญาวทิ ยาศาสตรมหาบัณฑิต อาชวี อนามยั และความปลอดภยั สุขภาพ วทิ ยาจารย ชาํ นาญการพ
(นางสาว) 24 สงิ หาคม 2561 ปรญิ ญาสาธารณสุขศาสตรบณั ฑิต บริหารสาธารณสขุ
--
7 นาย มะการิม
8 ดร. นิรชั รา ลิลละหกุล 1 มถิ นุ ายน 2555 ปริญญาพยาบาลศาสตรบัณฑติ การพยาบาล ปรญิ ญาพยาบาลศาสตรมหาบณั ฑิต การพยาบาล ปรญิ ญาสาธารณสขุ ศาสตรดษุ ฎี สาธารณสุขศาสตร พยาบาลวชิ าชพี ชาํ นาญก
(นางสาว) บณั ฑิต
9 นางสาว กนกกร มอหะหมดั 15 สิงหาคม 2549 ปรญิ ญาวทิ ยาศาสตรบัณฑติ แพทยแผนไทยประยกุ ต ปริญญาวทิ ยาศาสตรมหาบัณฑิต สาธารณสุขศาสตร - - แพทยแ ผนไทย ชํานาญก
10 นาย ไฟศอล มาหะมะ 17 เมษายน 2551 ปริญญาแพทยแ ผนไทยบัณฑติ - ปริญญาวทิ ยาศาสตรมหาบณั ฑิต การจัดการระบบสขุ ภาพ - - แพทยแผนไทย ปฏิบัติกา
11 นางสาว อัสมาอ อาแซ 1 มถิ นุ ายน 2560 ปริญญาศิลปศาสตรบัณฑิต รัฐศาสตร ปริญญาวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต กายวภิ าคศาสตร - - แพทยแ ผนไทย
12 นาง อฎั ฮยี ะห อัฮมดั มซู า ปริญญาวิทยาศาสตรบัณฑติ การแพทยแ ผนไทย ปรญิ ญาวทิ ยาศาสตรมหาบัณฑติ วิธวี ทิ ยาการวิจัย - - ทนั ตแพทย ชํานาญการพ
2 เมษายน 2544 ปรญิ ญาทนั ตแพทยศาสตรบณั ฑิต -
13 นางสาว พริ ิยา ผาตวิ กิ รัยวงค 14 สิงหาคม 2556 ปริญญาทันตแพทยศาสตรบณั ฑิต - ปริญญาสาธารณสขุ ศาสตร บรหิ ารสาธารณสุข - - ทันตแพทย ชาํ นาญการพ
มหาบัณฑติ -
14 นางสาว ปรินาถ คลายพุก 14 มิถุนายน 2553 ปริญญาทนั ตแพทยศาสตรบัณฑิต - ปริญญาวิทยาศาสตรมหาบณั ฑติ ทันตกรรมทวั่ ไป - ทันตแพทย ชาํ นาญก
15 นางสาว วีณาพร วงศส ถาพรพัฒน 4 เมษายน 2557 ปริญญาเภสัชศาสตรบัณฑิต - ปรญิ ญาเภสัชศาสตรมหาบณั ฑิต เภสัชศาสตรสงั คมและการบริหาร - - เภสัชกร ชาํ นาญก
16 ดร.(นาง) อุบลทิพย ไชยแสง 23 พฤษภาคม 2549 ปรญิ ญาพยาบาลศาสตรบัณฑิต - ปริญญาพยาบาลศาสตรมหาบณั ฑติ การพยาบาลเวชปฏบิ ตั ิชมุ ชน ปรญิ ญาปรัชญาดุษฎีบัณฑติ การแนะแนวและการปรึกษา พยาบาลวิชาชพี ชาํ นาญการพ
เชงิ จติ วทิ ยา
17 นางสาว นวลพรรณ ทองคุปต 15 พฤษภาคม 2555 ปริญญาการแพทยแผนไทย - ปริญญาสาธารณสุขมหาบัณฑิต สาธารณสขุ ชมุ ชน - - แพทยแ ผนไทย ชํานาญก
ประยกุ ตบ ัณฑติ การแพทยแ ผนไทย ปรญิ ญาสาธารณสุขมหาบณั ฑิต สาธารณสขุ ชมุ ชน
อาชวี เวชศาสตร
18 นางสาว โรสนานี เหมตระกลู วงศ 1 ธนั วาคม 2558 ปรญิ ญาวิทยาศาสตรบณั ฑิต - - แพทยแ ผนไทย ชํานาญก
รัฐศาสตร
19 นาย อับดลุ บาซสิ ยาโงะ 13 สิงหาคม 2563 ปริญญาวทิ ยาศาสตรบัณฑิต เทคโนโลยีและการจดั การ ปรญิ ญาวทิ ยาศาสตรมหาบณั ฑติ - - - อาจารย -
ส่ิงแวดลอ ม
พัฒนาสงั คม
อาจารยผูสอน ปราบเขต 6 ธันวาคม 2561 ปริญญาสาธารณสุขศาสตรบณั ฑติ สาธารณสุขศาสตร ปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑติ ผอู าํ นวยการ ตน
ประเภทอาจารยประจาํ 14 ธันวาคม 2550 ปริญญาศิลปศาสตรมหาบณั ฑิต รฐั ศาสตร ปริญญานิตศิ าสตรมหาบัณฑิต
20 นาย สนุ ทร -
ปริญญานิตศิ าสตรบณั ฑติ ปรญิ ญาศิลปศาสตรมหาบณั ฑติ
21 ดร. (นาย) วชิ าญ ภบิ าล ปรญิ ญาสาธารณสุขศาสตรบัณฑิต สาธารณสุขศาสตร - - วิทยาจารย ชาํ นาญการพ
ปริญญาปรชั ญาดุษฎบี ัณฑิต รัฐประศาสนศาสตร
22 ดร. (นาย) สฤษด์ิ ผาอาจ 16 มีนาคม 2542 ปรญิ ญาสาธารณสขุ ศาสตรบณั ฑิต สาธารณสขุ ศาสตร ปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑติ พัฒนาสงั คม ปรญิ ญาศิลปศาสตรดษุ ฎบี ัณฑติ พัฒนาสังคม วิทยาจารย ชาํ นาญการพ
23 นาย ไพสิฐ จิรรัตนโสภา 1 เมษายน 2535 ปรญิ ญาเภสัชศาสตรบณั ฑติ - ปริญญาศิลปศาสตรมหาบณั ฑิต พฒั นาสงั คม - - เภสัชกร ชาํ นาญการพ
24 นาย เจตนว ิชยุตม บรริ กั ษ 2 พฤศจิกายน 2558 ปริญญาสาธารณสุขศาสตรบณั ฑิต สาธารณสขุ ศาสตร ปริญญาศลิ ปศาสตรมหาบณั ฑิต พฒั นาสังคม - - พยาบาลวชิ าชีพ ชํานาญการพ
ปรญิ ญาพยาบาลศาสตรบณั ฑติ -
สุขชมุ ชน วทิ ยาลัยการสาธารณสุขสริ นิ ธร จงั หวัดยะลา
ความตอ งการอบรม ปก ารศึกษา 2562 (ระบุ) ความตอ งการอบรม ปการศึกษา 2563 (ระบุ) ความตองการลาศึกษาตอ (ปการศกึ ษา 2563-2567) ปท ่ีเกษียณอายุ
วชิ าการ วชิ าชพี วิชาการ วิชาชพี ปก ารศกึ ษา ระดับการศึกษา สาขาวชิ า ภายใน/ตา งประเทศ ตองการทุนการศึกษา
พิเศษ 1. การพัฒนางานประจําสูงานวจิ ัย (R to R) - ดานการวจิ ยั ดานเภสัชศาสตร -- - - - 1/10/2577
2. หลักสูตรและแนวทางการดาํ เนนิ การหลักสูตร ในประเทศ ตองการ 1/10/2595
ดผูบานรกหิ าารรวกิจายัรสาธารณสุข 1. ดานระบาดวทิ ยา ตา งประเทศ ตองการ
ดา นปฏิบตั กิ ารชวยฟนคืนชพี ขนั้ พ้ืนฐาน ดา นการวิจัย 2. ดานฉกุ เฉนิ การแพทย 2567 ปรญิ ญาเอก สาธารณสขุ ศาสตร
ดานวชิ าการใหมท างระบาดวทิ ยา
พเิ ศษ 1. ดา นบรหิ ารหลกั สูตร ดานวิชาการใหมท างระบาดวิทยา 1. ดานบริหารหลกั สูตร 2564 Post Doc อาชวี อนามยั
2. ดานการวิจยั 2. ดานการวจิ ยั
พิเศษ ดานการบรหิ ารหลักสตู ร ดานวชิ าการใหมท างอนามัยสง่ิ แวดลอม ดานการบริหารหลักสูตร ดา นวชิ าการใหมทางอนามยั ส่งิ แวดลอม -- - - - 1/10/2579
1/10/2578
อบรมการพัฒนาระบบบรหิ ารจัดการความ 1. ดานสาธารณสขุ การบรหิ ารหลักสูตร การควบคมุ มลพษิ ทางอากาศ 2564 ปริญญาเอก สาธารณสุขศาสตร ในประเทศ ตองการ
ปลอดภยั ในหอ งปฏบิ ัติการ 2. ดา นจลุ ชีววิทยา
1/10/2585
พเิ ศษ 1. สถิตแิ ละการวจิ ัยแนวใหม ดานอาชีวอนามัย 1. สถติ ิและการวจิ ยั แนวใหม ดา นอาชีวอนามัย 2565 Post Doc อาชวี อนามัย ตา งประเทศ ตองการ 1/10/2584
2. การบริหารหลักสตู ร ดานอาชีวอนามัย 2. การบรหิ ารหลกั สตู ร -- - - - 1/10/2569
13.. สHถeติaแิrinลgะกloารsวsิจpัยrแeนveวใnหtiมo n and
พิเศษ 31.. สHถeติaแิrinลgะกloารsวsิจpยั rแeนveวใnหtiมo n and 2. การบริหารหลกั สตู ร ดานอาชีวอนามยั
2. การบรหิ ารหลกั สูตร
3. Hearing loss prevention and 3. Hearing loss prevention and
audiometric testing program course audiometric testing program course
4. Basic principle of industrial hygiene 4. Basic principle of industrial hygiene
Burden of disease (DALYs) Burden of disease (DALYs)
การ การพัฒนางานวิจยั การพยาบาลเฉพาะทางผูส ูงอายุ 1. การพฒั นางานวจิ ยั 1. การพยาบาลเฉพาะทางผสู ูงอายุ 2564 Post Doc สาธารณสขุ ศาสตร ตางประเทศ ตอ งการ 1/10/2573
2. การจดั การเรียนการสอน 2. การพยาบาลเฉพาะทางเวชปฏบิ ัติ
การ 1. ดา นการวจิ ยั การพฒั นาการแพทยแ ผนไทยในทศวรรษหกนาารเขียนบทความตีพิมพนานาชาติ ดา นการแพทยยแผนไทย 2566 ปรญิ ญาเอก แพทยแผนไทย ในประเทศ ตอ งการ 1/10/2584
2. ดา นงานประกนั คุณภาพการศกึ ษา
ในประเทศ
าร การพัฒนางานวจิ ัย ดา นการบริหารจัดการการแพทยแผน ดานภาษาอังกฤษ หตั ถการทางการแพทยแผนไทย 2567 ปรญิ ญาเอก สาธารณสุขศาสตร ในประเทศ ตองการ 1/10/2584
ไทยฯ ความรูดา นการแพทยแ ผนไทย 2566 ตองการ 1/10/2593
1. การเขยี นตําราทางวชิ าการ ดานทันตกรรม - 1/10/2576
การพฒั นาศกั ยภาพอาจารยดา นการออกขอ สอบ แลดะาวนพิ ศากึ ษาข กอ าสยอวบภิ คาวคาศมารสู ตรผา นราง 2. อบรมความรูดานภาษาอังกฤษ - ปริญญาเอก การวิจัยและการจดั การ - 1/10/2582
อาจารยใหญ 1. เทคโนโลยกี ารสอน - ดา นสุขภาพ ในประเทศ
2. การวิจัย - - ตอ งการ 1/10/2589
พิเศษ ดา นการนาํ เสนองานวจิ ยั อบรมเชงิ ปฏิบตั กิ ารหลกั สูตรทันตก -
รรมผสู งู อายุตามแนวทางของหนว ย 1. การพฒั นางานวิจยั
บริการปฐมภมู ิ 2. การจดั ทําแผนปฏบิ ตั ิการ
อบรมระยะสั้นตางประเทศ หวั ขอ การ
พเิ ศษ การวิเคราะหข อมลู ตน ทนุ ตอ หนว ยการผลติ ประชมุ สามญั ประจําปโ ดยทันตแพทย จัดการเรยี นการสอนแบบ Evidence ประชมุ สามญั ประจําปโดยทันตแพทยสมาคม 2566 ปรญิ ญาเอก สาธารณสขุ ศาสตร
นกั ศกึ ษา สมาคม Based Learning/Reflective ประชมุ สามัญประจําปโดยทันตแพทยสมาคม - - -
Thinking/Creative and Innovative
การ ดา นการวจิ ยั ประชมุ สามัญประจําปโ ดยทันตแพทย Thinking
สมาคม
การ ดา นภาษาอังกฤษ ความรูเรือ่ งการใชก ัญชา ดานภาษาอังกฤษ ความรเู รื่องยาโรคเรอื้ รงั -- - - - 1/10/2593
พิเศษ การพฒั นางานวจิ ยั การพยาบาลเวชปฏบิ ตั คิ รอบครวั การพฒั นางานวิจยั การพยาบาลดา นเวชปฏิบตั ิ ตอ งการ 1/10/2580
2565 Post Doc วิทยาศาสตรสุขภาพ ตา งประเทศ
การ การพัฒนาศกั ยภาพอาจารยด า นการออกขอ สอบ ดานแพทยแ ผนไทย 1. ดานการทาํ วจิ ยั ดานแพทยแผนไทย 2567 ปรญิ ญาเอก สาธารณสขุ ศาสตร ในประเทศ ตองการ 1/10/2593
และวิพากษขอ สอบความรูร วบยอดฯ 2. ดา นการทาํ หนังสือวชิ าการ ดา นแพทยแ ผนไทย - - 1/10/2594
ดานอาชีวอนามยั และความปลอดภยั 1/10/2595
การ การพัฒนาศักยภาพอาจารยด านการออกขอ สอบ หลักสูตรการใชก ัญชาทางการแพทย 1. ดา นการทาํ วจิ ยั -- - ในประเทศ ตอ งการ
2. ดานการทาํ หนงั สอื วชิ าการ
และวิพากษข อสอบความรูรวบยอดฯ แผนไทย
- - 1. ดานการทําวิจยั 2567 ปรญิ ญาเอก อาชีวอนามัย
2. ดา นการทําหนังสือวิชาการ
1. ดานแผนยทุ ธศาสตรขององคกร ดา นสาธารณสุขศาสตร 1. ดานแผนยทุ ธศาสตรขององคก ร ดานสาธารณสุขศาสตร -- - - - 1/10/2569
2. ภาวะผนู าํ ในองคกร 2. ภาวะผูนาํ ในองคกร
พเิ ศษ 1. ดานการเขยี นบทความตพี มิ พน านาชาติ ดา นสาธารณสขุ ศาสตร 1. ดา นการเขยี นบทความตพี มิ พนานาชาติ ดา นสาธารณสขุ ศาสตร -- - - - 1/10/2569
2. การบริหารสาธารณสขุ แนวใหม 2. การบริหารสาธารณสุขแนวใหม
- - -- - - - 1/10/2570
พิเศษ ดา นการพัฒนาโครงการวจิ ยั เพ่อื ขอทนุ ภายนอก ดานเภสัชกรรม ดา นการเขยี นบทความตีพมิ พนานาชาติ ดา นเภสัชวทิ ยา ในประเทศ ไมตองการ 1/10/2571
พเิ ศษ ดานงานประกนั คณุ ภาพการศกึ ษา 1. ดา นระบบสารสนเทศ 2563 ปริญญาเอก จดั การสง่ิ แวดลอม
2. ดานการพัฒนางานวจิ ยั และนําเสนอ กูช พี ทางอากาศ PHTLS 10 - - 1/10/2574
พิเศษ 1. อบรมเชงิ ปฏบิ ตั กิ ารพัฒนาศักยภาพอาจารย มิตใิ หมในการเสรมิ สรา งสุขภาวะ Eผ-ลLงeาaนrning -- -
ดานการออกขอสอบ และวพิ ากษข อ สอบความรู ประชาชน
2. การพัฒนาศักยภาพบุคลากรดา นเกณฑ
มาตรฐานและตวั บง ช้ีการประกันคณุ ภาพ
การศึกษา ตามมาตรฐานการอาชวี ศกึ ษา
ลาํ ดบั คาํ นําหนา ชือ่ สกลุ วนั เดอื น ป ปรญิ ญาตรี คณุ วุฒิ ปรญิ ญาเอก ตาํ แหนง ระดบั
ที่ ท่ีมา วทิ ยาลยั ช่อื ปริญญา ปริญญาโท วทิ ยาจารย -
1 เมษายน 2551 ปริญญาวทิ ยาศาสตรบัณฑติ
สาขาวิชาเอก ช่อื ปริญญา สาขาวิชาเอก ช่ือปรญิ ญา สาขาวิชาเอก
สุขศกึ ษา
25 นาย ธนกร สริ ิกลุ ปริญญาการศกึ ษามหาบัณฑิต หลักสูตรและการสอน --
26 นาง กมลวรรณ วณชิ ชานนท 16 สิงหาคม 2553 ปรญิ ญาพยาบาลศาสตรบัณฑติ - ปรญิ ญาศลิ ปศาสตรมหาบัณฑติ พัฒนาสงั คม - - พยาบาลวิชาชีพ ชํานาญการพ
27 นาย นวิ ตั ิ ไชยแสง 1 มิถุนายน 2536 ปรญิ ญาวิทยาศาสตรบัณฑิต สขุ ศกึ ษา ปริญญาศิลปศาสตรมหาบณั ฑิต พัฒนาสังคม - - วิทยาจารย ชาํ นาญการพ
ปริญญาศกึ ษาศาสตรมหาบัณฑติ จิตวิทยาการศกึ ษา - - พยาบาลวิชาชพี ชาํ นาญการพ
28 นาง เลศิ ลกั ษณ เรอื งทอง 8 มกราคม 2558 ประกาศนียบตั รพยาบาลศาสตร -
ปรญิ ญาวิทยาศาสตรบัณฑิต สุขศกึ ษา - -
29 นาย ฟาริห มะหมดั 1 มถิ ุนายน 2536 สาธารณสุขศาสตร - - - - วิทยาจารย ชํานาญการพ
ปรญิ ญาสาธารณสุขศาสตรบัณฑติ บริหารสาธารณสขุ - -
30 Mr. Ganfre S.Pechayco 8 พฤษภาคม 2550 ปรญิ ญาสาธารณสขุ ศาสตรบณั ฑิต Education - - อาจารย -
31 นางสาว ชัญณยา หมนั การ 9 มิถุนายน 2557 - -
Bachelor of Science - - - เภสัชกร ชาํ นาญก
ปริญญาเภสัชศาสตรบัณฑติ Master dental public -
- เภสัชศาhสeตaรlมthหาบณั ฑิต -
32 นางสาว พรพิลาส เอกาพันธุ 19 พฤษภาคม 2558 ปรญิ ญาเภสัชศาสตรบัณฑติ - - เภสัชกร ชํานาญก
- - -
ลาศกึ ษาตอ กมิ ิเส 6 มกราคม 2555 ทันตแพทยศาสตรบณั ฑิต - - - - - ทันตแพทย ชํานาญก
1 นางสาว ฐิติกา เดอรามนั ห 1 เมษายน 2545 เภสัชศาสตรบณั ฑติ - - เภสัชกร ชํานาญการ
สาธารณสุขชุมชน
2 นางสาว อรุโณทยั สาเระ 17 พฤศจกิ ายน 2558 ปรญิ ญาวิทยาศาสตรบัณฑิต สาธารณสขุ ศาสตร - - วิทยาจารย -
อาจารยผูช วยสอน ยือโระ 31 พฤษภาคม 2562 ปรญิ ญาวิทยาศาสตรบณั ฑติ
- - อาจารย -
1 นางสาว รอซกี นี
2 นางสาว นาซเี ราะ
ความตอ งการอบรม ปก ารศกึ ษา 2562 (ระบุ) ความตอ งการอบรม ปการศกึ ษา 2563 (ระบุ) ความตอ งการลาศึกษาตอ (ปก ารศึกษา 2563-2567) ปทเ่ี กษียณอายุ
วิชาการ วิชาชีพ วิชาการ วิชาชพี ปก ารศกึ ษา ระดบั การศึกษา สาขาวชิ า ภายใน/ตา งประเทศ ตองการทนุ การศกึ ษา
การพัฒนาศกั ยภาพบุคลากรดา นเกณฑมาตรฐาน อบรมปฏบิ ตั ิการแพทยขั้นพนื้ ฐานและ วจิ ัยลูกไก กชู พี ทางนา้ํ PHTLS10 2566 ปริญญาเอก สาธารณสขุ ศาสตร ภายใน ตองการ 1/10/2586
และตัวบง ช้ีการประกนั คณุ ภาพการศึกษา ตาม ชวยปฏิบัติการแพทยข ้ันสงู
มาตรฐานการอาชวี ศึกษา ดานการพยาบาล
พเิ ศษ 1. การอภิปรายผลและพฒั นาหลักสูตรการดแู ล ดานการพยาบาล 1. ดา นการบริหารงานบุคคล - 2565 ปริญญาเอก พยาบาลศาสตร ในประเทศ ตองการ 1/10/2582
ผูสงู อายฉุ บับสมบรู ณ 2. ดา นระเบยี บการบรหิ าร ดานการพยาบาล
2. บรมเชงิ ปฏบิ ัตกิ าร อา น journal ไดท ําวจิ ยั -
เปน practical points in Medical Research -
ดา นโรคอบุ ตั ใิ หม
พเิ ศษ การเขยี นตําราระดับอดุ มศกึ ษาท่ีมคี ณุ ภาพ - การเขยี นผลงานวขิ าการและบทความ ดา นเภสัชศาสตร 2567 ปริญญาเอก วจิ ัยและประเมินผล ในประเทศ ตองการ 1/10/2575
การศึกษา 1/10/2576
- -
พเิ ศษ 1. การเขยี นบทความตีพมิ พนานาชาติ ดานการพยาบาล 1. วจิ ัยเชงิ ปริมาณและเชงิ คณุ ภาพ (mix -- - 1/10/2574
2. เทคนิคการสื่อสารอยา งมปี ระสิทธิผล - method) ในประเทศ ตองการ 1/10/2571
2ก.ารเทเขคียนนิคบกทาครเวปานมพตีพธิ ีกิมรพมน อื าอนาาชชีพาติ 2566 ปรญิ ญาโท สารสนเทศ 1/10/2584
พเิ ศษ การพฒั นาโครงการวจิ ัยเพอื่ ขอทนุ ภายนอก - -
- - 1/10/2593
ดา นการเขียนงานวจิ ัย - ดา นการเขียนหนงั สือตําราวชิ าการ -- -
การ ดา นการวิจัย อบรมการใชสารสกัดกัญชาทาง 1. ดา นการทําวิจยั -- - ตางประเทศ ตอ งการ
การแพทย 2. ดานการทาํ หนงั สอื วชิ าการ
การ ดานการวจิ ัย 2564 ปริญญาโท-เอก เภสัชศาสตร
อบรมการใชส ารสกัดกญั ชาทาง 1. ดา นการทําวจิ ยั
การแพทย 2. ดา นการทําหนังสือวิชาการ
การ
รพเิ ศษ
คุณวุฒิ 2. หลักสตู รการแพทยแ ผนไทยบณั ฑติ วทิ ยา
ปริญญาโท
ลําดบั คํานําหนา ชือ่ สกุล วัน เดอื น ป ปริญญาตรี ปรญิ ญาเอก ตําแหนง ระดบั
ที่ ท่มี า วทิ ยาลยั ชื่อปรญิ ญา
สาขาวชิ าเอก ชือ่ ปรญิ ญา สาขาวชิ าเอก ช่ือปรญิ ญา สาขาวชิ าเอก
อาจารยผ ูรบั ผิดชอบหลกั สูตร 1 มิถุนายน 2560 ปรญิ ญาวิทยาศาสตรบณั ฑติ การแพทยแผนไทย ปรญิ ญาวทิ ยาศาสตรมหาบณั ฑิต กายวิภาคศาสตร - - แพทยแ ผนไทย
1 นางสาว อัสมาอ อาแซ
2 นางสาว โรสนานี เหมตระกลู วงศ 1 ธนั วาคม 2558 ปรญิ ญาวทิ ยาศาสตรบัณฑติ การแพทยแ ผนไทย ปริญญาสาธารณสขุ มหาบณั ฑิต สาธารณสขุ ชุมชน - - แพทยแ ผนไทย ชาํ นาญก
3 นาย กวนิ ศักดิ์ จตั ุฑะศรี 24 กนั ยายน 2561 ปริญญาแพทยแ ผนไทยบัณฑิต - ปริญญาแพทยแผนไทยมหาบณั ฑติ - - - แพทยแ ผนไทย -
4 นางสาว สธุ ินี หูเขยี ว 1 มีนาคม 2558 ปริญญาวทิ ยาศาสตรบณั ฑติ การแพทยแ ผนไทย ปริญญาแพทยแผนไทยมหาบณั ฑติ - - - แพทยแผนไทย -
5 นางสาว นรู อสั มา ปตุ ิ 1 เมษายน 2558 ปรญิ ญาวทิ ยาศาสตรบัณฑติ การแพทยแ ผนไทย ปริญญาแพทยแ ผนไทยมหาบัณฑิต - - - แพทยแ ผนไทย -
อาจารยประจําหลกั สตู ร อทุ ยั พนั ธ 2 มิถนุ ายน 2541 ปรญิ ญาเภสัชศาสตรบณั ฑิต - ปริญญาเภสัชศาสตรมหาบณั ฑติ เภสชั ศาสตรส ังคมและการบริหาร ปริญญาปรชั ญาดษุ ฎีบณั ฑติ การประเมินการศกึ ษา เภสัชกร ชํานาญการพ
6 ดร. (นาง) ปาริฉตั ร ปริญญาบริหารธรุ กิจบณั ฑติ
ปริญญาวิทยาศาสตรบณั ฑิต การตลาด ปริญญาสาธารณสขุ วทิ ยาจารย ชาํ นาญการพ
ศาสตรมหาบณั ฑติ วิทยาจารย ชํานาญการพ
7 ดร. (นาง) อญั ชลี พงศเกษตร 21 มิถุนายน 2542 ปริญญาสาธารณสขุ ศาสตรบัณฑติ อาหาร โภชนาการและ ปรญิ ญาวิทยาศาสตรมหาบัณฑติ Environment Toxicology, ปรญิ ญาดษุ ฎีบัณฑติ การจัดการสิ่งแวดลอ ม วทิ ยาจารย ชํานาญการพ
การประยกุ ต Technology and Management.
8 ดร. จามรี สอนบตุ ร 21 ธนั วาคม 2552 ปริญญาวิทยาศาสตรบณั ฑิต อาชวี อนามัยและความ อาชีวอนามัยและความปลอดภัย ปรญิ ญาวิทยาศาสตรดษุ ฎีบณั ฑิต การวจิ ัยและการจัดการดาน
(นางสาว) ดารามะ ปรญิ ญาเกษตรศาสตรบัณฑติ ปลอดภัย อาชีวอนามยั และความปลอดภัย สุขภาพ
ปรญิ ญาวทิ ยาศาสตรบณั ฑติ
9 นาย มะการิม สาธารณสขุ ศาสตร --
การจัดการการผลติ พืช
สาธารณสุขชมุ ชน
24 สิงหาคม 2561 ปริญญาสาธารณสุขศาสตรบัณฑิต บริหารสาธารณสขุ ปริญญาวิทยาศาสตรมหาบณั ฑติ
10 นางสาว ซูฮัยลา สะมะแอ 26 สงิ หาคม 2552 ปรญิ ญาวทิ ยาศาสตรบัณฑิต อนามัยส่ิงแวดลอ ม ปรญิ ญาวทิ ยาศาสตรมหาบัณฑิต จลุ ชวี วทิ ยาการแพทย - - วิทยาจารย -
11 นางสาว กนกกร มอหะหมดั 15 สิงหาคม 2549 ปริญญาวิทยาศาสตรบณั ฑติ แพทยแผนไทยประยุกต ปริญญาวิทยาศาสตรมหาบณั ฑติ สาธารณสขุ ศาสตร - - แพทยแผนไทย ชํานาญก
12 นาย ไฟศอล มาหะมะ 17 เมษายน 2551 ปรญิ ญาแพทยแผนไทยบณั ฑิต - ปริญญาวิทยาศาสตรมหาบณั ฑิต การจดั การระบบสขุ ภาพ - - แพทยแ ผนไทย ปฏบิ ัตกิ า
รัฐศาสตร ปริญญาวทิ ยาศาสตรมหาบณั ฑิต วิธวี ิทยาการวจิ ัย - - ทันตแพทย ชํานาญการพ
ปริญญาศิลปศาสตรบณั ฑิต
-
13 นาง อฎั ฮียะห อัฮมดั มซู า 2 เมษายน 2544 ปริญญาทันตแพทยศาสตรบณั ฑติ
14 นางสาว ทนิ มณี แซเ หลยี ง 12 เมษายน 2555 ปริญญาเภสัชศาสตรบณั ฑติ การบริบาลทางเภสชั กรรม ปริญญาวทิ ยาศาสตรมหาบัณฑติ การจัดการระบบสุขภาพ - - เภสัชกร ชาํ นาญก
เภสัชศาสตรส งั คมและการบรหิ าร - -
15 นางสาว วีณาพร วงศสถาพรพัฒน 4 เมษายน 2557 ปริญญาเภสชั ศาสตรบัณฑิต - ปริญญาเภสชั ศาสตรมหาบัณฑติ - - เภสัชกร ชาํ นาญก
16 นางสาว พิริยา ผาตวิ ิกรัยวงค 14 สิงหาคม 2556 ปรญิ ญาทนั ตแพทยศาสตรบณั ฑติ - ปริญญาสาธารณสุขศาสตร บริหารสาธารณสุข ทันตแพทย ชํานาญการพ
มหาบัณฑิต Doctor of Philosophy Nursing Studies
17 ดร. (นาง) อไุ รวรรณ ศริ ิธรรมพันธ 3 เมษายน 2543 ปริญญาพยาบาลศาสตรบณั ฑิต - การพยาบาลเวชปฏิบัตชิ มุ ชน พยาบาลวชิ าชีพ ชาํ นาญการพ
ปรญิ ญาพยาบาลมหาบณั ฑิต
18 นาย ชยั ณรงค ชทู อง 1 เมษายน 2547 ปริญญาเภสัชศาสตรบณั ฑิต - ปริญญาเภสัชศาสตรมหาบณั ฑติ เภสชั ศาสตรสังคมและการบริหาร - - เภสัชกร ชํานาญการพ
19 นาย อวริ ุทธ สิงหก ุล 1 เมษายน 2547 ปริญญาเภสชั ศาสตรบณั ฑติ เภสัชศาสตร ปรญิ ญาสาธารณสุขศาสตรมหา สาธารณสุขศาสตร - - เภสชั กร ชาํ นาญการพ
สภุ าพวานิช 11 มกราคม 2551 ปรญิ ญาครุศาสตรบณั ฑติ ภาษาองั กฤษ บัณฑติ สาธารณสขุ ศาสตร Ph.D. Medicine - พยาบาลวิชาชีพ ชาํ นาญการพ
20 ดร. ชมพูนุช ประกาศนยี บัตรพยาบาลศาสตร
(นางสาว) - ปริญญาวิทยาศาสตรมหาบณั ฑิต
อาจารยผูส อน
ประเภทอาจารยประจาํ
าลัยการสาธารณสขุ สริ ินธร จังหวดั ยะลา
ความตองการอบรม ปการศกึ ษา 2562 (ระบุ) ความตอ งการอบรม ปก ารศกึ ษา 2563 (ระบุ) ความตอ งการลาศึกษาตอ (ปการศึกษา 2563-2567) ปทีเ่ กษยี ณอายุ
วิชาการ วิชาชพี วิชาการ วิชาชีพ ปการศกึ ษา ระดบั การศกึ ษา สาขาวิชา ภายใน/ตางประเทศ ตอ งการทนุ การศกึ ษา
การพัฒนาศกั ยภาพอาจารยด านการออกขอสอบ แลดะาวนพิ ศากึ ษาข กอาสยอวบภิ คาวคาศมารสู ตรผ านราง 1. การเขียนตาํ ราทางวชิ าการ ความรูดานการแพทยแ ผนไทย 2566 ปรญิ ญาเอก การวจิ ยั และการจดั การ ในประเทศ ตองการ 1/10/2593
อาจารยใหญ 2. อบรมความรูด า นภาษาองั กฤษ ดานแพทยแ ผนไทย - - ดา นสขุ ภาพ - - 1/10/2594
การใชส มนุ ไพร - 1/10/2595
การ การพัฒนาศักยภาพอาจารยด า นการออกขอสอบ หลักสูตรการใชกญั ชาทางการแพทย 1. ดา นการทําวิจยั ดา นศาสตรการแพทยแผนไทยสมยั ใหม 2567 ในประเทศ ตองการ 1/10/2593
และวิพากษขอ สอบความรรู วบยอดฯ แผนไทย 2. ดานการทาํ หนังสือวชิ าการ 2566 ในประเทศ ตองการ
อบรมเชิงปฎิบิติครูพี่เลี้ยงการฝก ประสบการณ ดา นการบริหารจัดการการแพทยแผนไทยฯเขียนงานวิจัยเพือ่ ตีพิมพใ นวารสาร 2565 ปริญญาเอก แพทยแ ผนไทย
วิชาชพี การแพทยแ ผนไทย
1. เตรียมความพรอ มในการยกระดับการประกนั อบรมหลกั สูตรการใชก ญั ชาทาง ดานการเขยี นหนังสอื ตําราวชิ าการ ปริญญาเอก แพทยแ ผนไทย
คุณภาพตามกรอบมาตรฐานคุณวฒุ ิ การแพทยแ ผนไทย
ระดับอดุ มศึกษาแหง ชาติ
2. การพฒั นาศกั ยภาพอาจารยดา นการออก
ขอ สอบ และวพิ ากษข อ สอบความรู
1. เตรียมความพรอมในการยกระดับการประกัน อบรมหลกั สูตรการใชกญั ชาทาง การออกแบบสอื่ การเรยี นการสอนออนไลน การเผายา ศาสตรก ารรกั ษาทางการแพทย ปริญญาเอก แพทยแ ผนไทย ในประเทศ ตองการ 1/10/2594
คณุ ภาพตามกรอบมาตรฐานคุณวฒุ ิ การแพทยแ ผนไทย แผนไทย
ระดบั อดุ มศึกษาแหงชาติ
2. การพฒั นาศักยภาพอาจารยดานการออก
ขอสอบ และวพิ ากษข อสอบความรู
พิเศษ 1. การพัฒนาระบบการประกันคุณภาพ อบรมการใชส ารสกดั กญั ชาทาง ดา นการบรหิ ารหลักสูตร ดานเภสชั กรรม -- - - - 1/10/2575
การศึกษาภายใน การแพทย
2. การพฒั นาศกั ยภาพผูบรหิ ารและอาจารยดา น
การจัดทําผลลัพธก ารเรียนรขู องผูเรยี น ท่ี
สอดคลอ งกับมาตรฐานการอดุ มศกึ ษา
พเิ ศษ ดา นการบริหารหลกั สตู ร ดานวชิ าการใหมทางอนามยั สง่ิ แวดลอ ม ดานการบรหิ ารหลักสูตร ดานวชิ าการใหมท างอนามัยสิ่งแวดลอ ม - - - - -
1/10/2578
พเิ ศษ 1. สถิติและการวจิ ยั แนวใหม ดานอาชวี อนามยั 1. สถิตแิ ละการวิจัยแนวใหม ดา นอาชีวอนามัย 2565 Post Doc อาชวี อนามยั ตา งประเทศ ตอ งการ 1/10/2584
2. การบรหิ ารหลักสูตร ดานอาชีวอนามยั 2. การบริหารหลักสูตร -- - - - 1/10/2569
31.. Hสถeติaแิrinลgะกloารsวsจิ pัยrแeนveวใnหtiมo n and
พิเศษ 31.. สHถeติaแิrinลgะกloารsวsิจpยั rแeนveวใnหtiมo n and 2. การบริหารหลักสูตร ดานอาชวี อนามัย
2. การบรหิ ารหลักสูตร
3. Hearing loss prevention and 3. Hearing loss prevention and
audiometric testing program course audiometric testing program course
4. Basic principle of industrial hygiene 4. Basic principle of industrial hygiene
Burden of disease (DALYs) Burden of disease (DALYs)
อบรมการพฒั นาระบบบริหารจัดการความ 1. ดานสาธารณสขุ การบริหารหลักสูตร การควบคมุ มลพษิ ทางอากาศ 2564 ปรญิ ญาเอก สาธารณสขุ ศาสตร ในประเทศ ตองการ
ปลอดภยั ในหองปฏบิ ัติการ 2. ดา นจุลชวี วทิ ยา ตองการ
ปรญิ ญาเอก แพทยแผนไทย ในประเทศ 1/10/2585
การ 1. ดา นการวิจัย การพัฒนาการแพทยแ ผนไทยในทศวรรษหกนาารเขยี นบทความตพี ิมพน านาชาติ ดา นการแพทยยแผนไทย 2566 1/10/2584
2. ดานงานประกันคณุ ภาพการศึกษา ปริญญาเอก สาธารณสขุ ศาสตร ในประเทศ
- - -
าร การพัฒนางานวจิ ยั ดา นการบรหิ ารจัดการการแพทยแผน ดานภาษาองั กฤษ หตั ถการทางการแพทยแผนไทย 2567 ตองการ 1/10/2584
พเิ ศษ ดานการนาํ เสนองานวจิ ยั ไทยฯ ดา นทนั ตกรรม - - - - -
อบรมเชงิ ปฏบิ ตั กิ ารหลกั สตู รทนั ตก 1. เทคโนโลยีการสอน - - - 1/10/2576
การ การพฒั นาศกั ยภาพอาจารยด านการออกขอ สอบ รรมผสู ูงอายุตามแนวทางของหนว ย 2. การวิจัย ดานเภสชั ศาสตร - ปรญิ ญาเอก สาธารณสุขศาสตร ในประเทศ - 1/10/2591
และวิพากษข อสอบความรู บรกิ ารปฐมภมู ิ - - - - 1/10/2593
วิจัยเชงิ ปริมาณและเชงิ คุณภาพ (mix ความรูเ รือ่ งยาโรคเรือ้ รัง - ตอ งการ 1/10/2582
การ ดานภาษาองั กฤษ อบรมการใชสารสกดั กัญชาทาง method) ประชุมสามญั ประจาํ ปโดยทันตแพทยสมาคม 2566 -
การแพทย ดา นภาษาองั กฤษ 1/10/2581
พเิ ศษ การวเิ คราะหข อ มูลตน ทุนตอ หนวยการผลิต 1. การพฒั นางานวิจัย
นกั ศึกษา ความรูเ รือ่ งการใชกญั ชา 2. การจดั ทําแผนปฏบิ ัตกิ าร
ประชมุ สามญั ประจําปโดยทนั ตแพทย 1. ความรูดานอาชวี อนามัยและความ
พิเศษ 1. ความรดู านอาชวี อนามยั และความปลอดภยั สมาคม ปลอดภัย ความรทู างการพยาบาล -
2. สถติ ขิ นั้ สูง ความรทู างการพยาบาล 2. สถติ ขิ ้นั สงู
พิเศษ 1. พัฒนาหลักสูตรสมรรถนะนักสาธารณสุขเพ่ือ อบรมการใชสารสกัดกัญชาทาง ดานการพฒั นา soft skill เพื่อการจดั ดา นเภสัชกรรมสมนุ ไพรและการแพทย 2566 ปริญญาเอก ดานเภสัชกรรม ในประเทศ/ ตอ งการ
ปฏบิ ตั ิงานในระบบสขุ ภาพปฐมภมู ิ การแพทย การศกึ ษา และพัฒนาชุมชน ทางเลือก สมุนไพรและการแพทย ตางประเทศ
2. วิเคราะห สังเคราะห ระบบ กลไก มาตรฐาน ทางเลอื ก
เพือ่ สรา งแนวทาง (Guideline) ระเบยี บปฏบิ ัติ ดานการวิจัย ดา นเภสัชศาสตร 1/10/2584
1. ดา นบรหิ ารหลักสูตร ดานวิชาการใหมท างระบาดวทิ ยา
(Work Instruction) และเสน ทางการดําเนนิ งาน 2. ดานการวจิ ัย
(Work Flow) บริการวชิ าการ
พิเศษ 1. การพฒั นางานประจําสูงานวจิ ัย (R to R) - -- - - - 1/10/2577
2. หลกั สตู รและแนวทางการดาํ เนินการหลกั สตู ร 2564 Post Doc อาชวี อนามัย ตางประเทศ ตอ งการ 1/10/2579
พเิ ศษ ผ1.ูบดริหานาบรกราหิ ราสราหธลากัรณสูตสรุข
2. ดานการวิจยั ดา นวิชาการใหมท างระบาดวิทยา
ลาํ ดับ คาํ นําหนา ชื่อ สกลุ วัน เดือน ป ปริญญาตรี คุณวฒุ ิ ปริญญาเอก ตําแหนง ระดับ
ที่ ที่มา วทิ ยาลัย ชือ่ ปรญิ ญา ปริญญาโท ผูอ าํ นวยการ ตน
สาขาวชิ าเอก สาขาวชิ าเอก ช่อื ปรญิ ญา สาขาวชิ าเอก
ชอื่ ปริญญา
21 นาย สนุ ทร ปราบเขต 6 ธันวาคม 2561 ปริญญาสาธารณสขุ ศาสตรบัณฑติ สาธารณสุขศาสตร รฐั ศาสตร
14 ธนั วาคม 2550 ปริญญาศลิ ปศาสตรมหาบณั ฑิต รฐั ศาสตร ปริญญาศิลปศาสตรมหาบณั ฑิต -
- ปริญญานิติศาสตรมหาบัณฑิต - -
ปริญญานิติศาสตรบณั ฑติ
22 ดร. (นาย) วชิ าญ ภิบาล ปรญิ ญาสาธารณสขุ ศาสตรบณั ฑติ สาธารณสขุ ศาสตร ปรญิ ญาศิลปศาสตรมหาบัณฑติ พัฒนาสงั คม ปรญิ ญาปรัชญาดุษฎีบัณฑิต รฐั ประศาสนศาสตร วทิ ยาจารย ชํานาญการพ
23 ดร. (นาย) สฤษด์ิ ผาอาจ 16 มีนาคม 2542 ปรญิ ญาสาธารณสุขศาสตรบัณฑติ สาธารณสุขศาสตร ปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต พัฒนาสังคม ปริญญาศลิ ปศาสตรดษุ ฎบี ณั ฑติ พฒั นาสังคม วิทยาจารย ชํานาญการพ
24 นาย ไพสิฐ จริ รตั นโสภา ปรญิ ญาศลิ ปศาสตรมหาบณั ฑติ พัฒนาสังคม - - เภสัชกร ชาํ นาญการพ
1 เมษายน 2535 ปรญิ ญาเภสัชศาสตรบณั ฑติ -
ปริญญาศิลปศาสตรมหาบณั ฑิต พัฒนาสังคม - - พยาบาลวิชาชีพ ชํานาญการพ
25 นาย เจตนวิชยตุ ม บริรักษ 2 พฤศจิกายน 2558 ปริญญาสาธารณสุขศาสตรบัณฑติ สาธารณสขุ ศาสตร
ปรญิ ญาพยาบาลศาสตรบณั ฑิต -
26 นาย ธนกร สิรกิ ุล 1 เมษายน 2551 ปรญิ ญาวทิ ยาศาสตรบณั ฑติ สขุ ศกึ ษา ปรญิ ญาการศึกษามหาบัณฑิต หลักสตู รและการสอน - - วิทยาจารย -
- ปริญญาศลิ ปศาสตรมหาบณั ฑิต พัฒนาสงั คม -
27 นาง กมลวรรณ วณิชชานนท 16 สิงหาคม 2553 ปรญิ ญาพยาบาลศาสตรบัณฑติ - พยาบาลวชิ าชีพ ชาํ นาญการพ
28 นาย นิวัติ ไชยแสง 1 มถิ ุนายน 2536 ปริญญาวิทยาศาสตรบัณฑิต สขุ ศึกษา ปริญญาศลิ ปศาสตรมหาบณั ฑิต พัฒนาสังคม - - วทิ ยาจารย ชํานาญการพ
ปริญญาศกึ ษาศาสตรมหาบัณฑติ จิตวิทยาการศกึ ษา - - พยาบาลวิชาชีพ ชาํ นาญการพ
29 นาง เลิศลักษณ เรอื งทอง 8 มกราคม 2558 ประกาศนยี บตั รพยาบาลศาสตร -
ปรญิ ญาวิทยาศาสตรบัณฑิต สขุ ศึกษา - - -
30 นาย ฟารหิ มะหมดั 1 มถิ นุ ายน 2536 สาธารณสขุ ศาสตร - - - - วทิ ยาจารย ชาํ นาญการพ
ปรญิ ญาสาธารณสขุ ศาสตรบณั ฑิต บริหารสาธารณสุข - - -
31 Mr. Ganfre S.Pechayco 8 พฤษภาคม 2550 ปริญญาสาธารณสุขศาสตรบณั ฑติ Education - อาจารย -
32 นางสาว ชัญณยา หมนั การ 9 มิถุนายน 2557 - - -
Bachelor of Science - - เภสัชกร ชาํ นาญก
ปรญิ ญาเภสัชศาสตรบณั ฑิต เภสัชศาสตรมหาบัณฑิต - -
- - - -
33 นางสาว พรพิลาส เอกาพนั ธุ 19 พฤษภาคม 2558 ปรญิ ญาเภสัชศาสตรบณั ฑิต - - - - เภสชั กร ชาํ นาญก
- - - -
ลาศกึ ษาตอ - - - -
-
1 นางสาว อรุโณทยั เดอรามันห 1 เมษายน 2545 เภสัชศาสตรบณั ฑิต - - - - - เภสัชกร ชาํ นาญการ
11 เมษายน 2556 เภสชั ศาสตรบัณฑติ การแพทยแ ผนไทย - เภสชั กร ชาํ นาญก
2 นาย วทิ ยา นาใจ 7 กนั ยายน 2558 เภสชั ศาสตรบณั ฑิต - เภสชั กร ปฏบิ ัตกิ
3 พฤศจกิ ายน 2557 การแพทยแผนไทยบัณฑติ -
3 นางสาว อมั พาพรรณ ผลพานิชย 1 สิงหาคม 2557 วิทยาศาสตรบณั ฑติ - แพทยแ ผนไทย
4 นาย อบั ดลุ มาเละ กามา -
1 มิถนุ ายน 2561 ปริญญาแพทยแผนไทยบณั ฑิต
5 นางสาว คอรเี ยาะ อะแซ - แพทยแผนไทย ชํานาญก
อาจารยผูชว ยสอน
1 นางสาว นัสริน อาลดี มี นั - วิทยาจารย -
ความตองการอบรม ปก ารศกึ ษา 2562 (ระบุ) ความตองการอบรม ปการศกึ ษา 2563 (ระบุ) ความตองการลาศกึ ษาตอ (ปก ารศกึ ษา 2563-2567) ปทเ่ี กษียณอายุ
วิชาการ วชิ าชีพ วิชาการ วิชาชพี ปก ารศกึ ษา ระดับการศึกษา สาขาวชิ า ภายใน/ตางประเทศ ตอ งการทุนการศึกษา
1. ดานแผนยุทธศาสตรขององคกร ดานสาธารณสุขศาสตร 1. ดานแผนยุทธศาสตรขององคก ร ดานสาธารณสขุ ศาสตร -- - - - 1/10/2569
2. ภาวะผนู ําในองคกร 2. ภาวะผูนําในองคกร
พเิ ศษ 1. ดานการเขยี นบทความตพี มิ พนานาชาติ ดา นสาธารณสุขศาสตร 1. ดา นการเขยี นบทความตีพิมพน านาชาติ ดานสาธารณสขุ ศาสตร -- - - - 1/10/2569
2. การบรหิ ารสาธารณสุขแนวใหม 2. การบริหารสาธารณสขุ แนวใหม
- - -- - - - 1/10/2570
พิเศษ ดานการพฒั นาโครงการวิจยั เพื่อขอทุนภายนอก ดา นเภสัชกรรม ดา นการเขียนบทความตีพิมพน านาชาติ ดา นเภสัชวิทยา ในประเทศ ไมตองการ 1/10/2571
พิเศษ ดานงานประกันคุณภาพการศกึ ษา 1. ดานระบบสารสนเทศ 2563 ปรญิ ญาเอก จดั การสง่ิ แวดลอ ม
2. ดา นการพัฒนางานวิจยั และนาํ เสนอ กูชพี ทางอากาศ PHTLS 10 - - 1/10/2574
พิเศษ 1. อบรมเชงิ ปฏิบัตกิ ารพัฒนาศกั ยภาพอาจารย มิตใิ หมในการเสริมสรางสุขภาวะ ผE-ลLงeาaนrning -- -
ดานการออกขอสอบ และวพิ ากษขอ สอบความรู ประชาชน
2. การพัฒนาศักยภาพบุคลากรดา นเกณฑ
มาตรฐานและตัวบง ชก้ี ารประกันคณุ ภาพ
การศกึ ษา ตามมาตรฐานการอาชีวศึกษา
การพฒั นาศักยภาพบคุ ลากรดานเกณฑม าตรฐาน อบรมปฏบิ ัตกิ ารแพทยข้ันพนื้ ฐานและ วิจยั ลกู ไก กชู พี ทางนํ้า PHTLS10 2566 ปรญิ ญาเอก สาธารณสขุ ศาสตร ภายใน ตองการ 1/10/2586
และตวั บงชีก้ ารประกันคุณภาพการศกึ ษา ตาม ชว ยปฏบิ ตั ิการแพทยขนั้ สงู 1. ดานการบรหิ ารงานบุคคล ดา นการพยาบาล ตอ งการ 1/10/2582
มาตรฐานการอาชีวศกึ ษา 2. ดา นระเบยี บการบรหิ าร
การเขียนผลงานวขิ าการและบทความ -
พเิ ศษ 1. การอภิปรายผลและพฒั นาหลักสูตรการดูแล ดา นการพยาบาล 2565 ปริญญาเอก พยาบาลศาสตร ในประเทศ
ผูสงู อายุฉบับสมบูรณ
2. บรมเชงิ ปฏิบัติการ อาน journal ไดทาํ วจิ ยั
เปน practical points in Medical Research
พเิ ศษ การเขยี นตําราระดบั อุดมศึกษาทมี่ ีคุณภาพ - 2567 ปริญญาเอก วจิ ยั และประเมนิ ผล ในประเทศ ตองการ 1/10/2575
การศึกษา 1/10/2576
- -
พเิ ศษ 1. การเขียนบทความตพี ิมพน านาชาติ ดา นการพยาบาล 1. วจิ ยั เชงิ ปริมาณและเชิงคุณภาพ (mix ดานการพยาบาล -- - 1/10/2574
2. เทคนิคการส่ือสารอยางมปี ระสทิ ธิผล - method) - ในประเทศ ตองการ 1/10/2571
2ก.ารเทเขคียนนคิ บกทาครเวปานมพตพีธิ ีกมิ รพมนือาอนาาชชพี าติ 2566 ปริญญาโท สารสนเทศ 1/10/2584
พิเศษ การพฒั นาโครงการวิจัยเพ่อื ขอทุนภายนอก - -
- - 1/10/2593
ดานการเขียนงานวจิ ัย - ดานการเขียนหนังสอื ตาํ ราวชิ าการ - -- -
การ ดานการวิจยั อบรมการใชส ารสกดั กญั ชาทาง 1. ดานการทําวจิ ัย ดา นโรคอุบตั ใิ หม -- - ตางประเทศ ตองการ
การแพทย 2. ดา นการทาํ หนงั สอื วิชาการ
การ ดานการวจิ ยั ดานเภสัชศาสตร 2564 ปรญิ ญาโท-เอก เภสชั ศาสตร
อบรมการใชสารสกดั กัญชาทาง 1. ดา นการทาํ วิจัย
การแพทย 2. ดา นการทาํ หนงั สือวชิ าการ
รพิเศษ
การ
การ
การ
คุณวุฒิ 3. หลักสตู รสาธารณสขุ ศาสตรบัณฑิต สาขาวชิ าทันตสาธ
ปริญญาโท
ลาํ ดบั คํานําหนา ชื่อ สกลุ วนั เดอื น ป ปริญญาตรี ปริญญาเอก ตาํ แหนง ระดบั
ท่ี ท่มี า วทิ ยาลัย ชอื่ ปริญญา
สาขาวชิ าเอก ชอื่ ปรญิ ญา สาขาวชิ าเอก ช่ือปรญิ ญา สาขาวิชาเอก
-
อาจารยผรู บั ผิดชอบหลกั สูตร พงศรัตนามาน 30 กรกฎาคม 2539 ปริญญาทันตแพทยศาสตรบัณฑติ - - วุฒบิ ัตรสาขาทนั ตกรรมทั่วไป - ทนั ตแพทย ชาํ นาญการพ
1 นางสาว ขวัญจิต
2 นางสาว สลลิ กาจกําแหง 1 เมษายน 2545 ปริญญาทันตแพทยศาสตรบัณฑติ - ปรญิ ญาวิทยาศาสตรมหาบณั ฑิต วทิ ยาศาสตรส ขุ ภาพชอ งปาก - - ทันตแพทย ชํานาญการพ
3 นาง อฎั ฮียะห อฮั มดั มซู า 2 เมษายน 2544 ปรญิ ญาทนั ตแพทยศาสตรบณั ฑิต - ปรญิ ญาวทิ ยาศาสตรมหาบัณฑติ วิธวี ทิ ยาการวิจยั - - ทนั ตแพทย ชํานาญการพ
4 นางสาว พริ ิยา ผาติวิกรยั วงค 14 สงิ หาคม 2556 ปรญิ ญาทนั ตแพทยศาสตรบณั ฑติ - ปริญญาสาธารณสขุ ศาสตร บรหิ ารสาธารณสขุ - - ทนั ตแพทย ชาํ นาญการพ
5 ดร. (นาย) ภคั ณฐั วรี ขจร 2 สงิ หาคม 2553 ปริญญาพยาบาลศาสตรบัณฑิต - มหาบณั ฑติ สาธารณสขุ ศาสตร พยาบาลวชิ าชีพ ชาํ นาญการพ
การศกึ ษาเพ่อื พฒั นาทรพั ยากรมนุษย ปรญิ ญาสาธารณสขุ ศาสตรดุษฎี
ปรญิ ญาการศกึ ษามหาบัณฑติ บัณฑติ
อาจารยป ระจาํ หลกั สูตร อทุ ัยพนั ธ 2 มิถนุ ายน 2541 ปริญญาเภสัชศาสตรบัณฑิต - ปรญิ ญาเภสัชศาสตรมหาบัณฑติ เภสชั ศาสตรส ังคมและการบรหิ าร ปริญญาปรัชญาดษุ ฎบี ณั ฑติ การประเมินการศึกษา เภสัชกร ชาํ นาญการพ
6 ดร. (นาง) ปาริฉตั ร 21 ธนั วาคม 2552 ปริญญาบริหารธรุ กจิ บัณฑิต ปรญิ ญาวทิ ยาศาสตรมหาบณั ฑิต
ปริญญาวิทยาศาสตรบณั ฑติ การตลาด วทิ ยาจารย ชาํ นาญการพ
7 ดร. จามรี สอนบตุ ร อาชีวอนามัยและความปลอดภยั ปรญิ ญาวทิ ยาศาสตรดุษฎีบัณฑติ การวจิ ยั และการจัดการดาน วิทยาจารย ชํานาญการพ
(นางสาว) ดารามะ ปรญิ ญาวิทยาศาสตรบัณฑติ อาหาร โภชนาการและ อาชีวอนามัยและความปลอดภัย สขุ ภาพ
การประยุกต
8 นาย มะการมิ --
สาธารณสุขชมุ ชน
24 สิงหาคม 2561 ปรญิ ญาสาธารณสขุ ศาสตรบัณฑิต บริหารสาธารณสุข ปริญญาวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต
9 ดร. นริ ัชรา ลิลละหกลุ 1 มถิ ุนายน 2555 ปริญญาพยาบาลศาสตรบัณฑิต การพยาบาล ปรญิ ญาพยาบาลศาสตรมหาบัณฑติ การพยาบาล ปริญญาสาธารณสขุ ศาสตรดษุ ฎี สาธารณสุขศาสตร พยาบาลวิชาชพี ชํานาญก
(นางสาว) บณั ฑิต
10 นาย ไฟศอล มาหะมะ 17 เมษายน 2551 ปริญญาแพทยแผนไทยบัณฑติ - ปรญิ ญาวทิ ยาศาสตรมหาบณั ฑติ การจดั การระบบสขุ ภาพ - - แพทยแ ผนไทย ปฏบิ ัติกา
11 นางสาว ปรนิ าถ คลา ยพุก ปริญญาศลิ ปศาสตรบณั ฑติ รัฐศาสตร ปรญิ ญาวทิ ยาศาสตรมหาบณั ฑติ ทนั ตกรรมท่ัวไป -
- ทนั ตแพทย ชํานาญก
14 มิถนุ ายน 2553 ปริญญาทันตแพทยศาสตรบัณฑติ -
12 นางสาว ทินมณี แซเ หลยี ง 12 เมษายน 2555 ปรญิ ญาเภสชั ศาสตรบณั ฑติ การบรบิ าลทางเภสัชกรรม ปรญิ ญาวิทยาศาสตรมหาบัณฑติ การจดั การระบบสุขภาพ - - เภสัชกร ชาํ นาญก
13 ดร. (นาง) อุไรวรรณ ศิริธรรมพันธ 3 เมษายน 2543 การพยาบาลเวชปฏบิ ตั ชิ ุมชน Doctor of Philosophy Nursing Studies
ปริญญาพยาบาลศาสตรบัณฑิต - ปริญญาพยาบาลมหาบณั ฑติ พยาบาลวชิ าชพี ชาํ นาญการพ
14 นาย อวริ ุทธ สงิ หกุล 1 เมษายน 2547 ปรญิ ญาเภสัชศาสตรบัณฑิต เภสัชศาสตร ปริญญาสาธารณสขุ ศาสตรมหา สาธารณสขุ ศาสตร - - เภสัชกร ชํานาญการพ
1 พฤษภาคม 2557 ปรญิ ญาครุศาสตรบัณฑติ ภาษาองั กฤษ บัณฑติ สาธารณสุขชมุ ชน -
15 นาย ขจรศักดิ์ ไชยนาพงศ ปรญิ ญาวิทยาศาสตรบัณฑิต สาธารณสุขชมุ ชน สาธารณสุขศาสตร Ph.D. Medicine - วทิ ยาจารย -
ปรญิ ญาสาธารณสขุ ศาสตรมหา
16 ดร. ชมพนู ุช สภุ าพวานิช 11 มกราคม 2551 ประกาศนียบัตรพยาบาลศาสตร - บัณฑติ การพยาบาลเวชปฏิบัตชิ มุ ชน - พยาบาลวชิ าชีพ ชํานาญการพ
(นางสาว)
ปรญิ ญาวทิ ยาศาสตรมหาบณั ฑติ
17 ดร.(นาง) อุบลทพิ ย ไชยแสง 23 พฤษภาคม 2549 ปรญิ ญาพยาบาลศาสตรบัณฑติ - ปรญิ ญาพยาบาลศาสตรมหาบัณฑติ ปรญิ ญาปรชั ญาดษุ ฎีบัณฑิต การแนะแนวและการปรึกษา พยาบาลวชิ าชีพ ชํานาญการพ
เชงิ จิตวทิ ยา
อาจารยผูสอน ปราบเขต 6 ธันวาคม 2561 ปริญญาสาธารณสขุ ศาสตรบณั ฑิต สาธารณสุขศาสตร ปรญิ ญาศลิ ปศาสตรมหาบัณฑิต รัฐศาสตร ผูอํานวยการ ตน
ประเภทอาจารยประจาํ 14 ธนั วาคม 2550 ปรญิ ญาศลิ ปศาสตรมหาบณั ฑิต รัฐศาสตร ปรญิ ญานติ ศิ าสตรมหาบณั ฑิต -
18 นาย สนุ ทร ภิบาล - - - วทิ ยาจารย ชาํ นาญการพ
ผาอาจ ปริญญานิติศาสตรบัณฑิต ปรญิ ญาศิลปศาสตรมหาบณั ฑิต พัฒนาสังคม
19 ดร. (นาย) วิชาญ จิรรัตนโสภา ปรญิ ญาสาธารณสขุ ศาสตรบณั ฑิต สาธารณสุขศาสตร ปรญิ ญาปรชั ญาดุษฎบี ณั ฑติ รฐั ประศาสนศาสตร วิทยาจารย ชาํ นาญการพ
ปริญญาศลิ ปศาสตรมหาบัณฑิต พฒั นาสงั คม เภสชั กร ชํานาญการพ
20 ดร. (นาย) สฤษด์ิ 16 มนี าคม 2542 ปรญิ ญาสาธารณสขุ ศาสตรบณั ฑิต สาธารณสุขศาสตร ปริญญาศลิ ปศาสตรมหาบัณฑิต พฒั นาสังคม ปรญิ ญาศลิ ปศาสตรดุษฎีบณั ฑิต พฒั นาสงั คม
21 นาย ไพสฐิ - -
1 เมษายน 2535 ปริญญาเภสชั ศาสตรบณั ฑติ -
ธารณสขุ วิทยาลัยการสาธารณสขุ สริ นิ ธร จังหวัดยะลา
ความตอ งการอบรม ปก ารศกึ ษา 2562 (ระบุ) ความตองการอบรม ปก ารศกึ ษา 2563 (ระบุ) ความตองการลาศึกษาตอ (ปก ารศึกษา 2563-2567) ปท่เี กษียณอายุ
วชิ าการ วิชาชพี วิชาการ วิชาชีพ ปการศกึ ษา ระดบั การศกึ ษา สาขาวชิ า ภายใน/ตางประเทศ ตอ งการทุนการศกึ ษา
พเิ ศษ การพฒั นาระบบการประกันคุณภาพการศกึ ษา อบรมเชิงปฏบิ ัติการหลกั สตู รทนั ตก การพฒั นาระบบการประกนั คุณภาพ ประชมุ สามัญประจําปโ ดยทันตแพทยสมาคม - - - - - 1/10/2574
ภายใน รรมผสู งู อายุ การศกึ ษาภายใน
พิเศษ อบรมเตรยี มความพรอ มในการยกระดบั การ ประชมุ สามญั ประจําปโ ดยทันตแพทยสมาควมามรูทางดานสาธารณสขุ ชมุ ชน ความรูทางทนั ตกรรม/ทนั ตสาธารณสขุ 2566 อบรมเฉพาะทาง ทันตสาธารณสขุ ในประเทศ ไมต อ งการ
ประกนั คณุ ภาพตามกรอบมาตรฐานคุณวฒุ ิ
ระดบั อดุ มศึกษาแหงชาติ อบรมเชงิ ปฏบิ ตั ิการหลกั สูตรทันตก 1. เทคโนโลยีการสอน ดานทนั ตกรรม -- - - - 1/10/2581
รรมผูสงู อายตุ ามแนวทางของหนว ย 2. การวจิ ัย
พเิ ศษ ดานการนําเสนองานวจิ ยั บรกิ ารปฐมภมู ิ ประชุมสามัญประจําปโดยทนั ตแพทยสมาคม 2566 ปริญญาเอก สาธารณสุขศาสตร ในประเทศ ตองการ 1/10/2576
1. การพัฒนางานวิจยั ตอ งการ 1/10/2582
พิเศษ การวเิ คราะหข อมลู ตน ทนุ ตอหนว ยการผลติ ประชุมสามัญประจาํ ปโดยทนั ตแพทย 2. การจดั ทาํ แผนปฏิบัติการ ดา นการแพทยฉ ุกเฉิน 2564 อบรมเฉพาะทาง พยาบาลเวชปฏิบัติ ในประเทศ ตองการ 1/10/2583
นักศกึ ษา สมาคม ดานการบริหารหลักสูตร ฉุกเฉิน
ดา นการแพทยฉุกเฉิน 2565 Post doc ประกันคุณภาพ
พิเศษ ดา นการบริหารหลักสูตร
การศกึ ษา/การวิจัย ตา งประเทศ
เกี่ยวกบั ดานสาธารณสขุ
พเิ ศษ 1. การพฒั นาระบบการประกนั คุณภาพ อบรมการใชสารสกดั กญั ชาทาง ดานการบริหารหลกั สตู ร ดานเภสชั กรรม -- - - - 1/10/2575
การศกึ ษาภายใน การแพทย
2. การพฒั นาศกั ยภาพผบู รหิ ารและอาจารยดาน
การจดั ทาํ ผลลัพธการเรียนรขู องผเู รยี น ที่
สอดคลองกบั มาตรฐานการอดุ มศึกษา
พิเศษ 1. สถติ แิ ละการวจิ ยั แนวใหม ดา นอาชวี อนามยั 1. สถติ ิและการวิจัยแนวใหม ดานอาชีวอนามยั 2565 Post Doc อาชวี อนามัย ตางประเทศ ตองการ 1/10/2584
2. การบรหิ ารหลกั สตู ร ดานอาชีวอนามยั 2. การบรหิ ารหลกั สูตร -- - - - 1/10/2569
13.. สHถeิตaแิrinลgะกloารsวsจิ pัยrแeนveวใnหtiมo n and
พเิ ศษ 13.. Hสถeติaแิrinลgะกloารsวsิจpยั rแeนveวใnหtiมo n and 2. การบรหิ ารหลกั สูตร ดานอาชวี อนามยั
2. การบริหารหลักสูตร
3. Hearing loss prevention and 3. Hearing loss prevention and
audiometric testing program course audiometric testing program course
4. Basic principle of industrial hygiene 4. Basic principle of industrial hygiene
Burden of disease (DALYs) Burden of disease (DALYs)
การ การพฒั นางานวจิ ยั การพยาบาลเฉพาะทางผูสงู อายุ 1. การพฒั นางานวจิ ยั 1. การพยาบาลเฉพาะทางผสู ูงอายุ 2564 Post Doc สาธารณสขุ ศาสตร ตา งประเทศ ตองการ 1/10/2573
2. การจัดการเรยี นการสอน 2. การพยาบาลเฉพาะทางเวชปฏบิ ัติ
าร การพฒั นางานวจิ ยั ดา นการบริหารจัดการการแพทยแ ผน ดา นภาษาองั กฤษ หตั ถการทางการแพทยแผนไทย 2567 ปริญญาเอก สาธารณสขุ ศาสตร ในประเทศ ตองการ 1/10/2584
การ ดา นการวิจัย ไทยฯ - - - - 1/10/2589
ประชมุ สามัญประจาํ ปโดยทนั ตแพทย อบรมระยะสัน้ ตางประเทศ หัวขอ การ ประชมุ สามญั ประจําปโดยทันตแพทยสมาคม -
สมาคม จดั การเรยี นการสอนแบบ Evidence - - -
การ การพฒั นาศักยภาพอาจารยดานการออกขอสอบ Based Learning/Reflective ดานเภสชั ศาสตร - - - - - 1/10/2591
และวพิ ากษขอ สอบความรู อบรมการใชส ารสกดั กัญชาทาง Thinking/Creative and Innovative ความรูทางการพยาบาล - -
การแพทย วTิจhยัinเชkiิงnปgรมิ าณและเชิงคุณภาพ (mix
พิเศษ 1. ความรูด า นอาชีวอนามยั และความปลอดภัย ความรูท างการพยาบาล method) 1/10/2581
2. สถติ ิขัน้ สูง 1. ความรดู านอาชีวอนามัยและความ
ปลอดภัย
2. สถิติขั้นสงู
พิเศษ 1. การพัฒนางานประจาํ สงู านวิจัย (R to R) - ดานการวิจัย ดานเภสชั ศาสตร -- - - - 1/10/2577
2. หลักสูตรและแนวทางการดําเนนิ การหลักสูตร 1. ดานระบาดวิทยา ในประเทศ ตองการ 1/10/2595
ผดบูานรกหิ าารรวกจิ าัยรสาธารณสขุ 2. ดา นฉกุ เฉินการแพทย ตา งประเทศ ตอ งการ 1/10/2579
ดา นปฏิบตั กิ ารชวยฟนคืนชพี ขน้ั พน้ื ฐาน ดานการวจิ ยั ดานวชิ าการใหมท างระบาดวิทยา 2567 ปริญญาเอก สาธารณสขุ ศาสตร 1/10/2580
ตองการ
พิเศษ 1. ดานบริหารหลกั สตู ร ดานวิชาการใหมทางระบาดวทิ ยา 1. ดา นบริหารหลักสูตร การพยาบาลดานเวชปฏบิ ตั ิ 2564 Post Doc อาชีวอนามัย
2. ดานการวิจัย 2. ดา นการวิจยั
พิเศษ การพฒั นางานวจิ ัย การพยาบาลเวชปฏบิ ตั ิครอบครัว การพฒั นางานวิจัย 2565 Post Doc วทิ ยาศาสตรสุขภาพ ตา งประเทศ
1. ดานแผนยุทธศาสตรขององคกร ดานสาธารณสขุ ศาสตร 1. ดานแผนยุทธศาสตรขององคก ร ดา นสาธารณสุขศาสตร -- - - - 1/10/2569
2. ภาวะผูนําในองคกร 2. ภาวะผูนาํ ในองคกร
พเิ ศษ 1. ดานการเขยี นบทความตพี ิมพนานาชาติ ดา นสาธารณสุขศาสตร 1. ดา นการเขียนบทความตีพมิ พนานาชาติ ดา นสาธารณสุขศาสตร -- - - - 1/10/2569
2. การบรหิ ารสาธารณสขุ แนวใหม 2. การบริหารสาธารณสุขแนวใหม
- - -- - - - 1/10/2570
พิเศษ ดา นการพฒั นาโครงการวจิ ยั เพอ่ื ขอทนุ ภายนอก ดานเภสชั กรรม ดา นการเขยี นบทความตีพมิ พน านาชาติ ดา นเภสชั วทิ ยา ในประเทศ ไมตอ งการ 1/10/2571
พเิ ศษ ดานงานประกันคณุ ภาพการศึกษา 1. ดา นระบบสารสนเทศ 2563 ปรญิ ญาเอก จดั การส่ิงแวดลอ ม
2. ดา นการพฒั นางานวิจัยและนาํ เสนอ
ผลงาน
ลาํ ดับ คํานําหนา ชอ่ื สกลุ วนั เดอื น ป ปรญิ ญาตรี คณุ วฒุ ิ ปรญิ ญาเอก ตําแหนง ระดับ
ท่ี ท่ีมา วทิ ยาลยั ชอ่ื ปรญิ ญา ปริญญาโท
สาขาวชิ าเอก สาขาวชิ าเอก ช่อื ปรญิ ญา สาขาวชิ าเอก
ช่ือปรญิ ญา พฒั นาสงั คม
22 นาย เจตนว ิชยุตม บริรักษ 2 พฤศจิกายน 2558 ปริญญาสาธารณสขุ ศาสตรบณั ฑติ สาธารณสุขศาสตร -- พยาบาลวชิ าชีพ ชํานาญการพ
ปรญิ ญาศิลปศาสตรมหาบณั ฑติ
ปริญญาพยาบาลศาสตรบัณฑติ -
23 นาย ธนกร สิริกุล 1 เมษายน 2551 ปรญิ ญาวิทยาศาสตรบณั ฑิต สุขศึกษา ปรญิ ญาการศกึ ษามหาบัณฑิต หลกั สูตรและการสอน - - วทิ ยาจารย -
- ปรญิ ญาศิลปศาสตรมหาบัณฑติ พัฒนาสังคม
24 นาง กมลวรรณ วณชิ ชานนท 16 สงิ หาคม 2553 ปรญิ ญาพยาบาลศาสตรบัณฑิต - - พยาบาลวชิ าชพี ชาํ นาญการพ
25 นาย นิวตั ิ ไชยแสง 1 มิถุนายน 2536 ปรญิ ญาวิทยาศาสตรบัณฑติ สขุ ศกึ ษา ปรญิ ญาศิลปศาสตรมหาบัณฑติ พฒั นาสงั คม - - วทิ ยาจารย ชาํ นาญการพ
ปรญิ ญาศกึ ษาศาสตรมหาบัณฑติ จติ วิทยาการศกึ ษา - - พยาบาลวิชาชีพ ชํานาญการพ
26 นาง เลิศลกั ษณ เรืองทอง 8 มกราคม 2558 ประกาศนยี บตั รพยาบาลศาสตร -
ปรญิ ญาวทิ ยาศาสตรบณั ฑิต สขุ ศกึ ษา - -
27 นาย ฟารหิ มะหมัด 1 มถิ นุ ายน 2536 สาธารณสุขศาสตร - - - วิทยาจารย ชํานาญการพ
ปรญิ ญาสาธารณสุขศาสตรบณั ฑติ บริหารสาธารณสขุ - -
28 Mr. Ganfre S.Pechayco 8 พฤษภาคม 2550 ปริญญาสาธารณสขุ ศาสตรบัณฑติ Education - - - อาจารย -
29 นางสาว ชญั ณยา หมนั การ 9 มิถุนายน 2557 -
Bachelor of Science - - - - เภสชั กร ชาํ นาญก
ปรญิ ญาเภสัชศาสตรบัณฑติ -
- Master dental public
30 นางสาว พรพลิ าส เอกาพันธุ 19 พฤษภาคม 2558 ปรญิ ญาเภสัชศาสตรบัณฑติ health - - - เภสัชกร ชํานาญก
- - -
ลาศึกษาตอ กิมิเส 6 มกราคม 2555 ปรญิ ญาทนั ตแพทยศาสตรบณั ฑิต - - - - ทนั ตแพทย ชํานาญก
1 นางสาว ฐติ ิกา - - -
ดําราษฎร 8 ธันวาคม 2559 ปรญิ ญาทนั ตแพทยศาสตรบณั ฑิต - - - - - ทันตแพทย ชํานาญก
อาจารยผชู ว ยสอน - - -
1 นาย ศุภโชค ตรีรัตนพันธ 11 กันยายน 2560 ปริญญาทนั ตแพทยศาสตรบณั ฑิต - - - - - ทนั ตแพทย ชํานาญก
- -
2 นางสาว ณฐั ธดิ า วิทูร 31 มกราคม 2560 ปรญิ ญาทนั ตแพทยศาสตรบณั ฑติ - - - ทันตแพทย ปฏิบตั กิ า
ทันตสาธารณสขุ
3 นางสาว ชอลดา จริ พชั ราพร 11 กนั ยายน 2560 ปริญญาทันตแพทยศาสตรบัณฑิต - - ทันตแพทย ปฏิบัตกิ า
4 นางสาว ทมิตา เมธีวรรธนะ 6 ธันวาคม 2560 ปรญิ ญาทันตแพทยศาสตรบัณฑติ - - ทนั ตแพทย ปฏิบัติกา
5 นางสาว อรุณี กอ เกียรติพทิ กั ษ 29 สิงหาคม 2561 ปริญญาทนั ตแพทยศาสตรบณั ฑิต - - ทนั ตแพทย ปฏิบตั กิ า
6 นาย หรณิ ฐั ดาราเซะ 27 พฤษจิกายน 2561 ปรญิ ญาสาธารณสุขศาสตรบัณฑติ - - อาจารย -
7 นาย อาลอี ัซการ
ความตอ งการอบรม ปการศึกษา 2562 (ระบุ) ความตองการอบรม ปก ารศึกษา 2563 (ระบุ) ความตองการลาศกึ ษาตอ (ปการศกึ ษา 2563-2567) ปท เ่ี กษียณอายุ
วชิ าการ วิชาชพี วชิ าการ วชิ าชพี ปก ารศกึ ษา ระดบั การศกึ ษา สาขาวิชา ภายใน/ตางประเทศ ตอ งการทนุ การศกึ ษา
พิเศษ 1. อบรมเชงิ ปฏบิ ัตกิ ารพัฒนาศกั ยภาพอาจารย มติ ใิ หมในการเสรมิ สรางสขุ ภาวะ E-Learning กชู ีพทางอากาศ PHTLS 10 -- - - - 1/10/2574
ประชาชน
ดา นการออกขอสอบ และวพิ ากษขอสอบความรู กูชพี ทางนํา้ PHTLS10
2. การพัฒนาศักยภาพบุคลากรดานเกณฑ ดา นการพยาบาล
มาตรฐานและตวั บงชีก้ ารประกนั คุณภาพ
การศึกษา ตามมาตรฐานการอาชีวศึกษา -
ดา นการพยาบาล
การพัฒนาศักยภาพบุคลากรดานเกณฑมาตรฐาน อบรมปฏบิ ตั ิการแพทยข น้ั พื้นฐานและ วิจยั ลกู ไก - 2566 ปริญญาเอก สาธารณสขุ ศาสตร ภายใน ตอ งการ 1/10/2586
และตวั บง ชีก้ ารประกันคณุ ภาพการศึกษา ตาม ชว ยปฏิบัตกิ ารแพทยข ั้นสงู 1. ดานการบริหารงานบคุ คล - ตองการ 1/10/2582
มาตรฐานการอาชีวศกึ ษา 2. ดา นระเบยี บการบรหิ าร ดา นโรคอุบตั ใิ หม
การเขียนผลงานวขิ าการและบทความ ดานเภสชั ศาสตร
พเิ ศษ 1. การอภปิ รายผลและพัฒนาหลักสตู รการดแู ล ดานการพยาบาล 2565 ปรญิ ญาเอก พยาบาลศาสตร ในประเทศ
ผูส งู อายุฉบบั สมบรู ณ
2. บรมเชิงปฏิบตั กิ าร อาน journal ไดทาํ วิจยั
เปน practical points in Medical Research
พเิ ศษ การเขียนตําราระดับอุดมศกึ ษาทมี่ ีคณุ ภาพ - 2567 ปรญิ ญาเอก วิจยั และประเมนิ ผล ในประเทศ ตองการ 1/10/2575
การศึกษา 1/10/2576
- -
พิเศษ 1. การเขยี นบทความตีพิมพนานาชาติ ดา นการพยาบาล 1. วจิ ัยเชงิ ปรมิ าณและเชิงคุณภาพ (mix -- - 1/10/2574
2. เทคนคิ การสื่อสารอยา งมีประสทิ ธิผล - method) ในประเทศ ตอ งการ 1/10/2571
2ก.ารเทเขคียนนิคบกทาครเวปานมพตีพิธีกิมรพมนอื าอนาาชชีพาติ 2566 ปรญิ ญาโท สารสนเทศ 1/10/2584
พิเศษ การพฒั นาโครงการวิจัยเพื่อขอทุนภายนอก - -
- - 1/10/2593
ดา นการเขียนงานวิจยั - ดา นการเขยี นหนงั สือตําราวิชาการ -- -
การ ดานการวิจัย อบรมการใชสารสกัดกญั ชาทาง 1. ดานการทาํ วิจัย -- - ตา งประเทศ ตอ งการ
การแพทย 2. ดานการทาํ หนงั สือวิชาการ
การ ดา นการวจิ ยั 2564 ปริญญาโท-เอก เภสัชศาสตร
อบรมการใชส ารสกัดกัญชาทาง 1. ดา นการทาํ วิจัย
การแพทย 2. ดา นการทาํ หนังสือวิชาการ
การ
การ
การ
าร
าร
าร
าร
คุณวุฒิ 4. หลกั สตู รประกาศนียบัตรวิชาชพี ช้ันสงู สาขาวชิ าเทคนคิ เภ
ปริญญาโท
ลาํ ดบั คาํ นาํ หนา ช่อื สกุล วัน เดอื น ป ปรญิ ญาตรี ปริญญาเอก ตําแหนง ระดบั
ที่ ท่ีมา วิทยาลัย ชอ่ื ปรญิ ญา
สาขาวิชาเอก ช่อื ปรญิ ญา สาขาวชิ าเอก ชื่อปรญิ ญา สาขาวชิ าเอก
อาจารยผูรับผดิ ชอบหลกั สูตร แซเ หลยี ง 12 เมษายน 2555 ปริญญาเภสัชศาสตรบัณฑิต การบริบาลทางเภสชั กรรม ปรญิ ญาวิทยาศาสตรมหาบณั ฑิต การจดั การระบบสขุ ภาพ -- เภสชั กร ชํานาญก
1 นางสาว ทนิ มณี เภสัชศาสตรส ังคมและการบรหิ าร -- เภสัชกร ชาํ นาญก
ปริญญาเภสัชศาสตรบัณฑิต -- เภสชั กร ชาํ นาญก
2 นางสาว วณี าพร วงศส ถาพรพฒั น 4 เมษายน 2557 ปริญญาเภสชั ศาสตรบณั ฑิต การบริบาลทางเภสชั กรรม ปรญิ ญาเภสชั ศาสตรมหาบัณฑติ -
3 นางสาว ชัญณยา -- -- เภสัชกร ชาํ นาญก
หมนั การ 9 มถิ ุนายน 2557 ปริญญาเภสัชศาสตรบณั ฑติ - --
- เภสัชกร ชาํ นาญก
4 นางสาว พรพลิ าส เอกาพนั ธุ 19 พฤษภาคม 2558 ปริญญาเภสัชศาสตรบัณฑติ --
5 นางสาว วชิ ญาพร ไสยสิทธิ์ 17 พฤษภาคม 2564 การบริบาลทางเภสัชกรรม -
อาจารยป ระจําหลักสูตร จริ รตั นโสภา 1 เมษายน 2535 ปรญิ ญาเภสชั ศาสตรบัณฑิต - ปริญญาศลิ ปศาสตรมหาบณั ฑติ พัฒนาสงั คม - - เภสชั กร ชํานาญการพ
6 นาย ไพสิฐ ปริญญาปรชั ญาดุษฎบี ณั ฑิต การประเมินการศกึ ษา เภสัชกร ชาํ นาญการพ
7 ดร. (นาง) ปารฉิ ตั ร อุทยั พันธ 2 มถิ ุนายน 2541 ปริญญาเภสัชศาสตรบัณฑิต - ปริญญาเภสัชศาสตรมหาบัณฑิต เภสัชศาสตรสงั คมและการบรหิ าร - - เภสชั กร ชาํ นาญการพ
8 นาย ชัยณรงค ชูทอง 1 เมษายน 2547 ปรญิ ญาบริหารธุรกจิ บณั ฑติ ปริญญาเภสัชศาสตรมหาบณั ฑิต เภสัชศาสตรส ังคมและการบรหิ าร
ปริญญาวทิ ยาศาสตรบณั ฑติ การตลาด
ปรญิ ญาเภสชั ศาสตรบัณฑติ อาหาร โภชนาการและ
การประยกุ ต
-
9 ดร. (นาง) อไุ รวรรณ ศิริธรรมพนั ธ 3 เมษายน 2543 ปริญญาพยาบาลศาสตรบณั ฑติ - ปริญญาพยาบาลมหาบณั ฑิต การพยาบาลเวชปฏิบัติชุมชน Doctor of Philosophy Nursing Studies พยาบาลวชิ าชีพ ชาํ นาญการพ
10 นางสาว นาซีเราะ ยอื โระ 31 พฤษภาคม 2562 ปรญิ ญาวิทยาศาสตรบัณฑิต สาธารณสุขศาสตร - - - - อาจารย -
อาจารยผ ูส อน ปราบเขต 6 ธันวาคม 2561 ปรญิ ญาสาธารณสขุ ศาสตรบัณฑติ สาธารณสุขศาสตร ปริญญาศลิ ปศาสตรมหาบัณฑิต รฐั ศาสตร ผอู ํานวยการ ตน
ประเภทอาจารยป ระจาํ 14 ธันวาคม 2550 ปรญิ ญาศลิ ปศาสตรมหาบณั ฑิต รฐั ศาสตร ปริญญานิตศิ าสตรมหาบัณฑิต -
11 นาย สุนทร - ปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑติ
ปรญิ ญานติ ศิ าสตรบณั ฑติ ปริญญาศลิ ปศาสตรมหาบัณฑติ พัฒนาสงั คม
12 ดร. (นาย) วิชาญ ภบิ าล ปรญิ ญาสาธารณสุขศาสตรบัณฑิต สาธารณสุขศาสตร ปรญิ ญาศิลปศาสตรมหาบณั ฑิต พฒั นาสงั คม - - วิทยาจารย ชํานาญการพ
ปริญญาศึกษาศาสตรมหาบณั ฑิต พัฒนาสงั คม
13 ดร. (นาย) สฤษดิ์ ผาอาจ 16 มนี าคม 2542 ปรญิ ญาสาธารณสขุ ศาสตรบณั ฑิต สาธารณสขุ ศาสตร จติ วทิ ยาการศกึ ษา ปรญิ ญาปรชั ญาดุษฎบี ณั ฑติ รัฐประศาสนศาสตร วทิ ยาจารย ชํานาญการพ
14 นาย นวิ ัติ ไชยแสง 1 มิถุนายน 2536 ปรญิ ญาวทิ ยาศาสตรบณั ฑิต สขุ ศึกษา - วทิ ยาจารย ชํานาญการพ
- - ปริญญาศลิ ปศาสตรดษุ ฎบี ัณฑิต พัฒนาสังคม
15 นาง เลิศลักษณ เรืองทอง 8 มกราคม 2558 ประกาศนยี บตั รพยาบาลศาสตร - เภสัชศาสตรมหาบณั ฑติ - - - พยาบาลวชิ าชพี ชาํ นาญการพ
1 มิถนุ ายน 2536 ปรญิ ญาวิทยาศาสตรบัณฑติ สขุ ศกึ ษา - - - -
8 พฤษภาคม 2550 สาธารณสขุ ศาสตร - -
16 นาย ฟาริห มะหมดั ปริญญาสาธารณสุขศาสตรบณั ฑติ บรหิ ารสาธารณสุข - - - วิทยาจารย ชํานาญการพ
ปรญิ ญาสาธารณสุขศาสตรบัณฑติ Education
17 Mr. Ganfre S.Pechayco - - อาจารย -
ลาศึกษาตอ Bachelor of Science -
อรุโณทัย เดอรามนั ห -
1 นางสาว วทิ ยา นาใจ 1 เมษายน 2545 เภสชั ศาสตรบัณฑติ - - - เภสชั กร ชํานาญการ
2 นาย อัมพาพรรณ ผลพานิชย 11 เมษายน 2556 เภสชั ศาสตรบณั ฑติ - - เภสชั กร ชํานาญก
3 นางสาว 7 กันยายน 2558 เภสชั ศาสตรบัณฑิต - - เภสัชกร ปฏบิ ัติก
ภสัชกรรม วิทยาลัยการสาธารณสขุ สิรินธร จงั หวัดยะลา
ความตองการอบรม ปการศกึ ษา 2562 (ระบุ) ความตอ งการอบรม ปก ารศึกษา 2563 (ระบุ) ความตองการลาศึกษาตอ (ปก ารศกึ ษา 2563-2567) ปทเี่ กษียณอายุ
วชิ าการ วชิ าชพี วชิ าการ วชิ าชพี ปการศกึ ษา ระดับการศึกษา สาขาวชิ า ภายใน/ตางประเทศ ตองการทนุ การศกึ ษา
ดานเภสชั ศาสตร
การ การพัฒนาศกั ยภาพอาจารยดานการออกขอสอบ อบรมการใชส ารสกัดกัญชาทาง วจิ ยั เชงิ ปรมิ าณและเชงิ คณุ ภาพ (mix -- - - - 1/10/2591
และวพิ ากษข อสอบความรู การแพทย method) ความรเู รื่องยาโรคเร้ือรัง -- - - - 1/10/2593
ดานภาษาอังกฤษ ดา นโรคอบุ ัตใิ หม -- - - - 1/10/2584
การ ดานภาษาองั กฤษ ความรูเรอื่ งการใชกัญชา 1. ดานการทาํ วิจยั
2. ดานการทําหนังสือวชิ าการ ดานเภสัชศาสตร 2564 ปรญิ ญาโท-เอก เภสชั ศาสตร ตางประเทศ ตองการ 1/10/2593
การ ดานการวจิ ัย อบรมการใชส ารสกดั กัญชาทาง 1. ดานการทําวจิ ยั
การแพทย 2. ดา นการทําหนังสือวิชาการ ดา นเภสัชศาสตร -- - - - 1/10/2595
1. ดานการทาํ วจิ ัย
การ ดา นการวจิ ยั อบรมการใชส ารสกดั กญั ชาทาง 2. ดา นการทําหนังสอื วิชาการ
การแพทย
การ ดา นการวจิ ัย อบรมการใชส ารสกัดกญั ชาทาง
การแพทย
พเิ ศษ ดา นงานประกนั คุณภาพการศึกษา ดา นเภสัชกรรม 1. ดานระบบสารสนเทศ ดานเภสชั วทิ ยา 2563 ปรญิ ญาเอก จดั การสิ่งแวดลอ ม ในประเทศ ไมต อ งการ 1/10/2571
2. ดานการพัฒนางานวจิ ัยและนาํ เสนอ ดานเภสชั กรรม - - 1/10/2575
พิเศษ 1. การพฒั นาระบบการประกันคุณภาพ อบรมการใชส ารสกัดกัญชาทาง ผดลา นงากนารบริหารหลักสูตร -- -
การศกึ ษาภายใน การแพทย
2. การพัฒนาศักยภาพผูบริหารและอาจารยดา น
การจดั ทาํ ผลลพั ธก ารเรียนรูของผูเ รยี น ท่ี
สอดคลองกับมาตรฐานการอดุ มศกึ ษา
พเิ ศษ 1. พฒั นาหลกั สูตรสมรรถนะนักสาธารณสขุ เพอ่ื อบรมการใชส ารสกดั กัญชาทาง ดานการพัฒนา soft skill เพือ่ การจดั ดานเภสชั กรรมสมนุ ไพรและการแพทย 2566 ปริญญาเอก ดา นเภสชั กรรม ในประเทศ/ ตองการ
ปฏิบตั งิ านในระบบสุขภาพปฐมภูมิ การแพทย การศกึ ษา และพัฒนาชุมชน ทางเลอื ก สมุนไพรและการแพทย ตา งประเทศ
2. วเิ คราะห สังเคราะห ระบบ กลไก มาตรฐาน ทางเลือก
เพอ่ื สรา งแนวทาง (Guideline) ระเบยี บปฏิบัติ 1/10/2584
(Work Instruction) และเสนทางการดําเนินงาน
(Work Flow) บริการวชิ าการ
พิเศษ 1. ความรดู า นอาชีวอนามัยและความปลอดภยั ความรูทางการพยาบาล 1. ความรูดา นอาชวี อนามยั และความ ความรทู างการพยาบาล -- - - -
2. สถิติขั้นสูง ปลอดภยั 1/10/2581
2. สถติ ขิ ั้นสงู
1. ดานการเขยี นบทความตีพิมพน านาชาติ ดา นสาธารณสขุ ศาสตร 1. ดา นการเขียนบทความตีพิมพนานาชาติ ดานสาธารณสุขศาสตร 2566 ปรญิ ญาโท สาธารณสุขศาสตร ในประเทศ ตองการ 1/10/2599
2. การบริหารสาธารณสขุ แนวใหม 2. การบริหารสาธารณสุขแนวใหม
1. ดา นแผนยุทธศาสตรขององคกร ดานสาธารณสุขศาสตร 1. ดา นแผนยุทธศาสตรข ององคกร ดานสาธารณสุขศาสตร -- - - - 1/10/2569
2. ภาวะผนู าํ ในองคกร 2. ภาวะผูน ําในองคก ร
พิเศษ 1. ดานการเขยี นบทความตีพมิ พนานาชาติ ดานสาธารณสขุ ศาสตร 1. ดานการเขยี นบทความตพี ิมพนานาชาติ ดา นสาธารณสขุ ศาสตร -- - - - 1/10/2569
2. การบริหารสาธารณสุขแนวใหม 2. การบริหารสาธารณสขุ แนวใหม
- ดา นการเขียนบทความตพี มิ พนานาชาติ - -- - - - 1/10/2570
พเิ ศษ ดา นการพัฒนาโครงการวิจยั เพื่อขอทุนภายนอก - ในประเทศ ตอ งการ 1/10/2575
พิเศษ การเขยี นตําราระดบั อดุ มศึกษาทีม่ ีคุณภาพ การเขยี นผลงานวิขาการและบทความ - 2567 ปริญญาเอก วจิ ยั และประเมนิ ผล 1/10/2576
การศึกษา - -
1/10/2574
พเิ ศษ 1. การเขียนบทความตพี มิ พนานาชาติ ดานการพยาบาล 1. วจิ ยั เชงิ ปริมาณและเชิงคุณภาพ (mix ดานการพยาบาล -- - ในประเทศ ตอ งการ 1/10/2571
2. เทคนิคการสื่อสารอยางมีประสิทธผิ ล - method) -
ก2.ารเทเขคยี นนคิ บกทาครเวปานมพตพีิธกีิมรพมน อื าอนาาชชีพาติ 2566 ปรญิ ญาโท สารสนเทศ - -
พเิ ศษ การพฒั นาโครงการวจิ ัยเพ่อื ขอทนุ ภายนอก
ดา นการเขียนงานวจิ ัย - ดา นการเขยี นหนงั สอื ตาํ ราวชิ าการ - -- -
รพเิ ศษ
การ
การ
คุณวฒุ ิ 5. หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพชน้ั สูง สาขาวิชาปฏบิ ตั กิ ารฉุก
ปรญิ ญาโท
ลาํ ดบั คํานาํ หนา ชอื่ สกลุ วัน เดอื น ป ปรญิ ญาตรี ปริญญาเอก ตําแหนง ระดบั
ที่ ทมี่ า วิทยาลยั ชื่อปรญิ ญา
สาขาวชิ าเอก ชื่อปรญิ ญา สาขาวิชาเอก ชอ่ื ปรญิ ญา สาขาวิชาเอก
อาจารยผ รู ับผดิ ชอบหลักสูตร 2 พฤศจกิ ายน 2558 ปริญญาสาธารณสุขศาสตรบัณฑติ สาธารณสุขศาสตร ปริญญาศลิ ปศาสตรมหาบณั ฑติ พฒั นาสงั คม - - พยาบาลวิชาชีพ ชาํ นาญการพ
1 นาย เจตนว ิชยตุ ม บริรกั ษ ปรญิ ญาพยาบาลศาสตรบณั ฑิต -
2 ดร.(นาง) อบุ ลทิพย ไชยแสง 23 พฤษภาคม 2549 ปริญญาพยาบาลศาสตรบัณฑติ - ปริญญาพยาบาลศาสตรมหาบัณฑติ การพยาบาลเวชปฏิบตั ิชุมชน ปริญญาปรัชญาดุษฎีบณั ฑติ การแนะแนวและการปรกึ ษา พยาบาลวิชาชีพ ชาํ นาญการพ
เชงิ จติ วทิ ยา
3 นาง กมลวรรณ วณิชชานนท 16 สงิ หาคม 2553 ปรญิ ญาพยาบาลศาสตรบัณฑิต - ปริญญาศลิ ปศาสตรมหาบัณฑติ พัฒนาสงั คม - - พยาบาลวิชาชพี ชํานาญการพ
4 นาย ธนกร สริ กิ ลุ 1 เมษายน 2551 ปรญิ ญาวิทยาศาสตรบณั ฑิต สขุ ศึกษา ปรญิ ญาการศึกษามหาบณั ฑิต หลกั สูตรและการสอน - - วิทยาจารย -
5 นางสาว นูวยั ดา เจะหะ 3 กรกฎาคม 2560 ปรญิ ญาวิทยาศาสตรบณั ฑิต เวชกจิ ฉกุ เฉนิ - - - - อาจารย -
พงศร ตั นามาน 30 กรกฎาคม 2539 ปริญญาทันตแพทยศาสตรบัณฑติ - -
อาจารยประจําหลกั สูตร - วุฒบิ ตั รสาขาทนั ตกรรมท่วั ไป - ทันตแพทย ชํานาญการพ
6 นางสาว ขวญั จิต
7 ดร. นิรัชรา ลิลละหกลุ 1 มิถุนายน 2555 ปริญญาพยาบาลศาสตรบัณฑติ การพยาบาล ปรญิ ญาพยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต การพยาบาล ปริญญาสาธารณสขุ ศาสตรดษุ ฎี สาธารณสุขศาสตร พยาบาลวชิ าชีพ ชาํ นาญก
(นางสาว) บัณฑิต
8 ดร. (นาย) ภัคณฐั วีรขจร 2 สงิ หาคม 2553 ปรญิ ญาพยาบาลศาสตรบัณฑติ - ปริญญาการศกึ ษามหาบณั ฑติ การศกึ ษาเพ่ือพฒั นาทรัพยากรมนษุ ย ปริญญาสาธารณสขุ ศาสตรดษุ ฎี สาธารณสุขศาสตร พยาบาลวิชาชีพ ชาํ นาญการพ
บัณฑติ
9 นาย ขจรศกั ดิ์ ไชยนาพงศ 1 พฤษภาคม 2557 ปริญญาวิทยาศาสตรบณั ฑิต สาธารณสุขชุมชน ปรญิ ญาสาธารณสุขศาสตรมหา สาธารณสขุ ชมุ ชน - - วิทยาจารย -
ยามาแล 10 สิงหาคม 2563 ปรญิ ญาวิทยาศาสตรบัณฑติ บณั ฑติ -
10 นางสาว อารนี า เวชกิจฉุกเฉิน - - - อาจารย -
อาจารยผ สู อน ปราบเขต รัฐศาสตร
ประเภทอาจารยป ระจํา 6 ธันวาคม 2561 ปรญิ ญาสาธารณสุขศาสตรบณั ฑิต สาธารณสุขศาสตร ปรญิ ญาศลิ ปศาสตรมหาบัณฑิต - ผอู าํ นวยการ ตน
11 นาย สนุ ทร 14 ธันวาคม 2550 ปรญิ ญาศลิ ปศาสตรมหาบัณฑติ รฐั ศาสตร ปรญิ ญานิติศาสตรมหาบณั ฑติ
- พัฒนาสังคม
12 ดร. (นาย) วิชาญ ภิบาล ปริญญานติ ิศาสตรบัณฑติ ปรญิ ญาศิลปศาสตรมหาบณั ฑติ พฒั นาสงั คม - - วทิ ยาจารย ชํานาญการพ
ปริญญาสาธารณสุขศาสตรบณั ฑติ สาธารณสขุ ศาสตร พัฒนาสังคม
ปริญญาศลิ ปศาสตรมหาบัณฑิต จติ วิทยาการศกึ ษา ปริญญาปรชั ญาดษุ ฎบี ัณฑติ รฐั ประศาสนศาสตร วิทยาจารย ชาํ นาญการพ
13 ดร. (นาย) สฤษดิ์ ผาอาจ 16 มีนาคม 2542 ปรญิ ญาสาธารณสขุ ศาสตรบัณฑติ สาธารณสขุ ศาสตร ปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑติ วิทยาจารย ชํานาญการพ
14 นาย นวิ ัติ ไชยแสง 1 มิถุนายน 2536 ปรญิ ญาวทิ ยาศาสตรบณั ฑติ สุขศึกษา ปรญิ ญาศกึ ษาศาสตรมหาบัณฑติ - ปริญญาศลิ ปศาสตรดษุ ฎบี ณั ฑิต พัฒนาสงั คม
- - - พยาบาลวิชาชพี ชาํ นาญการพ
15 นาง เลิศลักษณ เรืองทอง 8 มกราคม 2558 ประกาศนยี บัตรพยาบาลศาสตร - - - -
1 มิถุนายน 2536 ปรญิ ญาวิทยาศาสตรบัณฑิต สขุ ศึกษา -
16 นาย ฟาริห มะหมดั 8 พฤษภาคม 2550 สาธารณสุขศาสตร - - วิทยาจารย ชาํ นาญการพ
ปรญิ ญาสาธารณสขุ ศาสตรบณั ฑติ บริหารสาธารณสุข
17 Mr. Ganfre S.Pechayco ปริญญาสาธารณสุขศาสตรบัณฑิต Education - - อาจารย -
Bachelor of Science
กเฉนิ การแพทย วิทยาลัยการสาธารณสุขสิรินธร จังหวัดยะลา
ความตองการอบรม ปก ารศกึ ษา 2562 (ระบุ) ความตองการอบรม ปก ารศึกษา 2563 (ระบุ) ความตองการลาศกึ ษาตอ (ปการศึกษา 2563-2567) ปท เี่ กษียณอายุ
วิชาการ วชิ าชพี วิชาการ วิชาชพี ปการศกึ ษา ระดับการศกึ ษา สาขาวิชา ภายใน/ตา งประเทศ ตอ งการทนุ การศกึ ษา
E-Learning กูชพี ทางอากาศ PHTLS 10
พิเศษ 1. อบรมเชิงปฏิบัตกิ ารพฒั นาศกั ยภาพอาจารย มติ ใิ หมในการเสริมสรางสุขภาวะ -- - - - 1/10/2574
ดานการออกขอ สอบ และวิพากษข อ สอบความรู ประชาชน
2. การพัฒนาศกั ยภาพบคุ ลากรดา นเกณฑ
มาตรฐานและตวั บงช้กี ารประกนั คุณภาพ
การศึกษา ตามมาตรฐานการอาชีวศึกษา
พเิ ศษ การพฒั นางานวจิ ยั การพยาบาลเวชปฏิบัตคิ รอบครัว การพัฒนางานวิจัย การพยาบาลดา นเวชปฏิบตั ิ 2565 Post Doc วิทยาศาสตรสุขภาพ ตา งประเทศ ตองการ 1/10/2580
พเิ ศษ 1. การอภปิ รายผลและพฒั นาหลกั สูตรการดแู ล ดานการพยาบาล 1. ดา นการบรหิ ารงานบุคคล ดา นการพยาบาล 2565 ปริญญาเอก พยาบาลศาสตร ในประเทศ ตอ งการ 1/10/2582
ผสู งู อายุฉบบั สมบูรณ 2. ดานระเบียบการบรหิ าร
2. บรมเชงิ ปฏิบตั กิ าร อาน journal ไดทาํ วิจยั วิจยั ลูกไก ในประเทศ
เปน practical points in Medical Research การพัฒนางานวจิ ัย ในประเทศ
การพฒั นาศกั ยภาพบคุ ลากรดานเกณฑม าตรฐาน อบรมปฏิบัตกิ ารแพทยขั้นพ้นื ฐานและ กูช พี ทางนํ้า PHTLS10 2566 ปรญิ ญาเอก สาธารณสุขศาสตร - ตอ งการ 1/10/2586
และตวั บงชกี้ ารประกนั คณุ ภาพการศกึ ษา ตาม ชว ยปฏบิ ัติการแพทยข้นั สงู ตา งประเทศ
มาตรฐานการอาชวี ศกึ ษา
การพฒั นางานวิจยั ACLS Provider Couse อบรมการทาํ CPR 2564 ปริญญาโท - เอก ฉุกเฉนิ การแพทย ตองการ 1/10/2592
- 1/10/2574
พิเศษ การพัฒนาระบบการประกนั คุณภาพการศึกษา อบรมเชงิ ปฏิบัตกิ ารหลักสูตรทนั ตก การพฒั นาระบบการประกนั คณุ ภาพ ประชุมสามญั ประจําปโดยทันตแพทยสมาคม - - -
ภายใน รรมผสู ูงอายุ การศึกษาภายใน
การ การพฒั นางานวจิ ยั การพยาบาลเฉพาะทางผสู ูงอายุ 1. การพฒั นางานวิจัย 1. การพยาบาลเฉพาะทางผสู งู อายุ 2564 Post Doc สาธารณสขุ ศาสตร ตอ งการ 1/10/2573
2. การจดั การเรียนการสอน 2. การพยาบาลเฉพาะทางเวชปฏิบัติ
พเิ ศษ ดานการบรหิ ารหลกั สูตร ดา นการแพทยฉ กุ เฉนิ ดานการบริหารหลกั สูตร ดานการแพทยฉุกเฉนิ 2564 อบรมเฉพาะทาง พยาบาลเวชปฏบิ ัติ ในประเทศ ตอ งการ 1/10/2583
ฉกุ เฉิน ตา งประเทศ ตองการ
ดานการวจิ ยั ดานปฏิบัตกิ ารชว ยฟน คนื ชพี ข้ันพน้ื ฐาน ดา นการวจิ ยั 1. ดานระบาดวทิ ยา 2565 Post doc ประกนั คณุ ภาพ ในประเทศ ตองการ
- การพัฒนางานวจิ ยั 2. ดานฉุกเฉนิ การแพทย การศึกษา/การวจิ ัย ในประเทศ ตอ งการ
- อบรมการทาํ CPR 1/10/2595
เกีย่ วกับดานสาธารณสขุ 1/10/2597
2567 ปริญญาเอก สาธารณสขุ ศาสตร
2567 ปรญิ ญาโท - เอก ฉกุ เฉนิ การแพทย
1. ดานแผนยทุ ธศาสตรขององคก ร ดานสาธารณสขุ ศาสตร 1. ดานแผนยุทธศาสตรขององคก ร ดานสาธารณสขุ ศาสตร -- - - - 1/10/2569
2. ภาวะผนู ําในองคกร 2. ภาวะผนู าํ ในองคกร
พิเศษ 1. ดานการเขยี นบทความตพี มิ พน านาชาติ ดา นสาธารณสุขศาสตร 1. ดา นการเขยี นบทความตพี ิมพน านาชาติ ดานสาธารณสุขศาสตร -- - - - 1/10/2569
2. การบรหิ ารสาธารณสขุ แนวใหม 2. การบริหารสาธารณสุขแนวใหม
- ดา นการเขยี นบทความตีพมิ พน านาชาติ - -- - - - 1/10/2570
พิเศษ ดา นการพฒั นาโครงการวิจัยเพ่อื ขอทุนภายนอก - ในประเทศ ตอ งการ 1/10/2575
พิเศษ การเขยี นตาํ ราระดบั อดุ มศกึ ษาทม่ี ีคณุ ภาพ การเขียนผลงานวิขาการและบทความ - 2567 ปรญิ ญาเอก วิจยั และประเมนิ ผล 1/10/2576
การศกึ ษา - -
1/10/2574
พิเศษ 1. การเขยี นบทความตีพิมพน านาชาติ ดานการพยาบาล 1. วิจยั เชิงปริมาณและเชงิ คณุ ภาพ (mix ดานการพยาบาล -- - ในประเทศ ตองการ 1/10/2571
2. เทคนคิ การสือ่ สารอยา งมปี ระสทิ ธิผล - method) -
ก2.ารเทเขคียนนิคบกทาครเวปานมพตพีธิ ีกมิ รพมน อื าอนาาชชพี าติ 2566 ปรญิ ญาโท สารสนเทศ - -
พิเศษ การพัฒนาโครงการวจิ ยั เพือ่ ขอทุนภายนอก
ดา นการเขียนงานวจิ ยั - ดา นการเขยี นหนังสือตําราวชิ าการ - -- -