The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

เอกสารประกอบการเรียนหน่วยที่ 6

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by z_sutthipong, 2022-03-24 05:07:39

เอกสารประกอบการเรียนหน่วยที่ 6

เอกสารประกอบการเรียนหน่วยที่ 6

เอกสารประกอบการเรียนหนว่ ยที่ 6 หน้าท่ี 44

วชิ า โปรแกรมเอ็นซีพน้ื ฐาน รหสั วิชา 20102–2009 เวลาเรียนรวม 72 คาบ
สอนครั้งท่ี ทฤษฎี 1 คาบ
ช่ือหน่วย ระบบพิกัดของเคร่ืองซีเอ็นซี
5/18 ปฏิบัติ 3 คาบ

แนวคิดหลัก

เคร่อื งจกั รกลในระบบซเี อ็นซีมกี ารเคลื่อนท่ีไปยังตำแหน่งตา่ ง ๆ โดยการเขียนโปรแกรมการเคล่ือนที่ ซึ่งมี
การอ้างอิงจากตำแหน่งอ้างอิงต่าง ๆ การเขียนโปรแกรมการเคลื่อนที่ของระบบซีเอ็นซี จะใช้ระบบพิกัดการ
เคล่ือนท่อี ยู่ 2 แบบ ได้แก่ การเคลอ่ื นท่แี บบสัมบรู ณแ์ ละการเคล่ือนทแี่ บบต่อเน่ือง

สาระการเรียนรู้

1. กลา่ วนำ
2. การเคลอ่ื นท่ีแบบสมั บรู ณ์
3. การเคลือ่ นท่ีแบบต่อเนื่อง

ผลการเรียนรู้ทค่ี าดหวัง

1. อธิบายการเคล่ือนที่แบบสัมบรู ณ์ได้
2. อธบิ ายการเคลื่อนท่แี บบต่อเนอ่ื งได้

45

แบบทดสอบก่อนเรียนหนว่ ยที่ 6 หน้าท่ี 45

วชิ า โปรแกรมเอน็ ซีพนื้ ฐาน รหสั วชิ า 20102–2009 เวลาเรียนรวม 72 คาบ
สอนคร้ังท่ี ทฤษฎี 1 คาบ
ช่อื หน่วย ระบบพิกัดของเคร่ืองซีเอน็ ซี
5/18 ปฏิบตั ิ 3 คาบ

จงเลือกคำตอบท่ถี ูกต้องท่ีสดุ

1. การกำหนดตำแหน่งทน่ี ยิ มใช้กนั มีอยู่ 2 แบบ คือ
ก. กำหนดตำแหนง่ แบบต่อเน่อื งและการกำหนดตำแหน่งแบบสัมพัทธ์
ข. กำหนดตำแหนง่ แบบต่อเนอ่ื งและการกำหนดตำแหน่งแบบทางตรง
ค. กำหนดตำแหนง่ แบบสมั บูรณ์และการกำหนดตำแหน่งแบบทางตรง
ง. กำหนดตำแหน่งแบบสมั บูรณ์และการกำหนดตำแหน่งแบบต่อเนื่อง

2. Absolute Coordinate คอื การกำหนดตำแหน่งแบบใด
ก. การกำหนดตำแหน่งแบบสมั บูรณ์
ข. การกำหนดตำแหนง่ แบบต่อเนอื่ ง
ค. การกำหนดตำแหน่งแบบเส้นตรง
ง. การกำหนดตำแหนง่ แบบเส้นโค้ง

3. “มลี ักษณะการเคล่ือนทไ่ี ปยังตำแหน่งต่างๆ โดยอ้างอิงจากจุดเรม่ิ ตน้ หรือจุด 0,0 เสมอ” เปน็
ลักษณะของการกำหนดตำแหนง่ แบบใด
ก. กำหนดตำแหนง่ แบบสมั บรู ณ์
ข. กำหนดตำแหนง่ แบบต่อเนื่อง
ค. กำหนดตำแหนง่ แบบเสน้ ตรง
ง. กำหนดตำแหนง่ แบบเส้นโค้ง

4. “มีลกั ษณะการเคลื่อนทไ่ี ปยังตำแหน่งต่างๆ โดยอา้ งอิงจากจดุ เคล่ือนที่ท่ีผ่านมาก่อนหน้าเสมอ”
เปน็ ลกั ษณะของการกำหนดแบบใด
ก. กำหนดตำแหน่งแบบสัมบรู ณ์
ข. กำหนดตำแหนง่ แบบต่อเนอ่ื ง
ค. กำหนดตำแหน่งแบบเสน้ ตรง
ง. กำหนดตำแหนง่ แบบเส้นโคง้

46

แบบทดสอบก่อนเรยี นหนว่ ยที่ 6 หน้าที่ 46

วชิ า โปรแกรมเอ็นซีพืน้ ฐาน รหสั วิชา 20102–2009 เวลาเรยี นรวม 72 คาบ
สอนครง้ั ที่ ทฤษฎี 1 คาบ
ชื่อหน่วย ระบบพิกัดของเคร่ืองซีเอ็นซี
5/18 ปฏบิ ตั ิ 3 คาบ
จากรปู ดงั กล่าวจงบอกค่าโคออร์ดิเนตตา่ ง ๆ
แบบ Absolute Positioning . จากข้อ 5 – 7

5. จุด P1 มีค่าโคออร์ดเิ นตเท่าไร
ก. X = 25 Z = -35
ข. X = 15 Z = -20
ค. X = 11 Z = -10
ง. X = 0 Z = 0

6. จุด P2 มคี ่าโคออรด์ เิ นตเท่าไร
ก. X = 25 Z = -25
ข. X = 11 Z = -10
ค. X = 11 Z = 0
ง. X = 0 Z = 0

7. จดุ P3 มีค่าโคออร์ดเิ นตเท่าไร
ก. X = 15 Z = -20
ข. X = 11 Z = -10
ค. X = 11 Z = 0
ง. X = 15 Z = -10

47

แบบทดสอบกอ่ นเรียนหนว่ ยที่ 6 หน้าที่ 47

วชิ า โปรแกรมเอน็ ซีพน้ื ฐาน รหสั วิชา 20102–2009 เวลาเรยี นรวม 72 คาบ
สอนครงั้ ท่ี ทฤษฎี 1 คาบ
ชื่อหน่วย ระบบพิกดั ของเคร่ืองซีเอน็ ซี
5/18 ปฏิบตั ิ 3 คาบ
จากรูปดังกล่าวจงบอกคา่ โคออรด์ เิ นตต่าง ๆ
แบบ Incremental Positioning จากข้อ 7 – 10

8. จุด P1 มีคา่ โคออร์ดเิ นตเท่าไร
ก. X = 20 Y = 15
ข. X = -20 Y = -15
ค. X = 15 Y = 20
ง. X = -15 Y = -20

9. จุด P2 มีค่าโคออร์ดิเนตเทา่ ไร
ก. X = - 30 Y = -25
ข. X = 30 Y = 25
ค. X = -25 Y = -30
ง. X = 25 Y = 30

10. จดุ P3 มคี ่าโคออรด์ ิเนตเทา่ ไร
ก. X = -20 Y = 30
ข. X = -30 Y = 20
ค. X = 20 Y = 30
ง. X = 30 Y = 20

ใบเน้อื หาหน่วยที่ 6 48

วชิ า โปรแกรมเอ็นซีพืน้ ฐาน รหัสวิชา 20102–2009 หนา้ ท่ี 48

ชอ่ื หน่วย ระบบพิกดั ของเครื่องซีเอ็นซี เวลาเรียนรวม 72 คาบ
สอนคร้ังที่ ทฤษฎี 1 คาบ

5/18 ปฏิบตั ิ 3 คาบ

กลา่ วนำ
ระบบพิกัดสำหรับนำมาใช้งานของระบบซีเอ็นซีนั้น เป็นสิ่งที่ผู้ควบคุมต้องทำความเข้าใจอย่าง

ถ่องแท้ เพื่อเป็นพื้นฐานเบื้องต้นในการเขียนโปรแกรมซีเอ็นซีต่อไป โดยการตัดเฉือนชิ้นงานของ
เครื่องจักรกลระบบซีเอ็นซีนี้ จะถูกเขียนขึ้นด้วยโปรแกรมซีเอ็นซี เพื่อให้เกิดการเคลื่อนที่ไปตามทิศทาง
หรือตำแหน่งที่ต้องการ ก่อนที่จะมีการเรียนรู้ในเรื่อพิกัดการเคลื่อนที่นั้นขอทบทวนเรื่องทิศทางการ
เคลื่อนที่ตามแนวแกนเพื่อเป็นการทบทวนความรู้และให้เกิดความเข้าใจที่เพิ่มมากยิ่งขึ้น สำหรับการ
เรียนรู้พื้นฐานแนวแกนหลกั จะมอี ยู่ 3 แนวแกน ไดแ้ ก่ แกน X,Y,Z ใชห้ ลกั การเคลอื่ นท่ีตามกฎมือขวา
ดังแสดงในรูปท่ี 6.1

รปู ที่ 6.1 ทิศทางการเคลือ่ นทีต่ ามกฎมือขวา

หลักการของกฎมือขวาดังกล่าวเป็นการเคลื่อนที่ไปตามแนวแกนไปตามทิศทางของลูกศรซึ่งจะ
แสดงทิศทางในการเคล่ือนที่เป็นบวก (+) แตถ่ ้าหากมีการเคลือ่ นท่ีตรงกนั ข้ามกบั ทิศทางของลูกศรจะมีทิศ
ทางการเคลอ่ื นทเี่ ป็นลบ (-)

หากต้องการเคลื่อนที่ไปยังจุดใดๆ ต้องมีตำแหน่งของจุดนั้นๆ โดยตำแหน่งดังกล่าวสามารถระบุ
ใช้ระบบคาร์ทีเซียนหรือระบบพิกัดสี่เหล่ียม ถูกคิดค้นโดยชาวฝรั่งเศส ด้วยระบบน้ีสามารถอธิบายในทาง
คณิตศาสตร์ จุดใดๆไปตามแนวแกน ซึ่งคอนเซปนี้เขา้ กับการทำงานของเครือ่ งจักรได้อย่างลงตวั บวกกับ
แกนของการหมนุ ตามการเคลือ่ นที่ของมอื ขวา

ในระบบพิกัดคาร์ทีเซียนสองมิติ เช่น ในระบบพิกัด X, Y แต่ละจุดบนระนาบถูกกำหนดไว้อย่าง
ชัดเจน ระยะห่างจากแกน Y เรียกว่าพิกัด X และระยะห่างจากแกน X เรียกว่าแกน Y พิกัดเหล่าน้ี
สามารถมีเคร่อื งหมายบวกหรือลบได้ ดงั แสดงในรปู 6.2

ใบเน้ือหาหนว่ ยที่ 6 49

วชิ า โปรแกรมเอน็ ซีพ้ืนฐาน รหัสวชิ า 20102–2009 หนา้ ที่ 49

ชอ่ื หน่วย ระบบพิกดั ของเคร่ืองซเี อ็นซี เวลาเรียนรวม 72 คาบ
สอนครง้ั ที่ ทฤษฎี 1 คาบ

5/18 ปฏบิ ัติ 3 คาบ

รปู ท่ี 6.2 แสดงการเคลื่อนท่ีไปยังตำแหน่งตา่ งๆ บนระนาบ XY
ในรูปจุด A จะเป็น 2 หน่วยทางด้านขวาของแกน Y และ 2 หน่วยเหนอื แกน X กำหนดให้แต่ละ
หน่วยเท่ากับ 1.00 ตำแหน่งของจุด A จะเป็น X+2.00 และ Y+2.00สำหรับจุด B ตำแหน่งจะเป็น
X+1.00 และ Y-2.00 ในการเขียนโปรแกรม CNC ไมจ่ ำเป็นตอ้ งระบุเคร่อื งหมายค่าบวก(+) อยา่ งไรก็ตาม
คา่ ที่เปน็ คา่ ลบต้องระบุค่าลบ (-) ตวั อย่างตำแหนง่ ของ ทัง้ A และ B จะถกู ระบุเปน็ ดงั นี้
A X2.00 Y2.00
B X1.00 Y-2.00
ในระบบพิกัดคาร์ทีเซียนสามมิติ เช่น ในระบบพิกัด X, Y, Z แต่ละจุดบนระนาบถูกกำหนดไว้
อย่างชดั เจน ระบบพกิ ัดเหล่านสี้ ามารถมีเครื่องหมายบวกหรอื ลบได้ ดงั แสดงในรปู 6.3

รปู ที่ 6.3 แสดงทิศทางการเคลื่อนทตี่ ามระนาบ XYZ

50

ใบเนือ้ หาหนว่ ยที่ 6 หนา้ ท่ี 50

วชิ า โปรแกรมเอน็ ซีพนื้ ฐาน รหัสวิชา 20102–2009 เวลาเรียนรวม 72 คาบ

ช่ือหน่วย ระบบพิกดั ของเครื่องซเี อ็นซี สอนครั้งท่ี ทฤษฎี 1 คาบ
5/18 ปฏิบตั ิ 3 คาบ

ในรปู จดุ P1 จะเปน็ 30 หน่วยทางดา้ นขวาของระนาบแกน YZ และ 20 หนว่ ยเหนอื ระนาบแกน

XZและ 0 หน่วยบนระนาบ XY ในการเขียนโปรแกรม CNCไม่จำเป็นต้องระบุเครื่องหมายค่าบวก(+)

อย่างไรก็ตามค่าที่เปน็ ค่าลบตอ้ งระบุคา่ ลบ (-)ตวั อย่างตำแหนง่ ของ ท้ัง P1 และ P2 จะถูกระบุเป็นดังน้ี

P1 X=30 Y=20 Z=0

P2 X=30 Y=0 Z=-10

การกำหนดตำแหนง่ การเคล่อื นท่ี
การกำหนดการเคลื่อนท่ีไปยงั ตำแหน่งต่างๆ สามารถกำหนดลักษณะการเคลื่อนที่ไดเ้ ป็น 2 แบบ

คอื 1.การเคล่ือนท่ีแบบสมบรู ณ์ (Absolute Coordinate)
2.การเคลอ่ื นทีแ่ บบสมบูรณ์ (Incremental Coordinate)

1.การเคลื่อนทแ่ี บบสมบูรณ์ (Absolute Coordinate)
การเคลื่อนท่ีแบบสัมบูรณ์ มีลักษณะการเคลือ่ นที่ไปตำแหน่งต่างๆ โดยอ้างอิงจากจุดเริ่มต้นหรือ
จุด 0,0 หมายถึง ทุกตำแหน่งที่เคลื่อนที่ไปต้องวัดระยะทางหรือความยาวโดยอ้างอิงจากจุดศูนย์ศูนย์
(0,0) นั่นเอง โดยตำแหนง่ อ้างอิงต่างๆ ผู้เขียนโปรแกรมเป็นผู้กำหนดข้ึนเอง หรือเราสามารถใชจ้ ุดอ้างอิง
เปน็ จดุ เดยี วกบั จุดศูนย์เครื่อง หรือจดุ ศูนย์งานก็ได้
2.การเคลอื่ นทีแ่ บบสมบรู ณ์ (Incremental Coordinate)
การเคลื่อนที่แบบต่อเนื่อง จะมีลักษณะของการเคลื่อนที่ไปยังตำแหน่งต่างๆ โดยอ้างอิงจากจุด
เคลอื่ นที่ทีผ่ า่ นมากอ่ นหน้า โดยจุดท่ีผา่ นมาจะเปน็ จุดอ้างอิง (0,0) เพอ่ื วัดระยะทางต่อไป

Absolute Incremental

Point X y X y

A 20 20 20 20

B 20 60 0 40

C

D

ตารางที่ 6.1 แสดงตัวอย่างการเคล่อื นทไี่ ปยังตำแหน่งต่างๆ

แบบ Absolute และ Incremental

รปู ที่ 6.4 แสดงตัวอย่างแบบงานกัดซเี อน็ ซี

ใบเนอื้ หาหน่วยที่ 6 51

วชิ า โปรแกรมเอน็ ซีพนื้ ฐาน รหัสวชิ า 20102–2009 หน้าท่ี 51

ชื่อหน่วย ระบบพิกดั ของเคร่ืองซเี อน็ ซี เวลาเรยี นรวม 72 คาบ
สอนคร้งั ท่ี ทฤษฎี 1 คาบ

5/18 ปฏบิ ตั ิ 3 คาบ

รูปที่ 6.5 แสดงตวั อยา่ งแบบงานกลึงซเี อน็ ซี

Absolute Incremental

Point X Z X Z

A1 13 0 13 0

A2 13 -20 0 -20

A3 21 -20 8 0

A4 27 -23 6 -3

A5

A6

A7

A8

ตารางที่ 6.1 แสดงตวั อย่างการเคลื่อนที่ไปยังตำแหน่งต่างๆ

แบบ Absolute และ Incremental

จะเห็นได้ว่าจากแบบงานเดียวกันเราสามารถเขียนการเคลื่อนที่ได้ทั้งสองวิธีขึ้นอยู่กับความ
เหมาะสมกับลักษณะของแบบงาน รวมทั้งความสะดวกของผู้เขียนโปรแกรมเอง ดังนั้นผู้ที่ศึกษาควรทำ
ความเข้าใจกบั ระบบพกิ ัดท่ใี ชเ้ ขยี นในระบบซเี อ็นซีท่กี ล่าวมาข้างตน้

52

แบบฝกึ หัดหนว่ ยที่ 6 หน้าที่ 52

วิชา โปรแกรมเอ็นซีพน้ื ฐาน รหัสวชิ า 20102–2009 เวลาเรียนรวม 72 คาบ
สอนครง้ั ที่ ทฤษฎี 1 คาบ
ชือ่ หน่วย ระบบพิกดั ของเคร่ืองซเี อ็นซี
5/18 ปฏิบตั ิ 3 คาบ

1.จากรปู จงกําหนดเขียนโปรแกรมการเคล่อื นทแี่ บบสัมบูรณ์และแบบต่อเนื่องของงานกลึง CNC โดย
เร่มิ จากP1 ไปยัง P7 และจุดศูนยช์ ้ินงานด้านหนา้ ของช้ินงานลงตารางใหถ้ กู ตอ้ ง
( ค่า X เปน็ คา่ Diameter )

Absolute Incremental

Point X z X z
P1 0 0
P2 14 0
P3 14 -9
P4 19 -9
P5 19 -15
P6 25 -15
P7

2.จากรปู จงกําหนดเขยี นโปรแกรมการเคลอื่ นทีแ่ บบสัมบูรณ์และแบบต่อเน่อื งของงานกดั CNC โดย
เรม่ิ จาก P1 ไปยงั P6 และจุดศนู ยช์ ิ้นงานด้านหน้าของชน้ิ งานลงตารางให้ถกู ต้อง

Absolute Incremental

Point X z Xz
P1 0 0
P2 14 0
P3 14 -9
P4 19 -9
P5 19 -15
P6 25 -15

53

แบบทดสอบหลังเรยี นหนว่ ยท่ี 6 หนา้ ท่ี 53

วิชา โปรแกรมเอน็ ซีพ้ืนฐาน รหัสวชิ า 20102–2009 เวลาเรียนรวม 72 คาบ
สอนคร้งั ที่ ทฤษฎี 1 คาบ
ชื่อหน่วย ระบบพิกดั ของเคร่ืองซเี อน็ ซี
5/18 ปฏบิ ตั ิ 3 คาบ

จงเลอื กคำตอบท่ถี ูกต้องท่ีสุด

1. การกำหนดตำแหนง่ ทนี่ ยิ มใช้กนั มีอยู่ 2 แบบ คือ
ก. กำหนดตำแหนง่ แบบต่อเนื่องและการกำหนดตำแหน่งแบบสมั พัทธ์
ข. กำหนดตำแหน่งแบบต่อเนอ่ื งและการกำหนดตำแหน่งแบบทางตรง
ค. กำหนดตำแหนง่ แบบสมั บรู ณ์และการกำหนดตำแหน่งแบบทางตรง
ง. กำหนดตำแหนง่ แบบสมั บูรณ์และการกำหนดตำแหน่งแบบต่อเนอ่ื ง

2. Absolute Coordinate คือ การกำหนดตำแหนง่ แบบใด
ก. การกำหนดตำแหน่งแบบสมั บูรณ์
ข. การกำหนดตำแหน่งแบบต่อเนื่อง
ค. การกำหนดตำแหน่งแบบเสน้ ตรง
ง. การกำหนดตำแหน่งแบบเสน้ โคง้

3. “มีลักษณะการเคลอื่ นท่ีไปยังตำแหนง่ ต่างๆ โดยอ้างอิงจากจุดเร่ิมต้นหรอื จดุ 0,0 เสมอ” เป็นลกั ษณะของ
การกำหนดตำแหนง่ แบบใด
ก. กำหนดตำแหนง่ แบบสมั บรู ณ์
ข. กำหนดตำแหน่งแบบต่อเนือ่ ง
ค. กำหนดตำแหนง่ แบบเสน้ ตรง
ง. กำหนดตำแหนง่ แบบเส้นโค้ง

4. “มีลักษณะการเคลื่อนทไ่ี ปยังตำแหนง่ ตา่ งๆ โดยอา้ งอิงจากจดุ เคลอื่ นที่ที่ผา่ นมาก่อนหนา้ เสมอ” เป็น
ลกั ษณะของการกำหนดแบบใด
ก. กำหนดตำแหนง่ แบบสัมบูรณ์
ข. กำหนดตำแหน่งแบบต่อเน่ือง
ค. กำหนดตำแหนง่ แบบเสน้ ตรง
ง. กำหนดตำแหน่งแบบเส้นโคง้

54

แบบทดสอบหลังเรียนหนว่ ยท่ี 6 หน้าที่ 54

วชิ า โปรแกรมเอน็ ซีพน้ื ฐาน รหัสวชิ า 20102–2009 เวลาเรยี นรวม 72 คาบ
สอนคร้ังท่ี ทฤษฎี 1 คาบ
ชื่อหน่วย ระบบพิกดั ของเคร่ืองซีเอน็ ซี
5/18 ปฏิบัติ 3 คาบ

จากรูปดังกลา่ วจงบอกค่าโคออรด์ ิเนตต่าง ๆ
แบบ Absolute Positioning . จากข้อ 5 – 7

5. จดุ P1 มคี ่าโคออรด์ เิ นตเทา่ ไร
ก. X = 25 Z = -35
ข. X = 15 Z = -20
ค. X = 11 Z = -10
ง. X = 0 Z = 0

6. จดุ P2 มีค่าโคออรด์ เิ นตเท่าไร
จ. X = 25 Z = -25
ก. X = 11 Z = -10
ข. X = 11 Z = 0
ค. X = 0 Z = 0

7. จดุ P3 มคี า่ โคออรด์ เิ นตเทา่ ไร
ก. X = 15 Z = -20
ข. X = 11 Z = -10
ค. X = 11 Z = 0
ง. X = 15 Z = -10

55

แบบทดสอบหลงั เรียนหนว่ ยที่ 6 หน้าที่ 55

วชิ า โปรแกรมเอน็ ซีพน้ื ฐาน รหัสวิชา 20102–2009 เวลาเรยี นรวม 72 คาบ
สอนครงั้ ท่ี ทฤษฎี 1 คาบ
ชอ่ื หน่วย ระบบพิกดั ของเครื่องซีเอ็นซี
5/18 ปฏิบตั ิ 3 คาบ
จากรูปดังกลา่ วจงบอกค่าโคออรด์ เิ นตต่าง ๆ
แบบ Incremental Positioning จากข้อ 8 – 10

8. จุด P1 มีค่าโคออร์ดเิ นตเท่าไร
ก. X = 20 Y = 15
ข. X = -20 Y = -15
ค. X = 15 Y = 20
ง. X = -15 Y = -20

9. จุด P2 มีคา่ โคออรด์ เิ นตเทา่ ไร
ก. X = - 30 Y = -25
ข. X = 30 Y = 25
ค. X = -25 Y = -30
ง. X = 25 Y = 30

10. จุด P3 มคี า่ โคออร์ดิเนตเทา่ ไร
จ. X = -20 Y = 30
ก. X = -30 Y = 20
ข. X = 20 Y = 30
ค. X = 30 Y = 20


Click to View FlipBook Version