The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

5รายงานการประชุมกรม กพ.64

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by plandmsc9, 2021-10-18 04:50:52

5รายงานการประชุมกรม กพ.64

5รายงานการประชุมกรม กพ.64

1

2 รายงานการประชุมกรมวิทยาศาสตรก์ ารแพทย์ ครงั้ ที่ 5/2564

3 วันท่ี 23 กุมภาพนั ธ์ 2564 เวลา 09.00-12.00 น.

4 ณ ห้องประชุม 801 ช้ัน 8 อาคาร 8 กรมวิทยาศาสตรก์ ารแพทย์

5 ผู้มาประชุม

6 ผบู้ รหิ ารระดบั สงู

7 1. นายศุภกจิ ศริ ิลักษณ์ อธิบดีกรมวทิ ยาศาสตร์การแพทย์

8 2. นายพิเชฐ บญั ญตั ิ รองอธบิ ดีกรมวทิ ยาศาสตรก์ ารแพทย์

9 3. นายบัลลังก์ อุปพงษ์ รองอธิบดกี รมวิทยาศาสตรก์ ารแพทย์

10 4. นายปิยะ ศิรลิ กั ษณ์ รองอธิบดกี รมวทิ ยาศาสตรก์ ารแพทย์

11 ผู้บรหิ าร

12 1. นายอาชวินทร์ โรจนวิวัฒน์ ผูอ้ านวยการสถาบนั วจิ ยั วิทยาศาสตรส์ าธารณสุข

13 2. นางศิรวิ รรณ ชัยสมบูรณพ์ ันธ์ ผู้อานวยการสถาบันวิจัยสมนุ ไพร

14 3. นางวิรยิ ามาตย์ เจรญิ คุณธรรม (แทน) ผอู้ านวยการสถาบันชวี วัตถุ

15 4. นางสาวจรรยา มศี รี (แทน)ผอู้ านวยการสานักเครอ่ื งสาอางและวัตถุอนั ตราย

16 5. นางสาววรางคณา ออ่ นทรวง ผู้อานวยการสานักรงั สแี ละเคร่ืองมือแพทย์

17 6. นางสาวสรุ ัชนี เศวตศิลา ผอู้ านวยการสานักยาและวัตถุเสพติด

18 7. นางเลขา ปราสาททอง ผู้อานวยการสานกั คุณภาพและความปลอดภัยอาหาร

19 8. นางสาวภัทรวีร์ สร้อยสงั วาลย์ ผอู้ านวยการสานักมาตรฐานห้องปฏบิ ตั ิการ

20 9. นางบญุ ญาติ เจรญิ สวรรค์ เลขานุการกรม

21 10. นางสาวนันทวรรณ เมฆา ผอู้ านวยการกองแผนงานและวชิ าการ

22 11. นายปนสิ ภ์ วณิชชานนท์ ผู้อานวยการศนู ย์เทคโนโลยีสารสนเทศ

23 12. นายอาชวินทร์ โรจนวิวฒั น์ ผู้อานวยการสถาบันชีววทิ ยาศาสตร์ทางการแพทย์

24 13. นางสาวภทั รวรี ์ สรอ้ ยสังวาลย์ ผู้อานวยการกองชดุ ทดสอบความชานาญ

25 14. นางสาวสจุ ติ รา คุม้ โภคา ผูอ้ านวยการศูนยร์ วมบรกิ าร

26 15. นางสาวศรันญา มานะร่งุ เรอื งสิน (แทน) ผู้อานวยการกองความร่วมมอื ระหวา่ งประเทศ

27 16. นายพรเทพ จันทรค์ ณุ าภาส ผู้อานวยการกองพฒั นาเครอ่ื งมือแพทย์

28 17. นายสงั คม วิทยนนั ท์ ผู้อานวยการศนู ย์วิทยาศาสตรก์ ารแพทย์ที่ 1 เชยี งใหม่

29 18. นางสาวอัมรา โยวัง (แทน)ผู้อานวยการศนู ย์วิทยาศาสตร์การแพทยท์ ี่ 1/1 เชยี งราย

30 19. นางสาวอมรรตั น์ ทัศนกจิ ผอู้ านวยการศนู ย์วิทยาศาสตร์การแพทยท์ ่ี 2 พิษณโุ ลก

31 20. นางจนิ ตนา ว่องวิไลรัตน์ ผูอ้ านวยการศูนย์วิทยาศาสตร์การแพทย์ที่ 3 นครสวรรค์

32 21. นายธรรมรตั น บุญสูง ผู้อานวยการศนู ยว์ ทิ ยาศาสตรก์ ารแพทย์ท่ี 4 สระบรุ ี

33 22. นางสาวเกษร บุญยรักษ์โยธิน ผู้อานวยการศูนย์วทิ ยาศาสตรก์ ารแพทย์ที่ 5 สมทุ รสงคราม

34 23. นายสันตกจิ นิลอดุ มศักดิ์ ผู้อานวยการศนู ย์วทิ ยาศาสตร์การแพทยท์ ี่ 6 ชลบุรี

35 24. นายวชิ ัย ปราสาททอง ผอู้ านวยการศนู ย์วิทยาศาสตร์การแพทย์ท่ี 7 ขอนแก่น

36 25. นายคฑายุทธ นิกาพฤกษ์ (แทน)ผู้อานวยการศูนย์วิทยาศาสตรก์ ารแพทยท์ ่ี 8 อุดรธานี

37 26. นายบรรจง กติ ิรตั น์ตระการ ผอู้ านวยการศนู ย์วทิ ยาศาสตร์การแพทย์ที่ 9 นครราชสีมา

38 27. นายกมล ฝอยหริ ัญ ผูอ้ านวยการศูนย์วทิ ยาศาสตรก์ ารแพทย์ที่ 10 อุบลราชธานี

39 28. นางสาวจิราภรณ์ เพชรรักษ์ ผูอ้ านวยการศูนย์วิทยาศาสตร์การแพทย์ท่ี 11 สุราษฎร์ธานี

40 29. นางสาวอรทัย สพุ รรณ ผอู้ านวยการศูนย์วิทยาศาสตรก์ ารแพทย์ที่ 11/1 ภเู กต็

41 30. นางสาวธารยิ า เสาวรญั ผอู้ านวยการศนู ยว์ ทิ ยาศาสตร์การแพทยท์ ่ี 12 สงขลา

42 31. นางศิริวรรณ บญุ ชรัตน์ (แทน)ผอู้ านวยการศูนย์วทิ ยาศาสตรก์ ารแพทยท์ ่ี 12/1ตรงั

43 32. นางสวุ รรณา เจริญสวรรค์ หวั หนา้ กลมุ่ พัฒนาระบบบริหาร

44 33. พ.จ.อ.หญงิ ปราณี รัศมีประเสรฐิ สขุ หัวหน้ากลุ่มตรวจสอบภายใน

2

1 นักวิชาการ

2 1. นางสาวประไพ วงศ์สนิ คงม่นั หัวหน้าสานักวชิ าการ

3 ผทู้ รงคณุ วฒุ ดิ า้ นวิจัยและพฒั นาวิทยาศาสตรก์ ารแพทย์

4 (เคมี)สานกั วชิ าการวทิ ยาศาสตรก์ ารแพทย์

5 2. นายอภิวัฏ ธวชั สนิ ผู้ทรงคุณวฒุ ดิ ้านวิจยั และพฒั นาวทิ ยาศาสตร์การแพทย์

6 (วทิ ยาศาสตรก์ ายภาพ)สานกั วชิ าการวทิ ยาศาสตร์การแพทย์

7 3. นางเบญจวรรณ เพชรสุขศิริ ผู้ทรงคณุ วุฒิด้านวิจัยและพฒั นาวิทยาศาสตร์การแพทย์

8 (เทคโนโลยีชีวภาพ)สานกั วชิ าการวิทยาศาสตร์การแพทย์

9 4. นางอรุ ญุ ากร จนั ทรแ์ สง ผทู้ รงคุณวฒุ ิดา้ นวจิ ยั และพัฒนาวิทยาศาสตร์การแพทย์

10 (จุลชวี วิทยา)สานกั วชิ าการวทิ ยาศาสตร์การแพทย์

11 5. นางนวลจันทร์ วจิ ักษณจ์ นิ ดา ผ้ทู รงคุณวุฒดิ ้านวิจัยและพฒั นาวทิ ยาศาสตรก์ ารแพทย์

12 (ภมู ิคมุ้ กันวทิ ยา)สานักวชิ าการวิทยาศาสตร์การแพทย์

13 ผไู้ มม่ าประชุมเนอื่ งจากตดิ ราชการและภารกิจอื่น

14 1. นางสริ ภิ ากร แสงกจิ พร ผทู้ รงคณุ วฒุ ดิ ้านวจิ ยั และพัฒนาวทิ ยาศาสตร์การแพทย์

15 (ชวี วทิ ยา)สานักวิชาการวทิ ยาศาสตรก์ ารแพทย์

16 ผเู้ ขา้ รว่ มประชมุ

17 1.นางสาววรารตั น์ แสงสวุ รรณ นักทรัพยากรบคุ คลชานาญการพิเศษ

18 สานกั งานเลขานกุ ารกรม

19 2. นายอภิสทิ ธ์ิ เหมาะสมสกุล นกั ประชาสัมพันธช์ านาญการ

20 สานกั งานเลขานกุ ารกรม

21 3. นายพเิ ชษฐ ชมดี นักวิชาการการเงนิ และบัญชีชานาญการพเิ ศษ

22 สานักงานเลขานุการกรม

23 4. นายมาลายทุ ธ คชั มาตย์ นติ ิกรชานาญการ

24 สานักงานเลขานกุ ารกรม

25 5. นางสกุ ัญญา กาแพงแกว้ นักวิชาการพสั ดชุ านาญการพเิ ศษ

26 สานกั งานเลขานกุ ารกรม

27 6. นายสรุ ัติ ฉัตรไชยาฤกษ์ นกั วิเคราะห์นโยบายและแผนชานาญการพเิ ศษ

28 สานักงานเลขานกุ ารกรม

29 คณะเลขานุการ

30 1. นางสาวสมถวลิ สายนภา นักวิเคราะหน์ โยบายและแผนชานาญการพิเศษ

31 กองแผนงานและวชิ าการ

32 2. นางสาวศรนั ญา มานะรุ่งเรืองสิน นกั วิเทศสัมพนั ธช์ านาญการ

33 กองแผนงานและวชิ าการ

34 3. นางสาวธดิ ารตั น์ นชุ ถนอม นกั วเิ คราะห์นโยบายและแผนชานาญการ

35 กองแผนงานและวิชาการ

36 4. นางสาวรสรินทร์ หมดั สมาน นกั วิเทศสมั พันธ์

37 สถาบนั วิจัยวทิ ยาศาสตร์สาธารณสขุ

รายงานการประชุมกรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ คร้ังที่5/2564 วันที่ 25 กุมภาพันธ์ 2564

3

1 5. นางสาวอนั นา แสนใจ นักวิเคราะหน์ โยบายและแผน

2 สถาบนั วิจัยสมุนไพร

3 6. นางสาวรุจริ าพร แตงผ้ึง นักจัดการงานทว่ั ไปปฏิบัติการ
4 กองแผนงานและวิชาการ

5 7. นางสาวนัฐกานต์ ขวญั เสาว์ เจา้ พนักงานธรุ การ
6 กองแผนงานและวิชาการ
7

8 เริม่ ประชุม เวลา 09.00 น. ประธานกลา่ วเปดิ ประชุม และดาเนินการประชมุ ตามระเบียบวาระต่างๆ ดังต่อไปนี้
9 วาระท่ี 1 ประธานแจง้ เพ่ือทราบ
10 1. ขอแสดงความยินดีกับนายแพทย์บัลลังก์ อุปพงษ์ และนายแพทย์ปิยะ ศิริลักษณ์ สาหรับตาแหน่งรองอธิบดีท่านใหม่ของ

11 กรมวิทยาศาสตรก์ ารแพทย์

12 2. เน่ืองจากสถานการณ์โควิดทาให้กรมวิทย์ฯเป็นที่รู้จักแก่ประชาชนเป็นทีมท่ีถูกต้ังความหวังเรื่องการฉีดวัคซีน กรมฯจะ

13 ดาเนินการด้านแนวทางการตรวจแล็บหลงั ฉดี วัคซนี เป็นการตรวจว่าการแพร่เช้อื จะลดลงเพ่ือสร้างความมั่นใจ การฉีดวัคซีนเป็น

14 การลดอัตราการป่วย ลดความรุนแรง เปน็ ประโยชน์ตอ่ บุคคลทีฉ่ ีด ทาให้ชมุ ชนปลอดภยั

15 3. วนั ที่ 24 กุมภาพันธ์ 2564 วัคซีน 2 ชนิดจะถงึ ประเทศไทย ท่านนายกฯและรองนายกจะไปรับวัคซีนที่สนามบิน วคั ซีนจดั เก็บ

16 ทค่ี ลงั สนิ ค้า จากน้ันองค์การเภสัชกรรมซ่ึงเป็นผู้นาเขา้ จะประสานกับกรมฯเพื่อตรวจ Lot release ซ่ึงต้องดาเนนิ การให้เสร็จสิ้น

17 ภายใน 3 วนั จากนนั้ จะมีดเี ดยเ์ รื่องการฉดี ซงึ่ ไดว้ างแผนแล้วในจงั หวัดท่ีมคี วามเส่ยี ง

18 วาระที่ 2 รบั รองรายงานการประชมุ กรมวทิ ยาศาสตรก์ ารแพทย์ ครัง้ ท่ี 4/2564 เม่ือวนั ที่ 26 มกราคม 2564

19 ฝ่ายเลขานุการไดจ้ ดั ส่งรายงานการประชุมทาง E-mail เพ่ือใหอ้ งคป์ ระชุมพิจารณาตรวจสอบเรยี บร้อยแลว้

20 มติทป่ี ระชมุ รับรองรายงานการประชุม มีการแก้ไข ทมี เลขานุการดาเนนิ การแกไ้ ขเรียบร้อย
21
22 วาระที่ 3 เรอื่ งตดิ ตามความกา้ วหนา้

23 3.1 เร่อื งจาก CIO DMSc Data Center (iLab Plus)
24 ผู้อานวยการศนู ย์เทคโนโลยสี ารสนเทศ รายงานความกา้ วหนา้ ดงั น้ี

25 วันที่ 25 กมุ ภาพนั ธ์ 2564
26

รายงานการประชุมกรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ คร้ังที่5/2564

4

1 แผนการดาเนนิ การ
2 ปี 2562
3 ปรับปรุง แกไ้ ขปัญหา ilab ใหต้ รงความตอ้ งการ ,จัดทามาตรฐานข้อมลู ,Web Responsive
4 ปี 2563
5 - ระบบรบั ตวั อยา่ งเดยี วทง้ั กรม โดยนามาตรฐานข้อมูลและรูปแบบรายงานมาดาเนนิ การ
6 - สร้างฐานขอ้ มลู LIS กลางมีข้อมูลจัดเก็บ 2 ด้าน (อาหาร เคร่ืองสาอาง)
7 - ทบทวนมาตรฐาน และ API รองรับการเชื่อมโยง
8 - เช่อื มโยงขอ้ มลู กบั หน่วยงานภายนอก : อย.
9 ปี 2564
10 - ปรบั ปรงุ LIS กลางเพ่ิมเตมิ ให้ครอบคลมุ อยา่ งน้อย 5 ดา้ น
11 - ปรบั ปรงุ ระบบรับตัวอย่างใช้งานทุกอปุ กรณ์
12 - ปรับปรุงระบบบรหิ ารจัดการรายงาน
13 - พัฒนาและปรับปรุงระบบเพื่อการสื่อสารข้อมูลและสารสนเทศ
14 ปี 2565
15 - ปรับปรงุ LIS กลางเพิ่มเตมิ ใหค้ รอบคลุมการรบั ตัวอย่างทุกด้านของกรมวทิ ยฯ์
16 - ปรับปรุงระบบรายงานสาหรบั ผู้บริหาร DMSC Data Center
17 - ใช้ประโยชน์จากขอ้ มลู ที่นาเข้าระบบ DMSC Data Center ณ ศนู ย์ข้อมูลกระทรวงสาธารณสขุ (HDC)
18 การปรับเปล่ยี นกระบวนการทางานเป็นระบบดิจทิ ัล DPIS ได้มีการนาระบบการลา มาใชง้ าน

19
20
21 บทสรปุ ข้นั ตอนการนากรอบธรรมาภิบาลข้อมูลภาครฐั ไปปฏิบตั ิ
22 1. จดั ต้งั คณะกรรมการหรอื คณะทางานธรรมาภิบาลข้อมูลภาครัฐของหนว่ ยงานและจดั ประชมุ อย่างน้อย 1 คร้ัง
23 เพอื่ กาหนดขอบเขตของข้อมูล
24 2. จัดทาพจนานุกรมข้อมูล (Data Dictionary) ของชดุ ขอ้ มลู
25 3. จดั ทาคาอธบิ ายชุดข้อมลู (Metadata)

รายงานการประชุมกรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ ครั้งที่5/2564 วันที่ 25 กุมภาพันธ์ 2564

5

1 4. จดั ทาแนวปฏิบตั สิ าหรบั ชุดข้อมลู (Dataset Guideline) โดยคานึงถึง Data Security, Data Privacy และ Data
2 Quality
3 ผลการดาเนนิ งานในไตรมาส 1 และ 2
4 • ประกาศกรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ เร่ืองนโยบายธรรมาภบิ าลข้อมลู ภาครัฐ พ.ศ. 2564
5 • ประกาศกรมวทิ ยาศาสตร์การแพทย์ เรื่องธรรมาภบิ าลข้อมูลภาครัฐ พ.ศ. 2564
6 • คาสั่งกรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ ที่ 534/2564 เรื่อง แตง่ ต้ังคณะกรรมการธรรมาภิบาลข้อมูล
7 • คาสั่งคณะกรรมการธรรมาภบิ าลข้อมลู ท่ี 001/2564 เร่ือง แต่งตั้งทีมงานบริกรข้อมูล (Data Steward Team)
8
9 มติที่ประชุม ทีป่ ระชุมรบั ทราบ ประธานให้ข้อเสนอแนะวา่ การนาระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศมาปรับใช้ใน
10 การทางาน ถือเปน็ ระบบบริหารท่ีจาเปน็ ในระดับชาติ ซึ่งอาจมีปัญหาบา้ งในช่วงแรก จึงขอใหผ้ ูบ้ ริหารทกุ หนว่ ยงานให้
11 ความรว่ มมือในการรายงานข้อมลู สาหรบั ผู้พฒั นาโปรแกรมใหค้ านงึ ถึงความสามารถและความสะดวกในการเข้าใชง้ าน
12 รวมถึงความปลอดภัยของระบบ
13
14 3.2 เรื่องจาก CHRO
15 3.2.1 เรอ่ื ง การเพมิ่ ศักยภาพการตรวจวเิ คราะห์ทางห้องปฏิบัตกิ าร Covid โดยการจ้างเหมาบรกิ าร
16 โดย CHRO
17 เป็นแผนตามเดมิ ปริมาณงานและกาลงั คน เหมาะสม ตามจานวนจ้างเหมาบริการบุคคลทแ่ี ตล่ ะหนว่ ยงานไดร้ ับ
18

19 วันท่ี 25 กุมภาพนั ธ์ 2564

รายงานการประชุมกรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ คร้ังท่ี5/2564

6

1
2
3 มติทีป่ ระชมุ ท่ีประชมุ รบั ทราบ มอบรองอธิบดีฯนพ.บลั ลังก์ อุปพงษ์ ทบทวนร่วมกบั หน่วยงานท่เี กี่ยวข้อง
4 อีกคร้ังเน่อื งจากเมื่อมีการนาเข้าวคั ซนี แลว้ อาจต้องมีการปรับแผนรองรับในระยะยาว และรว่ มกันพจิ ารณาตาม
5 ความจาเป็นและตามภูมศิ าสตร์ของแตล่ ะพ้ืนท่ีแนวทางการดาเนินการคือ ภาพรวมมีแนวทางรว่ มกัน การบรหิ าร
6 จัดการหนว่ ยงานดาเนินการเอง
7
8 วาระที่ 4 เรอ่ื งสืบเนอื่ งจากการประชุม
9 4.1 การติดตามการใชจ้ า่ ยงบประมาณ ประจาปี งบประมาณ พ.ศ. 2564
10 ผแู้ ทนฝ่ายคลงั ได้สรุปการบริหารงบประมาณ ประจาปีงบประมาณ 2564 (ณ วันที่ 19 กพ.64) เงนิ งบประมาณที่ไดร้ ับ
11 จัดสรรตาม พรบ. 1,388,772,800 บาท รับจัดสรรงบประมาณ งวดท่ี1 767,089,800 บาท คดิ เป็น 55.24% โอนเงิน
12 เบิกแทนกันให้ สป.สธ เบิกแทน (1,000,000) บาท เบกิ จ่ายสะสม 425,140,848.19 บาท รอ้ ยละ 30.61 การเบิกจา่ ย
13 ภาพรวมตามตัวช้ีวัด 3.1 เป้าหมายการเบิกจ่าย 44.31% เบิกได้ตามเป้า 10 หน่วยงาน ภาพรวมกรมวิทย์เบิกได้
14 รอ้ ยละ 30.61 ซ่ึงตา่ กว่าเป้าหมาย 13.70% อยากให้หน่วยงานตา่ งๆ เร่งรัดในการเบิกจ่ายงบประมาณท่ีได้รับจัดสรร
15 มาในงวด 1 เบิกจ่ายงบลงทนุ ตามตัวช้ีวดั 3.2 เป้าหมาย 33.99% ภาพรวมกรมวิทยเ์ บิกไดร้ อ้ ยละ 16.49%
16

17 วันที่ 25 กมุ ภาพนั ธ์ 2564

รายงานการประชุมกรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ ครั้งท่ี5/2564

7

1 เบิกจ่ายภาพรวมของกระทรวง กรมวิทย์ฯ เบิกจ่ายได้เป็นลาดับท่ี 7 ร้อยละ 30.61 การกันเงินไว้เบิกเหลื่อมปี
2 ณ 19 กพ.64 ท้ังส้ิน 23,736,409.86 บาท เบิกจ่าย 19,632,726.11 บาท แบ่งเป็น งบดาเนินงาน 1,522,949.86 บาท
3 เบกิ จ่าย 1,379,266.11 บาท งบลงทนุ 22,213,460 บาท เบกิ จา่ ย 18,253,460.00 บาท
4 หมายเหตุ 1 รายการของ สมป. กาหนดสง่ มอบ 25 มีนาคม 64
5 -โครงการพัฒนาระบบ Mobile Application Platformเพ่ือบริการข้อมูลของกรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ ศทส.
6 งวดท่ี 3 = 3,960,000 บาท ครบกาหนดสง่ มอบงาน 10 ก.พ.64 (อย่รู ะหว่างส่งมอบงานและตรวจรบั )
7 การบริหารงบประมาณ พรก. เงินกู้ COVID -19 ณ 19 กพ.64 กรมวทิ ย์ฯ ได้รับงบประมาณ จดั สรร 101,837,200.00 บาท
8 เบิกจา่ ย 36,554,808.84 บาท ร้อยละ 35.90 คงเหลอื 20,957,320.86 บาท สถานะเงินบารุงกรม ณ วันที่ 18 กพ.64
9 ยอดยกมา ณ 30 กย.63 447,752,444.20 บาท รายรับ ตค.63- 18 กพ.64 227,281,089.55 บาท รายจ่าย ตค.63-18 กพ.64
10 170,254,426.18 บาท คงเหลือ ณ 18 กพ.64 ยอด 504,779,107.57 บาท ภาระผกู พันถงึ สิ้นปี 235,642,945.37 บาท
11

12
13

14 วนั ท่ี 25 กมุ ภาพนั ธ์ 2564

รายงานการประชุมกรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ คร้ังท่ี5/2564

8

1 รายละเอียดลูกหน้ีคงค้าง ณ 31 มค.64 95.42 ล้านบาท ลกู หน้ีภาครฐั 92.98 ลา้ นบาท ลูกหน้ภี าคเอกชน 2.44 ลา้ นบาท
2 ลกู หนท้ี ี่คาดว่าจะเรยี กเก็บได้ 21.08 ล้านบาท
3
4 มติทปี่ ระชุม ที่ประชมุ รบั ทราบ ประธานมขี อ้ สงั่ การดงั น้ี
5 1. ให้ผูบ้ รหิ ารทกุ หนว่ ยงานเรง่ รดั การเบิกจ่ายเงนิ งบประมาณ และพรก.เงินก้กู ่อน สว่ นเงนิ บารุงใหเ้ บิกจา่ ยทหี ลังได้
6 2. มอบฝา่ ยคลังและกองแผนฯบริหารจดั การงบประมาณสาหรบั พรก.เงินกู้ ทีเ่ ป็นเงินเหลือจ่ายจากงบลงทุน
7 มอบกองแผนงานฯประสานว่าสามารถนามาใช้เหมือนเงนิ งบประมาณหรือไม่
8 3. สาหรับยอดเงินลูกหนี้คงค้าง มอบผู้บริหารหน่วยงานติดตามหรือตรวจสอบให้มีความชัดเจน และสามารถติดตาม
9 เรยี กเก็บได้ และเรง่ การติดตามหน้ีคงค้างจากการตรวจ COVID-19 เนื่องจากงบประมาณมีจากัด โดยเฉพาะที่เบิกจาก
10 กรมควบคมุ โรค
11 4. มอบกองแผนฯสื่อสารทาความเข้าใจเร่ืองการเบิกจ่ายการตรวจ COVID-19 โดยเฉพาะการส่งตรวจยืนยัน และ
12 ขอให้ ศวก.ตรวจสอบความจาเปน็ การตรวจยนื ยันในพ้นื ที่ กรณีท่มี ีการตรวจ 2 คร้ังแล้ว ซง่ึ จะไม่สามารถเบิกจา่ ยจาก
13 สปสช.ไดจ้ ะกระทบกับงบกลางโควิดที่ได้รบั จดั สรร
14
15 4.2 งบลงทนุ ปี 2564
16 ผอู้ านวยการกองแผนงานและวิชาการ นาเสนอ งบลงทนุ ทไี่ ดร้ บั จัดสรร ประจาปงี บประมาณ พ.ศ.2564
17 ตาม พ.ร.บ. งบประมาณ 2564 ครภุ ณั ฑ์ 80 รายการ ทด่ี ินและสิ่งก่อสรา้ ง 8 รายการ
18 ตาม พ.ร.บ. เงินกู้ ครภุ ัณฑ์ 46 รายการ รวมท้งั สน้ิ 134 รายการ
19

20
21

22 รายการตาม พ.ร.บ. งบประมาณ 2564 ท่ยี ังไม่ลงนามสัญญา

23  จานวน 1 รายการ เปน็ เงนิ 184.9899 ลบ. (41.4%) ได้แก่

24 สานกั งานเลขานกุ ารกรม อาคารหอ้ งปฏบิ ัติการและทดลอง (MSI) งบประมาณ 184.9899 ลา้ นบาท

รายงานการประชุมกรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ ครั้งท่ี5/2564 วนั ท่ี 25 กุมภาพนั ธ์ 2564

9
1 ได้ผู้ขาย/ผ้รู บั จ้างเม่อื วนั ท่ี 10 ก.พ.64 ขณะนี้อยูร่ ะหวา่ งให้สานกั งบประมาณพิจารณาอนุมัติแบบรูปและวงเงิน
2 สรุปภาพรวมการเบกิ จา่ ยงบลงทุน ประจาปีงบประมาณ พ.ศ.2564

3
4

5
6
7 รายการตาม พ.ร.ก. เงนิ กู้ ทย่ี งั ไม่ลงนามสญั ญา
8  จานวน 1 รายการ เปน็ เงนิ 1.070 ล้านบาท ไดแ้ ก่ สานกั รังสแี ละเครื่องมือแพทย์
9  รายการ เครื่องทดสอบความกระชับใบหน้าของหน้ากาก งบประมาณ 1.070 ลบ.
10 หมายเหตุ มผี ู้ยน่ื อทุ ธรณ์ สานักรังสีฯ ส่งเรื่องให้คณะกรรมการพจิ ารณาขอ้ อุทธรณแ์ ละข้อรอ้ งเรยี น กรมบญั ชกี ลาง
11 และเมอ่ื วนั จนั ทรท์ ่ี 25 มกราคม 2564 ได้รบั การติดต่อกลับจากคณะกรรมการพจิ ารณาข้ออุทธรณ์และ ข้อร้องเรียน
12 ว่าได้นาเร่อื งเขา้ ทป่ี ระชมุ ของคณะฯ แลว้ ให้รอผลการพิจารณาตอบกลบั มาทก่ี รมวทิ ย์

รายงานการประชุมกรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ ครั้งท่ี5/2564 วันที่ 25 กมุ ภาพันธ์ 2564

10

1
2
3 งบลงทุนท่ีไดร้ บั จดั สรร ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564

4
5
6 กระบวนการจัดสรรงบลงทุนเหลอื จา่ ย ปีงบประมาณ 2564

7
8
9 มติที่ประชุม ที่ประชุมรับทราบ ประธานแจ้งให้หน่วยงานท่ีได้รับงบประมาณเหลือจ่าย ต้องดาเนินการ
10 เบิกจ่ายใหแ้ ล้วเสร็จภายใน 31 มีนาคม 2564
11
12
13
14

รายงานการประชุมกรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ ครั้งที่5/2564 วันที่ 25 กุมภาพนั ธ์ 2564

11

1 4.3 ระบบบริหารจดั การคณุ ภาพ
2 ผ้จู ัดการคณุ ภาพกรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ นาเสนอ ดงั น้ี การปรบั ชอื่ วิธที ดสอบแตล่ ะดา้ นสาหรับ ILAB II& III
3 การปรบั ชอ่ื วธิ วี ิเคราะหร์ องรบั I LAB PLUS (ข้อมลู ณ วันที่ 18 ก.พ.64)
4

5
6
7 Timeline การขอรับรอง ISO 27000:2018, 27001:2013:27002:2003 กรมวทิ ยาศาสตร์การแพทย์

8
9

10 การขอรบั รอง ISO 27000:2018, 27001:2013:27001:2003 Training & workshop

11 มกราคม 2564

12 • การอบรมทาความเข้าใจข้อกาหนด ISO 27000 Series (24กพ 2564)

13 • Risk Assessment & Select Control Traing(1 วัน)

14 • BCP Business Continuity Plan Training (1 วัน)

15 • Internal Quality Audit Training (1วนั )

16 มนี าคม 2564

17 • SQA preparation

18 • Documentary preparation

19 • Implementation and Follow up

20 • Pre-audit Consultant

รายงานการประชุมกรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ คร้ังที่5/2564 วนั ท่ี 25 กมุ ภาพันธ์ 2564

12

1 ท้ังนีเ้ รยี นเชิญผูบ้ รหิ าร ผจู้ ดั การคณุ ภาพ DIO และนักวชิ าการคอมพิวเตอรเ์ ข้าร่วมการอบรม “ ขอ้ กาหนดตามมาตรฐาน
2 ISO/IEC 27001:2013 ระบบบริหารจัดการความปลอดภัยสาหรับสารสนเทศ” ในวันพุธที่ 24 กุมภาพันธ์ 2564 ณ ห้อง
3 ประชุม 801 อาคาร 8 ช้นั 8 วิทยากร โดยอาจารยป์ ัทมกร คณุ ากรจติ ติรกั ษ์
4
5 มติทีป่ ระชมุ ท่ีประชุมรับทราบและเห็นชอบ ประธานเห็นควรให้ผู้บริหารเข้าร่วมการอบรมขอ้ กาหนดตาม
6 มาตรฐาน ISO/IEC 27001:2013 เพอ่ื ความเขา้ ใจที่ถกู ตอ้ งตรงกนั
7
8 4.4 ความกา้ วหนา้ แผนปฏิบัติการบรู ณาการจโี นมกิ ส์ประเทศไทย
9 ผอู้ านวยการกองการแพทยจ์ ีโนมิกส์และสนับสนนุ นวตั กรรม
10 1. สรุปการประชุมคณะอนกุ รรมการพัฒนามาตรฐานบริการการแพทย์ก้าวหน้า ครงั้ ท่ี 2/2564 วนั ที่ 18 กุมภาพันธ์ 2564
11 • ประเด็นเพื่อพิจารณา – มีการเสนอใหม้ ีการประกนั คณุ ภาพหอ้ งปฏิบตั กิ ารเป็นขอ้ กาหนดให้มาตรฐานบรกิ ารฯ
12 แตภ่ ายใต้ พรบ.สถานพยาบาลไมส่ ามารถบงั คบั ให้สถานพยาบาลมีการประกนั คุณภาพของหอ้ งปฎิบัติการได้
13 • เนื่องจาก การประกันคณุ ภาพห้องปฏิบัติการไมม่ ีฐานกฎหมายทบี่ ังคับใหส้ ถานพยาบาลต้องดาเนินการ ปัจจุบันการ
14 ประกันคุณภาพห้องปฏิบัติการเป็นไปตามความสมคั รใจ และเป็นกลไกเพื่อให้ความมั่นใจกับผู้รับบริการ และเป็นช่อง
15 โหว่ทางกฎหมายทีท่ าใหไ้ มส่ ามารถบงั คบั ให้สถานพยาบาลดาเนินการเพ่ือใหห้ ้องปฏิบตั ิการมคี ุณภาพได้
16 • คณะอนุกรรมการฯ มอบให้สภาเทคนิคการแพทย์ร่วมกับกรมวิทย์ฯ ไปหารือแนวทางให้เกิดความมั่นใจว่า
17 สถานพยาบาลทีจ่ ะให้บริการเวชศาสตรจ์ ีโนมจะมีแนวทางเพ่อื ใหผ้ ู้รบั บริการมนั่ ใจในคณุ ภาพของผลการตรวจ
18 2. สรปุ จากงานเสวนา “ประเทศไทยส่กู ารเป็นผู้นาดา้ นการแพทยเ์ ฉพาะบุคคล แห่งภูมิภาคเอเชียแปซิฟกิ ” 18 กุมภาพนั ธ์ 2564
19 • โครงการ Future Proofing Healthcare ประกอบด้วยคณะนักวิชาการช้ันนาผู้ทรงคุณวุฒิ 15 ท่านจากทั่วภูมิภาคเอเชีย
20 แปซิฟิกได้จัดทา ดัชนีประเมินความพร้อมการดูแลสุขภาพและการรักษาแบบจาเพาะบุคคล สาหรับประเมินความพร้อมของ
21 ระบบสุขภาพของประเทศต่างๆ ในภมู ภิ าคเอเชียแปซิฟกิ จานวน 11 ประเทศ รวมประเทศไทย เพอ่ื นามาปรับใชแ้ ละพัฒนาการ
22 ดูแลสุขภาพและการรักษาแบบจาเพาะบุคคล
23 • ดชั นีดังกล่าว สะท้อนว่าประเทศไทยอยู่ในระยะเปล่ียนผ่านไปส่กู ารดแู ลสุขภาพและการรักษาแบบจาเพาะบุคคล และเผชิญ
24 ความท้าทายจากความเหล่ือมลา้ ระหว่างเมอื งและชนบท รวมถงึ การผลติ โครงสร้างพนื้ ฐานด้านดิจิตอล
25 • ประเทศท่ีมีความพร้อมสูงสุด 3 ลาดับแรกในภูมิภาคเอเชียแปซิฟิก ได้แก่ สิงคโปร์ ไต้หวัน และญี่ปุ่น ส่วนประเทศไทยได้
26 คะแนนรวมอยอู่ ันดบั ที่ 7 ซ่งึ ยังนบั ว่าตา่ กว่าคา่ เฉล่ียรวมของกลุ่ม ขณะทป่ี ระเทศอินโดนีเซยี ได้คะแนนรั้งท้าย
27 • ข้อเสนอแนะเพื่อพฒั นา Personalised healthcare ในภมู ิภาค
28 • สนบั สนุนใหเ้ กดิ การศกึ ษาวจิ ัยเพื่อให้ไดข้ อ้ มูลการแพทย์บคุ คล
29 • พฒั นายทุ ธศาสตร์ด้านการแพทย์เฉพาะบคุ คล โดยมเี ปา้ หมาย แผน และตวั ชวี้ ัดทชี่ ดั เจน
30 • สนับสนนุ ใหม้ กี ารเกบ็ ข้อมูลที่เป็น real world data เพ่อื สนับสนนุ เชิงนโยบาย
31 • สนับสนุนให้เกิดความตระหนักรดู้ า้ นการแพทยด์ ิจิตัลในประชาชน
32 • สนับสนุนความร่วมมอื ระหว่างสหสาขาวชิ าดา้ นการแพทย์และสาธารณสุข
33 • สนบั สนุนงบประมาณเพอ่ื การพฒั นานวัตกรรมสาหรบั ตอบโจทยก์ ารแพทย์เฉพาะบุคคล
34 3. การอบรมเชงิ ปฏิบตั กิ ารโครงการจโี นมิกส์ ประเทศไทย : การถอดรหัสพันธุกรรมท้ังจีโนมในผู้ป่วยชาวไทย 50,000 ราย
35 สาหรับผู้ประสานงานโครงการวิจัย วันที่ 11-12 มกราคม 2564
36 • ทีมGenomics Thailand ของกรมฯ ได้จัดอบรมเชิงปฏิบัติการ เพ่ืออบรมกระบวนการทางานให้แก่ผู้ประสานงาน
37 ของโครงการฯ

รายงานการประชุมกรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ คร้ังที่5/2564 วนั ที่ 25 กุมภาพนั ธ์ 2564

13

1 4. ความกา้ วหนา้ การลงพืน้ ทเี่ กบ็ ตวั อยา่ งโครงการวจิ ยั และพัฒนานวตั กรรมรองรบั การระบาดของโรคโคโรนา่
2 สายพันธุ ใหม่ 2019 (COVID-19)
3 • ทีมกรมวิทย์ฯ ประกอบดว้ ยบุคลากรจากกองการแพทย จีโนมิกส์ฯ และสถาบันชีววิทยาศาสตร์ทางการแพทย์ ได้ลง
4 พ้นื ที่ตลาดกลางกุ้ง จังหวดั สมุทรสาคร เม่อื วนั ที่ 22 มกราคม 2564
5 • เก็บตวั อยา่ งเลือดได้ท้ังสนิ้ 876 ราย (ไทย 32 พมา่ 844 ราย)
6 5. ความก้าวหนา้ การดาเนนิ งานสกัดสารพนั ธกุ รรมสาหรับ โครงการจีโนมิกส์ ประเทศไทย
7 ผลการดาเนนิ งานล่าสุด รับตวั อยา่ งแล้ว 276 ตัวอยา่ ง สกดั แลว้ 270 ตัวอยา่ ง
8 ผา่ น QC = 219/270 ตัวอยา่ ง (81.11%)
9 6. ผลการประกวดราคาอเิ ล็กทรอนกิ ส์ เครอ่ื งสกดั กรดนวิ คลอิ ิกแบบอตั โนมัต
10 • กองการแพทย์จีโนมิก์ฯ มีความประสงค์ จัดซื้อครุภัณฑ์ เคร่ืองสกัดกรดนิวคลิอิกแบบอัตโนมัติเพ่ิมเติม เพื่อเพ่ิม
11 ศกั ยภาพใหร้ องรับการสกัดดีเอน็ เอใหไ้ ด้อย่างน้อย 10,000 ตวั อย่างตอ่ ปี
12 • ปี 2564ได้รบั งบลงทุน วงเงิน 5 ลา้ นบาท ใหจ้ ัดหาเพ่ิมเติม
13 • จดั ประชุมผู้เชีย่ วชาญ ลงมตใิ ห้จัดซือ้ โดยวธิ คี ัดเลือก โดยเชญิ บรษิ ัทท่ไี ดค้ ะแนน
14 Price-Performance ดีที่สุด 3 อนั ดับแรกในการประกวดราคาปี 2563 ได้แก่
15 1) บริษทั Perkin-Elmer
16 2 ) บรษิ ัทไบโอดไี ซน (เสนอผลติ ภณั ฑ์ ของ Qiagen)
17 3) บริษทั DKSH (เสนอผลิตภณั ฑ์ ของ Roche)
18 • E-bidding ปี 64 รอบแรกมผี ูเ้ สนอราคา 2 ราย เสนอราคาเท่ากัน จงึ เรยี กใหเ้ สนอราคาใหม่
19 • ผชู้ นะราคาในการเสนอใหม่ ได้แก่ บริษัทไบโอดีไซน (ผลติ ภณั ฑ์ Qiagen) เสนอราคา 1.8 ลา้ นบาท
20 ปฏทิ นิ กิจกรรมสาคญั
21 • การประชมุ คณะอนุกรรมการกากับทิศแผนปฏบิ ตั ิการบรู ณาการจีโนมิกส์ ประเทศไทย
22 • วันที่ 11 มีนาคม 2564 ณ หอ้ งประชมุ สถาบันวิจัยระบบสาธารณสขุ
23 • ประชุมวิชาการประจาปีของสมาคมมนษุ ยพนั ธุศาสตร์ ในธมี “ปฐมบทจีโนมิกส์ ประเทศไทย”
24 • ระหวา่ งวันท่ี 24-25 มิถุนายน 2564 ณ โรงแรมพลู แมนคิงพาวเวอร์ ซอยรางน้า
25 • งานวันโรคหายาก (Rare Disease Day)
26 • วนั ท่ี 28 กมุ ภาพนั ธ์ 2564 9.00-16.00 น. ณ โรงแรมเซน็ ทารา ศนู ย์ราชการแจง้ วัฒนะ และ Facebook Live
27
28 มติที่ประชุม ประชุมรับทราบ เนื่องจากมีงบประมาณที่เก่ียวข้องกับแผนจีโนมิกส์หลายส่วน และเกี่ยวข้อง
29 กบั หลายหน่วยงาน เช่น กรมสนับสนุนบริการสขุ ภาพ บทบาทของกรมจึงตอ้ งชัดเจน
30 - กรณีที่หนว่ ยงานอ่นื เปดิ ให้บริการเวชศาสตรจ์ ีโนม ขณะนี้ยังไม่มพี รบ.หอ้ งปฏบิ ตั ิการฯ ซ่ึงภายใต้พรบ.สถานพยาบาล
31 ไม่สามารถบังคับให้มีการประกันคุณภาพห้องปฏิบัติการ กรมฯจึงควรหารือแนวทางในการประเมินระบบคุณภาพ
32 ตอ่ ไป
33
34
35
36
37

รายงานการประชุมกรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ ครั้งที่5/2564 วนั ท่ี 25 กมุ ภาพันธ์ 2564

14

1 4.5 แนวทางการรบั รองหอ้ งปฏิบตั ิการตรวจ HPV DNA Testing ,Down Syndrome,TB LAMP
2 ประเด็นคาถาม โดย ผู้อานวยการศูนยว์ ทิ ยาศาสตรก์ ารแพทยท์ ี่ 9 นครราชสีมา
3 มติที่ประชุม การเปิดบริการตรวจวิเคราะห์ HPV ,Down Syndrome, TB LAMP ต้องมีการทบทวนความคุ้มค่าของ
4 การลงทุน ในส่วนการรับรองมาตรฐาน/การขึ้นทะเบียนตามขอ้ กาหนดการเบิกจ่ายของ สปสช. หน่วยงานที่ไดร้ ับการ
5 รับรองแล้ว (ISO , LA, MOPH) ใหด้ าเนนิ การตอ่ ไปได้เลย สาหรบั หนว่ ยงานท่ียังไมไ่ ดร้ บั การรับรองตอ้ งมกี ารผา่ นการ
6 ทดสอบความชานาญก่อน ประธานมอบหน่วยงาน สวส./สมป./ผู้ท่ีเกี่ยวข้อง หารือกันให้ได้แนวทางการดาเนินงานที่
7 ชัดเจน เพ่อื สอื่ สารให้หนว่ ยงานอืน่ ๆ เข้าใจและดาเนินการได้อย่างถกู ต้อง
8
9 วาระท่ี 5 เรือ่ งเพอ่ื พิจารณา (ไม่ม)ี
10
11 วาระท่ี 6 เรื่องแจง้ เพือ่ ทราบ
12 6.1 รายงานผลการดาเนินงานการขึน้ ทะเบียนหนว่ ยเจาะเลือดนอกโรงพยาบาลเพ่ือลดความแออัดย
13 ผู้อานวยการสานกั มาตรฐานห้องปฏบิ ตั กิ าร
14
15 Timeline โครงการลดความแออัดทางหอ้ งปฏิบตั ิการ
16

17
18
19 แนวทางการบริหารจดั ากรบริหารตรวจทางห้องปฏิบตั ิการนอกหน่วยบรกิ าร (นาร่อง)
20 กลมุ่ เปา้ หมาย : กลุ่มผปู้ ่วย NCDs รายเก่า สิทธิ UC
21 ปี 2564 (Phase 1)
22 พ้ืนทีเ่ ป้าหมาย ดาเนนิ การนารอ่ งในพื้นท่ีตามขอ้ เสนอของกระทรวงสาธารณสขุ (20 รพ.)
23 ขอบเขตบริการ บริการเจาะเลือด เก็บตัวอย่าง และการนาส่งตัวอย่าง จากห้องปฏิบัติการนอกหน่วยบริการที่เป็น
24 เครอื ข่ายของหนว่ ยบรกิ ารนารอ่ ง
25 อตั ราการจ่าย จ่ายให้หน่วยบริการทีส่ ่ังเก็บตัวอย่าง/เจาะเลือด จ่ายเฉพาะบริการเจาะเลอื ด/เกบ็ สิ่งส่งตรวจและการ
26 ขนส่งอตั รา 80 บาท /คร้งั
27

รายงานการประชุมกรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ คร้ังท่ี5/2564 วันที่ 25 กมุ ภาพันธ์ 2564

15

1 ปี 2565 (Phase 2)
2 พ้นื ทีเ่ ป้าหมาย ขยายพน้ื ทแ่ี ละหนว่ ยบริการเป้าหมาย
3 ขอบเขตบริการ เพ่มิ เตมิ การบริการตรวจทางหอ้ งปฏิบัติการ
4 อตั ราการจา่ ย เพมิ่ เตมิ การจ่ายค่าตรวจทางห้องปฏบิ ัตกิ าร
5 แผนการดาเนินงานในปีงบประมาณ 2564
6 • ดาเนินการ ใน 13 เขตสุขภาพ
7 • เป้าหมายที่จะดาเนินการ 20 โรงพยาบาลในทุกเขตสุขภาพ คัดเลือกจากโรงพยาบาลมีความแออัดในการให้บริการ
8 สูงร่วมกับการรับยาใกล้บ้าน
9 • งบประมาณ 20 ล้านบาท โดยเบิกผ่านระบบ E Claim ของ สปสช.
10 ความก้าวหน้าการดาเนินโครงการลดความแออัดทางห้องปฏบิ ตั ิการ
11  โรงพยาบาลท่ีเริ่มดาเนินการแลว้ 11 แห่ง (รพ.นาร่อง จานวน 20 แหง่ )
12  มี รพ.ท่ีชะลอการดาเนินการเน่อื งจากสถานการณ์ COVID-19 จานวน 9 แหง่
13

14
15

16 โปรแกรมประเมินผลและข้นึ ทะเบียนหน่วยบรกิ ารนอกโรงพยาบาล
17  วันท่ี 25 กุมภาพันธ์ 2564 สมป.จัดอบรมการใช้โปรแกรมข้ึนทะเบียนหน่วยบริการนอกโรงพยาบาลให้กับ

18 สสจ.ผตู้ รวจประเมินและผทู้ ่เี ก่ียวขอ้ ง
19  โปรแกรมเสรจ็ สมบรู ณ์ พรอ้ มใช้งานได้ เดอื นมนี าคม 2564
20  มีค – มิย 64 เกบ็ ข้อมูลการใชง้ านและประเมินความพึงพอใจของประชาชน
21  นาเสนอรายงานผลการดาเนนิ งาน สค 64

22

รายงานการประชุมกรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ คร้ังที่5/2564 วันท่ี 25 กุมภาพันธ์ 2564

16

1
2 มติท่ีประชุม ที่ประชุมรับทราบ และให้สื่อสารนโยบายนี้กับโรงพยาบาลนาร่องให้ชัดเจนรวมถึงการเบิกจ่าย
3 งบประมาณจาก สปสช.ด้วย เนอ่ื งจากเปน็ ประโยชน์ตอ่ ผเู้ ข้ารับบรกิ ารและสอดคลอ้ งกบั สถานการณ์โควิด
4
5 6.2 สรปุ คา่ ใช้จ่ายการจัดงาน DMSc Happy Workplace New Normal DMSc
6 เลขานุการกรม รายงานดังน้ี
7 ตามท่ีกรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ อนุมัติให้คณะอนุกรรมการกีฬาและนันทนาการและสานักงานเลขานุการกรม
8 จัดงาน “ DMSc Happy Workplace : New Normal DMSc” กิจกรรมประกอบด้วยการจับฉลากของขวัญปีใหม่
9 สาหรับเจ้าหน้าท่ี กีฬาสี และจัดประกวดหน้ากากอนามัย DMSc ซึ่งดาเนินการเสร็จสิ้นแล้ว โดยใช้เงินสวัสดิการ
10 กรมวทิ ยาศาสตร์การแพทย์ จานวนทง้ั ส้นิ 150,010 บาท ตามรายการดงั น้ี
11 1) คา่ กจิ กรรมกฬี าสี 56,000 บาท
12 2) เงินรางวัลปีใหมส่ าหรบั เจ้าหน้าที่ (เงนิ สด) 50,000 บาท
13 3) เงนิ รางวัลสาหรับผู้ชนะการประกวดหน้ากากผ้า (เงินสด) 6,010 บาท
14 4) ค่าเส้ือ 38,000 บาท
15
16 มติทปี่ ระชุม มอบเลขานุการกรมพจิ ารณาระเบียบสาหรบั จดั ทาเสอ้ื ปฏบิ ตั ิการนอกเครอ่ื งแบบของกรมฯ
17 (เส้อื กกั๊ ) สาหรับการลงตรวจเยยี่ มพน้ื ที่
18
19 6.3 ผลการวิเคราะห์สถานการณ์ข่าวทเ่ี ก่ยี วขอ้ งกับกรมวทิ ยาศาสตร์การแพทย์
20 ผูแ้ ทนฝา่ ยประชาสัมพันธ์ นาเสนอดงั น้ี
21 ข่าวท่ีเกี่ยวข้องกับกรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ท่ีติดตามได้มีจานวน 524 ครั้ง/ชิ้นข่าว แบ่งเป็นข่าวเผยแพร่/
22 สมั ภาษณ์/ภาพข่าวเผยแพร่ 16 เรื่อง จานวน 238 ชิ้นข่าว ขา่ วทีเ่ ก่ยี วข้อง 29 เรอ่ื ง จานวน 286 ชิ้นขา่ ว
23
24 มตทิ ี่ประชุม ประธานเสนอแนะสาหรับประเดน็ การส่ือสารแจ้งเตือนภัย ควรแสดงเนือ้ หาท่ัวไป ใช้ภาษาที่
25 ประชาชนเข้าใจงา่ ย และไมร่ ะบุประเด็นท่สี ุ่มเสย่ี งกับการถกู ฟ้องรอ้ งหรือประเดน็ ที่ละเอยี ดอ่อน
26 - กรณีจังหวัดต่างๆ ได้จัดบุคลากรทางการแพทย์มาช่วยในพื้นที่จังหวัดสมุทรสาคร ซึ่งเป็นประโยชน์และถือ
27 เป็นการสร้างประสบการณ์สาหรับผู้ปฏิบัติงาน ประธานเสนอให้ผู้บริหารหน่วยงานพิจารณาจัดสรรบุคลากรกรมฯใน
28 การลงพืน้ ทีร่ ว่ มกบั หน่วยงานอื่น

รายงานการประชุมกรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ ครั้งท่ี5/2564 วันที่ 25 กุมภาพนั ธ์ 2564

17

1 7. เรอ่ื งอื่น ๆ
2 7.1 การดาเนนิ งานอาหารปลอดภัย กรมวิทยาศาสตรก์ ารแพทย์ โดย ผ้อู านวยการสานักคุณภาพและความปลอดภยั อาหาร
3 การตรวจวิเคราะห์อาหารท่ีมีส่วนประกอบของกัญชาและกัญชง
4

5
6

7 การพัฒนาความสามารถห้องปฏบิ ัติการ

8 กรมวทิ ยาศาสตรก์ ารแพทย์ ร่วมกับ ดา่ นอาหารนาเขา้ อย. ด่านตรวจประมง กรมประมง สภาอุตสาหกรรม ตลาดปลา

9 สหกรณ์ และบริษัทเอกชน ตรวจเฝ้าระวังการปนเปื้อนเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ในอาหารและบรรจุภัณฑ์ ไม่พบการ

10 ปนเป้อื นทุกอย่าง

11 21 มค. 64 ตรวจปลาแซลมอน ปลาทูนา่ กงุ้ แช่แข.็ หมกึ แช่แข็ง กลอ่ งบรรจุภณั ฑ์ และกระป๋อง 8 ตวั อย่าง

12 11 มค. 64 สมุ่ ตรวจสินค้าสัตวน์ า้ ในเรอื ด่านประมง จ.ระยอง 3 ตวั อยา่ ง

13 7 มค. 64 ตรวงอาหาร ตลาดปลาสหกรณ์ประมงแมก่ ลอง จ.สมทุ รสาคร 26 ตวั อย่าง

14 พย.-ธค 63 สุ่มตรวจอาหารทะเล เขตกรุงเทพฯ นนทบุรี ปทมุ ธานี 80 ตวั อย่าง

15 พัฒนาขยายขอบเขตชนิดตัวอย่าง อาหารพร้อมบริโภค ซูชิทั้งคา ไอศกรัม วนิลา กาแฟ และช็อคโกแลต ท่ีมีไขมันไม่

16 เกนิ ร้อยละ 10

17 การสารวจและร่วมมือกับหนว่ ยงานพ้ืนท่ี การคัดกรองเชงิ รุง ณ ตลาดบางใหญ่ เมอ่ื 18 กพ.64

18 กลมุ่ พอ่ ค้าแมค่ า้ และแรงงาน 430 ราย พบเชื้อ 4 ราย ร้อยละ 0.9 เปฯ็ รายเก่า (ซากเช้ือ) 3 ราย

19 พบรายใหมเ่ พยี ง 1 ราย คิดเป็นรอ้ ยละ 0.23 เปน็ แรงงานชาวกมั พูชา แต่ไม่ได้มาทางานต้งั แต่ 1 กพ.64

20 วันเสาร์ที่ 20 กุมภาพนั ธ์ 2564

21  ได้ส่งชุด VTM ให้กับ สสจ. นนทบรุ ี จานวน 50 ชดุ

22  ไดร้ บั ตัวอยา่ ง swab ผวิ สัมผสั ภาชนะและอุปกรณ์ จานวน 19 ตัวอย่าง จากรา้ นคา้ ท่แี ม่ค้าติดเช้ือโควดิ -19

23 จากการสกัด RNA ด้วย taco™ และใช้ชุดนายาตรวจเชื อไวรัสโคโรนา 2019 ของ Dmsc พบว่ามีบางตัวอย่างได้แก่

24 ตะขอแขวนหมู เครอื่ งบดหมู ตรวจพบ RdRp (RNA dependent polymerase) gene แต่ไมพ่ บ N gene

25

26 มติทปี่ ระชมุ ที่ประชมุ รับทราบ

27

28

29

รายงานการประชุมกรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ คร้ังท่ี5/2564 วันท่ี 25 กมุ ภาพันธ์ 2564

18

1 7.2 ขอแสดงความยนิ ดีกับหนว่ ยงานทีไ่ ดร้ บั รางวลั องค์กรคุณธรรม คณุ ธรรมตน้ แบบ ของปีงบประมาณ 2562
2 โดย ผู้อานวยการศูนย์รวมบริการ
3 คณะกรรมการสง่ เสรมิ คุณธรรมแห่งชาติ ตามโครงการส่งเสรมิ ชมุ ชน องค์กร อาเภอ และจังหวดั คุณธรรม ปีงบประมาณ
4 พ.ศ. 2562 มีการประเมินชมุ ชน เพ่ือเปน็ ข้อมลู ในการดาเนนิ การประกาศยกย่องตามโครงการสง่ เสรมิ ชุมชน องค์กร
5 อาเภอ และจังหวดั คุณธรรม ปีงบประมาณ พ.ศ.2562 ภายใตแ้ ผนแม่บทสง่ เสรมิ คณุ ธรรมแห่งชาติ ฉบับที่ 1 (พ.ศ.2559-2564)
6 ซงึ่ หนว่ ยงานต่างๆ ของกรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ไดร้ ับเกยี รตบิ ตั ร ดังน้ี
7 หนว่ ยงานระดับคุณธรรม ประจาปีงบประมาณ พ.ศ.2562

8  สถาบันชีววัตถุ

9  สถาบันวจิ ยั วิทยาศาสตรส์ าธารณสุข

10  สานกั มาตรฐานห้องปฏบิ ัตกิ าร

11  สถาบันวจิ ัยสมุนไพร
12 หน่วยงานระดับส่งเสริมคณุ ธรรม ประจาปีงบประมาณ พ.ศ.2562

13  สานักรังสแี ละเครื่องมือแพทย์

14  สานกั คุณภาพและความปลอดภัยอาหาร

15  สถาบันชีววิทยาศาสตร์ทางการแพทย์

16  สานักเคร่ืองสาอางและวตั ถุอันตราย
17 หน่วยงานระดับคุณธรรมต้นแบบ ประจาปีงบประมาณ พ.ศ.2562

18  ศนู ยว์ ทิ ยาศาสตร์การแพทย์ที่ 7 ขอนแกน่
19 หน่วยงานระดับคณุ ธรรม ประจาปีงบประมาณ พ.ศ.2562

20  ศูนย์วทิ ยาศาสตร์การแพทย์ท่ี 1/1 เชยี งราย

21  ศูนย์วิทยาศาสตร์การแพทย์ที่ 5 สมุทรสงคราม

22  ศูนยว์ ิทยาศาสตรก์ ารแพทย์ท่ี 9 นครราชสมี า

23  ศูนย์วิทยาศาสตร์การแพทย์ที่ 11 สรุ าษฎรธ์ านี

24  ศูนย์วทิ ยาศาสตร์การแพทย์ที่ 12 สงขลา

25  ศูนยว์ ิทยาศาสตรก์ ารแพทย์ท่ี 8 อุดรธานี
26 หนว่ ยงานระดับส่งเสริมคณุ ธรรม ประจาปีงบประมาณ พ.ศ.2562

27  ศูนย์วิทยาศาสตร์การแพทย์ที่ 2 พิษณโุ ลก

28  ศนู ย์วิทยาศาสตรก์ ารแพทย์ที่ 6 ชลบรุ ี

29  ศูนยว์ ทิ ยาศาสตร์การแพทย์ท่ี 10 อุบลราชธานี

30  ศูนย์วิทยาศาสตรก์ ารแพทย์ท่ี 12/1 ตรงั

31  ศูนยว์ ทิ ยาศาสตรก์ ารแพทย์ท่ี 11/1 ภเู ก็ต

32  ศนู ยว์ ทิ ยาศาสตร์การแพทย์ท่ี 3 นครสวรรค์

33
34 มตทิ ี่ประชุม ท่ปี ระชุมรับทราบ
35

รายงานการประชุมกรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ ครั้งท่ี5/2564 วันท่ี 25 กุมภาพนั ธ์ 2564

19

1 นางสาวรสรินทร์ หมัดสมาน
2 ผจู้ ดรายงานการประชุม
3
4 นางสาวนันทวรรณ เมฆา
5 ผตู้ รวจรายงานการประชุม
6
7
8
9
10
11

รายงานการประชุมกรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ ครั้งท่ี5/2564 วนั ที่ 25 กุมภาพันธ์ 2564


Click to View FlipBook Version