The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

O13_คู่มืองานบุคลากร

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by ขุนดาบ ทนายเลือก, 2022-09-06 11:35:17

O13_คู่มืองานบุคลากร

O13_คู่มืองานบุคลากร

1

2

คาํ นํา

คูมือการบริหารงานบุคคลโรงเรียนชุมชนดอนมวงงาม ฉบับน้ี จัดทําข้ึนเพ่ือเสริมสรางความเขาใจ
ระหวางครู นักปฏิบัติการ บุคลากรในโรงเรียนในการปฏิบัติหนาท่ีใหการบริการและการจัดการศึกษาแก
นักเรียนและผูเก่ียวของทุกฝายคูมือฉบับน้ีจัดทําใหสอดคลองกับโครงสรางการบริหารงานตามแนวทางการ
กระจายอาํ นาจสสู ถานศึกษาของ สพฐ. ฝา ยบรหิ ารงานบคุ คล ไดจ ัดกรอบงานใหค รอบคลมุ กบั ภาระงานพันธ
กจิ ท่ีปฏิบตั อิ ยเู ดิมและเพมิ่ เติมใหสอดคลองกับสภาพในการจัดการศึกษา การทางการศึกษาตามแนวทางการ
ปฏริ ูปการศกึ ษาและระบบประกนั คณุ ภาพการศึกษาของกระทรวงศึกษาธิการโดยมุงหวงั วา ภาระงานท่ีปฏิบัติ
จะบรรลุตามวัตถุประสงควิสัยทัศนท่ีกําหนดไวทุกประการเปาหมายตลอดจนผูเก่ียวของทุกฝายมีความพึง
พอใจตอ การปฏบิ ัตงิ านของกลุมบรหิ ารงานวิชาการ ในระดับปฏิบัติ เพื่อเปน มาตรฐานการปฏิบัติงานไวดวย

โรงเรยี นชมุ ชนดอนมวงงาม

3

วสิ ยั ทศั น พนั ธกจิ เปาหมาย อัตลักษณ และเอกลกั ษณข องสถานศึกษา

วสิ ยั ทศั นของโรงเรยี น สานสมั พันธช มุ ชน
บรหิ ารตามหลักธรรมมาภบิ าล เปนผูนาํ ดา นวินัย
เปย มลน คณุ ธรรม เพ่ิมพูนวชิ าการกาวหนา เทคโนโลยี
พลานามัยสมบูรณ นอ มนําใสใ จหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง
มเี อกลักษณไ ทย

พนั ธกจิ
1. จัดสถานที่ในโรงเรยี น ใหส ะอาดและสวยงามปลอดภัย เปน แหลงเรยี นรูข องผูเรียนอยางแทจริง
2. โรงเรียนสงเสรมิ และพฒั นาสถานศึกษาใหม ีการจัดหลกั สูตรและกระบวนการเรียนการสอนทีเ่ นน ผเู รียน
เปนสําคญั และสง เสริมความเปน เลิศทางวชิ าการ
3. โรงเรียนจัดกจิ กรรมสง เสรมิ ใหผูเ รยี นมีสขุ ภาพท่ีดี
4. ครูจัดกิจกรรมสง เสริมใหผูเ รยี นมีทกั ษาในการแสวงหาความรู ดว ยตนเอง รกั การเรยี นรูพฒั นาตนเองอยาง
ตอเนอื่ ง มคี วามสามารถในการคิด คิดอยางเปนระบบ คดิ สรา งสรรค ตัดสนิ ใจ แกปญ หาได
5. ครูจดั กิจกรรมสง เสรมิ การมรี ะเบียบวินัย คุณธรรมจรยิ ธรรม ของบุคลากรและนกั เรียนทง้ั ในและนอก
สถานศกึ ษา
6. โรงเรียนสง เสริมใหช ุมชนมสี ว นรวมในการจัดการศึกษา เช่ือมโยงภมู ิปญญาทองถน่ิ และหลกั ปรชั ญา
เศรษฐกจิ พอเพยี ง และรกั ษาเอกลักษณความเปน ไทย
7. โรงเรียนพัฒนาส่อื เทคโนโลยี และนวัตกรรมทางการศึกษา เพ่ือพฒั นาคณุ ภาพทางการศกึ ษา

เปาประสงค
1. โรงเรียนมีแหลง เรียนรูท ่ีหลากหลายและสภาพแวดลอมสวยงาม ปลอดภัยเอ้ือประโยชนตอการจดั
กิจกรรมการเรยี นการสอน
2. สถานศกึ ษามีการจดั หลักสูตรและกระบวนการเรียนการสอนทเี่ นน ผเู รยี นเปนสําคญั
3. โรงเรยี นจัดกิจกรรมสง เสรมิ ใหผูเรียนมีสขุ ภาพดี
4. ผูเรยี นมที ักษะในการแสวงหาความรดู วยตนเอง รักการเรยี นรู และพฒั นาตนเองอยา งตอเน่ือง มงุ สอู าเซียน
5. ผเู รยี นมคี วามสามารถในการคิดอยางเปน ระบบ คดิ สรา งสรรค ตดั สนิ ใจ แกป ญหาไดอยา งมสี ติ
สมเหตสุ มผล
6. ครูทุกคนจัดกิจกรรมการเรียนการสอนท่ยี ึดผูเรยี นเปน สาํ คญั
7. ครจู ัดกิจกรรมการเรยี นการสอนท่ีสงเสริมใหนักเรยี นทุกคนมีความรูคคู ณุ ธรรม
8. โรงเรียนจัดกิจกรรมสงเสรมิ คณุ ธรรมบุคลากรท้ังในและนอกสถานท่ี ครูและนกั เรียนมีคุณธรรม จรยิ ธรรม
9. ผูม สี วนเกยี่ วขอ งทุกฝา ยมีสวนรวมในการจัดการศึกษาของสถานศกึ ษา
10. โรงเรยี นจดั กิจกรรมการเรยี นการสอนโดยวทิ ยากรภายนอก ในวชิ าชพี แขนงตาง ๆ เพ่อื อนุรกั ษ
วฒั นธรรมขนบธรรมเนยี มประเพณที องถนิ่

สีประจาํ โรงเรยี น
แดง–เหลือง

4

ตราของโรงเรยี น

อัตลกั ษณของสถานศึกษา
“ผเู รยี นสุขภาพดี”

เอกลักษณข องสถานศึกษา
“โรงเรยี นสงเสริมนิสยั รกั การอา น”

ปรัชญาของโรงเรียน คือ “นตถฺ ิ ปฺญา สมา อาภา” (แสงสวา งเสมอดว ยปญญาไมม ี)
คาํ ขวัญ “เรียนดี กฬี าเดน เนนคุณธรรม นาํ ชมุ ชน”
ความมุงหวังของโรงเรียน
1. โรงเรยี นสะอาด
2. วชิ าการเปน เลิศ
3. ทํางานเปนระบบ
4. เคารพความคดิ เหน็
5. เนนการปฏบิ ัตจิ รงิ

สมรรถนะสาํ คญั ของผเู รยี น
หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนชุมชนดอนมวงงาม (ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช 2562) ตามหลักสูตร

แกนกลางการศึกษาข้นั พน้ื ฐาน พุทธศกั ราช 2551 มุงใหผ เู รยี นเกดิ สมรรถนะสาํ คญั 5 ประการ ดังน้ี
1. ความสามารถในการสื่อสาร เปนความสามารถในการรบั และสงสาร มีวฒั นธรรมในการใชภาษา

ถายทอดความคิด ความรูความเขาใจ ความรูสึก และทัศนะของตนเองเพ่ือแลกเปล่ียนขอมูลขาวสารและ
ประสบการณอันจะเปนประโยชนตอการพัฒนาตนเองและสังคม รวมท้ังการเจรจาตอรองเพื่อขจัดและลด
ปญหาความขัดแยงตาง ๆ การเลือกรับหรือไมรับขอมูลขาวสารดวยหลักเหตุผลและความถูกตอง ตลอดจน
การเลอื กใชว ิธกี ารส่ือสาร ที่มีประสทิ ธิภาพโดยคาํ นึงถงึ ผลกระทบท่ีมีตอตนเองและสังคม

5

2. ความสามารถในการคิด เปนความสามารถในการคิดวิเคราะห การคิดสังเคราะห การคิดอยาง
สรางสรรค การคิดอยางมีวิจารณญาณ และการคิดเปนระบบ เพื่อนําไปสูการสรางองคความรูหรือ
สารสนเทศเพ่อื การตดั สนิ ใจเก่ียวกับตนเองและสงั คมไดอยา งเหมาะสม

3. ความสามารถในการแกปญหา เปนความสามารถในการแกปญหาและอุปสรรคตาง ๆ ท่ีเผชิญ
ไดอยางถูกตองเหมาะสมบนพ้ืนฐานของหลกั เหตุผล คุณธรรมและขอมูลสารสนเทศ เขาใจความสัมพันธแ ละ
การเปลี่ยนแปลงของเหตุการณต าง ๆ ในสังคม แสวงหาความรู ประยุกตความรูม าใชในการปองกันและแกไข
ปญ หา และมกี ารตดั สินใจทมี่ ปี ระสทิ ธิภาพโดยคํานึงถงึ ผลกระทบท่เี กิดขึ้นตอตนเอง สังคมและสิ่งแวดลอ ม

4. ความสามารถในการใชทักษะชีวิต เปนความสามารถในการนํากระบวนการตาง ๆ ไปใชในการ
ดําเนนิ ชีวติ ประจาํ วัน การเรียนรูดว ยตนเอง การเรยี นรอู ยางตอ เน่ือง การทํางาน และการอยรู ว มกันในสงั คม
ดวยการสรางเสรมิ ความสัมพันธอันดีระหวางบคุ คล การจดั การปญ หาและความขัดแยงตาง ๆ อยา งเหมาะสม
การปรับตัวใหทันกับการเปล่ียนแปลงของสังคมและสภาพแวดลอม และการรูจักหลีกเลี่ยงพฤติกรรมไมพึง
ประสงคท สี่ งผลกระทบตอตนเองและผอู นื่

5. ความสามารถในการใชเทคโนโลยี เปนความสามารถในการเลือก และใช เทคโนโลยีดานตางๆ
และมีทักษะกระบวนการทางเทคโนโลยี เพื่อการพัฒนาตนเองและสังคม ในดานการเรียนรู การสื่อสาร การ
ทํางาน การแกปญ หาอยา งสรา งสรรค ถูกตอง เหมาะสม และมคี ุณธรรม
คณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงค

หลักสูตรสถานศกึ ษาโรงเรยี นครูเชียงราย (ฉบับปรับปรุง พุทธศกั ราช 2562) ตามหลกั สูตร
แกนกลางการศึกษาขนั้ พื้นฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 มุงพฒั นาผเู รียนใหม คี ณุ ลักษณะอันพงึ ประสงค เพ่ือให
สามารถอยูร วมกับผูอืน่ ในสังคมไดอยางมีความสขุ ในฐานะเปน พลเมืองไทยและพลโลก ดงั นี้

1. รักชาติ ศาสน กษตั รยิ 
2. ซอื่ สัตยส ุจริต
3. มวี นิ ยั
4. ใฝเรยี นรู
5. อยอู ยางพอเพยี ง
6. มุงมนั่ ในการทํางาน
7. รักความเปน ไทย
8. มีจิตสาธารณะ
คานยิ มหลักของคนไทย 12 ประการ ตามนโยบายของ คสช.
1. มคี วามรักชาติ ศาสนา พระมหากษตั รยิ 
2. ซ่ือสตั ย เสียสละ อดทน มีอดุ มการณใ นสิ่งท่ีดีงามเพ่ือสวนรวม
3. กตญั ูตอพอแม ผปู กครอง ครบู าอาจารย
4. ใฝห าความรู หม่นั ศกึ ษาเลาเรยี นทั้งทางตรง และทางออม
5. รักษาวัฒนธรรมประเพณไี ทยอนั งดงาม
6. มศี ีลธรรม รกั ษาความสัตย หวงั ดตี อ ผอู น่ื เผ่ือแผและแบงปน
7. เขา ใจเรียนรูการเปนประชาธปิ ไตย อนั มีพระมหากษตั ริยทรงเปนประมุขที่ถกู ตอง
8. มีระเบยี บวินยั เคารพกฎหมาย ผนู อ ยรูจ กั การเคารพผใู หญ
9. มสี ตริ ูตวั รคู ดิ รูทาํ รูปฏบิ ตั ิตามพระราชดํารสั ของพระบาทสมเดจ็ พระเจาอยูหวั

6

10. รูจักดาํ รงตนอยูโดยใชห ลักปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพยี งตามพระราชดํารัสของพระบาท สมเดจ็
พระเจาอยหู วั รจู กั อดออมไวใ ชเมือ่ ยามจําเปน มไี วพอกินพอใช ถาเหลอื กแ็ จกจายจาํ หนาย และพรอมทจี่ ะ
ขยายกจิ การเม่ือมคี วามพรอม เมอ่ื มภี มู ิคุมกนั ทด่ี ี

11. มีความเขม แข็งท้ังรางกาย และจติ ใจ ไมย อมแพตออํานาจฝา ยตํา่ หรอื กเิ ลสมีความละอายเกรง
กลวั ตอบาปตามหลักของศาสนา

12. คาํ นงึ ถงึ ผลประโยชนข องสว นรวม และของชาตมิ ากกวาผลประโยชนข องตนเอง

การบริหารงานบุคคล

หมายถึง การหาทางใชคนท่ีอยูรวมกันในองคกรนั้น ๆใหทํางานไดผล ดีท่ีสุด ส้ินเปลืองคาใชจาย
นอยท่ีสุด ในขณะเดียวกันก็สามารถทําใหผูรวมงานมีความสุขมีความพอใจ ท่ีจะใหความรวมมือและทํางาน
รว มกบั ผูบริหาร เพอื่ ใหงานขององคกรน้นั ๆ สาํ เร็จลลุ วงไปดวยดี

แนวคดิ
1) ปจ จยั ทางการบริหารท้งั หลายคนถอื เปน ปจ จยั ทางการบริหารทส่ี าํ คญั ที่สดุ
2) การบริหารงานบุคคลจะมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลผูบริหารจะตองมีความรู ความเขาใจ

และมคี วามสามารถสูงในการบรหิ ารงานบุคคล
3) การจดั บคุ ลากรใหป ฏบิ ัติงานไดเหมาะสมกบั ความรูความสามารถจะมสี วนทาํ ใหบุคลากร มขี วัญ

กาํ ลงั ใจ มีความสขุ ในการปฏิบัติงาน สง ผลใหงานประสบผลสําเรจ็ อยา งมีประสิทธิภาพ
4) การพัฒนาบุคลากรใหมีความรูความสามารถอยางสมํ่าเสมอและตอเนื่องจะทําใหบุคลากร

เปลยี่ นแปลงพฤตกิ รรมและกระตอื รือรนพัฒนางานใหดยี ิ่งข้ึน
5) การบรหิ ารงานบุคคลเนน การมสี วนรว มของบคุ ลากรและผมู สี วนไดเ สียเปน สาํ คัญ

ขอบขายงานบคุ ลากร
1. สงเสริมและพัฒนาระบบการบรหิ ารจดั การใหมปี ระสทิ ธิภาพ
2. สงเสริมใหบุคลากรในโรงเรียนปฏิบัติตามในหนาท่ีตามมาตรฐานวิชาชีพ และจรรยาบรรณ
วิชาชพี ครู
3. สงเสริมการประชาสัมพันธขอมูลขาวสารของบุคลากรภายในโรงเรียนแกผูเกี่ยวของอยางทั่วถึง
และมปี ระสิทธิภาพ
4. สงเสริม และสนับสนุนใหค รูและบคุ ลากรไดร ับการพฒั นาตามสมรรถนะวชิ าชพี ครู
5. ประสานความรว มมือระหวางโรงเรียน ผปู กครอง และชมุ ชน ในการพัฒนา โรงเรยี น
6. สงเสรมิ ใหค ณะครปู ฏบิ ัติหนาทดี่ ว ยความซื่อสตั ยส จุ ริต
7. สง เสริมใหค ณะครปู ฏิบตั ิตนในการดําเนินชีวิตโดยยึดหลกั เศรษฐกจิ พอเพยี ง
เปาหมาย (Goals) ปการศกึ ษา 2562 – 2565
1. สงเสริมและพัฒนาระบบการบรหิ ารจดั การใหม ปี ระสทิ ธภิ าพ

7

2. สงเสริมใหบุคลากรในโรงเรียนปฏิบัติตามในหนาที่ตามมาตรฐานวิชาชีพ และจรรยาบรรณ
วชิ าชีพครู

3. สงเสริมการประชาสัมพันธขอมูลขาวสารของบุคลากรภายในโรงเรียนแกผูเกี่ยวของอยางท่ัวถึง
และมีประสิทธภิ าพ

4. สงเสริม และสนบั สนุนใหครูและบคุ ลากรไดรบั การพัฒนาตามสมรรถนะวชิ าชีพครู
5. ประสานความรวมมอื ระหวางโรงเรยี น ผปู กครอง และชุมชน ในการพัฒนา โรงเรยี น
6. สงเสริมใหค ณะครปู ฏบิ ัตหิ นา ที่ดวยความซื่อสัตยส จุ ริต
7. สง เสริมใหค ณะครูปฏบิ ตั ติ นในการดาํ เนนิ ชีวติ โดยยึดหลักเศรษฐกจิ พอเพียง

วางแผนอัตรากาํ ลัง/การกําหนดตาํ แหนง
มีหนาที่

1. จดั ทาํ แผนงาน/โครงการ แผนปฏบิ ตั ิงานประจําปและปฏิทนิ ปฏิบตั ิงาน
2. จดั ทําแผนงานอัตรากําลงั ครู / การกาํ หนดตําแหนง และความตอ งการครูในสาขาทโ่ี รงเรียนมี

ความตอ งการ
3. จดั ทาํ รายงานอัตรากําลงั ครูตอหนวยงานตน สังกดั

การสรรหาและบรรจุแตง ต้ัง
มีหนา ท่ี

1. วางแผนดาํ เนนิ การสรรหาและเลือกสรรและกําหนดรายละเอยี ดแผนปฏิบัติงาน
2. กําหนดรายละเอยี ดเกี่ยวกับการสรรหาการเลอื กสรรคุณสมบัตขิ องบุคคลทร่ี ับสมัคร
3. จดั ทาํ ประกาศรบั สมัคร
4. รบั สมคั ร
5. การตรวจสอบคุณสมบตั ิผูสมัคร
6. ประกาศรายชื่อผูม สี ทิ ธิรบั การประเมนิ
7. แตง ต้งั คณะกรรมการดําเนนิ การสรรหาและเลอื กสรร
8. สอบคัดเลอื ก
9. ประกาศรายชือ่ ผูผ านการเลือกสรร
10. การเรียกผทู ผี่ า นการคัดเลือกมารายงานตวั
11. จดั ทาํ รายตอ หนว ยงานตน สังกดั

การพัฒนาบุคลากร
มหี นา ท่ี

1. จดั ทําแผนงาน/โครงการ/แผนปฏบิ ัติการประจาํ ป
2. สาํ รวจความตอ งการในการพัฒนาครแู ละบุคลากรในโรงเรียน
3. จัดทาํ แผนพัฒนาตนเองของครูและบคุ ลากรในโรงเรยี น

8

4. สง เสริมและสนบั สนนุ ใหค รแู ละบุคลากรไดรบั การพัฒนา
5. จัดทําแฟมบุคลากรในโรงเรียน
6. ติดตาม ประเมนิ ผล สรปุ รายงานผลการปฏิบัติงานเสนอผูอํานวยการ
7. งานอืน่ ๆ ท่ีไดร ับมอบหมาย

การเลอื่ นข้นั เงนิ เดอื น
มหี นา ที่

1. จัดทําแผนงาน/โครงการ/แผนปฏบิ ตั กิ ารประจาํ ป
2. นเิ ทศ ติดตามผลการปฏิบตั ิงานของครูและบุคลากรในโรงเรยี น
3. ประชมุ คณะกรรมการในการพิจารณาเลื่อนขน้ั เงนิ เดอื นประจําป
4. จดั ทาํ บัญชีผูที่ไดร บั การพจิ ารณาเลอื่ นขัน้ ประจําปโ ดยยดึ หลักความโปร งใส คณุ ธรรมจรยิ ธรรม

และการปฏิบตั ิงานท่รี บั ผดิ ชอบ
5. แตงตง้ั ผูที่ไดรับการเล่ือนขั้นเงินเดือนรายงานตอตนสังกัด

เครือ่ งราชอิสรยิ าภรณ
มหี นาท่ี

1. จดั รวบรวมเอกสารในการเสนอขอพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ
2. สํารวจความตองการขอพระราชทานเคร่อื งราชอิสรยิ าภรณของคณะครูและบคุ ลากร
3. สง เสรมิ และสนับสนนุ ขอพระราชทานเคร่อื งราชอิสริยาภรณของคณะครูและบุคลากรใน

โรงเรียน
4. จดั ทาํ แฟมขอมูลการไดร ับพระราชทานเครื่องราชอสิ รยิ าภรณข องคณะครูและบุคลากรใน

โรงเรียน
วนิ ัยและการรกั ษาวนิ ัย

มีหนา ที่
1. จดั รวบรวมเอกสารเกีย่ ววินัยและการรักษาวินัยของขาราชการครแู ละบุคลากรในโรงเรียน
2. จดั ทาํ แฟมขอมลู เกยี่ วกบั การทาํ ผดิ เกี่ยวกบั วนิ ยั ของขาราชการครูและบุคลากรในโรงเรยี น

สวัสดิการครู
มหี นาท่ี

1.วางแผนดําเนินงานเก่ียวกบั สวัสดกิ ารของครูและบุคลากรในโรงเรยี น
2. มอบของขวญั เปนกําลังใจในวนั สาํ คัญตางๆ วันเกดิ แสดงความยินดที ผี่ า นการประเมินครู
ชาํ นาญการพเิ ศษ ของครูและบคุ ลากรในโรงเรยี น
3. ซอ้ื ของเยี่ยมไขเ มื่อเจบ็ ปว ยหรอื นอนพกั รักษาตัวในโรงพยาบาล

9

สํามะโนนักเรยี น/รบั นักเรียน
มีหนา ท่ี

1. วางแผนในการจัดทาํ สาํ มะโนนักเรียน
2. สํามะโนนักเรยี นในเขตซ่ึงเปนเขตบรกิ ารของโรงเรยี น
3. จัดทําเอกสารการรบั สมัครนกั เรียน เด็กเล็ก ช้ันอนบุ าล 1 ประถมศกึ ษาปที่ 1
4. เปดรับสมคั รนกั เรยี น เด็กเลก็ ชนั้ อนบุ าล 1 ประถมศกึ ษาปท่ี 1
5. จัดทาํ แฟมนกั เรียน เด็กเล็ก ชั้นอนุบาล 1 ประถมศกึ ษาปท่ี 1
6. สรุปการจัดทําสาํ มะโนนกั เรยี นรายงานหนว ยงานตนสังกัด

การปฏิบัตริ าชการของขาราชการครู
1. การลา การลาแบงออกเปน 9 ประเภท คือ

1.การลาปว ย
2.การลาคลอดบุตร
3.การลากจิ สว นตวั
4.การลาพกั ผอน
5.การลาอปุ สมบทหรอื การลาไปประกอบพิธฮี ัจย
6.การลาเขารบั การตรวจเลอื กหรอื เขารับการเตรยี มพล
7.การลาไปศึกษา ฝก อบรม ดงู าน หรอื ปฏิบัตกิ ารวจิ ยั
8.การลาไปปฏิบัติงานในองคการระหวา งประเทศ
9. การลาติดตามคูสมรส

การลาปวย ขาราชการซ่ึงประสงคจะลาปวยเพื่อรักษาตัวใหเสนอหรือจัดสงใบลาตอผูบังคับบัญชา
ตามลําดับจนถึงผูมีอํานาจอนุญาตกอนหรือในวันที่ลาเวนแตในกรณีจําเปนจะเสนอหรือจัดสงใบลา ในวันแรกที่มา
ปฏิบัติราชการก็ได ในกรณีท่ีขาราชการผูขอลามีอาการปวยจนไมสามารถจะลงชื่อในใบลาไดจะใหผูอ่ืนลาแทนก็ได
แตเม่ือสามารถลงช่ือไดแลวใหเสนอหรือจัดสงใบลาโดยเร็ว การลาปวยต้ังแต 30 วันขึ้นไป ตองมีใบรับรองของแพทย
ซึ่งเปนผูที่ไดขึ้นทะเบียนและ รับใบอนุญาตเปนผูประกอบวิชาชีพเวชกรรมแนบไปกับใบลาดวย ในกรณีจําเปนหรือ
เห็นสมควรผูมีอํานาจอนุญาตจะส่ังใหใชใ บรับรองของแพทยซ่ึงผูมีอํานาจอนุญาตเห็นชอบแทนก็ได การลาปวยไมถงึ
30 วัน ไมวาจะเปนการลาครั้งเดียวหรือหลายคร้ังติดตอกัน ถาผูมีอํานาจ อนุญาตเห็นสมควร จะสั่งใหมีใบรับรอง
แพทยต ามวรรคสามประกอบใบลา หรือสงั่ ใหผ ูล าไปรบั การ ตรวจจากแพทยของทางราชการเพ่ือประกอบการพจิ ารณา
อนญุ าตก็ได

การลาคลอดบุตร ขาราชการซึ่งประสงคจะลาคลอดบุตร ใหเสนอหรือจัดสงใบลาตอผูบังคับบัญชา
ตามลําดับ จนถึงผูมีอํานาจอนุญาตกอนหรือในวันท่ีลา เวนแตไมสามารถจะลงช่ือในใบลาได จะใหผูอื่นลาแทน ก็ได แต
เม่ือสามารถลงช่ือไดแลวใหเสนอหรือจัดสงใบลาโดยเร็ว และมีสิทธิลาคลอดบุตรโดยไดรับ เงินเดือนครั้งหน่ึงได การลา
คลอดบุตรจะลาในวันที่คลอดกอนหรือหลังวันท่ีคลอดบุตรก็ได แตเม่อื รวมวันลาแลว ตองไมเกนิ 90 วัน

10

การลากิจสวนตัว ขาราชการซ่ึงประสงคจะลากิจสวนตัว ใหเสนอหรือจัดสงใบลาตอ ผูบังคับบญั ชา
ตามลําดับ จนถึงผูมีอํานาจอนุญาต และเมื่อไดรับอนุญาตแลวจึงจะหยุดราชการได เวนแตมีเหตุจําเปน ไม
สามารถรอรับอนุญาตไดทันจะเสนอหรือจัดสงใบลาพรอมดวยระบุเหตุจําเปนไวแลว หยุดราชการ ไปกอนก็
ได แตจะตองช้ีแจงเหตุผลใหผูมีอํานาจอนุญาตทราบโดยเร็ว ในกรณีมีเหตุพิเศษที่ไมอาจเสนอหรือจัดสง
ใบลากอนตามวรรคหนง่ึ ได ใหเสนอหรือจัดสง ใบลาพรอ มท้งั เหตุผลความจําเปนตอ ผูบงั คับบัญชาตามลําดับ
จนถึงผูมีอํานาจอนุญาตทันทีในวันแรก ท่ีมาปฏิบัติราชการ ขาราชการมีสิทธิลากิจสวนตัว โดยไดรับ
เงินเดือนปละไมเกิน 45 วันทําการ ขาราชการที่ลาคลอดบุตรตามขอ 18 แลว หากประสงคจะลากิจ
สวนตวั เพ่อื เลีย้ งดบู ุตรใหมี สทิ ธลิ าตอเนือ่ งจากการลาคลอดบตุ รไดไมเ กนิ 150 วันทาํ การ โดยไมมีสทิ ธไิ ดร ับ
เงินเดอื นระหวา งลา

การลาพกั ผอ น ขาราชการมสี ทิ ธลิ าพักผอ นประจาํ ปในปห นงึ่ ได 10 วนั ทาํ การ
เวน แตข าราชการดังตอไปน้ี ไมมีสทิ ธิลาพักผอนประจําปในปท ไี่ ดร ับบรรจเุ ขา รบั ราชการยงั ไมถ งึ ๖ เดอื น

1. ผูซึ่งไดรับบรรจุเขารับราชการเปนขาราชการครั้งแรก ผูซ่ึงลาออกจากราชการเพราะเหตุสวนตัว
แลวตอมาไดร บั บรรจุเขา รับราชการอกี

2. ผูซ่ึงลาออกจากราชการเพื่อดํารงตาํ แหนงทางการเมือง หรือเพอ่ื สมัครรบั เลือกตัง้
แลว ตอ มาไดรบั บรรจุเขา รับราชการอกี หลัง ๖ เดือน นบั แตว นั ออกจากราชการ

3. ผูซ่ึงถูกสั่งใหออกจากราชการในกรณีอ่ืน นอกจากกรณีไปรับราชการทหารตามกฎหมาย วาดวย
การรับราชการทหารและกรณีไปปฏิบัติงานใด ๆ ตามความประสงคของทางราชการ แลวตอมา ไดรับบรรจุ
เขารับราชการอีกถาในปใดขาราชการผูใดมิไดลาพักผอ นประจาํ ปห รือลาพักผอนประจําป แลวแตไมครบ 10
วันทําการ ใหสะสมวันท่ียังมิไดลาในปน้ันรวมเขากับปตอ ๆไปได แตวันลาพักผอน สะสมรวมกับวันลา
พักผอนในปปจจุบันจะตองไมเกิน 20 วันทําการ สําหรับผูที่ไดรับราชการติดตอกันมาแลวไมนอยกวา 10 ป
ใหม สี ทิ ธนิ ําวันลาพกั ผอนสะสม รวมกับวนั ลาพักผอ นในปปจจุบนั ไดไมเกนิ 30 วันทําการ

การลาอุปสมบทหรือการลาไปประกอบพธิ ีฮจั ย ขาราชการซึ่งประสงคจะลาอุปสมบทใน
พระพุทธศาสนา หรือขาราชการที่นับถือศาสนา อิสลามซึ่งประสงคจะลาไปประกอบพิธีฮัจย ณ เมืองเมกกะ
ประเทศซาอุดีอาระเบียใหเสนอหรือจัดสงใบลาตอผูบังคับบัญชาตามลําดับจนถึงผูมีอํานาจพิจารณาหรือ
อนุญาตกอนวันอุปสมบท หรือกอนวันเดินทางไปประกอบพิธีฮัจยไมนอยกวา 60 วัน ในกรณีมีเหตุพิเศษไม
อาจเสนอหรือจัดสงใบลากอนตามวรรคหนึ่งใหชี้แจงเหตุผลความ จําเปนประกอบการลา และใหอยูใน
ดุลพินจิ ของผูมีอํานาจทจ่ี ะพิจารณาใหลาหรือไมก็ได ขา ราชการท่ีไดรับพระราชทานพระบรมราชานญุ าตให
ลาอปุ สมบทหรอื ไดร บั อนุญาตใหลาไป ประกอบพิธีฮจั ยแลว จะตองอุปสมบทหรือออกเดินทางไปประกอบพิธี
ฮัจยภายใน 10 วัน นับแต วันเร่ิมลา และจะตองกลับมารายงานตัวเขาปฏิบัติราชการภายใน 5 วัน นับแต
วนั ท่ลี าสกิ ขา หรอื วนั ทเ่ี ดินทางกลบั ถึงประเทศไทยหลังจากการเดินทางไปประกอบพิธีฮจั ย

การลาเขารับการตรวจเลือกหรือเขารับการเตรียมพล ขาราชการที่ไดรับหมายเรียกเขารับการ
ตรวจเลือก ใหรายงานลาตอผูบังคับบัญชากอนวัน เขารับการตรวจเลือกไมนอยกวา 48 ชั่วโมง สวน
ขาราชการท่ีไดรับหมายเรียกเขารับการเตรียมพล ใหรายงานลาตอผูบังคับบัญชาภายใน 48 ชั่วโมง นับแต
เวลารับหมายเรียกเปนตนไป และใหไปเขา รับการตรวจเลือกหรือเขารับการเตรียมพลตามวันเวลาใน

11

หมายเรียกนั้นโดยไมตองรอรับคําส่ัง อนุญาต และใหผูบังคับบัญชาเสนอรายงานลาไปตามลําดับจนถึง
หัวหนา สวนราชการ หรอื หัวหนา สวนราชการข้ึนตรง

การลาไปศกึ ษา ฝกอบรมดูงาน หรือปฏิบัติการวิจยั ขาราชการซึ่งประสงคจะลาไปศึกษาฝกอบรม
ดูงาน หรือปฏิบัติการวิจัย ณ ตางประเทศ ใหเสนอหรือจัดสงใบลาตอผูบังคับบัญชาตามลําดับจนถึง
ปลัดกระทรวงหรือหัวหนาสวนราชการขึ้นตรงเพ่ือพิจารณาอนุญาตสําหรับการลาไปศึกษาฝกอบรมดูงาน
หรือปฏิบตั ิการวิจัยในประเทศใหเ สนอหรือจัดสง ใบลาตามลําดับจนถึงหวั หนาสว นราชการ หรอื หวั หนาสวน
ราชการขึ้นตรงเพื่อพิจารณาอนุญาต เวนแตขาราชการกรุงเทพมหานครใหเสนอหรือจัดสงใบลาตอปลัด
กรุงเทพมหานคร สําหรับหัวหนา สวนราชการใหเสนอหรือจัดสงใบลาตอปลัดกระทรวง หัวหนาสวน
ราชการขึ้นตรงและขาราชการ ในราชบัณฑิตยสถานใหเสนอหรือจดั สง ใบลาตอรฐั มนตรีเจาสงั กดั
สว นปลัดกรงุ เทพมหานครใหเ สนอ หรือจดั สงใบลาตอผูวา ราชการกรงุ เทพมหานคร เพื่อพิจารณาอนุญาต

การลาไปปฏิบัติงานในองคการระหวางประเทศ ขาราชการซ่ึงประสงคจะลาไปปฏิบัติงานใน
องคการระหวางประเทศ ใหเสนอหรือจัดสงใบลา ตอผูบังคับบัญชาตามลําดับจนถึงรัฐมนตรีเจาสังกัดเพ่ือ
พจิ ารณา โดยถือปฏิบตั ิตามหลกั เกณฑ ทีก่ าํ หนด

การลาติดตามคูสมรส ขาราชการซ่ึงประสงคติดตามคูสมรสใหเสนอหรือจัดสงใบลาตอ
ผูบังคับบัญชาตามลําดับ จนถึงปลัดกระทรวงหรือหัวหนาสวนราชการข้ึนตรงแลวแตกรณี เพ่ือพิจารณา
อนุญาตใหลาไดไมเกิน สองปและในกรณีจําเปนอาจอนุญาตใหลาไดอีกสองป แตเม่ือรวมแลวตองไมเกินส่ีป
ถาเกินส่ีป ใหลาออกจากราชการสําหรับปลัดกระทรวง หัวหนาสวนราชการขึ้นตรง และขาราชการ ใน
ราชบัณฑิตยสถานใหเสนอหรือจัดสงใบลาตอรัฐมนตรีเจาสังกัด สวนปลัดกรุงเทพมหานครใหเสนอ หรือ
จดั สง ใบลาตอผวู าราชการกรุงเทพมหานครเพอ่ื พิจารณาอนุญาต

วนิ ัยและการดําเนินการทางวนิ ัย
วนิ ัย : การควบคมุ ความประพฤติของคนในองคกรใหเปนไปตามแบบแผนที่พึงประสงค
วินัยขา ราชการครแู ละบุคลากรทางการศึกษา : ขอบญั ญัติท่ีกาํ หนดเปน ขอหามและ ขอ
ปฏิบัตติ ามหมวด 6 แหงพระราชบญั ญตั ริ ะเบยี บขา ราชการครแู ละบุคลากรทางการศึกษา พ.ศ. ๒๕๔๗ และ
ที่แกไขเพิม่ เติมฉบบั ท่ี 2 พ.ศ. 2551
โทษทางวนิ ัย มี 5 สถาน คือ
วนิ ยั ไมร ายแรง มีดังนี้
1. ภาคทัณฑ
2. ตดั เงินเดอื น
3. ลดขนั้ เงนิ เดอื น
วินยั รา ยแรง มดี งั นี้
4. ปลดออก
5. ไลออก
การวากลาวตักเตือนหรอื การทาํ ทัณฑบ นไมถือวา เปน โทษทางวินยั ใชในกรณีทเ่ี ปนความผิด เล็กนอ ย

12

และมเี หตุอนั ควรงดโทษ การวา กลา วตักเตือนไมตองทําเปนหนงั สือ
แตการทาํ ทณั ฑบนตองทําเปนหนังสือ(มาตรา 100 วรรคสอง)

โทษภาคทัณฑ
ใชลงโทษในกรณีที่เปนความผิดเล็กนอยหรือมีเหตุอันควรลดหยอน โทษภาคทัณฑไมตองหามการเลื่อนข้ัน
เงินเดือน

โทษตดั เงินเดอื นและลดขนั้ เงินเดือน
ใชล งโทษในความผิดทไี่ มถ งึ กบั เปน ความผิดรายแรง และไมใ ชก รณที ่ีเปน ความผดิ เล็กนอ ย

โทษปลดออกและไลออก
ใชลงโทษในกรณที เี่ ปน ความผดิ วนิ ยั รา ยแรงเทา นน้ั

การลดโทษความผิดวินัยรายแรง
หา มลดโทษต่ํากวาปลดออก ผูถ กู ลงโทษปลดออกมสี ทิ ธิไดร บั บําเหน็จบาํ นาญเสมอื นลาออก
การสั่งใหอ อกจากราชการไมใชโทษทางวนิ ยั

วินัยไมรายแรง ไดแก
1. ไมสนับสนุนการปกครองในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริยเปนประมุข ตาม
รัฐธรรมนญู แหง ราชอาณาจักรไทยดว ยความบริสทุ ธิใ์ จ
2. ไมปฏิบัติหนาที่ราชการดวยความซ่ือสัตยสุจริต เสมอภาค และเท่ียงธรรม ตองมีความวิริยะ
อุตสาหะขยนั หมน่ั เพียร ดูแลเอาใจใส รักษาประโยชนของทางราชการ และตองปฏบิ ตั ติ น ตามมาตรฐานและ
จรรยาบรรณวิชาชพี
3. อาศัยหรือยอมใหผูอ่ืนอาศัยอํานาจและหนาที่ราชการของตนไมวาจะโดยทางตรง หรือ ทางออม
หาประโยชนใ หแกต นเองและผูอ ื่น
4. ไมปฏิบัติหนาท่ีราชการใหเปนไปตามกฎหมายระเบียบแบบแผนของทางราชการและ หนวยงาน
การศึกษามติครม. หรอื นโยบายของรัฐบาลโดยถอื ประโยชนสูงสดุ ของผเู รียน และไมใ ห เกดิ ความเสียหายแก
ราชการ
5. ไมปฏิบัติตามคําสั่งของผูบังคับบัญชาซ่ึงส่ังในหนาท่ีราชการโดยชอบดวยกฎหมายและ ระเบียบ
ของทางราชการแตถาเห็นวาการปฏิบัติตามคําส่ังน้ันจะทําใหเสียหายแกราชการ หรือจะ เปนการไมรักษา
ประโยชนของทางราชการจะเสนอความเห็นเปนหนังสือภายใน ๗ วัน เพื่อใหผูบังคับ บัญชาทบทวนคําสั่งก็
ได และเมื่อเสนอความเห็นแลว ถาผูบังคับบัญชายืนยันเปนหนังสือใหปฏิบัติ ตามคําสั่งเดิม ผูอยูใตบังคับ
บญั ชาตอ งปฏบิ ตั ติ าม
6. ไมตรงตอเวลา ไมอุทิศเวลาของตนใหแกทางราชการและผูเรียน ละท้ิงหรือทอดท้ิงหนาที่
ราชการโดยไมม เี หตุผลอันสมควร
7. ไมประพฤติตนเปนแบบอยางท่ีดีแกผูเรียนชุมชน สังคม ไมสุภาพเรียบรอยและรักษา ความ
สามัคคี ไมชวยเหลือเก้ือกูลตอผูเรียนและขาราชการดวยกัน หรือผูรวมงานไมตอนรับหรือ ใหความสะดวก
ใหความเปนธรรมตอผูเ รียนและประชาชนผมู าติดตอราชการ
8. กลั่นแกลง กลาวหา หรือรอ งเรยี นผอู ื่นโดยปราศจากความเปน จริง

13

9. กระทําการหรือยอมใหผูอื่นกระทําการหาประโยชนอันอาจทําใหเส่ือมเสียความเท่ียงธรรม หรือ
เส่อื มเสยี เกียรติศักดิ์ในตําแหนง หนา ที่ราชการของตน

10. เปนกรรมการผูจัดการ หรือผูจัดการ หรือดํารงตําแหนงอื่นใดที่มีลักษณะงานคลายคลึงกันนั้น
ในหางหุนสว นหรือบริษัท

11. ไมวางตนเปนกลางทางการเมืองในการปฏิบัติหนาที่ และในการปฏิบัติการอื่นที่เกี่ยวของ กับ
ประชาชนอาศัยอาํ นาจและหนาท่ีราชการของตนแสดงการฝก ใฝสง เสรมิ เกอื้ กลู สนบั สนุนบคุ คล กลุมบุคคล
หรอื พรรคการเมืองใด

12. กระทําการอันใดอนั ไดช ่อื วาเปน ผปู ระพฤติชวั่
13. เสริมสรางและพัฒนาใหผูอยูใตบังคับบัญชามีวินัย ไมปองกันมิใหผูอยูใตบังคับบัญชา กระทํา
ผดิ วินัย หรอื ละเลย หรือมพี ฤตกิ รรมปกปอง ชว ยเหลือมใิ หผ อู ยใู ตบ ังคับบญั ชาถกู ลงโทษทางวนิ ัย หรือปฏิบัติ
หนา ท่ีดังกลา วโดยไมสจุ รติ
วินัยรา ยแรง ไดแ ก
1. ทุจริตตอหนา ที่ราชการ
2. จงใจไมปฏิบัติตามกฎหมายระเบียบแบบแผนของทางราชการและหนวยงานการศึกษามติครม.
หรือนโยบายของรัฐบาลประมาทเลินเลอ หรือขาดการเอาใจใสร ะมดั ระวังรักษาประโยชน ของทางราชการอัน
เปน เหตใุ หเ กิดความเสยี หายแกร าชการอยางรา ยแรง
3. ขัดคาํ ส่ังหรอื หลกี เลี่ยงไมป ฏิบัติตามคาํ ส่งั ของผูบงั คบั บัญชาซึ่งส่งั ในหนา ท่ีราชการ
โดยชอบดว ยกฎหมายและระเบียบของทางราชการอนั เปน เหตุใหเสยี หายแกราชการอยางรายแรง
4. ละทิ้งหนาที่หรือทอดท้ิงหนาท่ีราชการ โดยไมมีเหตุผลอันสมควรเปนเหตุใหเสียหายแกราชการ
อยา งรายแรง
5. ละทิ้งหนาที่ราชการตดิ ตอในคราวเดยี วกนั เปน เวลาเกนิ กวา ๑๕ วนั โดยไมม เี หตผุ ลอันสมควร
6. กลั่นแกลง ดูหม่ิน เหยียดหยาม กดขี่ หรอื ขม เหงผเู รียนหรอื ประชาชนผมู าติดตอราชการ อยา ง
รายแรง
7. กล่ันแกลง กลาวหา หรือรองเรียนผูอื่นโดยปราศจากความเปนจริง เปนเหตุใหผอู ื่นไดรบั ความ
เสียหายอยางรา ยแรง
8. กระทําการหรือยอมใหผูอื่นกระทําการหาประโยชนอันอาจทําใหเสื่อมเสียความเที่ยงธรรม หรือ
เสื่อมเสียเกียรติศักดิ์ในตําแหนงหนาท่ีราชการโดยมุงหมายจะใหเปนการซ้ือขายหรอื ใหไดรับ แตงตั้งใหดํารง
ตาํ แหนง หรอื วิทยฐานะใดโดยไมช อบดวยกฎหมาย หรือเปนการกระทําอันมีลกั ษณะ เปน การใหห รือไดมาซ่ึง
ทรัพยสินหรือสทิ ธิประโยชนอน่ื เพื่อใหตนเองหรือผอู ื่นไดรับการบรรจุและ แตงต้งั โดยมิชอบ
9. คัดลอกหรือลอกเลียนผลงานทางวิชาการของผูอ่ืนโดยมิชอบหรือนําเอาผลงานทางวิชาการของ
ผูอื่น หรือจางวาน ใชผูอื่นทําผลงานทางวิชาการเพ่ือไปใชในการเสนอขอปรับปรุงการกําหนดตําแหนง การ
เลื่อนตําแหนง การเลอ่ื นวิทยฐานะ หรือการใหไดร บั เงินเดอื นในระดับทสี่ ูงขึน้
10. รวมดําเนินการคัดลอกหรือลอกเลียนผลงานของผูอื่นโดยมิชอบ หรือรับจัดทําผลงานทาง
วิชาการ ไมวาจะมีคาตอบแทนหรือไมเพื่อใหผูอ่ืนนําผลงานน้ันไปใชประโยชนเพื่อปรับปรุงการกําหนด

14

ตําแหนงเล่อื นตาํ แหนง เลื่อนวทิ ยฐานะ หรอื ใหไ ดร ับเงินเดอื นในอันดบั ทส่ี ูงขน้ึ
11. เขาไปเก่ียวของกับการดําเนินการใด ๆ อันมีลักษณะเปนการทุจริตโดยการซื้อสิทธิหรือขาย

เสียงในการเลือกต้ังสมาชิกรัฐสภา สมาชิกสภาทองถิ่น ผูบริหารทองถ่ินหรือการเลือกต้ังอ่ืนที่มีลกั ษณะเปน
การสง เสริมการปกครองในระบอบประชาธปิ ไตยรวมทัง้ การสงเสริม สนบั สนนุ หรือ ชกั จูงใหผอู ่นื กระทําการ
ในลกั ษณะเดียวกัน

12. กระทําความผิดอาญาจนไดรับโทษจําคุก หรือโทษที่หนักกวาจําคุกโดยคําพิพากษาถึงที่สุด ให
จําคุกหรือใหรับโทษที่หนักกวาจําคุก เวนแตเปนโทษสําหรับความผิดท่ีไดกระทําโดยประมาท หรือลหุโทษ
หรอื กระทาํ การอื่นใดอนั ไดช อ่ื วา เปน ผูประพฤตชิ ่ัวอยา งรายแรง

13. เสพยาเสพตดิ หรือสนับสนนุ ใหผ อู ่นื เสพยาเสพติด
14. เลน การพนันเปนอาจิณ
15. กระทําการลวงละเมิดทางเพศตอผูเรียนหรือนักศึกษาไมวาจะอยูในความดูแลรับผิดชอบ ของ
ตนหรอื ไม

การดาํ เนินการทางวินัย
การดําเนินการทางวินัย กระบวนการและขั้นตอนการดําเนินการในการออกคําส่ังลงโทษ ซ่ึงเปน
ขั้นตอนท่ีมีลําดับกอนหลังตอเนื่องกัน อันไดแก การตั้งเร่ืองกลาวหาการสืบสวนสอบสวน การพิจารณา
ความผิดและกําหนดโทษและการส่ังลงโทษรวมท้ังการดําเนินการตาง ๆ ในระหวางการสอบสวนพิจารณา
เชน การส่งั พัก การสง่ั ใหออกไวก อ น เพื่อรอฟง ผลการสอบสวนพจิ ารณา
หลักการดําเนินการทางวนิ ยั
1. กรณีที่ผูบังคับบัญชาพบวาผใู ตบ ังคับบัญชาผูใดกระทําผิดวินยั โดยมีพยานหลักฐานในเบ้ืองตน อยู
แลว ผบู งั คับบญั ชากส็ ามารถดําเนนิ การทางวินัยไดทนั ที
2. กรณีที่มีการรองเรียนดวยวาจาใหจดปากคํา ใหผูรองเรียนลงลายมือชื่อและวัน เดือน ป พรอม
รวบรวมพยานหลักฐานอื่นๆ ประกอบการพิจารณาแลวดําเนินการใหมีการสืบสวนขอเท็จจริง โดยตั้ง
กรรมการสบื สวนหรอื สัง่ ใหบ คุ คลใดไปสบื สวนหากเห็นวามมี ลู ก็ตงั้ คณะกรรมการสอบสวน ตอ ไป
3. กรณีมีการรองเรียนเปนหนังสอื ผูบังคับบัญชาตอ งสืบสวนในเบื้องตนกอนหากเห็นวา ไมมีมูลก็ส่ัง
ยตุ เิ รือ่ งถา เห็นวา มีมลู ก็ตั้งคณะกรรมการสอบสวนตอไป กรณีหนงั สอื รอ งเรยี นไมล ง ลายมือชื่อและท่ีอยูของ
ผูรองเรียนหรือไมปรากฏพยานหลักฐานที่แนนอนจะเขาลักษณะของบัตร สนเทห มติครม.หามมิใหรับฟง
เพราะจะทําใหขา ราชการเสยี ขวัญในการปฏิบตั หิ นา ท่ี
ขนั้ ตอนการดาํ เนินการทางวินยั
1. การตั้งเรือ่ งกลา วหาเปนการตั้งเรือ่ งดาํ เนนิ การทางวนิ ัยแกขาราชการเม่อื ปรากฏ
กรณมี มี ลู ทค่ี วรกลา วหาวา กระทําผิดวินยั มาตรา 98 กาํ หนดใหผูบงั คับบัญชาแตงตง้ั คณะกรรมการสอบสวน
เพ่ือดําเนินการ สอบสวนใหไดความจรงิ และความยตุ ธิ รรมโดยไมชักชาผตู ้งั เร่ืองกลา วหาคอื ผูบังคับบัญชาของ
ผูถ กู กลา วหาความผดิ วนิ ยั ไมรายแรง ผบู ังคับบญั ชาช้นั ตนคือ ผูอ าํ นวยการสถานศึกษาสามารถแตงตัง้
กรรมการสอบสวนขาราชการในโรงเรยี นทุกคนความผิดวนิ ัยรา ยแรง ผูบงั คับบัญชาผูม ีอาํ นาจบรรจุ และ

15

แตง ต้ังตามมาตรา 53 เปนผูมีอํานาจบรรจแุ ละแตงตั้งคณะกรรมการสอบสวน
2. การแจง ขอกลา วหา มาตรา 98 กําหนดไวว า ในการสอบสวนจะตอ งแจง ขอกลา วหาและสรปุ

พยานหลกั ฐาน ที่สนบั สนนุ ขอกลาวหาเทา ทมี่ ใี หผูถูกกลาวหาทราบ โดยระบหุ รือไมระบุชือ่ พยานก็ไดเ พ่อื ให
ผูถ กู กลาวหามโี อกาสชแ้ี จงและนาํ สบื แกขอกลา วหา

3. การสอบสวน คอื การรวบรวมพยานหลกั ฐานและการดําเนนิ การท้ังหลายอ่นื เพ่ือจะทราบ
ขอเทจ็ จรงิ และพฤติการณต าง ๆ หรอื พสิ จู นเ กี่ยวกับเร่ืองท่ีกลาวหาเพอ่ื ใหไดความจรงิ และยุติธรรม
และ เพื่อพจิ ารณาวา ผถู ูกกลา วหาไดกระทาํ ผดิ วินยั จริงหรอื ไมถ า ผดิ จรงิ กจ็ ะไดล งโทษ ขอยกเวน กรณที ี่เปน
ความผิดทป่ี รากฏชดั แจง ตามที่กาํ หนดในกฎ ก.ค.ศ.จะดาํ เนินการ ทางวนิ ยั โดยไมส อบสวนก็ได

ความผิดที่ปรากฏชดั แจง ตามที่กําหนดในกฎ ก.ค.ศ. วา ดว ยกรณีความผดิ ทปี่ รากฏชัดแจง พ.ศ.
2549
ก. การกระทาํ ผิดวนิ ยั อยางไมร ายแรงทีเ่ ปน กรณีความผิดทปี่ รากฏอยา งชัดแจง ไดแก

(1) กระทาํ ความผดิ อาญาจนตองคําพิพากษาถึงท่สี ุดวา ผนู ั้นกระทําผิดและผบู ังคบั บญั ชาเหน็ วา
ขอเท็จจริงตามคําพิพากษาประจกั ษช ัด

(2) กระทาํ ผดิ วนิ ยั ไมร า ยแรงและไดรับสารภาพเปนหนงั สอื ตอ ผบู งั คับบัญชาหรือใหถ อยคาํ รับ
สารภาพตอผมู ีหนาท่ีสบื สวนหรอื คณะกรรมการสอบสวนโดยมกี ารบันทึกถอยคาํ เปนหนังสือ
ข. การกระทําผดิ วนิ ัยอยา งรา ยแรงทเี่ ปนกรณคี วามผดิ ทป่ี รากฏชัดแจง ไดแ ก

(1) กระทําความผดิ อาญาจนไดรับโทษจําคุกหรือโทษที่หนักกวา จาํ คุกโดยคําพพิ ากษาถึงทสี่ ุดให
จาํ คกุ หรือลงโทษทหี่ นักกวา จําคกุ

(2) ละทิ้งหนาที่ราชการตดิ ตอในคราวเดยี วกันเปน เวลาเกินกวา 15 วนั ผบู งั คบั บัญชา สบื สวนแลว
เหน็ วาไมม ีเหตผุ ลสมควร หรอื มีพฤติการณอันแสดงถึงความจงใจไมปฏิบัติตามระเบียบ ของทางราชการ

(3) กระทําผดิ วนิ ัยอยางรา ยแรงและไดรบั สารภาพเปนหนงั สือตอผูบงั คบั บัญชาหรอื ให ถอยคํารบั
สารภาพตอผมู หี นา ทสี่ ืบสวนหรือคณะกรรมการสอบสวนโดยมกี ารบันทึกถอยคําเปน หนังสือ

การอทุ ธรณ
มาตรา 121 และมาตรา 122 แหงพระราชบญั ญตั ิระเบยี บขา ราชการครแู ละบุคลากร ทาง

การศกึ ษา พ.ศ. 2547 บญั ญัติใหผ ถู กู ลงโทษทางวนิ ยั มสี ทิ ธิอุทธรณค าํ สงั่ ลงโทษตออ.ก.ค.ศ. เขตพื้นที่
การศึกษา อ.ก.ค.ศ.ท่ี ก.ค.ศ. ต้งั แลว แตก รณี ภายใน 30 วัน
เงอ่ื นไขในการอทุ ธรณ

ผูอทุ ธรณ ตอ งเปน ผทู ี่ถกู ลงโทษทางวนิ ัยและไมพอใจผลของคาํ สั่งลงโทษผอู ุทธรณ ตอ ง
อทุ ธรณเ พือ่ ตนเองเทา น้ัน ไมอ าจอุทธรณแ ทนผูอ่นื ได

ระยะเวลาอุทธรณ ภายใน 30 วนั นบั แตว นั ทีไ่ ดร ับแจงคาํ สง่ั ลงโทษตองทําเปนหนังสือ
การอุทธรณโทษวนิ ัยไมรายแรง การอุทธรณคําสั่งโทษภาคทณั ฑ ตัดเงนิ เดือน หรอื ลดขั้น
เงนิ เดอื นทีผ่ บู งั คบั บญั ชาสัง่ ดวยอาํ นาจของตนเอง ตอ งอทุ ธรณตอ อ.ก.ค.ศ. เขตพื้นที่การศึกษาหรือ อ.ก.ค.ศ.
สว นราชการ

16

เวน แต การส่งั ลงโทษตามมตใิ หอุทธรณต อ ก.ค.ศ.
การอทุ ธรณโ ทษวินยั รายแรง การอทุ ธรณค ําสง่ั ลงโทษปลดออกหรอื ไลออกจากราชการตอ ง

อทุ ธรณตอก.ค.ศ.ทั้งน้ีการรองทกุ ขคาํ สง่ั ใหออกจากราชการหรือคาํ ส่งั พักราชการหรือใหออกจากราชการไว
กอ นกต็ อ งรองทกุ ขตอก.ค.ศ.เชนเดยี วกนั

การรอ งทกุ ข หมายถึงผถู ูกกระทบสทิ ธิหรอื ไมไ ดรบั ความเปน ธรรมจากคําส่ังของฝา ยปกครอง
หรอื คับของใจจากการกระทาํ ของผบู ังคบั บัญชาใชสทิ ธิรอ งทุกขขอความเปนธรรมขอใหเ พกิ ถอนคําสั่งหรือ
ทบทวนการกระทําของฝา ยปกครองหรอื ของผูบังคบั บัญชา

มาตรา 122 และมาตรา 123 แหงพระราชบัญญัตริ ะเบยี บขาราชการครูและบคุ ลากร ทางการศกึ ษา
พ.ศ.๒๕๔๗บัญญตั ใิ หผ ถู ูกสง่ั ใหออกจากราชการมสี ิทธริ อ งทกุ ขตอก.ค.ศ.และผูซงึ่ ตน เห็นวาตนไมไ ดรบั ความ
เปนธรรมหรือมีความคบั ของใจเนอ่ื งจากการกระทาํ ของผบู งั คบั บญั ชาหรือ กรณถี ูกต้ังกรรมการสอบสวนมี
สทิ ธิรองทุกขต อ อ.ก.ค.ศ.เขตพ้นื ท่กี ารศึกษาอ.ก.ค.ศ.ทก่ี .ค.ศ.ตั้งหรอื ก.ค.ศ.แลว แตกรณีภายใน 30 วนั
ผูมีสิทธิรอ งทุกข ไดแก ขาราชการครู และบุคลากรทางการศึกษา
เหตุที่จะรองทุกข

(1) ถูกสัง่ ใหออกจากราชการ
(2) ถูกสั่งพักราชการ
(3) ถูกส่ังใหอ อกจากราชการไวก อน
(4) ไมไ ดรับความเปน ธรรม หรอื คับของใจจากการกระทําของผูบงั คบั บัญชา
(5) ถูกต้งั กรรมการสอบสวน

การเล่ือนขน้ั เงนิ เดอื น
ขาราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาจะไดรบั การพิจารณาเล่ือนขั้นเงนิ เดือนในแตล ะครั้งตองอยู

ในเกณฑ ดงั นี้
1. ในครึ่งปท่ีแลวมามีผลการปฏิบัติงาน ความประพฤติในการรักษาวินัย คุณธรรม จริยธรรม และ

จรรยาบรรณวชิ าชีพอยูใ นเกณฑท สี่ มควรไดเลอื่ นขั้นเงนิ เดอื น
2. ในครึ่งปที่แลวมาจนถึงวันออกคําสั่งเล่ือนขั้นเงินเดือนไมถูกลงโทษทางวินัยท่ีหนักกวาโทษ

ภาคทัณฑ หรือถูกลงโทษในคดีอาญาใหลงโทษในความผิดท่ีเกี่ยวกับการปฏบิ ัติหนาท่ีราชการ หรือ ความผิด
ที่ทําใหเ สอื่ มเสยี เกียรตศิ ักด์ิของตําแหนงหนาที่ราชการของตน ซึง่ ไมไชค วามผดิ ท่ีไดกระทาํ โดยประมาทหรือ
ความผิดลหโุ ทษ

3. ในครงึ่ ปท ีแ่ ลว มาตองไมถ กู สงั่ พักราชการเกนิ กวาสองเดอื น
4. ในครงึ่ ปท แี่ ลวมาตอ งไมข าดราชการโดยไมม เี หตผุ ลอนั สมควร
5. ในครึ่งปทแี่ ลวมาไดร ับการบรรจเุ ขารบั ราชการมาแลว เปน เวลาไมน อยกวา สีเ่ ดือน
6. ในครง่ึ ปท ่แี ลว มาถาเปน ผูไ ดร ับอนุญาตไปศึกษาในประเทศฝกอบรมและดงู าน ณ
ตา งประเทศตองไดป ฏิบัติหนาทีร่ าชการในครง่ึ ปท แ่ี ลว มาเปน เวลาไมนอยกวา สี่เดือน
๗. ในคร่ึงปท่แี ลวมาตอ งไมลาหรือมาทํางานสายเกินจาํ นวนครัง้ ทห่ี ัวหนาสว นราชการกาํ หนด

17

๘. ในครง่ึ ปท ีแ่ ลวมาตอ งมีเวลาปฏบิ ตั ิราชการหกเดอื นโดยมวี ันลาไมเ กินยส่ี บิ สามวนั
แตไ มร วมวันลา ดงั ตอ ไปน้ี

1) ลาอุปสมบทหรอื ลาไปประกอบพธิ ฮี จั ย
2) ลาคลอดบตุ รไมเกินเกาสบิ วนั
3) ลาปว ยซึง่ จําเปน ตองรักษาตวั เปน เวลานานไมว าคราวเดยี วหรือหลายคราวรวมกนั
ไมเ กนิ หกสบิ วันทาํ การ
4) ลาปวยเพราะประสบอันตรายในขณะปฏิบัติราชการตามหนาท่ีหรือในขณะเดินทางไป หรือกลับ
จากการปฏบิ ัตริ าชการตามหนาท่ี
5) ลาพักผอ น
6) ลาเขา รบั การตรวจเลือกหรือเขารบั การเตรียมพล
7) ลาไปปฏิบัติงานในองคการระหวา งประเทศ
การฝก อบรมและลาศกึ ษาตอ
การฝก อบรม หมายความวา การเพม่ิ พนู ความรคู วามชํานาญ หรือประสบการณดวยการเรยี น
หรือการวิจยั ตามหลกั สตู รของการฝก อบรม หรือการสัมมนาอบรมเชงิ ปฏบิ ัตกิ าร การดําเนินงานตาม
โครงการแลกเปลย่ี นกับตา งประเทศ การไปเสนอผลงานทางวชิ าการ และการประชมุ เชงิ ปฏบิ ัติการ ทัง้ นโี้ ดย
มไิ ดม วี ัตถุประสงคเพ่ือใหไดม าซ่งึ ปริญญาหรือประกาศนยี บัตรวชิ าชพี ท่ี ก.พ.รบั รอง และหมายความรวมถึง
การฝกฝนภาษาและการรับคําแนะนํากอนฝกอบรมหรือการดูงานทีเ่ ปน สวนหนง่ึ ของการฝก อบรมหรือตอ
จากการฝกอบรมนนั้ ดว ย
การดงู าน หมายความวา การเพมิ่ พูนความรูและประสบการณด ว ยการสงั เกตการณ และ
การแลกเปลีย่ นความคิดเหน็ (การดูงานมรี ะยะเวลาไมเกนิ ๑๕ วัน ตามหลกั สูตรหรอื โครงการ หรือแผนการ
ดงู านในตางประเทศ หากมีระยะเวลาเกนิ กาํ หนดใหด ําเนนิ การเปน การฝก อบรม)
การลาศึกษาตอ หมายความวา การเพิม่ พูนความรดู วยการเรียนหรอื การวิจยั ตามหลกั สูตรของ
สถาบัน การศึกษา หรือสถาบันวิชาชพี เพื่อใหไดมาซึ่งปริญญาหรอื ประกาศนียบัตรวชิ าชีพท่ี ก.พ.รับรองและ
หมายความรวมถึงการฝก ฝนภาษาและการไดร บั คาํ แนะนํากอ นเขาศึกษาและการฝกอบรม หรอื การดูงานท่ี
เปนสว นหนงึ่ ของการศกึ ษา
หรือตอ จากการศกึ ษานน้ั ดว ย
การออกจากราชการของขา ราชการครแู ละบคุ ลากรทางการศึกษา
ขาราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาออกจากราชการเมื่อ(มาตรา ๑๐๗พ.ร.บ.ระเบียบ
ขาราชการครูฯ)
1) ตาย
2) พน จากราชการตามกฎหมายวา ดว ยบําเหนจ็ บํานาญขา ราชการ
3) ลาออกจากราชการและไดรบั อนญุ าตใหลาออก
4) ถกู สัง่ ใหออก
5) ถูกสง่ั ลงโทษปลดออกหรือไลออก

18

6) ถูกเพิกถอนใบอนุญาตประกอบวิชาชีพ เวนแตไดรับแตงต้ังใหดํารงตําแหนงอื่นท่ีไมตองมี
ใบอนญุ าตประกอบวิชาชีพ

การลาออกจากราชการ
ขาราชการครแู ละบุคลากรทางการศกึ ษาผใู ดประสงคจ ะลาออกจากราชการ
ใหย ่ืนหนังสอื ลาออกตอผูบงั คับบัญชาเพื่อใหผ ูม ีอํานาจตาม มาตรา ๕๓เปนผพู จิ ารณาอนญุ าต
กรณีผูมอี ํานาจตาม มาตรา 53 พจิ ารณาเห็นวา จําเปน เพ่ือประโยชนแกราชการจะยับยง้ั การอนุญาต
ใหลาออกไวเปนเวลาไมเกิน 90 วัน นับแตวันขอลาออกก็ได แตตองแจงการยับย้ัง พรอมเหตุผลใหผูขอ
ลาออกทราบ เม่ือครบกาํ หนดเวลาทย่ี บั ยงั้ แลวใหก ารลาออกมีผลตงั้ แตวนั ถดั จากวันครบกําหนดเวลาทีย่ ับย้ัง
ถาผูมอี ํานาจตามมาตรา 53 ไมไดอ นญุ าตและไมไ ดยบั ย้ังการอนญุ าตใหลาออก
ใหก ารลาออก มีผลตง้ั แตวันขอลาออก
ขาราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาผูใดประสงคจะลาออกจากราชการเพื่อดํารงตําแหนง ทาง
การเมืองหรอื เพอื่ สมคั รรับเลือกต้งั ใหย ืน่ หนงั สือลาออกตอผบู ังคบั บญั ชา
และใหก ารลาออกมผี ลนับต้ังแตว ันท่ผี ูนั้นขอลาออก
ระเบยี บ ก.ค.ศ วาดว ยการลาออกของขา ราชการครูและบุคลากรทางการศกึ ษา พ.ศ.2548
ขอ 3 การยนื่ หนังสอื ขอลาออกจากราชการใหยนื่ ลวงหนา กอนวันขอลาออกไมนอยกวา 30 วัน
กรณผี ูมีอํานาจอนุญาตการลาออกเห็นวามเี หตุผลและความจําเปน พเิ ศษ
จะอนุญาตเปนลายลักษณอักษรกอนวันขอลาออกใหผูประสงคจะลาออกย่ืนหนังสือขอลาออกลวงหนานอย
กวา 30 วนั ก็ได
หนังสือขอลาออกที่ย่ืนลวงหนากอนวันขอลาออกนอยกวา 30 วัน โดยไมไดรับอนุญาตเปน ลาย
ลักษณอักษรจากผูมีอํานาจอนุญาต หรือที่มิไดระบุวันขอลาออก ใหถือวันถัดจากวันครบกําหนด 30 วัน นับ
แตว ันยืน่ เปนวนั ขอลาออก
ขอ 5 ผูมีอํานาจอนุญาตการลาออกพิจารณาวาจะสั่งอนุญาตใหผูนั้นลาออกจากราชการหรือจะส่ัง
ยบั ย้ังการอนุญาตใหลาออกใหดาํ เนินการ ดังน้ี
(1) หากพิจารณาเห็นวาควรอนุญาตใหลาออกจากราชการไดใหมีคําส่ังอนุญาตใหลาออก เปนลาย
ลกั ษณอ กั ษรใหเสรจ็ ส้นิ กอ นวันขอลาออกแลว แจงคําสัง่ ดังกลา วใหผูขอลาออกทราบกอนวัน ขอลาออกดวย
(2) หากพิจารณาเห็นวาควรยับยั้งการอนุญาตใหลาออกเน่ืองจากจําเปนเพ่ือประโยชนแก ราชการ
ใหมีคําสั่งยับยั้งการอนุญาตใหลาออกเปนลายลักษณอักษรใหเสร็จส้ินกอนวันขอลาออกแลวแจงคําสั่ง
ดังกลาวพรอมเหตุผลใหผูขอลาออกทราบกอนวันขอลาออกดวย ทั้งนี้การยับยั้งการอนุญาต ใหลาออกใหสั่ง
ยบั ยง้ั ไวไดเปน เวลาไมเ กิน 90 วัน
และสั่งยับย้ังไดเพียงคร้ังเดียวจะขยายอีกไมได เมื่อครบกําหนดเวลาที่ยับย้ังแลวใหการลาออกมีผลตั้งแตวัน
ถดั จากวันครบกาํ หนดเวลาทีย่ ับยัง้
ขอ 6 กรณที ี่ผขู อลาออกไดออกจากราชการไปโดยผลของกฎหมาย เน่ืองจากผูมอี ํานาจ อนุญาตมิได
มีคําส่ังอนุญาตใหลาออกและมิไดมีคําส่ังยับยั้งการอนุญาตใหลาออกกอนวันขอลาออก หรือเนื่องจากครบ

19

กําหนดเวลายับยั้งการอนุญาตใหลาออกใหผูมีอํานาจอนุญาตมีหนังสือแจง วันออกจากราชการใหผูขอ
ลาออกทราบภายใน 7 วนั นบั แตว นั ทผ่ี นู น้ั ออกจากราชการและแจง ใหส ว นราชการทเี่ กี่ยวของทราบดว ย

ขอ 7 การยนื่ หนังสือขอลาออกจากราชการเพอ่ื ดาํ รงตําแหนง ทางการเมืองหรือเพื่อสมัครรับเลือกตั้ง
ใหยื่นตอผูบังคับบัญชาอยางชาภายในวันที่ขอลาออกและใหผูบังคับบัญชาดังกลาวเสนอ หนังสือขอลาออก
น้ันตอผูบังคับบัญชาช้ันเหนือขึ้นไปตามลําดับจนถึงผูมีอํานาจอนุญาตการลาออกโดยเร็วเม่ือผูมีอํานาจ
อนุญาตไดร ับหนังสอื ขอลาออกแลว ใหมีคําส่ังอนญุ าตออกจากราชการไดต้ังแต วนั ทข่ี อลาออก

5. ครูอตั ราจาง
กรณีครูอัตราจางที่จางดวยเงินงบประมาณใหปฏิบัติหนาท่ีครู เชน ปฏิบัติหนาที่ครูผูชวย ครูพ่ีเล้ียง
หรือปฏิบัติหนาที่ครูท่ีเรียกช่ือยางอื่นใหปฏิบัติตามระเบียบกระทรวงการคลังวาดวยลูกจาง ประจําของสวน
ราชการพ.ศ.2537 และแนวปฏบิ ตั ิท่ีใชเพ่อื การน้นั


Click to View FlipBook Version