The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by zee.kewalin2545, 2020-09-30 09:26:37

โรคเบาหวาน

โรคเบาหวาน

โรคเบาหวาน
(Diabetes)

นางสาวเกวลิน ชมภูพล
นางสาววรรณพร ลยุ ภูมปิ ระสิทธ์ิ



โรคเบาหวาน (Diabetes)

จดั ทาโดย
นางสาวเกวลิน ชมภพู ล เลขที่ 4
นางสาววรรณพร ลุยภมู ิประสทิ ธิ์ เลขที่ 8

เสนอ
ครูภคั วดี ผลพฤกษา
ครูนีรนุช ส้มเกตุ

โรงเรยี นสวนศรีวทิ ยา
ภาคเรยี นท่ี 1 ปีการศึกษา 2563



คำนำ

โรคเบาหวาน เกิดจากร่างกายไม่สามารถนาน้าตาลกลูโคสในเลือดไปใช้เป็นพลังงานได้
ผ่านผลกระทบจากร่างกายไม่สามารถผลิตฮอร์โมนอินซูลิน (Insulin) หรือผลิตได้ไม่เพียงพอ
ซ่ึงอินซูลินมีหน้าท่ีในการนาน้าตาลกลูโคสเข้าสู่เซลล์ต่างๆ ในร่างกาย เม่ือร่างกายไม่สามารถ
นาน้าตาลกลูโคสไปใช้ได้ จึงทาให้เกิดการสะสมอยู่ในเลือดเป็นปริมาณสูง ส่งผลเสียต่อระบบต่างๆ
ในร่างกาย และทาให้เป็นโรคเบาหวานในทีส่ ุด

หนังสืออิเล็กทรอนิกส์น้ี (E-book)เป็นส่วนหนึ่งของรายวิชา การส่ือสารและการนาเสนอ
รหัสวิชา I30202 จัดระบบเน้ือหาที่จาเป็นอย่างเชื่อมโยงกัน เพื่อให้ผู้ศึกษาได้เป็นแนวทางเกี่ยวกับ
โรคเบาหวาน สาเหตุการเกิดโรคเบาหวาน อาการของโรคเบาหวาน วิธีการรักษาโรคเบาหวาน
และวิธีการป้องกันโรคเบาหวาน ท้ังนี้เพื่อเป็นประโยชน์แก่ผู้อ่านหรือผู้ท่ีสนใจศึกษาข้อมูลเกี่ยวกับ
ผู้ทีส่ นใจศกึ ษาข้อมลู เกยี่ วกับกลว้ ยไม้ต่อไป

เกวลิน ชมภพู ล
วรรณพร ลุยภูมปิ ระสิทธ์ิ

20 กรกฎาคม 2563



สำรบัญ

เร่อื ง หนา้



สำรบัญภำพ

ภาพที่ หนา้



สำเหตกุ ำรเกิดโรคเบำหวำน

สาเหตุของการเกิดโรคเบาหวาน มีดงั นี้

1. กรรมพนั ธ์ุ

2. อายทุ ่ีเพิ่มข้ึนแลว้

3. ภาวะน้าหนักตวั เกิน ภาพที่ 1 สาเหตกุ ารเกดิ โรคเบาหวาน
4. พฤตกิ รรมการรับประทานอาหาร ทมี่ า : http://thn24492222health.blogspot.com/
โรคเบาหวานแบง่ ออกเปน็ 4 ชนดิ คือ

เบาหวานชนิดที่ 1 เกิดจากการขาดอินซูลิน เน่ืองจากตับอ่อนไม่สามารถหลั่งอินซูลินได้เลย
(อนิ ซลู ินเป็นฮอร์โมนที่สรา้ งจากตับอ่อน ทาหน้าทชี่ ่วยนาน้าตาลเข้าสู่เซลล์ของร่างกาย เพ่ือเผาผลาญ
เปน็ พลงั งานในการดารงชีวติ ) เบาหวานชนดิ น้ีมักพบในเดก็ และผทู้ ่ีมอี ายนุ อ้ ยกวา่ 40 ปี

เบาหวานชนิดท่ี 2 พบมากในคนส่วนใหญ่ เกิดจากการที่เซลล์ของร่างกายตอบสนอง
ต่ออินซูลินได้ไม่ดีหรือที่เรียกว่าภาวะด้ือต่ออินซูลิน ทาให้ร่างกายเหมือนขาดอินซูลินไประดับหน่ึง
ร่างกายต้องทดแทนโดยการสร้างอินซูลินออกมามากข้ึน จนตับอ่อนทางานมากข้ึนจนทางานไม่ไหว
ถ้าไมช่ ่วยแกไ้ ข นอกจากนต้ี บั อ่อนของผูป้ ว่ ยเบาหวานชนิดน้ียังสร้างอินซูลินได้ไม่มากเท่าคนปกติด้วย
จึงมีระดับอินซูลินที่ไม่พอเพียงแก่ความต้องการ สาเหตุของภาวะดื้ออินซูลิน ได้แก่ พันธุกรรม
ความอ้วน และการไม่ออกกาลังกาย ดังนั้น หากมีประวัติคนในครอบครัวเป็นโรคเบาหวานร่วมกับ
มีพฤติกรรมการใช้ชีวติ ทไี่ มด่ ตี ่อสุขภาพ กจ็ ะมีโอกาสเปน็ โรคเบาหวานได้มากข้นึ



เบาหวานชนิดที่ 3 เป็นเบาหวานชนิดท่ีมีสาเหตุชัดเจน เกิดจากโรคท่ีมีเหล็กสะสมมากเกินไป
ในตับจนทาให้ตับเสียหาย การรับประทานยาบางชนิด เช่น สเตียรอยด์ การได้รับสารเคมี
ความผดิ ปกตขิ องฮอร์โมนจากต่อมหมวกไต

เบาหวานชนิดท่ี 4 เป็นเบาหวานทเ่ี กดิ ขนึ้ ขณะตั้งครรภ์ มักเกิดในผู้ที่ไม่มีประวัติเป็นเบาหวาน
มาก่อนตั้งครรภ์ เม่ือคลอดแล้วเบาหวานก็จะหายไป แต่คนกลุ่มนี้มีความเส่ียงท่ีจะเกิดเป็นเบาหวาน
ไดอ้ กี ในอนาคต

ปัจจัยเสย่ี งตอ่ การเกดิ โรคเบาหวาน

1. ปัจจยั เสย่ี งของการเกดิ โรคเบาหวานชนดิ ท่ี 1 (Type 1 diabetes,T1D)

โรคเบาหวานชนิดท่ี 1 เป็นโรคที่เกิดจากความบกพร่องของภูมิคุ้มกันของร่างกาย
ซ่งึ ทาให้มีการทาลายเบต้าเซลล์ด้วยภูมิคุ้มกันของร่างกายเอง อาการของโรคเบาหวาน T1D สามารถ
ค้นหาได้แต่เนิ่นๆ โดยการตรวจหาทางคลินิกด้วยแพทย์ผู้เชี่ยวชาญ สาเหตุที่ทาให้เกิดโรคน้ีนอกจาก
จะเกิดจากกรรมพันธ์ุแล้ว ปัจจัยอื่นๆ ที่เก่ียวข้องต่อการเกิดโรคน้ีอีกหลายประการ เช่น
รายงานทางระบาดวิทยาพบว่า ทารกท่ีได้รับสารอาหารต่อไปนี้เร็วกว่าเวลาอันสมควร มีอัตราเสี่ยงสูง
ต่อการเกิดโรคเบาหวานชนิดท่ี 1 ตัวอย่างของอาหาร เช่น นมวัว, ผลิตภัณฑ์จาพวกธัญพืช,
การได้รับสารไนไตรท์ และสารประกอบไนโตรซามีน นอกจากน้ีการที่เด็กมีส่วนสูงและน้าหนัก
มากเกนิ กว่าปกติ ทาให้มอี ตั ราเสีย่ งเพ่ิมขึน้ ตอ่ การเปน็ โรคเบาหวานชนิดที่1

2. ปัจจัยเสยี่ งโรคเบาหวานชนิดที่ 2 (Type 2 diabetes, T2D)

โรคเบาหวานชนิดท่ี 2 เกิดจากการท่ีตับอ่อนมีการหลั่งฮอร์โมนอินซูลินลดลงหรือการที่
ร่างกายมีภาวะดื้อต่อฮอร์โมนอินซลู ิน ซง่ึ มักพบวา่ ผู้ป่วยจะมอี าการจากทงั้ สองสาเหตนุ ้รี ่วมกนั



สาหรับการที่จะตรวจพบโรค T2D ในระยะเร่ิมต้นน้ันทาได้ยาก เน่ืองจากโรคน้ีจะไม่ปรากฏ
อาการ นอกจากนีย้ งั มปี ัจจยั อืน่ ๆที่ทาใหเ้ กดิ โรค T2D เช่น

- อายทุ ่ีเพ่ิมข้ึน
- BMI25 หรอื มากกวา่ ที่จัดว่าเปน็ overweight
- การรับประทานอาหารไม่ถูกสดั ส่วน
- โรคความดนั โลหติ สงู
- การมีลิโพโปรตีนชนิด LDL cholesterol ปรมิ าณสูงกว่าเกณฑ์
- มีระดบั HDL -cholesterol ตา่ กว่า 40 mg/dl
- มีระดบั ไตรกลเี ซอร์มากกวา่ 250 mg/dl
- มปี ระวัตบิ ุคคลในครอบครัวเปน็ โรคเบาหวาน
- มตี ้านทานน้าตาลกลโู คสในเลอื ดบกพร่อง
- มีกจิ กรรมเคลอื่ นไหวร่างกายนอ้ ย
- เป็นโรคเบาหวานขณะตง้ั ครรภ์ หรอื ให้กาเนิดทารกแรกคลอดทมี่ ีนา้ หนกั มากกว่า 4.1

กิโลกรัม (9 ปอนด์)

3. ปจั จยั เสย่ี งของการเกดิ โรคเบาหวานในเดก็ และวยั รุ่น (Type 2 Diabetes in Youth)

โรคเบาหวานในเด็กแ ละวัยรุ่นจัดว่าเป็นกลุ่มย่อยของโรคเบาหวานชนิดท่ี 2
อุบัติการณ์ของโรคเบาหวานชนิดที่ 2 ในเด็กและวัยรุ่นมีสถิติเพ่ิมข้ึนอย่างรวดเร็วต้ังแต่ ค.ศ.1980
เป็นการสะท้อนให้เห็นถึงการบริโภคที่ไม่เหมาะสมและขาดการเคลื่อนไหว จัดว่าเป็นปัญหาสุขภาพ
ที่ต้องให้การรักษาอย่างเร่งด่วน ปัจจัยเส่ียงท่ีก่อให้เกิดโรคเบาหวานในเด็ก ได้แก่ มารดา
เป็นโรคเบาหวานขณะตั้งครรภ์ , ทารกแรกคลอดมีน้าหนักต่ากว่าเกณฑ์หรือน้าหนักมากกว่าเกณฑ์ ,
หลังคลอดทารกไม่ได้กินนมแม่ , มีประวัติบุตรคนก่อนเป็นโรคเบาหวาน ซ่ึงจะทาให้บุตรคนต่อไป
มโี อกาสเป็นโรคเบาหวานมากกวา่ 4 เท่า , มารดาดื่มแอลกอฮอล์ขณะตั้งครรภ์



4. ปัจจัยเสี่ยงของการเกิดโรคเบาหวานขณะต้ังครรภ์ (Gestational Diabetes Mellitus,
GDM)

สตรีที่มีภาวะเสี่ยงต่อการเกิดโรคเบาหวานชนิดที่ 1 และ 2 อยู่แล้ว เม่ือต้ังครรภ์
จะมีภาวะเสี่ยงต่อการเกิดโรคเบาหวาน เนื่องจากเมแทบอลิซึมที่เปลี่ยนแปลงของร่างกาย
ดังน้ัน สตรีท่ีมีภาวะเส่ียงต่อการเกิดโรคเบาหวานควรปรึกษาแพทย์ก่อนการต้ังครรภ์เพ่ือทา
การประเมินเบ้ืองต้นของการเกิดโรคเบาหวานในระหว่างการครรภ์และเม่ือมีการตั้งครรภ์แล้ว
ต้องมีการติดตรามประเมินผลภาวะแทรกซ้อนของโรคเบาหวานที่เกิดข้ึน โดยเฉพาะช่วง
24-28 สปั ดาหข์ องการตงั้ ครรภ์ เพอ่ื ปอ้ งกนั การแทง้ บุตรและความผดิ ปกตติ ้งั แต่กาเนดิ ของทารก

ภาพที่ 2 สาเหตุการเกิดโรคเบาหวาน
ท่มี า : https://pixabay.com/th/



โรคแทรกซ้อนจากการการเป็นโรคเบาหวาน
หากเกิดภาวะมีน้าตาลในเลือดสูงอาจทาให้อวัยวะและเนื้อเย่ือทั่วร่างกายถูกทาลาย

และทาให้มโี รคแทรกซ้อนซึง่ เกิดจากผลกระทบของโรคเบาหวานไดด้ ังนี้
1. โรคหวั ใจ หัวใจวายและโรคหลอดเลอื ดสมอง
2. โรคระบบประสาท
3. โรคไต
4. โรคจอประสาทตาทที่ าใหส้ ูญเสียการมองเห็น
5. สญู เสยี การได้ยนิ
6. การติดเชอ้ื ที่เทา้ ทาให้แผลรักษายาก หายช้า
7. ผวิ ตดิ เชื้อแบคทีเรยี และเชอื้ รา
8. สมองเสื่อม
9. ภาวะแทรกซ้อนที่เกิดโรคเบาหวานขณะต้งั ครรภ์



โรคเบาหวานขณะต้งั ครรภ์อาจสง่ ผลไปสทู่ ารกในครรภ์ และมารดา ท่ีไม่มีการควบคุมสามารถ
นาไปสปู่ ญั หาท่ีสง่ ผลกระทบตอ่ ทงั้ แม่และเดก็ ภาวะแทรกซอ้ นที่มผี ลต่อทารกและมารดามดี งั น:ี้

1. การคลอดกอ่ นกาหนด
2. ทารกแรกเกดิ มีน้าหนักตวั มากกวา่ ปกติ
3. มีการดาเนนิ ชีวิตท่ีมีความเสี่ยงตอ่ โรคเบาหวานชนิดที่ 2
4. มีน้าตาลในเลอื ดตา่
5. เปน็ โรคดีซา่ น
6. อาจทาใหท้ ารกเสียชิวติ ในครรภ์
มารดาอาจมีโรคแทรกซ้อน เช่น โรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวานชนิดท่ี 2 อาจทาให้
ต้องได้รับการผ่าคลอดแบบ C-Section อาจเพ่ิมความเส่ียงของมารดาท่ีเป็นโรคเบาหวานขณะ
ตงั้ ครรภไ์ ด้อกี ในอนาคตดว้ ย

ภาพที่ 3 สาเหตุการเกิดโรคเบาหวาน
ที่มา : https://pixabay.com/th/



อำกำรของโรคเบำหวำน

ปกตแิ ล้วโรคเบาหวานมักไม่แสดงอาการออกมาให้รับรู้ แต่ผู้ป่วยสามารถสังเกตอาการได้จาก
ภาวะต่างๆ ในร่างกาย โดยมลี กั ษณะอาการดงั นี้

1. ปัสสาวะบ่อยขึ้น หิวน้ามากข้ึน: หากเริ่มมีอาการปัสสาวะบ่อยขึ้นและหิวน้ามากข้ึน

โดยเฉพาะตอนกลางคืนจะกระหายน้ามากกว่าเดิม นี่เป็นสัญญาณของโรคเบาหวาน เพราะร่างกาย
ตอ้ งการขับน้าตาลทมี่ ีอย่สู ูงในเลอื ดออกมาทางปัสสาวะ

2. น้าหนักลด: น้าหนักท่ีลดผิดปกติอาจเป็นสัญญาณเตือนของโรคบางชนิดก็ได้ โดยเฉพาะ

เบาหวาน การมีน้าตาลในเลือดสูง จะทาให้น้าหนักลดลงเร็วมาก ประมาณ 5-10 กิโลกรัมภายใน
2-3 เดอื น

3. บาดแผลหายช้า: หากมีแผลท่ีบริเวณผิวหนัง เช่น มีดบาด การติดเชื้อ หรือรอยฟกช้าและ

แผลหายช้ามาก นั่นเป็นสัญญาณบ่งบอกให้รู้ว่า คุณอาจเป็นโรคเบาหวาน เพราะระดับน้าตาล
ในเลือดทส่ี งู ของผปู้ ว่ ยเบาหวานจะไปขัดขวางการทางานของหลอดเลือด ทาให้แผลหายชา้

4. หิวบ่อย กินจุบจิบ: ถ้าเกิดหิวบ่อย และกินจุกจิกข้ึนมาโดยไม่ทราบสาเหตุ คุณอาจเป็น

เบาหวานแล้วกไ็ ด้ เพราะเมือ่ ระดับน้าตาลในเลือดต่า จะทาให้ร่างกายต้องการอาหาร เพื่อเพิ่มระดับ
น้าตาลในเลือด จึงส่งสญั ญาณเป็นความหวิ นั่นเอง

5. อ่อนเพลีย อารมณ์ไม่คงท่ี: อาการอ่อนเพลีย และ

อารมณ์ฉุนเฉียวเป็นส่ิงท่ีเกิดขึ้นกับผู้ป่วยเบาหวานทุกคน
เพราะเมื่อมีระดับน้าตาลในเลือดสูงจะส่งผลต่อการทางาน
ทุกระบบ รวมถึงภาวะอารมณด์ ว้ ย

ภาพที่ 1 อาการของโรคเบาหวาน

ทมี่ า : https://health.mthai.com/



โรคเบาหวานชนิดที่ 1
อาการของผู้ป่วยโรคเบาหวานชนิดที่ 1 มีดงั น้:ี
1. หิวบอ่ ย
2. มีความกระหายนา้ บ่อย
3. นา้ หนกั ลด
4. ปัสสาวะบ่อย
5. สายตาพร่ามัว
6. มอี าการเหน็ดเหน่ือย เมื่อยลา้
7. อารมณ์แปรปรวน

โรคเบาหวานชนดิ 2
อาการที่บง่ บอกว่าเปน็ โรคเบาหวานชนดิ ที่ 2 มีดังน:้ี
1. หิวบอ่ ย
2. กระหายน้าบ่อย
3. ปสั สาวะบ่อย
4. มองเห็นไม่ชดั สายตาพร่ามวั
5. มอี าการเหน่ือยง่าย เม่อื ยล้าไดง้ ่าย
6. หากมีแผล แผลจะหายช้ากว่าปกติ นอกจากน้ีอาจทาให้เกิดการติดเชื้อซ้า

เพราะระดับกลูโคสในร่างกายมีมากขึน้ อาจทาให้รกั ษาได้ยากขนึ้



โรคเบาหวานขณะตงั้ ครรภ์
อาการโรคเบาหวานขณะต้ังครรภ์ มักไม่มีอาการอะไร ส่วนใหญ่จะตรวจพบว่า

มีน้าตาลในเลือดสูงกว่าปกติ และมักจะพบในระหว่างการต้ังครรภ์ในสัปดาห์ที่
24-28 อ า ก า ร ข อ ง เ บ า ห ว า น ข อ ง ผู้ ห ญิ ง ข ณ ะ ตั้ ง ค ร ร ภ์ มั ก จ ะ ก ร ะ ห า ย น้ า บ่ อ ย
ปัสสาวะบ่อย อาการของโรคเบาหวานระยะแรกมกั จะไมม่ อี าการรนุ แรง

ภาพท่ี 2 อาการของโรคเบาหวาน
ท่ีมา : https://pixabay.com/th/



วธิ ีกำรรกั ษำโรคเบำหวำน

โรคเบาหวานเป็นโรคท่ีไม่มีวิธีรักษาให้หายขาดได้ แต่สามารถควบคุมความรุนแรง
ของโรคให้อยใู่ นระดับทคี่ งท่ี และบรรเทาอาการลงได้ โดยแนวทางในการรักษามอี ยู่ 2 วิธี คอื

1. วิธีรักษาโรคเบาหวานตามแนวทางแพทย์แผนปัจจุบัน: ในเบ้ืองต้นแพทย์จะให้
ผปู้ ่วยรบั ประทานยา หรอื ฉดี อินซูลนิ เข้าสกู่ ระแสเลอื ด ท้งั นกี้ ็ขนึ้ อยู่กับอาการความรุนแรงของ
โรค และการวินจิ ฉยั ของแพทยด์ ว้ ย

2. วิธีรักษาโรคเบาหวานตามแนวทางธรรมชาติบาบัด: เป็นวิธีที่เหมาะกับผู้ป่วย
โรคเบาหวานในระยะแรก โดยวิธีธรรมชาติบาบัดนั้นจะช่วยบรรเทาอาการของผู้ป่วย
ได้เป็นอย่างมาก หากทาควบคู่กับการรับประทานยา หรือการฉีดอินซูลิน สาหรับวิธีรักษา
กม็ ีดว้ ยกนั ดังตอ่ ไปน้ี

ควบคุมเมนูอาหาร: ผู้ป่วยเบาหวานไม่สามารถรับประทานอาหารได้เหมือนกับคนปกติท่ัวไป
ซึ่งจะต้องหลีกเลี่ยงอาหารต้องห้าม ได้แก่ อาหารรสชาติหวานจัด เค็มจัด เนื้อติดมัน และ
เสริมด้วยอาหารที่มีประโยชน์เพื่อป้องกันไม่ให้ร่างกายขาดสารอาหาร รวมทั้งเลือก
รับประทานอาหารและสมุนไพรที่มีส่วนช่วยในการลดระดับน้าตาลในเลือดด้วย เช่น ตาลึง
มะระข้นี ก และอบเชย

ออกกาลังกายอย่างสม่าเสมอ: ถือเป็นทางเลือกหนึ่งในการรักษาเบาหวาน ด้วยวิธีธรรมชาติ
บาบัด การออกกาลังกายจะทาให้ร่างก ายดึงน้าตาลมาใช้เป็นพลังงานมากขึ้น
จึงช่วยลดปรมิ าณน้าตาลในเลือดใหไ้ ด้



ทาจิตใจให้ผ่อนคลาย: ความกลัว ความกังวล และความเครียด อาจทาให้ภาวะน้าตาล
ในเลือดพุ่งสูงขึ้น ดังนั้นจึงควรทาจิตใจให้ผ่อนคลาย เพ่ือรักษาระดับน้าตาลในเลือดให้อยู่ใน
ระดบั ปกติ

การรักษาโรคเบาหวานชนิดที่ 1 การรักษาระบบอินซูลินคือหลักของการรักษา
โรคเบาหวานชนิดที่ 1 เพื่อให้ทดแทนในกรณีที่รา่ งกายไม่สามารถผลิตอินซูลนิ ได้

มีอินซูลินหลายประเภทท่ีนิยมใช้ในการรักษา แต่ละชนิดจะมีระดับของปฏิกิริยาและ
ระยะเวลาท่ีแตกตา่ งกนั ออกไป

1. อนิ ซลู ินทอ่ี อกฤทธเ์ิ ร็วจะเริม่ ทางานภายใน 15 นาทีและอยูไ่ ด้นาน 3-4 ชั่วโมง

2. อินซูลนิ ท่ีออกฤทธิ์ส้ันเร่มิ ทางานภายใน 30 นาทีและอยูไ่ ด้นาน 6-8 ช่ัวโมง

3. อินซูลินท่ีออกฤทธิ์ปานกลางเร่ิมทางานภายใน 1 – 2 ชั่วโมงและอยู่ได้นาน
12-18 ชวั่ โมง

4. อินซูลินที่ออกฤทธ์ินาน เริ่มทางานหลังจากฉีดเข้าสู่ร่างกายภายในเวลา
ไมก่ ่ีชั่วโมงและอยไู่ ดน้ านถงึ 24 ชว่ั โมงหรืออาจนานกวา่ นน้ั

การรักษาโรคเบาหวานชนิดท่ี 2 อาจรักษาด้วยการควบคุมอาหาร การออกกาลังกาย
จะทาให้มีผลต่อระดับน้าตาลในเลือดลดลง หากจาเป็นต้องใช้ยารักษา ผู้ป่วยท่ี
เป็นโรคเบาหวานอาจจะได้รับยามากกว่า 1 ชนิดข้ึนไป และผู้ป่วยโรคเบาหวานชนิดที่ 2
อาจตอ้ งได้รับอนิ ซลู ินเพ่มิ ขนึ้ ดว้ ย

การรักษาโรคเบาหวานขณะตั้งครรภ์ ผู้ป่วยโรคเบาหวานขณะตั้งครรภ์ต้องได้รับ
การติดตามดูแลระดับน้าตาลในเลือดอย่างใกล้ชิด และตรวจเช็คในหลายครั้งต่อ 1 วัน
หากมีน้าตาลในเลือดมากเกินไป ควรควบคุมอาหารและออกกาลังกายเพ่ือลดระดับน้าตาล
ในเลอื ดใหอ้ ยใู่ นระดับท่ไี ม่สูงจนเกนิ ไป



โรคเบาหวานและการควบคมุ อาหาร
การกินเพ่ือสุขภาพเป็นส่วนสาคัญในการรักษาโรคเบาหวาน การควบคุมอาหาร

ของคณุ อาจทาให้รักษาโรคเบาหวานได้
การเลือกทานอาหารสาหรับผู้ท่ีเป็นโรคเบาหวานชนิดท่ี 1 ระดับน้าตาลในเลือด

อาจเพิ่มข้ึนหรือลดลงตามอาหารที่ผู้ป่วยทานเข้าไป หากทานอาหารจาพวกแป้ง
และอาหารที่มีน้าตาลส่งผลให้ระดับน้าตาลเพ่ิมข้ึนอย่างรวดเร็ว ทานอาหารท่ีมีไขมัน
และจาพวกโปรตีนในระดบั ท่พี อดีสามารถควบคุมระดบั น้าตาลไดด้ ี

การเลือกทานอาหารสาหรับ ผู้ที่เป็นโรคเบาหวานขนิดที่ 2 การควบคุม
การรับประทานอาหารให้เหมาะสมกับร่างกายและการควบคุมน้าหนัก สามารถควบคุม
ร ะ ดั บ น้ า ต า ล ไ ด้ ดี ย่ิ ง ข้ึ น แ น ว ท า ง ก า ร ดู แ ล ผู้ ป่ ว ย เ บ า ห ว า น ส่ิ ง ส า คั ญ ย่ิ ง คื อ
รักษาระดับคาร์โบไฮเดรทในร่างกาย เป็นส่วนสาคัญของการรักษาโรคเบาหวานชนิดท่ี 2
ผู้ป่วยควรรักษาระดับของคาร์โบไฮเดรทท่ีบริโภคในแต่ละม้ือในแต่ละมื้อ ไม่ควรทานอาหาร
มื้อหนกั จะสง่ ผลใหก้ ารรกั ษาระดับน้าตาลไดค้ งทแ่ี ละควรเนน้ อาหารสขุ ภาพเช่น

1. การทานผลไม้
2. ทานผกั เยอะๆ
3. ทานอาหารจาพวกธัญพืช
4. ทานอาหารทม่ี โี ปรตนี จาพวกปลา และสัตวป์ ีก จาพวกเป็ดไก่
5. อาหารจาพวกไขมันที่ดตี ่อสขุ ภาพเช่น น้ามันมะกอกและถว่ั

ภาพท่ี 1 วธิ กี ารรกั ษาโรคเบาหวาน
ท่ีมา : http://chaprachanyim.com/health_CENTER



อาหารบางอย่างเป็นตัวทาลายระบบอินซูลินในร่างกาย ควรระมัดระวัง
การบรโิ ภคอาหารในแตล่ ะวัน ควรหลกี เลีย่ งอาหารทีเ่ สี่ยงตอ่ การเกดิ โรคเบาหวาน
การเลือกรบั ประทานอาหารสาหรับผู้ทเี่ ป็นโรคเบาหวานขณะต้ังครรภ์

คาแนะสาหรับผู้ป่วยเบาหวานในการควบคุมอาหารสาหรับผู้ป่วยโรคเบาหวาน
ขณะตั้งครรภ์ มีความสาคัญต่อทั้งมารดาและทารกในครรภ์ ควรเลือกรับประทานอาหาร
ที่เป็นประโยชน์ จะช่วยให้หลีกเลี่ยงการใช้ยาเพ่ือรักษาโรคเบาหวานสาหรับ
สตรีท่ีอยู่ระหวา่ งตง้ั ครรภไ์ ด้ดว้ ย

ควบคุมสัดส่วนของอาหารอย่างเคร่งครัด ควบคุมอาหารที่มีความหวาน และเค็ม
หลีกเล่ียงการอาหารจาพวกน้ีมากเกินไป หากต้องการกินเพ่ือบารุงทารกในครรภ์
ควรทานในระดับที่พอดีไม่มากจนเกินไป หากต้องการความม่ันใจในการควบคุมอาหาร
ควรปรึกษานักโภชนาการเพ่ือควบคุมดูและให้ข้อมูลในการบริโภคอาหารมื้อหลักๆ
ของผ้ปู ว่ ยไดอ้ ย่างถกู ต้อง

ภาพที่ 2 วธิ กี ารรกั ษาโรคเบาหวาน
ที่มา : https://pixabay.com/th/



วธิ กี ำรป้องกันโรคเบำหวำน

การป้องกันไม่ให้เป็นโรคเบาหวานไม่ใช่เรื่องยาก แค่เร่ิมจากการป้องกันท่ีต้นเหตุ
กส็ ามารถลดความเส่ยี งตอ่ การเกิดโรคได้มากขน้ึ โดยสามารถปฏบิ ตั ิตามไดง้ ่ายๆ ดังน้ี

1. ออกกาลังกายอย่างสม่าเสมอ: ควรออกกาลังกายอย่างต่อเน่ืองให้ได้อย่างน้อย
คร้ังละ 30 นาที สัปดาห์ละ 3-4 ครั้ง เพื่อให้แป้งและน้าตาลที่สะสมอยู่ในกล้ามเน้ือถูกดึง
ออกไปใชเ้ ป็นพลงั งาน ซ่ึงจะทาใหร้ ะดบั แปง้ และนา้ ตาลลดลง

2. ควบคุมน้าหนักให้คงที่: พยายามอย่าให้น้าหนักเกินเกณฑ์หรือหากใครท่ี
เป็นโรคอ้วน ก็ควรรีบลดน้าหนักโดยด่วน เพราะจากการวิจัยพบว่าผู้ที่มีน้าหนักเกินล้วน
มีความเส่ียงต่อโรคเบาหวานสงู ถงึ 80%

3. รับแสงแดดอ่อนๆ ยามเช้าหรือเย็น: แสงแดดอ่อนๆ ในยามเช้าและตอนเย็นน้ัน
อุดมไปด้วยวิตามินดี ท่ีมีประโยชน์ต่อร่างกาย ซึ่งวิตามินดี ไม่เพียงแต่จะบารุงผิวพรรณให้
ดูเปล่งปลง่ั มากขึ้นเท่านน้ั แต่ยงั ช่วยปอ้ งกันโรคเบาหวานไดอ้ ีกด้วย

4. รับประทานข้าวกล้องแทนข้าวขาว: ข้าวกล้องอุดมไปด้วยวิตามินและสารอาหาร
ต่างๆ มากมาย อีกท้ังยังไม่ทาให้อ้วนอีกด้วย และท่ีสาคัญข้าวกล้องยังช่วยลดความเสี่ยงใน
การเกิดโรคเบาหวานได้ดี

5. หลีกเล่ียงการด่ืมแอลกอฮอล์: เคร่ืองดื่มแอลกอฮอล์จะทาลายตับให้เส่ือมสภาพลง
และเส่ียงต่อภาวะตับแข็ง ซึ่งเมื่อตับอ่อนเกิดความผิดปกติก็จะทาให้ผลิตอินซูลินได้น้อยลง
สง่ ผลให้เกิดการสะสมน้าตาลในร่างกายเปน็ จานวนมาก จนกระท่งั เสีย่ งตอ่ เป็นโรคเบาหวาน

\



6.รับประทานอาหารให้ครบ 5 หมู่: การรับประทานอาหารให้ครบ 5 หมู่ จะทาให้
ร่างกายไดร้ บั สารอาหาร และวติ ามินอย่างเพียงพอ สง่ ผลให้ทกุ ส่วนในร่างกาย มีความแข็งแรง
สมบูรณ์มากข้นึ จงึ ลดความเสยี่ งเบาหวานไดด้ ีนน่ั เอง

สาหรับโรคเบาหวานชนิดท่ี 1 ไม่สามารถป้องกันได้ เนื่องจากระบบภูมิคุ้มกัน
ในร่างกายบกพร่อง แต่ในส่วนของโรคเบาหวานชนิดที่ 2 อาจมีสาเหตุมาจากยีนส์
ในร่างกาย อายุ ซึ่งไม่สามารถควบคุมได้อยู่แล้ ว ยังมีปัจจัยเส่ียงอื่นๆ ที่สามารถ
ควบคุมการเกิดโรคเบาหวานได้ แต่สิ่งที่ดีท่ีสุดในการป้องกันโรคเบาหวานคือ
การดูแลอาหารการกนิ ทบ่ี ริโภคในแต่ละวัน รวมทั้งการออกกาลังกายอย่างสม่าเสมอ จะทาให้
สุขภาพห่างไกลจากการเป็นโรคเบาหวานได้อย่างดีท่ีสุด หากผู้ป่วยได้รับการวินิจฉัยว่า
เข้าสู่ภาวะก่อนการเป็นโรคเบาหวาน ผู้สามารถดูแลตัวเองเพ่ือไม่ให้เข้าสู่การเป็น
โรคเบาหวานชนิดที่ 2 ไดด้ ังนี้

1. ออกกาลังกายแบบเต้นแอโรบิค เดิน หรือป่ันจักรยาน อย่างน้อย 150 นาที
ต่อสัปดาห์

2. ลดการรบั ประทานอาหารทีม่ ีไขมันอมิ่ ตัว ไขมนั ทรานส์และอาหารจาพวกแป้ง

3. รบั ประทานผกั ผลไม้ และอาหารจาพวกธญั พชื ใหม้ ากข้นึ

4. รับประทานอาหารในปริมาณทพ่ี อดี

5. พยายามลดน้าหนักให้ได้อย่างน้อย 7% ตามสัดส่วนของร่างกายหากเริ่มมี
น้าหนกั ตัวมากเกินไป

การป้องกันโรคเบาหวานระหว่างตั้งครรภ์ ถึงแม้ว่าผู้หญิงที่ไม่เคยเป็นโรคเบาหวาน
แต่หากต้ังครรภ์แล้ว อาจมีความเสี่ยงในการเป็นโรคเบาหวานระหว่างตั้งครรภ์ได้ เนื่องจาก
ร ก ข อ ง ท า ร ก ใ น ค ร ร ภ์ มี ก า ร ผ ลิ ต ฮ อ ร์ โ ม น แ ล้ ว ท า ใ ห้ มี ผ ล ก ร ะ ท บ ข อ ง โ ร ค เ บ า ห ว า น
อันเนื่องมาจากการทางานของอินซูลินได้ สาหรับผู้หญิงบางคนก็อาจเข้าสู่ภาวะของ
โรคเบาหวานมาก่อน ก่อนทจี่ ะตง้ั ครรภ์ ซ่งึ ภาวะนี้เรียกวา่ โรคเบาหวานกอ่ นการตั้งครรภ์



สาหรับการเป็นเบาหวานขณะต้ังครรภ์ อาจหายได้หลังจากมีการคลอดลูกแล้ว แต่อาจจะ
สามารถเป็นเบาหวานได้อีกในภายหลัง โดยส่วนใหญ่ในปริมาณคร่ึงหน่ึงของผู้หญิง
ท่ีเป็นเบาหวานระหว่างต้ังครรภ์จากจานวนผู้หญิงท่ีตั้งครรภ์ในจานวนท้ังหมด มีความเส่ียง
ต่อการเป็นโรคเบาหวานชนิดที่ 2 หลังจากคลอดลูกแล้วในระยะเวลา 5 ปี หรือ 10 ปีต่อมา
การเป็นโรคเบาหวานขณะตั้งครรภ์ อาจทาให้เกิดโรคแทรกซ้อนสาหรับทารกในครรภ์ได้
เช่น โรคดีซ่าน หรือโรคทางเดินหายใจ หากผู้ป่วยได้รับการวินิจฉัยว่าเป็นโรคเบาหวาน
ก่อนการต้ังครรภ์ หรือเป็นโรคเบาหวานขณะต้ังครรภ์ ผู้ป่วยควรได้รับการรักษาและดูแล
อย่างเป็นพิเศษ เพอื่ ป้องกนั การเขา้ ส่ภู าวะแทรกซ้อนอ่ืนๆตามมา

การปอ้ งกันโรคเบาหวานในเดก็

เด็กสามารถเป็นโรคเบาหวานชนิดท่ี 1 และชนิดท่ี 2 ได้ การควบคุมระดับน้าตาล
ในเลือดจึงเป็นสิ่งสาคัญเป็นอย่างมาก เพราะโรคเบาหวานสามารถทาลายอวัยวะร่างกาย
ที่สาคัญของร่างกายไดเ้ ช่น หวั ใจและไต

โรคเบาหวานในเดก็ ชนิดที่ 1

อาการหลักของการเริ่มเป็นโรคเบาหวานชนิดท่ี 1 ในเด็กคือ ปัสสาวะบ่อย ซ่ึงอาจ
มาจากการเร่ิมปัสสาวะบนที่นอนบ่อยถึงแม้ว่าได้รับการฝึกให้ปัสสาวะในห้องน้าแล้วมีอาการ
กระหายน้าอย่างรุนแรง เหนื่อยง่าย หิวบ่อย เด็กท่ีเข้าสู่ภาวะ การเป็นโรคเบาหวานชนิดที่ 1
ควรได้รับการรักษาอย่างใกล้ชิดโดยทันที เพราะอาจทาให้มีระดับน้าตาลในเลือดสูงและ
ภาวะขาดน้าฉุกเฉินได้

โรคเบาหวานในเด็กชนดิ ท่ี 2

หากโรคเบาหวานในเด็กชนิดท่ี 2 ส่วนใหญ่มาจากเด็กที่มีน้าหนักเกินเกณฑ์มาตรฐาน
เลยทาให้ 40% ของจานวนเด็กเป็นโรคเบาหวานชนิดที่ 2 หากไม่ได้รับการรักษาอย่าง
ทันท่วงทอี าจะทาให้เกิดโรคแทรกซอ้ นได้เช่น โรคหวั ใจ โรคไตและอาจทาให้ตาบอดได้



ดังนั้นการควบคุมดูแลอาหารการกินจึงเป็นส่วนสาคัญยิ่งในการดูแลสุขภาพของเด็กๆ
เพอ่ื ให้เกดิ การมปี ญั หาของระดับนา้ ตาลในเลือด

การดูแลรักษาดว้ ยตัวเอง

โ ร ค เ บ า ห ว า น ช นิ ด ท่ี 1 น้ั น ไ ม่ ส า ม า ร ถ ป้ อ ง กั น ห รื อ ค ว บ คุ ม ไ ด้ อ ยู่ แ ล้ ว
แต่หากดูแลตัวเองเก่ียวกับอาหารกิน การออกกาลังกาย รวมท้ังการควบคุมน้าหนัก
เพื่อไมใ่ ห้มนี า้ หนกั เกนิ กส็ ามารถป้องกันการเขา้ ส่ภู าวะโรคเบาหวานชนิดที่ 2 ได้มากขึ้น

ควรปรึกษาแ พทย์เพ่ื อรับการรักษาในทั นทีหากพบว่าร่างก ายอยู่ในภ าวะ เสี่ย ง
ในการเป็นโรคเบาหวาน และควรได้รับการตรวจระดับน้าตาลในเลือดโดยทัน
และควรทาตามคาแนะนาของแพทยอ์ ย่างเคร่งครดั

การพยาบาลผู้ป่วยเบาหวาน

ก า ร พ ย า บ า ล ผู้ ป่ ว ย เ บ า ห ว า น โ ด ย ม า ก จ ะ ดู จ า ก อ า ก า ร ที่ ผู้ ป่ ว ย ก า ลั ง เ ป็ น อ ยู่
ในเวลาน้นั แต่โดยทว่ั ไปแลว้ อาจจะแบง่ เป็นการดูแลในเร่ืองหลกั ๆของผ้ปู ่วย ได้ดังนี้

1. ผู้ป่วยควรรับประทานอาหารประเภทผักสด ผักใบเขียว และอาหาร
ประเภทธัญพืชเป็นประจา

2. ไม่ควรให้ผู้ป่วยรับประทานน้าตาลทุกชนิด รวมไปถึงของหวานทุกประเภท
และผลไม้ท่มี ีรสชาติหวานๆ

3. ผู้ป่วยควรรับประทานอาหารให้ครบทั้ง 3 มื้อ และควรมีสัดส่วนและ
ปรมิ าณในการบริโภคใกล้เคียงกนั

4. ควรกาหนดปรมิ าณของอาหารประเภทแป้ง และผลไม้ให้อยู่ ในปริมาณท่ีพอเหมาะ
ไมน่ ้อยหรือมากจนเกนิ ไป

5. ควรงดการดื่มเคร่อื งด่ืมประเภทแอลกอฮอล์ รวมไปถงึ น้าผลไม้ตา่ งๆ

6. ควรงดใหผ้ ู้ปว่ ยรับประทานอาหารที่มรี สชาติเคม็ ทกุ ชนดิ



7. ผู้ป่วยควรอาบนา้ อย่างน้อยวันละ 2 ครัง้
8. ควรใส่ใจทาความสะอาดเท้าของผู้ป่วยเป็นพิเศษ เพราะเท้ามักจะเป็น
จดุ ทเ่ี กดิ บาดแผลได้ง่ายๆ
9. ควรทาความสะอาดข้าวของเครื่องใช้ต่างๆของผู้ป่วยอยู่เสมอ เพ่ือป้องกัน
การตดิ เช้ือตา่ งๆ โดยเฉพาะผูป้ ่วยทม่ี บี าดแผลตามส่วนตา่ งๆ ของรา่ งกาย
10. ผู้ป่วยเบาหวานควรออกกาลังกายอย่างสม่าเสมอและไม่ควรหักโหมจนเกินไป
การออกกาลังจะช่วยให้ร่างกายสามารถสร้างภูมิต้านทานโรคได้มากขึ้นและสามารถช่วย
ปอ้ งกนั การเกดิ ภาวะโรคแทรกซอ้ นต่างๆ ได้อกี ด้วย

ภาพที่ 1 วธิ ีการปอ้ งกนั โรคเบาหวาน
ที่มา : https://pixabay.com/th/



สรปุ

จากการศกึ ษาโรคเบาหวานนัน้ ทาใหท้ ราบถงึ สาเหตุของโรคเบาหวานเกดิ จากกรรมพันธ์ุ
น้าหนกั ตัวเกนิ อายทุ ี่เพ่มิ ข้นึ และพฤติกรรมการรับประทานอาหาร และยังทาให้ทราบถงึ อาการของ
โรคเบาหวานวา่ มีอาการปัสสาวะบอ่ ยขน้ึ หวิ น้ามากขน้ึ น้าหนักลด บาดแผลหายช้า หวิ บอ่ ย กิน
จบุ จิบ ออ่ นเพลียและอารมณไ์ มค่ งที่ ทาให้ทราบถึงวิธกี ารรกั ษาโรคเบาหวาน โดยการใชว้ ธิ รี ักษา
โรคเบาหวานตามแนวทางแพทยแ์ ผนปัจจบุ นั และวิธีรกั ษาโรคเบาหวานตามแนวทางธรรมชาติบาบดั
และยงั ทาใหท้ ราบถึงวิธกี ารปอ้ งกันโรคเบาหวานอีกด้วยการออกกาลงั กายอย่างสม่าเสมอ ควบคุม
น้าหนักให้คงที่ รับแสงแดดออ่ นๆยามเช้าหรือเยน็ รับประทานขา้ วกล้องแทนข้าวขาวและหลกี เลย่ี ง
การดื่มแอลกอฮอล์



บรรณำนกุ รม

โรงพยาบาลบารงุ ราษฎร์. (2559, 12 พฤษภาคม). เบาหวาน. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก :
http://www.th/health-blog/. (วันทค่ี น้ ข้อมูล : 23 มถิ ุนายน 2563).

Bangkok Hospital. (2559). สาเหตแุ ละโอกาสทท่ี าใหเ้ กดิ โรคเบาหวาน. [ออนไลน]์ . เข้าถงึ ได้จาก :
http://www.bangkokpattayahospital.com/. (วันท่คี น้ ขอ้ มูล : 23 มิถนุ ายน 2563).

สุรเกียรติ อาชานานภุ าพ. (2534). แนะยา-แจงโรค : เบาหวาน. หมอชาวบ้าน, 16(192), หนา้ 17-23.
สมพร วชั ระศิลป์. (2553, เมษายน). บทความพิเศษ : นวตั กรรมสขุ ภาพกับการดูแลผู้ปว่ ยเบาหวาน.

หมอชาวบ้าน, 31(372), หนา้ 36-43.
กาพล ศรีวฒั นกลุ . (2529). คมู่ อื ยาประชาชน. (พิมพค์ รั้งที่ 3). ม.ป.พ.
อญั ชลี ศรีจาเริญ. (2556). อาหารและโภชนาการ. (พิมพค์ รั้งท่ี 3). ม.ป.พ.


Click to View FlipBook Version