The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by TMD_Institute TMD, 2019-05-27 22:50:29

1.เกษตร ต.ค.61

1.เกษตร ต.ค.61

กรมอุตนุ ยิ มวิทยา

๔๓๕๓ ถนนสุขุมวทิ บางนา กรงุ เทพฯ ๑๐๒๖๐

METEOROLOGICAL DEPARTMENT

4353 SUKHUMVIT ROAD, BANGKOK 10260, THAILAND

รายงานอุตนุ ิยมวิทยาเกษตร
ตลุ าคม 2561

Agrometeorological Report
October 2018

รายงานอากาศเลขท่ี ๕๕๑.๕๘๖-๐๑-๒๕๖๒

Weather Report No. 551.586-01-2019

รายงานอุตุนยิ มวิทยาเกษตร
ตลุ าคม 2561

สว นอตุ นุ ิยมวทิ ยาเกษตร กองพฒั นาอตุ นุ ิยมวทิ ยา
กรมอตุ นุ ยิ มวิทยา

กระทรวงดจิ ิทลั เพ่ือเศรษฐกิจและสงั คม

คํานาํ

วิธีการเพิ่มผลผลิตทางการเกษตรใหไดมาตรฐานและมีคุณภาพ นอกจากตองมีเทคโนโลยี
ท่ีทันสมัยแลว ยังจําเปนตองมีความรูความเขาใจถึงสภาพของลมฟาอากาศและภูมิอากาศท่ีมีผล
ตอการเกษตร ขอมูลที่ไดจากการตรวจวัดจากสถานีตรวจอากาศของกรมอุตุนิยมวิทยา นับเปนสิ่งจําเปน
ท่ีสําคัญตอการคนควาทดลองหรือวิจัยทางการเกษตร ตลอดจนการคาดหมายสภาพอากาศขางหนา ซ่ึงมี
ความสําคัญตอการประยุกตใชในการวางแผนและดําเนินกิจการทางการเกษตรใหมีประสิทธิภาพสูงสุด
เชน การเพาะปลกู การเก็บเกย่ี ว การใหน้าํ และการพน ยาปราบศัตรพู ชื เปนตน

สว นอุตุนยิ มวทิ ยาเกษตร กรมอุตุนิยมวิทยาไดจ ัดทาํ รายงานอตุ ุนิยมวทิ ยาเกษตรรายเดอื น โดยการ
รวบรวมขอมูลจากหนวยงานภายในกรมอุตุนิยมวิทยา และขอมูลจากกรมสงเสริมการเกษตร เพ่ือเผยแพร
ขอมูลอุตุนิยมวิทยาเกษตร ขอมูลภูมิอากาศ ขอมูลอุตุนิยมวิทยาเชิงวิเคราะห การติดตามสถานการณ
ภัยแลง และรายงานการระบาดของศัตรูพืช ใหแกนักอุตุนิยมวิทยา เจาพนักงานอุตุนิยมวิทยาท้ังสวนกลาง
และสวนภูมิภาค รวมท้ังภาครัฐและภาคเอกชน เกษตรกร นักเรียน นิสิตนักศึกษา และประชาชนทั่วไป
ใหไดรับทราบ และใชคนควาประกอบการวางแผนพัฒนางานดานการเกษตร การประมง การบริหาร
จดั การน้ํา และดานอน่ื ๆ ใหดยี ่ิงข้นึ

คณะผจู ดั ทาํ
พฤศจิกายน 2561

สารบัญ หนา
1
1. สรปุ สภาวะอากาศประเทศไทย เดอื นตลุ าคม 2561 4
2. การตดิ ตามสถานการณภ ยั แลง เดือนตุลาคม 2561 19
3. รายงานสถานการณศ ัตรพู ชื ระบาด เดือนตลุ าคม 2561 23
4. แหลง ขอ มลู
10
สารบัญตาราง
ตารางท่ี 1 ขอมลู อุตนุ ิยมวทิ ยาเกษตรของประเทศไทย เดอื นตุลาคม 2561 1
4
สารบญั รูป
รูปท่ี 1 แผนท่ีแสดงเสน ทางเดนิ พายดุ ีเปรสชนั 5
รูปที่ 2 แผนที่แสดงดรรชนคี วามช้นื ที่เปน ประโยชนสาํ หรบั พืช
6
ระหวา งวนั ท่ี 1-10 ตุลาคม 2561
รปู ท่ี 3 แผนทแี่ สดงดรรชนคี วามชน้ื ท่เี ปน ประโยชนส าํ หรบั พืช 7

ระหวา งวันท่ี 11-20 ตลุ าคม 2561 8
รปู ที่ 4 แผนที่แสดงดรรชนคี วามชน้ื ทีเ่ ปน ประโยชนส าํ หรับพืช
9
ระหวา งวันท่ี 21-30 ตลุ าคม 2561
รูปท่ี 5 แผนที่แสดงดรรชนคี วามช้นื ในดนิ ที่ระดับความลึก 30 ซ.ม. และ 60 ซ.ม. 11
12
เมอ่ื วนั ท่ี 10 ตุลาคม 2561 13
รปู ที่ 6 แผนทแ่ี สดงดรรชนคี วามช้นื ในดนิ ที่ระดับความลึก 30 ซ.ม. และ 60 ซ.ม. 14
15
เมือ่ วนั ที่ 20 ตุลาคม 2561 16
รูปท่ี 7 แผนทีแ่ สดงดรรชนคี วามชืน้ ในดนิ ท่ีระดบั ความลกึ 30 ซ.ม. และ 60 ซ.ม. 17
18
เมื่อวนั ท่ี 31 ตุลาคม 2561
รูปท่ี 8 แผนทแี่ สดงปรมิ าณฝน เดอื นตุลาคม 2561
รปู ที่ 9 แผนทแ่ี สดงจาํ นวนวนั ที่มีฝนตก เดอื นตลุ าคม 2561
รปู ที่ 10 แผนทีแ่ สดงอุณหภมู ิเฉลีย่ เดอื นตลุ าคม 2561
รปู ที่ 11 แผนทแ่ี สดงอณุ หภมู ิสูงสดุ เฉลีย่ เดอื นตุลาคม 2561
รูปที่ 12 แผนท่แี สดงอุณหภมู ิตา่ํ สดุ เฉลยี่ เดอื นตุลาคม 2561
รปู ที่ 13 แผนท่แี สดงปรมิ าณน้ําระเหย เดอื นตลุ าคม 2561
รปู ท่ี 14 แผนท่แี สดงความชืน้ สมั พัทธเฉลยี่ เดอื นตุลาคม 2561
รปู ที่ 15 แผนท่แี สดงความยาวนานแสงแดดเฉล่ีย เดือนตลุ าคม 2561

สรุปสภาวะอากาศประเทศไทย
เดอื นตลุ าคม 2561

สภาวะอากาศโดยทั่วไปเดือนตุลาคมเปนชวงเปล่ียนจากฤดูฝนเปนฤดูหนาว ลักษณะอากาศแปรปรวน
โดยเฉพาะในระยะคร่ึงแรกของเดือน โดยมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือพัดปกคลุมภาคใตและอาวไทย และรอง
มรสุมพาดผานภาคใตตอนบนและภาคตะวันออกเปนบางชวง ประกอบกับบริเวณความกดอากาศสูง
จากประเทศจนี เรม่ิ แผปกคลุมภาคเหนือและภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือเปนระยะๆ ลักษณะดังกลา วทาํ ใหป ระเทศ
ไทยตอนบนมฝี นลดลงกบั มอี ากาศเยน็ ถงึ หนาวในตอนเชา

สําหรับสภาวะอากาศเดือนตุลาคมปนี้ บริเวณความกดอากาศสูงจากประเทศจีนแผลงมาปกคลุมประเทศ
ไทยตอนบน โดยมีกําลังแรงในชวงปลายเดือน และรองมรสุมพาดผานภาคใตในชวงตนเดือน ประกอบกับ
ลมตะวันออกพัดปกคลุมบริเวณประเทศไทยเกือบตลอดเดือน อน่ึง พายุดีเปรสชันบริเวณทะเลจีนใตตอนลาง
เคล่ือนเขาสูอาวไทยและขึ้นฝงบริเวณจังหวัดประจวบคีรีขันธในวันท่ี 20 แลวออนกําลังลงเปนหยอมความกด
อากาศตาํ่ และเคลือ่ นเขา ปกคลมุ บริเวณอา วมะตะบัน ประเทศเมยี นมา ลกั ษณะดังกลา วทาํ ใหป ระเทศไทยตอนบน
ยังคงมีฝนฟาคะนอง และบริเวณภาคเหนือและภาคตะวันออกเฉียงเหนือมีอากาศเย็นกับมีหมอกในตอนเชา
ในชว งปลายเดือน สําหรบั ภาคใตมฝี นตกชุกหนาแนนเกือบตลอดเดือน โดยมีรายละเอียดตางๆ ดงั น้ี

รูปท่ี 1 แผนทแี่ สดงเสนทางเดินพายุดเี ปรสชัน

2

วันท่ี 1-10 ตุลาคม : บริเวณภาคกลางและภาคตะวันออกมีฝนตกหนักถึงหนักมากบางแหง ภาคเหนือ
มีฝนตกหนักถึงหนักมากบางแหง และภาคตะวันออกเฉียงเหนือมีฝนตกนอย ปริมาณฝนมากท่ีสุดบริเวณ
ประเทศไทยตอนบนวดั ได 129.5 มิลลิเมตร ท่ีอําเภอเมือง จังหวัดพะเยา เม่ือวันท่ี 2 โดยมีรายงานน้ําทวมบริเวณ
จังหวัดพะเยา เม่ือวันที่ 2 และจังหวัดลําปาง เมื่อวันท่ี 3 สําหรับภาคใตมีฝนตกหนาแนนตลอดชวงกับมีฝนตก
หนักหลายพ้ืนที่และฝนหนักมากบางแหง ปริมาณฝนมากที่สุดวัดได 128.5 มิลลิเมตร ท่ีอําเภอสุคิริน จังหวัด
นราธิวาส เมื่อวันที่ 5 และมีรายงานน้ําทวมบริเวณจังหวัดสุราษฎรธานีและภูเก็ต เมื่อวันที่ 2 และจังหวัดกระบ่ี
เม่ือวันที่ 3 และจังหวัดประจวบคีรีขันธ เม่ือวันท่ี 4 และ 5 และมีรายงานนํ้าปาไหลหลากบริเวณจังหวัดกระบี่
เม่ือวันที่ 3

วันที่ 11-20 ตุลาคม : บริเวณภาคกลาง ภาคตะวันออก และภาคใต มีฝนตกเปนบริเวณกวาง กับมีฝนตก
หนักหลายพ้ืนท่ีและฝนตกหนักมากบางแหง สวนภาคเหนือและภาคะวันออกเฉียงเหนือมีฝนตกสวนมาก
ทางตอนลางของภาค ปริมาณฝนมากท่ีสุดบริเวณประเทศไทยตอนบนวัดได 110.7 มิลลิเมตร ท่ีนิคมสรางตนเอง
โนนสัง อําเภอโนนสัง จังหวัดหนองบัวลําภู เมื่อวันท่ี 17 โดยมีรายงานนํ้าทวมบริเวณจังหวัดกาญจนบุรี
เม่ือวันที่ 20 สําหรับภาคใตปริมาณฝนมากท่ีสุดวัดได 98.6 มิลลิเมตร ที่อําเภอหาดเจาสําราญ จังหวัดเพชรบุรี
เมอื่ วันที่ 20

วันที่ 21-31 ตุลาคม : บริเวณภาคเหนือและภาคตะวันออกเฉียงเหนือมีฝนตกหนักถึงหนักมากบางแหง
สว นบริเวณภาคกลางและภาคตะวันออกมีฝนในระยะครึ่งแรกของชวง ปริมาณฝนมากที่สุดบริเวณประเทศไทย
ตอนบนวัดได 364.0 มิลลิเมตร ท่ีโรงเรียนวัดทรัพยสโมสร เขตหนองจอก กรุงเทพมหานคร เม่ือวันที่ 22
โดยมีรายงานน้ําทวมฉับพลันบริเวณจังหวัดลําปาง เม่ือวันที่ 23 และจังหวัดเชียงใหม เมื่อวันท่ี 24 กับมีรายงาน
น้ําทวมฉับพลันและดินถลมบริเวณจังหวัดลําพูน เมื่อวันที่ 23 สําหรับภาคใตมีฝนตกหนาแนนเกือบตลอดชวง
กับมีฝนตกหนักถึงหนักมากบางแหง ปริมาณฝนมากที่สุดวัดได 100.4 มิลลิเมตร ท่ีอําเภอพะโตะ จังหวัดชุมพร
เม่ือวันท่ี 24 และมีรายงานนํ้าทวมฉับพลันบริเวณจังหวัดตรัง เมื่อวันท่ี 23 และจังหวัดประจวบคีรีขันธ
เมื่อวันท่ี 25 สวนอุณหภูมิต่ําที่สุดในชวงนี้วัดได 16.8 องศาเซลเซียส ที่สถานีอากาศเกษตรรอยเอ็ด
จังหวัดรอยเอ็ดและที่สถานีอากาศเกษตรนครพนม จังหวัดนครพนม เมื่อวันที่ 31 สําหรับบริเวณเทือกเขา
และยอดดอยวัดอุณหภูมิต่ําสุดได 8.8 องศาเซลเซียส ที่ดอยอินทนนท อําเภอจอมทอง จังหวัดเชียงใหม
เมื่อวนั ที่ 28

อุณหภูมิเฉลี่ยเดือนน้ีสูงกวาคาปกติทุกภาค โดยอุณหภูมิสูงท่ีสุดวัดได 38.7 องศาเซลเซียส ที่เมือง
พัทยา อาํ เภอบางละมุง จังหวัดชลบุรี เมื่อวันท่ี 27 สวนอุณหภูมิตํ่าท่ีสุดวัดได 16.8 องศาเซลเซียส ท่ีสถานีอากาศ
เกษตรรอยเอ็ด จังหวัดรอยเอ็ด และท่ีสถานีอากาศเกษตรนครพนม จังหวัดนครพนม เมื่อวันที่ 31 สวนอุณหภูมิ
ต่ําสุดบริเวณเทือกเขาและยอดดอย วัดได 7.4 องศาเซลเซียส ที่ดอยอินทนนท อําเภอจอมทอง จังหวัดเชียงใหม
เมอื่ วนั ท่ี 19

ปริมาณฝนเดือนน้ีตํ่ากวาคาปกติเกือบทุกภาค ดังนี้ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 65.0 มิลลิเมตร(56%)
ภาคกลาง 33.0 มิลลิเมตร(18%) ภาคตะวนั ออก 9.5 มิลลิเมตร(4%) และภาคใตฝงตะวันตก 61.5 มิลลิเมตร(17%)

3

เวนแตภาคเหนือและภาคใตฝงตะวันออกมีปริมาณฝนสูงวาคาปกติ 1.8 มิลลิเมตร(1%) และ 44.9 มิลลิเมตร
(18%) ตามลําดับ

---------------------------------------------------------------------------

หมายเหตุ : ขอ มูลฝน อณุ หภูมิ และภยั ธรรมชาตเิ ปน รายงานเบอ้ื งตน

4

การตดิ ตามสถานการณภยั แลง เดือนตลุ าคม 2561

MAI > 1.33 พชื ไดร ับน้ําเกินตอ งการ

MAI = 1.01 ถึง 1.33 พืชไดรบั นํ้าพอเพียง

MAI = 0.68 ถึง 1.00 พชื ขาดนาํ้ เลก็ นอย

MAI = 0.34 ถงึ 0.70 พืชขาดน้ําปานกลาง

MAI = 0.00 ถงึ 0.33 พชื ขาดนา้ํ มาก

รูปที่ 2 แผนทแี่ สดงดรรชนคี วามชืน้ ท่เี ปน ประโยชนส าํ หรับพืช ระหวางวนั ท่ี 1-10 ตุลาคม 2561

ชวงวันที่ 1-10 ตุลาคม 2561 จากการพิจารณาดรรชนีความช้ืนท่ีเปนประโยชนสําหรับพืช
ของประเทศไทย บริเวณพื้นท่ีสีแดงถึงสมแสดงถึงพืชขาดนํ้ามากถึงปานกลางอยูในพ้ืนที่ของภาคเหนือ
ดานตะวันออก ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และภาคกลางตอนบน สวนบริเวณพ้ืนที่สีเหลืองถึงเขียวแสดงถึง
พชื ขาดนํ้าเล็กนอยและมีนํา้ พอเพียง นอกนนั้ เปน บริเวณพ้ืนท่ีสีขาวแสดงถงึ พชื ไดร ับนา้ํ เกนิ ความตองการ

5

MAI > 1.33 พชื ไดรบั นํ้าเกินตองการ

MAI = 1.01 ถึง 1.33 พืชไดร บั น้ําพอเพยี ง

MAI = 0.68 ถงึ 1.00 พืชขาดน้ําเลก็ นอย

MAI = 0.34 ถงึ 0.70 พืชขาดนํ้าปานกลาง

MAI = 0.00 ถงึ 0.33 พืชขาดน้าํ มาก

รูปที่ 3 แผนทแี่ สดงดรรชนคี วามช้ืนทเ่ี ปน ประโยชนสาํ หรบั พืช ระหวา งวนั ที่ 11-20 ตลุ าคม 2561

ชวงวันที่ 11-20 ตุลาคม 2561 จากการพิจารณาดรรชนีความช้ืนที่เปนประโยชนสําหรับพืช
ของประเทศไทย บริเวณพื้นท่ีสีแดงถึงสมแสดงถึงพืชขาดนํ้ามากถึงปานกลางอยูในพ้ืนท่ีของภาคเหนือ
ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ภาคกลางตอนบน และภาคใตตอนลาง สวนบริเวณพื้นท่ีสีเหลืองถึงเขียวแสดงถึง
พืชขาดนํา้ เล็กนอ ยและมนี าํ้ พอเพียง นอกนน้ั เปน บริเวณพนื้ ทส่ี ขี าวแสดงถึงพชื ไดรบั นํา้ เกนิ ความตองการ

6

MAI > 1.33 พืชไดร บั น้ําเกนิ ตองการ

MAI = 1.01 ถงึ 1.33 พืชไดรับน้ําพอเพียง

MAI = 0.68 ถึง 1.00 พืชขาดนาํ้ เลก็ นอย

MAI = 0.34 ถงึ 0.70 พืชขาดนํา้ ปานกลาง

MAI = 0.00 ถงึ 0.33 พืชขาดนา้ํ มาก

รูปท่ี 4 แผนทแ่ี สดงดรรชนคี วามชืน้ ทีเ่ ปน ประโยชนสาํ หรบั พชื ระหวา งวนั ที่ 21-30 ตุลาคม 2561

ชวงวันท่ี 21-30 ตุลาคม 2561 จากการพิจารณาดรรชนีความช้ืนท่ีเปนประโยชนสําหรับพืช
ของประเทศไทย บริเวณพ้ืนท่ีสีแดงถึงสมแสดงถึงพืชขาดน้ํามากถึงปานกลางอยูในพ้ืนท่ีของภาคเหนือ
ดานตะวันออก ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ภาคกลางดานตะวันตก และภาคตะวันออก สวนบริเวณพื้นที่สีเหลือง
ถึงเขียวแสดงถึงพืชขาดนํ้าเล็กนอยและมีนํ้าพอเพียง นอกนั้นเปนบริเวณพ้ืนที่สีขาวแสดงถึงพืชไดรับนํ้า
เกนิ ความตองการ

7

รูปท่ี 5 แผนทแี่ สดงดรรชนคี วามชืน้ ในดนิ ท่ีระดับความลึก 30 ซ.ม. และ 60 ซ.ม. เม่อื วนั ท่ี 10 ตลุ าคม 2561
ในวันท่ี 10 ตุลาคม 2561 จากการพิจารณาดรรชนีความชื้นในดินของประเทศไทย ท่ีระดับความลึก

30 ซ.ม. และ 60 ซ.ม. บริเวณพื้นท่ีสีแดงถึงสมแสดงถึงบริเวณที่ดินสะสมความชื้นไวไมเพียงพอ
ตอความตองการของพืชอาจทําใหเกิดสภาวะแลงทางการเกษตร อยูในพื้นท่ีของภาคเหนือตอนลาง
ภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนลาง และภาคกลางตอนบน สวนบริเวณท่ีมีสีเหลืองถึงเขียว แสดงถึงบริเวณพ้ืนท่ี
มีความชืน้ ในดินเพียงพอตอ ความตองการของพืชท่มี ีระบบรากลึก

8

รูปที่ 6 แผนทแี่ สดงดรรชนคี วามชนื้ ในดนิ ทีร่ ะดับความลกึ 30 ซ.ม. และ 60 ซ.ม. เมอื่ วนั ท่ี 20 ตลุ าคม 2561
ในวันที่ 20 ตุลาคม 2561 จากการพิจารณาดรรชนีความช้ืนในดินของประเทศไทย ท่ีระดับความลึก

30 ซ.ม. และ 60 ซ.ม. บริเวณพ้ืนท่ีสีแดงถึงสมแสดงถึงบริเวณที่ดินสะสมความชื้นไวไมเพียงพอ
ตอความตองการของพืชอาจทําใหเกิดสภาวะแลงทางการเกษตร อยูในพื้นที่ของภาคเหนือดานตะวันออก
และภาคตะวันออกเฉียงเหนือ สวนบริเวณที่มีสีเหลืองถึงเขียวแสดงถึงบริเวณพ้ืนท่ีมีความชื้นในดินเพียงพอ
ตอ ความตอ งการของพืชทม่ี ีระบบรากลึก

9

รปู ท่ี 7 แผนทแี่ สดงดรรชนคี วามชื้นในดนิ ทรี่ ะดับความลกึ 30 ซ.ม. และ 60 ซ.ม. เม่อื วนั ที่ 31 ตลุ าคม 2561
ในวันที่ 31 ตุลาคม 2561 จากการพิจารณาดรรชนีความช้ืนในดินของประเทศไทย ท่ีระดับความลึก

30 ซ.ม. และ 60 ซ.ม. บริเวณพ้ืนที่สีแดงถึงสมแสดงถึงบริเวณท่ีดินสะสมความช้ืนไวไมเพียงพอ
ตอความตองการของพืชอาจทําใหเกิดสภาวะแลงทางการเกษตร อยูในพ้ืนที่ของภาคเหนือดานตะวันออก
ภาคตะวันออกเฉยี งเหนือ และภาคกลางตอนบน สวนบริเวณที่มีสีเหลืองถึงเขียวแสดงถึงบริเวณพื้นที่มีความช้ืน
ในดนิ เพยี งพอตอความตองการของพชื ท่ีมีระบบรากลกึ

10

ตารางที่ 1 ขอ มูลอตุ นุ ิยมวิทยาเกษตรของประเทศไทย เดือนตลุ าคม 2561

ภาค สถานี ปริมาณ จํานวนวัน อุณหภมู ิ อุณหภูมิ อณุ หภูมิ ความช้ืน ปริมาณนาํ้ ความยาวนาน
อตุ นุ ยิ มวทิ ยาเกษตร ฝน (มม.) ทมี่ ฝี นตก(วนั ) เฉลย่ี (°ซ.) สงู สุด (°ซ.) ต่ําสดุ (°ซ.) สัมพทั ธ (%) ระเหย (มม/วัน) แสงแดด(ชม./วนั )

เหนือ เชียงราย 197.3 17 25.5 33.7 19.5 86.7 3.2 5.8

ลําปาง 170.8 8 26.5 33.7 21.3 85.4 3.5 6.2

นาน 15.2 5 26.9 35 20.3 81.8 3.3 7

ศรสี ําโรง 137.1 9 28.4 35.5 22.4 81.7 3.4 6.9

ดอยมูเซอ 127.9 11 22.2 29.1 16.9 88.2 2.9 4.9

พจิ ิตร 35 7 29.1 35.6 22 77 4.2 8.4

ตะวันออก เลย 102.8 7 25.9 36.5 17.2 82.8 3.6 6.9

เฉยี งเหนอื สกลนคร 7.7 5 26.8 35.4 16.8 77.6 3.7 7.8

นครพนม 22.1 4 27.1 35.6 16.8 74.5 5.2 8.2

ทา พระ 53.7 9 27.6 36.2 17.4 77 4.4 7.7

รอ ยเอ็ด 30.9 5 27.3 34.4 16.8 75.6 4.5 9.3

อบุ ลราชธานี 96.4 5 27.5 35.8 19.5 78.9 4.5 6.5

ศรีสะเกษ 60.7 9 28 35.3 20.2 75.6 4.5 8.9

ปากชอง 108 12 26.2 33.3 21.1 77.1 5 7.2

สุรินทร 20.9 7 27.6 35.8 17.6 79 3.8 8

กลาง ตากฟา 71 9 28.4 35.6 20.9 76.3 4.6 7.6

ชัยนาท 81.7 9 28.6 36.2 21 79.9 4.6 8.4

อยุธยา 103.2 12 28.6 36 20.7 79.4 3.7 6.4

ปทมุ ธานี 111.5 11 29.4 37.7 22.5 78.7 4.6 6.7

ราชบรุ ี 306.5 19 27.8 35 24 84.7 3.8 6

อทู อง 183.7 15 28 35.7 21.5 81.4 4.6 7.5

กําแพงแสน 197 17 27.9 35.3 23.5 84.3 4 7.4

บางนา 260.1 22 28.7 35.6 23.9 80.9 4 6.4

ตะวนั ออก ฉะเชงิ เทรา 141 19 27.2 35 20.2 84 4.4 7.4

หวยโปง 402.3 20 27.6 34.2 23.2 82.6 3.7 6.3

พลิ้ว 230.1 17 27.5 35.5 22.5 85.2 3.4 5.9

ใต หนองพลับ 186.3 13 26.9 35 22.3 84.5 3.4 3.4

สวี 158.6 22 27.4 34.2 22.2 82.1 3.2 5.1

สรุ าษฎรธานี 173.7 21 26.8 33.6 22 86.4 2.9 3.4

นครศรธี รรมราช 168 24 27.2 34.5 23 88.1 3 5

พทั ลุง 277.9 21 27.2 34.3 22.8 86.9 3.4 5.5

คอหงษ 369.4 24 27.1 34.1 21.5 84.2 3.7 4.9

ยะลา 293.4 23 27 35.2 22.6 85 3.9 4.6

หมายเหตุ T หมายถงึ ฝนเล็กนอ ยวัดปรมิ าณไมไ ด

11
รูปที่ 8 แผนทแ่ี สดงปรมิ าณฝน เดือนตลุ าคม 2561

12
รูปที่ 9 แผนทแี่ สดงจํานวนวนั ท่มี ีฝนตก เดอื นตุลาคม 2561

13
รปู ท่ี 10 แผนทแ่ี สดงอุณหภมู ิเฉลย่ี เดอื นตลุ าคม 2561

14
รปู ท่ี 11 แผนทแี่ สดงอุณหภมู สิ งู สุดเฉลยี่ เดอื นตุลาคม 2561

15
รปู ท่ี 12 แผนทแี่ สดงอุณหภมู ติ ํ่าสุดเฉลย่ี เดือนตุลาคม 2561

16
รูปที่ 13 แผนท่แี สดงปริมาณนํา้ ระเหย เดอื นตุลาคม 2561

17
รปู ท่ี 14 แผนทแี่ สดงความชืน้ สมั พัทธเ ฉลย่ี เดือนตุลาคม 2561

18
รปู ท่ี 15 แผนทแี่ สดงความยาวนานแสงแดดเฉลย่ี เดือนตลุ าคม 2561

19

รายงานสถานการณศ ตั รพู ชื ระบาด เดอื นตลุ าคม 2561

กระทรวงเกษตรและสหกรณรายงานสถานการณศตั รพู ชื ระบาดในพชื เศรษฐกจิ ดงั น้ี
1. ศัตรูขา ว

รายงานของสํานักงานเกษตรจังหวัดเดือนตุลาคม พบการระบาดของศัตรูขาว ไดแก เพลี้ย
กระโดดสีนํ้าตาล เพล้ียกระโดดหลังขาว แมลงหลา และโรคไหมขาว พ้ืนท่ีระบาดรวม 9,908 ไร มีรายละเอียด
ดังน้ี

1.1 เพลี้ยกระโดดสีน้ําตาล : พ้ืนท่ีระบาด 9,402 ไร บริเวณจังหวัดลําปาง อุตรดิตถ สุโขทัย
พิษณุโลก เพชรบูรณ ลพบุรี สระบุรี ยโสธร และนครราชสีมา นอกจากน้ีมีรายงานการระบาดเล็กนอยบางพ้ืนที่
บริเวณจังหวัดพิจิตร กําแพงเพชร ขอนแกน กาฬสินธุ รอยเอ็ด อุบลราชธานี ศรีสะเกษ สุรินทร บุรีรัมย
นครสวรรค สิงหบุรี อางทอง สุพรรณบุรี นครปฐม พระนครศรีอยุธยา ปทุมธานี ราชบุรี นครนายก ปราจีนบุรี
และฉะเชงิ เทรา

1.2 โรคไหมขาว : พนื้ ทีร่ ะบาด 236 ไร บริเวณจงั หวัดเชียงใหม ลําพูน ศรีสะเกษ ลพบุรี ระยอง
และจันทบรุ ี

1.3 เพล้ยี กระโดดหลงั ขาว : พื้นท่ีระบาด 15 ไร บรเิ วณจังหวดั เชยี งใหม
1.4 แมลงหลา : พ้นื ทรี่ ะบาด 255 ไร บริเวณจงั หวัดนครสวรรค
นอกจากนี้ยังพบศัตรูขาวอ่ืนๆ เชน เพลี้ยจักจ่ันสีเขียว หนอนกอขาว หนอนหอใบ โรคใบจุด
สีนํ้าตาล และโรคใบขีดสีนํ้าตาล เปนตน ซึ่งทําใหตนขาวเสียหายบางพื้นท่ี บริเวณจังหวัดเชียงราย เชียงใหม
นาน สุโขทัย พิษณุโลก กําแพงเพชร พิจิตร ขอนแกน กาฬสินธุ รอยเอ็ด อุบลราชธานี นคราชสีมา ศรีสะเกษ
สุรินทร บุรีรัมย นครสวรรค อุทัยธานี ชัยนาท สิงหบุรี อางทอง สุพรรณบุรี พระนครศรีอยุธยา ปทุมธานี
นครปฐม ราชบุรี ปราจีนบรุ ี และฉะเชงิ เทรา
2. ศัตรูมนั สําปะหลงั
รายงานของสํานักงานเกษตรจังหวัดเดือนตุลาคม พบการระบาดของศัตรูมันสําปะหลัง ไดแก
เพลี้ยแปงมันสําปะหลัง โรคโคนเนา-หัวเนา โรคใบไหม และแมลงนูนหลวง พ้ืนท่ีระบาดรวม 2,442 ไร
มีรายละเอียดดงั นี้
2.1 เพล้ียแปงมันสําปะหลัง : พ้ืนที่การระบาด 265 ไร บริเวณจังหวัดชลบุรี จันทบุรี มุกดาหาร
และสรุ ินทร
2.2 โรคโคนเนา -หัวเนา : พื้นทีร่ ะบาด 790 ไร บริเวณจังหวัดมกุ ดาหาร ชลบุรี และจันทบรุ ี
2.3 โรคใบไหม : พ้ืนทรี่ ะบาด 767 ไร บรเิ วณจงั หวดั อุทัยธานแี ละจันทบรุ ี
2.4 แมลงนูนหลวง : พน้ื ทร่ี ะบาด 620 ไร บริเวณจงั หวดั ราชบรุ ี

20

3. ศัตรูออ ย
รายงานของสํานักงานเกษตรจังหวัดเดือนตุลาคม พบการระบาดของศัตรูออย ไดแก แมลง

นูนหลวง พนื้ ที่ระบาดรวม 55 ไร บรเิ วณจังหวัดราชบุรี
4. ศตั รูมะพรา ว
รายงานของสํานักงานเกษตรจังหวัดเดือนตุลาคม พบการระบาดของศัตรูมะพราว ไดแก

หนอนหัวดาํ แมลงดาํ หนาม และดวงแรด พน้ื ทีร่ ะบาดรวม 81,038 ไร มีรายละเอยี ดดงั น้ี
4.1 หนอนหัวดํา : พ้ืนท่ีระบาด 5,360 ไร บริเวณจังหวัดสิงหบุรี อางทอง นครปฐม นนทบุรี

ปทุมธานี กรุงเทพมหานคร สมุทรปราการ สมุทรสาคร สมุทรสงคราม ราชบุรี ฉะเชิงเทรา ชลบุรี ระยอง
จันทบุรี ตราด เพชรบุรี ประจวบคีรีขันธ ชุมพร สุราษฎรธานี นครศรีธรรมราช สงขลา ปตตานี ยะลา นราธิวาส
พังงา ภูเกต็ กระบี่ และสตลู

4.2 แมลงดําหนาม : พ้ืนท่ีระบาด 60,789 ไร บริเวณจังหวัดนครปฐม กรุงเทพมหานคร
สมุทรปราการ สมุทรสาคร สมุทรสงคราม ราชบุรี ฉะเชิงเทรา ชลบุรี ระยอง ตราด เพชรบุรี ประจวบคีรีขันธ
ชมุ พร สุราษฎรธานี นครศรีธรรมราช สงขลา ปตตานี ยะลา พังงา ภูเก็ต และกระบี่

4.3 ดวงแรด : พน้ื ทร่ี ะบาด 14,889 ไร บรเิ วณจงั หวัดนครปฐม กรงุ เทพมหานคร สมุทรปราการ
สมุทรสาคร ราชบุรี ฉะเชิงเทรา ชลบุรี ตราด เพชรบุรี ประจวบคีรีขันธ ชุมพร สุราษฎรธานี นครศรีธรรมราช
สงขลา ระนอง พังงา ภเู กต็ และกระบี่

5. ปาลมนํ้ามัน : พบการระบาดของศัตรูพืช ไดแก ดวงแรด ดวงกุหลาบ หนอนปลอกเล็ก หนอนหัวดํา
และโรคลําตน เนา พื้นทรี่ ะบาดรวม 1,693 ไร มีรายละเอียดดงั นี้

5.1 ดวงแรด : พ้ืนที่ระบาด 1,034 ไร บริเวณจังหวัดชุมพร สุราษฎรธานี นครศรีธรรมราช
ปตตานี พังงา และกระบ่ี

5.2 ดวงกุหลาบ : พื้นทีร่ ะบาด 43 ไร บรเิ วณจงั หวดั ชมุ พร
5.3 หนอนหัวดาํ : พืน้ ทีร่ ะบาด 17 ไร บรเิ วณจังหวัดชุมพรและสรุ าษฎรธานี
5.4 หนอนปลอกเลก็ : พ้นื ที่ระบาด 554 ไร บรเิ วณจังหวัด กระบี่
5.5 โรคลําตนเนา : พื้นที่ระบาด 45 ไร บริเวณจังหวัด กระบี่
6. ยางพารา : พบการระบาดของศัตรูพืช ไดแก โรครากขาว โรคใบรวง และโรคเสนดํา พื้นที่ระบาด
รวม 1,901ไร มีรายละเอยี ดดังนี้
6.1 โรครากขาว : พื้นที่ระบาด 1,391 ไร บริเวณจังหวัด ชุมพร สุราษฎรธานี นครศรีธรรมราช
สงขลา ปตตานี ยะลา และภูเก็ต
6.2 โรคใบรว ง : พ้นื ที่ระบาด 59 ไร บรเิ วณจังหวดั จนั ทบุรี
6.3 โรคเสนดํา : พน้ื ทรี่ ะบาด 451 ไร บรเิ วณจงั หวัดบงึ กาฬและสุราษฎรธ านี

21

7. ศตั รพู ืชผักสวนครัว มรี ายละเอยี ดดงั นี้
7.1 พืชตระกูลแตง : พบการระบาดของดวงเตาแตง เพลี้ยออน แมลงหวี่ขาว หนอนกินใบ

หนอนเจาะผล โรคราแปง โรครานํ้าคาง โรคใบจุด และโรคโคนเนา บริเวณจังหวัดแมฮองสอน เชียงใหม นาน
กําแพงเพชร เพชรบูรณ เลย อุดรธานี ขอนแกน อํานาจเจริญ อุบลราชธานี อางทอง สระบุรี ชลบุรี ระยอง
นครศรธี รรมราช ปต ตานี นราธิวาส พังงา และสตูล

7.2 พริก - มะเขือ : พบศัตรูพืชจําพวกเพลี้ยไฟ เพล้ียออน เพลี้ยแปง และแมลงหว่ีขาว บริเวณ
จังหวัดเชียงใหม นาน เพชรบูรณ เลย หนองบัวลําภู อุดรธานี ขอนแกน มหาสารคาม อํานาจเจริญ อุบลราชธานี
ศรีสะเกษ นครราชสีมา นครสวรรค อางทอง สระบุรี กรุงเทพมหานคร ราชบุรี ชลบุรี สุราษฎรธานี ปตตานี
นราธิวาส ภูเก็ต และสตูล นอกจากนี้ยังพบโรคใบดาง โรคเห่ียวเหลือง โรคยอดเนา โรครากเนา-โคนเนา
และโรคแอนแทรกโนส บริเวณจังหวัดเชียงใหม นาน แพร เพชรบูรณ เลย หนองคาย อุบลราชธานี ศรีสะเกษ
อา งทอง สระบรุ ี ชลบรุ ี จนั ทบรุ ี สุราษฎรธานี นครศรีธรรมราช ปต ตานี นราธวิ าส และสตลู

7.3 ถวั่ ฝก ยาว : พบศตั รูพืช ไดแก เพลี้ยออ น ไรแดง และหนอนเจาะฝก บรเิ วณจังหวัดเชยี งใหม
แพร เลย สิงหบรุ ี สระบรุ ี ราชบรุ ี ชลบรุ ี นครศรีธรรมราช นราธิวาส พังงา และภเู ก็ต

7.4 พชื ตระกูลกะหล่ํา : พบศัตรูพืช ไดแก หนอนใยผัก หนอนกระทูผัก เพล้ียออน ดวงหมัดผัก
โรครานํ้าคาง และโรคใบจุด บริเวณจังหวัดเชียงใหม ลําพูน นาน แพร ตาก กําแพงเพชร เพชรบูรณ เลย
ขอนแกน มหาสารคาม อํานาจเจรญิ ศรสี ะเกษ กรงุ เทพมหานคร ราชบุรี ชลบุรี จนั ทบรุ ี ตราด และสงขลา

7.5 พืชตระกูลหอม - กระเทียม : พบศตั รูพืช ไดแ ก หนอนกระทูหอม โรคใบจุดสีมวง และโรค
แอนแทรกโนส บริเวณจังหวัดแมฮองสอน เชียงใหม พะเยา นาน แพร หนองคาย อุดรธานี อํานาจเจริญ บุรีรัมย
ศรีสะเกษ นครสวรรค ราชบุรี และชลบรุ ี

7.6 ผักบุง : พบศัตรูพืช ไดแก หนอนใยผัก หนอนกระทูผัก หนอนกินใบ โรคราน้ําคาง
และโรคราสนิม บริเวณจงั หวัดเชียงใหม หนองคาย ชลบรุ ี นครศรีธรรมราช และพงั งา

8. ศตั รพู ืชไมผ ล มรี ายละเอยี ดดงั นี้
8.1 ลองกอง : พบศัตรูพืช ไดแก หนอนเจาะกินใตผิวเปลือกเล็ก หนอนเจาะกินใตผิว

เปลือกใหญ และผีเส้ือมวนหวาน บริเวณจังหวัดระยอง จันทบุรี ตราด นครศรีธรรมราช พัทลุง สงขลา ปตตานี
นราธิวาส ภูเก็ต ตรัง และสตูล นอกจากนี้ยังพบการระบาดของโรคราสีชมพู และโรครากเนา-โคนเนา บริเวณ
จังหวดั พัทลุง นราธิวาส และภเู กต็

8.2 มังคุด : พบศัตรูพืช ไดแก เพลี้ยไฟ หนอนกินใบ และโรคใบจุด บริเวณจังหวัดระยอง
จนั ทบรุ ี ตราด ระนอง พังงา ชมุ พร นครศรีธรรมราช พทั ลงุ ปตตานี นราธวิ าส และสตูล

8.3 ทุเรียน : พบศัตรูพืช ไดแก ดวงหนวดยาวเจาะลําตน หนอนเจาะผล เพล้ียไกแจ ไรแดง
เพลี้ยแปง บริเวณจังหวัดระยอง จันทบุรี ตราด ประจวบคีรีขันธ ชุมพร สุราษฎรธานี นครศรีธรรมราช พัทลุง
ปตตานี นราธิวาส ระนอง และตรัง นอกจากน้ันยังพบการระบาดโรคใบจุดสาหราย โรคราใบติด โรคผลเนา

22

และโรครากเนา-โคนเนา บริเวณจังหวัดระยอง จันทบุรี ตราด ประจวบคีรีขันธ ชุมพร สุราษฎรธานี
นครศรีธรรมราช ปตตานี นราธิวาส ระนอง และภูเก็ต

8.4 มะมวง : พบศัตรูพืชจําพวกปากดูด ไดแก ดวงกรีดใบมะมวง เพล้ียไฟ เพล้ียจักจ่ันมะมวง
และเพลย้ี จกั จน่ั ฝอย รวมท้ังโรคราแปง โรคใบจุด และโรคแอนแทรกโนส บริเวณจังหวัดเชียงใหม นาน สุโขทัย
พิษณุโลก อางทอง สระบรุ ี พระนครศรอี ยธุ ยา สมทุ รปราการ ราชบุรี และเพชรบุรี

8.5 ตระกูลสม : พบศัตรูพืชจําพวกไรแดง เพลี้ยไกแจสม หนอนเจาะดอก และหนอนชอนใบ
บริเวณจังหวัดเชียงราย นาน ลําปาง แพร อางทอง สระบุรี สมุทรสงคราม ระยอง เพชรบุรี และปตตานี
นอกจากน้ียังพบโรครากเนา-โคนเนา โรคกรีนนิ่ง และโรคแคงเกอร บริเวณจังหวัดแพร นาน ลําปาง เพชรบูรณ
พจิ ติ ร อทุ ัยธานี อางทอง สมทุ รสงคราม ระยอง เพชรบรุ ี และปต ตานี

8.6 ลําไย : พบศัตรูพืช ไดแก มวนลําไย แมลงคอมทอง หนอนเจาะก่ิงลําตน หนอนเจาะดอก
และหนอนเจาะข้ัวผล บรเิ วณจงั หวัดเชยี งราย เชียงใหม พะเยา นา น ลําพนู และลาํ ปาง

8.7 กลวย : พบศัตรูพืช ไดแก หนอนมวนใบกลวย ดวงงวง และโรคตายพราย บริเวณจังหวัด
เพชรบรู ณ เลย พระนครศรอี ยธุ ยา และนครศรีธรรมราช

8.8 ฝร่ัง : พบการระบาดของแมลงวันผลไมและเพล้ียแปง บริเวณจังหวัดบุรีรัมย นครสวรรค
อทุ ยั ธานี สงิ หบ รุ ี พระนครศรีอยธุ ยา สมทุ รสาคร เพชรบุรี สรุ าษฎรธานี และนครศรธี รรมราช

8.9 พุทรา : พบการระบาดของแมลงวันผลไมและราแปง บริเวณจังหวัดอางทอง
และสมุทรสงคราม

---------------------------------------------------------------------------

23

แหลง ขอมูล

- สวนอุตุนยิ มวทิ ยาเกษตร กองพฒั นาอุตุนยิ มวิทยา กรมอตุ ุนิยมวิทยา
- ศูนยภ มู อิ ากาศ กองพัฒนาอุตนุ ยิ มวทิ ยา กรมอุตุนยิ มวิทยา
- ศูนยเทคโนโลยสี ารสนเทศ กองบรกิ ารดจิ ทิ ัลอุตุนยิ มวิทยา กรมอุตุนยิ มวิทยา
- กรมสงเสรมิ การเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ


Click to View FlipBook Version