ความรู้ และโลกทศั น์อิสลาม
ผูช้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร. อบั ดุลฮากมั เฮ็งปิยา
ลักษณะความรู้
1. ความรู้ทีไ่ ด้จากการประทาน หรือวะหยู
(Perennial Knowledge/Ulum Naqliyyah)
2.ความรูท้ ่ีไดจ้ ากการแสวงหา (Acquired
Knowledge/Ulum Aqliyyah) โดยผา่ นประสาทสมั ผสั
ประสบการณ์ หรือ การทดลองเป็นตน้
องค์ประกอบองมนษุ ย์
ประสาทสมั ผัส/ส่วนทีอ่ ย่ภู ายนอก
จติ /ส่วนท่อี ยู่
ภายใน
ประสาทสัมผสั /ส่วนท่ีอยู่ภายนอก
ความรู้ทไ่ี ด้จากการประทาน/อูลูมนัก ความรทู้ ่ีไดจ้ ากการแสวงหา/อลู มู อักลี/ฟรั ฎูกฟิ ายะห์
ล/ี ฟรั ฎอู นี
เนื้อหา ความรู ้ ความสมั พนั ธก์ บั พระเจา้
การปฏบิ ตั ิ จริยธรรม การปฏิบตั ิ (Hablun min Allah)
ความสัมพนั ธ์กบั มนุษย์และ
ส่งิ แวดล้อม (Hablun min
al-nas wal bi’ah)
5
โลกทศั น์
การทเ่ี ราจะบอกวา่ อะไรสาคญั อะไรคือความรู้ อะไรคอื ความ
จรงิ อะไรถกู ต้องและมีเหตุผล การตีความสิง่ หนึ่งสิ่งใดใหม้ ี
ความหมายอะไร อย่างไร รวมถึงการทาอย่างไรใหเ้ ข้าถึงความรู้
ความจริง ยอ่ มอยภู่ ายใตโ้ ลกทัศน์ทีเ่ รายึดถือและปฏบิ ัติ
ดังนั้น โลกทัศน์ที่ว่าน้ี คือ วิธมี องโลกมองส่งิ ตา่ งๆ วธิ กี าร
ตีความสงิ่ ทเี่ รยี กวา่ ขอ้ มูล และการตัดสินวา่ ส่ิงท่เี รียกวา่ ขอ้ มูล
นั้นเปน็ ความจริงหรือไม่ เข้าขา่ ยหรอื ไม่ หรือมีความสาคญั ควร
แก่การนามาศกึ ษาวิเคราะห์หรือไม่
โลกทัศนอ์ ิสลาม
โลกทัศนอ์ ิสลาม เปน็ การรบั รู้ความจริงและสจั จะทปี่ รากฎ
ให้เราเหน็ ถงึ การดารงอยูข่ องสง่ิ ตา่ งๆ วา่ เปน็ อย่างไร ซง่ึ
อสิ ลามมองว่าโลกน้ดี ารงอยใู่ นความสมบูรณแ์ บบ (the
world of existence in its totality) โดยทพ่ี ระองคอ์ ลั ลอ
ฮฺ (ซบ) เป็นผู้มีอานาจเหนอื ส่ิงอน่ื ใดในการจัดระเบียบ
ระบบเพอ่ื การดารงอยู่ของธรรมชาตหิ รอื จกั รวาล แต่
ความหมายของโลกทศั นอ์ สิ ลามนอกเหนอื จากท่กี ลา่ ว
มาแล้วยงั ครอบคลมุ ถงึ การมองโลกและชีวิตให้มคี วาม
เชื่อมโยงสัมพนั ธ์กบั โลกหนา้ หรอื โลกอาคเี ราะฮฺ
Riza and Hussain (2003) ได้สะทอ้ นความเห็นว่าการจากดั ความเช่อื
ของมนุษยท์ ่เี กย่ี วกบั ชวี ติ และสรรพสิ่งตา่ งๆ ทม่ี อี ยใู่ นโลกดุนยา (โลกนี้)
เท่าน้ัน ไมใ่ ชเ่ ปน็ การนิยามท่คี รอบคลมุ และเทย่ี งตรงสาหรับโลกทศั น์
อิสลาม ท้งั นเ้ี พราะโลกทศั น์อสิ ลามครอบคลมุ ทัง้ ประเดน็ ท่ีเกยี่ วข้องกบั
การรบั รู้เกย่ี วกบั โลกดนุ ยา และโลกอาคีเราะฮฺ (โลกหนา้ ) และคาว่า
ความจรงิ (reality) ในอสิ ลามนั่นคือ สจั จะ (haqiqah) ไม่ใช่ ความจรงิ
ในบริบท (waqi’iyyah) อย่างเดียว
เพราะเป็นโลกทัศน์ที่อธิบายโลกและตีความหมายชีวิตท่ีเช่ือมโยงกัน
ระหว่างโลกดุนยากับโลกอาคีเราะฮฺ ไม่สามารถแยกออกกันได้ โดยมอง
โลกอาคเี ราะฮฺเป็นจุดหมายปลายทางและมนี ัยสาคัญมากท่สี ุด
โลกทัศนอ์ ิสลามวางอยู่บนรากฐานของโลกทัศน์อลั กรุ อาน ซ่ึงหากมี
การศึกษาอลั กรุ อานเชิงลกึ จะพบวา่ อัลกรุ อานนั้นมีความประสงคใ์ นการให้
การอบรมส่งั สอนมนษุ ย์ให้รักษาความสมดุลยใ์ นกจิ กรรมของมนษุ ยใ์ นทกุ มิติ
ในการเช่อื มโยงมิติของโลกดุนยากับมิตขิ องโลกอาคเี ราะฮฺ มนษุ ย์จาเปน็ ตอ้ ง
รู้ถงึ สัจธรรมของทงั้ สองโลก ซง่ึ มนุษยม์ ขี อ้ จากัดในการเขา้ ถงึ สจั ธรรมดว้ ย
ตนเองได้ เพราะมนุษย์เปน็ ผู้ถูกสรา้ งจาเป็นต้องมวี ะห์ยู หรือมีความรทู้ ี่ได้
จากการประทานท่บี อกกลา่ วใหม้ นษุ ย์รูถ้ งึ ความร้คู วามจริงแท้ซึ่งเป็นทางนา
ใหก้ บั มนษุ ยเ์ พอ่ื การดารงอยู่ในโลกดุนยาน้ีใหเ้ ปน็ ไปตามพระประสงคข์ อง
ผ้สู ร้าง
และมนษุ ย์เช่นกนั ไม่สามารถรูเ้ กีย่ วกับโลกอาคีเราะฮฺเพราะเป็นโลกแหง่
อนาคตท่มี องไม่เหน็ แตส่ ามารถรบั รู้ด้วยวะห์ยู (ความรทู้ ่ไี ด้จากการประทาน
จากพระองค์อัลลอฮฺ) ดังนั้น การรบั รูค้ วามจรงิ แทข้ องมนุษยน์ น้ั เริ่มด้วย
ความกระจา่ งและชัดเจนโดยผ่านวะหย์ ู ปราศจากข้อสงสยั ใดๆ
โลกทศั นอ์ สิ ลามมีความครอบคลมุ ทัง้ โลกดนุ ยาและโลกอาคเี ราะฮฺ โดย
ลกั ษณะของโลกดุนยานน้ั ไมว่ ่าจะเป็นดา้ นใดหรือสาขาใดก็ตามจะต้อง
เกี่ยวโยงสัมพนั ธ์กับโลกอาคีเราะฮฺ
การกระทาของมนุษย์ในทกุ มิตใิ นดุนยาจะต้องถกู มองในแงข่ องการ
เตรียมความพรอ้ มสาหรบั โลกอาคีเราะฮฺ
โลกดุนยา โลกอาคีเราะฮฺ อหิ ซาน
มูหาซาบะฮฺ
โลกทศั น์ทางวทิ ยาศาสตร์ โลกทัศนท์ างปรัชญา โลกทศั นอ์ สิ ลาม
- โลกทัศน์ท่วี างอยูบ่ นรากฐานของ - โลกทศั นท์ ่ียืนหยดั บนรากฐาน - อสิ ลามมองวา่ โลกนี้ดารงอยู่ในความ
กลมุ่ ปรัชญาแบบประจักษ์นิยมที่ ของปรชั ญาทีม่ ุ่งหาคาตอบของ สมบรู ณ์แบบ (the world of existence in
เชือ่ ว่าความรเู้ กดิ จากประสบการณ์ คาถามทเี่ กีย่ วขอ้ งกบั ความรู้ หรือ its totality) โดยท่ีพระองค์อลั ลอฮฺ (ซบ)
ทางประสาทสมั ผสั โดยความรู้ที่ ความจรงิ เกยี่ วกบั โลกและชวี ติ เป็นผูม้ ีอานาจเหนอื สง่ิ อ่ืนใดในการจัด
แท้จรงิ คือความรู้ท่ีสามารถพสิ ูจน์ โดยใช้กระบวนการคิดผา่ น ระเบยี บระบบเพื่อการดารงอยู่ของธรรมชาติ
ได้ อยเู่ ป็นเอกเทศภายนอก และ สตปิ ัญญาและเหตผุ ล หรอื จกั รวาล
เปน็ วตั ถวุ ิสยั (objective) - เช่ือมโยงกนั ระหว่างโลกดุนยากับโลกอาคี
- โลกทัศน์ทีพ่ งึ่ พงิ เหตุผล ซ่ึงเป็น เราะฮฺ ไม่สามารถแยกออกกนั ได้ โดยมอง
- มีคณุ สมบตั ิเป็นสากล (reality is เหตุผลที่ได้จากการทดสอบบน โลกอาคีเราะฮฺเป็นจุดหมายปลายทางและมี
universal) นั่นคอื เป็นจรงิ และใชไ้ ด้ พื้นฐานของหลกั อนกุ รมทช่ี ดั เจนท่ี นยั สาคญั มากทส่ี ุด
ทว่ั ไป ไมถ่ กู จากดั ดว้ ยเวลาและ ไมส่ ามารถโตแ้ ยง้ ไดด้ ้วยความรสู้ ึก - วางอย่บู นรากฐานของโลกทศั นอ์ ัลกรุ อาน
บรบิ ท นกึ คดิ
การวจิ ยั เชิงวิทยาศาสตร์ การวจิ ัยในอิสลาม
การวิจัยเชงิ ปรัชญา
การวจิ ยั เชิงวทิ ยาศาสตร์ 11
การวิจยั เชงิ วทิ ยาศาสตร์ การวิจัยเชิงปรชั ญา การวจิ ัยในอิสลาม
- การวิจยั เชงิ วทิ ยาศาสตร์มีจุดรเิ รม่ิ การ - การวิจยั เชิงปรชั ญามีจดุ ริเริ่มการ - การวิจัยในอิสลามมจี ุดริเรม่ิ จากความ
ดาเนนิ การวจิ ยั เมอื่ เกิดความอยากรู้ ดาเนินการวจิ ัยเมอ่ื เกดิ ความสงสัยใน ชัดเจน ความหนกั แน่นเชือ่ มัน่ ในสจั ธรรมที่
อยากเหน็ โดยอาศยั การสงั เกตและการ เร่ืองใดเรือ่ งหน่ึง โดยอาศัยการ ไดม้ าจากวะห์ยู ปราศจากความคลางแคลง
ทดลอง เปน็ การวิจัยเชงิ ประจกั ษ์เน้น ตรวจสอบขอ้ เทจ็ จริงเชิงเหตุผล ใจใดๆ ซงึ่ การดาเนินการวิจัยมี
การเก็บขอ้ มลู เชงิ ประมาณสามารวัดได้ วัตถุประสงคเ์ พ่อื ทาความเข้าใจในสจั ธรรม
- มีข้นั ตอนทส่ี าคญั 5 ขน้ั ตอน คือ - เปน็ โลกทัศนท์ ี่พึง่ พงิ เหตผุ ล ซ่ึงเป็น ทีม่ อี ยใู่ นวะห์ยู และนาไปใช้เพ่อื ประโยชน์
เหตผุ ลท่ีได้จากการทดสอบบนพนื้ ฐาน ต่อการดารงชีวติ หรือเพอื่ การปฏบิ ัตใิ น
1) ขน้ั ปญั หา (problem) ของหลกั อนกุ รมท่ชี ดั เจนที่ไมส่ ามารถ ฐานะที่เปน็ ตัวแทนและบ่าวท่ีดขี อง
2) ขน้ั กาหนดสมมตุ ฐิ าน โตแ้ ยง้ ไดด้ ว้ ยความรูส้ กึ นกึ คดิ พระองค์อัลลอฮฺ (ซบ)
(formulating hypothesis) - การวิจัยทีผ่ สมผสานกนั ระหวา่ งวิธีเชิง
3) ขนั้ การรวบรวมข้อมูล - วธิ ีอนุมาน (deductive method) ตรรกศาสตรแ์ ละวะหย์ ู
(collection of data) และวธิ อี ุปมาน (inductive method) - เนน้ ในเร่อื งความถูกต้อง และความ
4) ข้ันวเิ คราะหข์ อ้ มลู (analysis นา่ เชือ่ ถือของสายรายงานของแหล่งขอ้ มลู
of data) และ
5) ขน้ั การสรุปผล (conclusion) 12
ความแตกต่างในโลกทัศนม์ ผี ลตอ่ การวธิ กี ารสืบค้นความรู้ โดยทแ่ี ตล่ ะ
โลกทัศนม์ ีปรัชญาในการกาหนดประเดน็ ความรู้ที่แตกตา่ งกนั
การวิจยั เชงิ วิทยาศาสตร์มีจดุ ริเร่ิมการสืบค้นความร้เู มอื่ เกดิ ความอยาก
รู้อยากเห็น โดยอาศยั การสงั เกตและการทดลอง เปน็ การวิจยั เชิง
ประจักษเ์ น้นการเกบ็ ขอ้ มลู เชงิ ปริมาณสามารถวดั ได้
ส่วนการสืบค้นความร้โู ดยใชห้ ลกั ตรรกวทิ ยาหรอื เชิงเหตุผลเพื่อ
แสวงหาความรทู้ ่ีแท้จรงิ มีจดุ รเิ ร่ิมเมอ่ื เกดิ ความสงสยั ในเรอ่ื งใดเร่ือง
หน่ึง โดยอาศยั การตรวจสอบข้อเทจ็ จริงเชงิ เหตผุ ลจากความรู้
การสบื ค้นความรู้ในอสิ ลามมีจดุ รเิ รม่ิ จากความหนกั แน่นม่ันใจในสจั
ธรรมท่ีได้มาจากวะหย์ ู ปราศจากความคลางแคลงใจใดๆ ซึ่งการ
ดาเนินการการสบื ค้นความรู้มีวตั ถุประสงค์เพอื่ ทาความเข้าใจในสจั
ธรรมทป่ี รากฎในวะหย์ ู
13
แหลง่ ที่มาของความร้ใู นอิสลาม
อลั กุรอานและอลั หะดีษ
อิจญม์ าอฺ และกิยาส
อิสติหฺซาน มะศอลิหฺ มุรสะละฮฺ และอรุ ฟฺ
14
วธิ กี ารหาความรขู้ องมนุษย์ในอิสลาม
การอา่ น และการถามผูร้ ู้
การหาความรูด้ ว้ ยประสบการณต์ นเอง
การหาความรูด้ ว้ ยธรรมเนียมประเพณี
การหาความรูโ้ ดยใชห้ ลกั ตรรกวิทยาหรือเชิง
เหตุผล และการทดลอง
15