The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

เล่มรายงานผลการดำเนินงาน SDG4.2565

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Jantima Wattanachotikul, 2022-09-22 00:42:08

เล่มรายงานผลการดำเนินงาน SDG4.2565

เล่มรายงานผลการดำเนินงาน SDG4.2565

รายงานผลการขับเคลอื่ น
เป้าหมายการพฒั นาทยี่ ง่ั ยนื

ดา้ นการศกึ ษา (SDG4)

ประจำปีงบประมำณ พ.ศ.2565
จงั หวัดนครปฐม

เอกสำรหมำยเลข 5/2565
กลุม่ นโยบำยและแผน

สำนักงำนศกึ ษำธิกำรจังหวดั นครปฐม

คำนำ

สำนักงานศึกษาธิการจังหวัดนครปฐม ได้จัดทำรายงานผลการดำเนินงานขับเคลื่อนเป้าหมาย
การพัฒนาที่ยั่งยืนด้านการศึกษา (SDG4) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2565 ขึ้น เพื่อเป็นกลไก ระดับจังหวัด
ในการสนับสนุนการดำเนนิ การพัฒนาจังหวัดด้านการศึกษาให้บรรลุเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยนื โดยมีหน้าท่ี
หลักในการขับเคลื่อนเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนด้านการศึกษาสู่การปฏิบัติในพื้นที่จังหวัดนครปฐม
ใช้เป็นกรอบแนวทางในการสร้างหลักประกันว่าทุกคนในจังหวัดนครปฐม จะมีการศึกษาที่มีคุณภาพ
อยา่ งครอบคลุมและเทา่ เทยี มและสนับสนนุ โอกาสในการเรยี นร้ตู ลอดชวี ติ (SDG4 Roadmap)

สำนักงานศึกษาธิการจังหวัดนครปฐม ขอขอบคุณคณะกรรมการขับเคลื่อนเป้าหมายการพัฒนา
ที่ยั่งยืนระดับพื้นที่ และระดับจังหวัด หน่วยงานการศึกษา หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง รวมทั้งผู้ทรงคุณวุฒิ
ด้านการศึกษา ที่มีส่วนช่วยชี้แนะแนวทางการขับเคลื่อนเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนด้านการศึกษา (SDG4)
ในพื้นที่จังหวัดนครปฐม เพื่อรายงานต่อหน่วยงานต้นสังกัด และเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ผลการดำเนินงาน
ต่อหนว่ ยงานการศึกษา และผู้มีส่วนเก่ยี วขอ้ ง

สำนกั งานศึกษาธกิ ารจังหวัดนครปฐม
กลุ่มนโยบายและแผน
กันยายน 2565

(1)

สารบญั

คำนำ หนา้
สารบญั
แผนภาพ (1)
บทสรุปผบู้ ริหาร (2)



ส่วนที่ 1 บทนำ 1

ส่วนที่ 2 การดำเนนิ งานขบั เคลอ่ื นเป้าหมายการพฒั นาท่ียง่ั ยืนดา้ นการศกึ ษา (SDG4)สูก่ ารปฏบิ ัติ 8
ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2565 จงั หวัดนครปฐม

สว่ นท่ี 3 ความก้าวหน้าการดำเนินงานขับเคล่ือนเป้าหมายการพฒั นาทยี่ ง่ั ยืนดา้ นการศึกษา (SDG4) 14
ผลการดำเนินงานขับเคลื่อนเป้าหมายการพฒั นาท่ยี ั่งยนื ด้านการศึกษา (SDG4)
รายเป้าหมายย่อย

ส่วนท่ี 4 บทสรปุ ผลการดำเนินงาน ความท้าทาย และขอ้ เสนอแนะการดำเนินงานระยะต่อไป 20

ภาคผนวก
- ภาพถ่ายกิจกรรมการประชมุ ขบั เคลื่อนเปา้ หมายการพัฒนาท่ียัง่ ยนื ด้านการศกึ ษา SDG4
ประจำปงี บประมาณ พ.ศ.2565 จังหวดั นครปฐม

- โครงการจัดทำฐานข้อมลู และระบบตดิ ตามประเมินผลระดบั พื้นทีเ่ พอ่ื สนับสนนุ การขับเคลอ่ื น
เป้าหมายของสหประชาชาติว่าด้วยการพัฒนาทีย่ ั่งยนื ด้านการศึกษา SDG4

- คำสั่งแต่งตั้งผู้รับผิดชอบและประสานงานหลักการดำเนินงานขับเคลื่อนเป้าหมายย

การพฒั นาที่ยั่งยนื ด้านการศึกษา (SDG4) ในระดบั พ้นื ที่
- คำสง่ั แต่งต้ังคณะทำงานขบั เคลอ่ื นเป้าหมายการพฒั นาทย่ี ั่งยนื ด้านการศกึ ษาระดบั จงั หวดั

จงั หวัดนครปฐม

(2) หนา้
9
สารบญั รูปภาพ
11
แผนภาพ 11
1 ผังการดำเนินงานโครงการจัดทำฐานข้อมูลและระบบติดตามประเมินผลฯ
ปีงบประมาณ พ.ศ.2565
2 การดำเนนิ งานเพื่อบรรลุเปา้ หมายการพฒั นาท่ียัง่ ยืนด้านการศึกษา
3 การจดั ทำแผนที่นำทาง (Roadmap) การขับเคลอ่ื น SDGs17 เป้าหมาย



บทสรปุ สำหรับผูบ้ รหิ าร

สำนักงานศึกษาธิการจังหวัดนครปฐม ดำเนินการขับเคลื่อนเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน
ด้านการศึกษา เชื่อมโยงกับเปา้ หมายแผนแมบ่ ทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ ซึ่งกระทรวงศึกษาธิการได้รับมอบหมาย
ให้รับผิดชอบเป้าหมายที่ 4 สร้างหลักประกันว่าทุกคนมีการศึกษาที่มีคุณภาพอย่างครอบคลุมและเท่าเทียม
และสนบั สนนุ โอกาสในการเรียนรู้ตลอดชวี ติ ซึ่งมีทงั้ หมด 10 เป้าหมาย ดังน้ี

เป้าหมายย่อย 4.1
สร้างหลกั ประกันว่าเด็กชายและเดก็ หญิงทกุ คนสำเร็จการศกึ ษาระดบั ประถมศกึ ษาและมัธยมศึกษา
ท่ีมีคณุ ภาพ เท่าเทยี ม และไมม่ ีคา่ ใช้จา่ ย นำไปสผู่ ลลัพธ์ทางการเรียนที่มีประสิทธผิ ล ภายในปี พ.ศ. 2573

ตัวชี้วัด 4.1.1(1) รอ้ ยละของเด็กในวยั ป.3 ทมี่ ีทักษะการอา่ นและการคำนวณ ข้นั พน้ื ฐาน
ตัวชี้วัด 4.1.1(2) คะแนนเฉลี่ยผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET)
ระดบั (ก) ป.6 และ (ข) ม.3 จำแนกตามรายวชิ า (1) ภาษาไทย (2) คณิตศาสตร์ (3) วทิ ยาศาสตร์ (4) สงั คมศึกษา
ศาสนา และวฒั นธรรม และ (5) ภาษาตา่ งประเทศ (ภาษาองั กฤษ)
ตัวชี้วัด 4.1.2 อัตราการสำเร็จการศึกษา (ระดับประถมศึกษา มัธยมศึกษาตอนต้น
และมธั ยมศกึ ษาตอนปลาย)
เป้าหมายยอ่ ย 4.2
สรา้ งหลกั ประกันว่า เด็กชายและเด็กหญิง ทกุ คนเขา้ ถึงการพฒั นา การดแู ล และการจดั การศกึ ษา
ระดับก่อนประถมศึกษา สำหรับเด็กปฐมวัยที่มีคุณภาพ เพื่อให้เด็กเหล่านั้นมีความพร้อม สำหรับการศึกษา
ระดับประถมศึกษา ภายในปี พ.ศ. 2573
ตัวชี้วัด 4.2.1 ร้อยละของเด็กอายุต่ำกว่า 5 ปี ที่มีพัฒนาการทางด้านสุขภาพ การเรียนรู้
และพฒั นาการทางบคุ ลิกภาพตามวัย จำแนกตามเพศ
ตัวชี้วัด 4.2.2 อัตราการเข้าเรียนปฐมวัย (อย่างน้อย 1 ปี ก่อนถึงเกณฑ์อายุเข้าเรียน
ประถมศึกษาจำแนกตามเพศ)
เปา้ หมายยอ่ ย 4.3
สร้างหลักประกันให้ชายและหญิงทุกคนเข้าถึงการศึกษา อาชีวศึกษา อุดมศึกษา รวมถึง
มหาวิทยาลยั ทมี่ ีคณุ ภาพ ในราคาที่สามารถจ่ายได้ ภายในปี พ.ศ. 2573
ตัวชี้วัด 4.3.1 อัตราการเข้าเรียนระดับอาชีวศึกษา (สัดส่วนผู้เรียนระดับมัธยมศึกษา
ตอนปลายสายอาชวี ศกึ ษา(ปวช.) : สายสามัญศกึ ษา)
ตัวช้ีวัด 4.3.2 อัตราการเขา้ เรยี นตอ่ ในระดบั อดุ มศึกษา
เปา้ หมายย่อย 4.4
เพิ่มจำนวนเยาวชน และผู้ใหญ่ที่มีทักษะที่เกี่ยวข้องจำเป็น รวมถึงทักษะทางด้านเทคนิค
และอาชพี สำหรับการจ้างงาน การมงี านทำทม่ี คี ุณคา่ และการเป็นผู้ประกอบการภายในปี พ.ศ. 2573
ตัวชี้วัด 4.4.1 สัดส่วนของเยาวชน/ผู้ใหญ่ที่มีทักษะ ทางด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ
และการส่อื สารจำแนกตามประเภททกั ษะ



เป้าหมายยอ่ ย 4.5
ขจัดความเหลี่อมล้ำทางเพศด้านการศึกษา และสร้างหลักประกันว่ากลุ่มที่เปราะบางซึ่งรวมถึง
ผู้พกิ าร ชนพนื้ เมอื ง และเด็ก เข้าถงึ การศกึ ษาและการฝึกอาชีพทกุ ระดับอยา่ งเทา่ เทยี ม ภายใน ปี พ.ศ. 2573

ตัวชี้วัด 4.5.1 (1) ดัชนีความเท่าเทียมกันทางเพศ และระดับการศึกษา (ปฐมวัย
ประถมศึกษา มัธยมศกึ ษาตอนตน้ มัธยมศึกษาตอนปลาย อุดมศกึ ษา)

ตัวชี้วัด 4.5.1 (2) ดัชนีความเท่าเทียมทางความมั่งคั่ง จำแนกตามระดับการศึกษา (ปฐมวัย
ประถมศกึ ษา มธั ยมศกึ ษาตอนตน้ มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย อดุ มศึกษา)

ตัวชี้วัด 4.5.3 (3) ดัชนีความเท่าเทียมตามพื้นที่ จำแนกตามระดับการศึกษา (ปฐมวัย
ประถมศกึ ษา มัธยมศึกษาตอนต้น มธั ยมศึกษาตอนปลาย อุดมศึกษา)

เปา้ หมายย่อย 4.6
สร้างหลักประกันว่าเยาวชนทุกคนและผู้ใหญ่ทั้งชายและหญิงในสัดส่วนสูง สามารถอ่านออก
เขียนได้ และคำนวณได้ ภายในปี พ.ศ. 2573

ตวั ชว้ี ดั 4.6.1 (1) อตั ราการอ่านออกเขียนไดข้ องประชากรอายุ 15 ปี ขนึ้ ไป
ตัวชว้ี ัด 4.6.1 (2) อัตราการมที กั ษะด้านการคำนวณของประชากร อายุ 15 ปี ข้นึ ไป
ตวั ช้ีวัด 4.6.1 (3) อัตราการอา่ นออกเขียนได้และมีทักษะด้านการคำนวณของประชากรอายุ 15 ปีข้ึนไป
เปา้ หมายย่อย 4.7
สร้างหลักประกันว่าผู้เรียนทุกคนได้รับความรู้และทักษะที่จาเป็นสำหรับส่งเสริม การพัฒนา
ที่ย่ังยนื รวมไปถึง การศึกษาสำหรับการพัฒนาท่ยี ัง่ ยนื และการมีวิถีชวี ิตที่ยั่งยืน สิทธมิ นุษยชน ความเสมอภาค
ระหว่างเพศ การส่งเสริมวัฒนธรรมแห่งความสงบสุขและการไม่ใช้ความรุนแรง การเป็นพลเมืองของโลก
และความชื่นชมในความหลากหลายทางวัฒนธรรมและการที่วัฒนธรรมมีส่วนช่วยให้เกิดการพัฒนาที่ยั่งยืน
ภายในปี พ.ศ. 2573
ตัวชี้วัด 4.7.1 ระดับการดำเนินการการกำหนดเรื่อง การศึกษาเพื่อความเป็นพลเมืองโลก
และการจดั การศกึ ษา เพ่ือการพัฒนาที่ยั่งยนื เปน็ เร่อื งหลักใน (ก) นโยบายการศึกษาของประเทศ (ข) หลักสูตร
(ค) การศึกษาของครู (หลกั สูตรการผลิต/พัฒนาคร)ู และ (ง) การประเมินผลนกั เรยี น
ตัวชี้วัด 4.7.2 การจัดกิจกรรมหรือโครงการเพื่อพฒั นาผู้เรียนให้มคี วามรูแ้ ละทักษะเกี่ยวกบั
ความเป็นพลเมือง หรอื การพัฒนาทย่ี ง่ั ยืน (โครงการ/กิจกรรมพฒั นาผเู้ รยี นเสรมิ หลักสตู ร)
เปา้ หมายยอ่ ย 4.a
สร้างและยกระดับสถานศึกษา ตลอดจนเครื่องมือและอุปกรณ์การศึกษาที่อ่อนไหวต่อเด็ก
ผู้พกิ าร และเพศภาวะ และจัดใหม้ สี ภาพแวดล้อมทางการเรียนรทู้ ี่ปลอดภัย ปราศจากความรนุ แรง ครอบคลุม
และมปี ระสทิ ธผิ ลสำหรบั ทกุ คน
ตวั ชีว้ ัด 4.a.1 สดั สว่ นของโรงเรียนที่มีการเขา้ ถงึ บรกิ ารขน้ั พน้ื ฐาน จำแนกตามประเภทบริการ
(สัดส่วนของโรงเรียนที่มีการเข้าถึง (a) ไฟฟ้า (b) อินเทอร์เน็ตที่ใช้ในการเรียนการสอน (c) เครื่องคอมพิวเตอร์
ที่ใช้ในการเรียนการสอน (d) โครงสร้างพื้นฐาน และวัสดุอุปกรณ์ที่ได้รับการปรับให้เหมาะสมกับนักเรียน
ที่มีความบกพร่องทางรา่ งกาย (e) น้ำดื่มพื้นฐาน (f) สิ่งอำนวยความสะดวกพื้นฐาน ด้านสุขอนามัยที่แบ่งแยก



ตามเพศ และ (g) สิ่งอานวยความสะดวกพื้นฐานในการทำความสะอาดมือ (ตามนิยามตัวชี้วัดของ WASH
ในเรื่องนำ้ สุขอนามัย และสุขลักษณะสำหรับทุกคน)

เปา้ หมายย่อย 4.b
เพิ่มจำนวนทุนการศึกษาทัว่ โลกที่ให้แกป่ ระเทศกาลังพัฒนา โดยเฉพาะประเทศพัฒนาน้อยท่สี ุด
รัฐกำลังพัฒนาที่เป็นเกาะขนาดเล็ก และประเทศในทวปี แอฟริกา เพื่อเข้าศึกษาต่อในระดับอุดมศึกษา รวมถงึ
การฝกึ อาชีพ และโปรแกรมดา้ นเทคโนโลยีสารสนเทศและการสอื่ สาร ด้านเทคนคิ วศิ วกรรม และวิทยาศาสตร์
ในประเทศพฒั นาแล้วและประเทศกำลังพฒั นาอ่ืนๆ ภายในปี พ.ศ. 2573

ตัวชว้ี ดั 4.b.1 ปรมิ าณความช่วยเหลือเพอ่ื การพฒั นา อยา่ งเป็นทางการ (ODA) ท่ีเป็นทนุ การศึกษา
สำหรบั ประเทศกำลังพัฒนาและประเทศพัฒนานอ้ ยทส่ี ุด

เปา้ หมายยอ่ ย 4.c
เพิม่ จำนวนครทู ีม่ ีคณุ วุฒิ รวมถึงการดาเนินการผ่านความร่วมมอื ระหวา่ งประเทศในการฝึกอบรมครู
ในประเทศกำลังพัฒนา โดยเฉพาะอย่างยิ่งในประเทศพัฒนาน้อยที่สุด และรัฐกำลังพัฒนาที่เป็นเกาะขนาดเล็ก
ภายในปี พ.ศ. 2573

ตัวชี้วัด 4.c.1 สัดส่วนของครูที่มีคุณวุฒิเหมาะสมในการจัดการศึกษาพื้นฐาน จำแนกตาม
ระดับการศึกษาผู้ซึ่งอย่างน้อยได้รับการฝึกอบรม (เช่น การฝึกอบรมการสอน) ซึ่งต้องดำเนินการ
ก่อนหรือระหว่างช่วงที่ทำการสอนในระดับที่เกี่ยวข้องของแต่ละประเทศ (1) ก่อนประถมศึกษา
(2) ประถมศกึ ษา (3) มัธยมศกึ ษาตอนตน้ (4) มัธยมศกึ ษาตอนปลาย

ในการดำเนินการขับเคลื่อนเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนด้านการศึกษา (SDG4 Roadmap)
จังหวัดนครปฐม มีวัตถุประสงค์เพื่อใช้เป็นกรอบแนวทางและเป้าหมายของการดำเนินงานในการขับเคลื่อน
เป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน เป้าหมายที่ 4 สร้างหลักประกันว่าทุกคนมีการศึกษาที่มีคุณภาพ ครอบคลุม
และเทา่ เทียม และสนบั สนุนโอกาสในการเรียนร้ตู ลอดชีวติ (SDG4) ไปส่กู ารปฏบิ ตั ไิ ด้อยา่ งชดั เจน เปน็ รูปธรรม
มีกรอบแนวทางในการติดตาม ประเมินผลความสำเร็จของการดำเนินงาน และรายงานผลการดำเนินงาน
ในฐานะหน่วยงานรับผิดชอบและประสานงานหลักเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนในพื้นที่ จังหวัดนครปฐม
ให้เป็นไปตามแนวทางการดำเนินงานที่คณะกรรมการเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืนกำหนด สำนักงานศึกษาธิการ
จังหวัดนครปฐม มีการบูรณาการและขับเคลื่อนการศึกษาในระดับจังหวัด โดยได้สนองนโยบายของรัฐบาล
และกระทรวงศึกษาธิการ ในเรื่องการขับเคลื่อนเป้าหมายของสหประชาชาติว่าด้วยการพัฒนาที่ยั่งยืน
ด้านการศึกษา (SDG4) การศึกษาที่มีคุณภาพและโอกาสในการเรียนรู้ตลอดชีวิต โดยกระบวนการขับเคลื่อน
การดำเนนิ งาน ดงั น้ี

1. สำนักงานศึกษาธิการจังหวัดนครปฐม ร่วมประชุมชี้แจงสร้างความรู้ความเข้าใจการดำเนิน
โครงการจัดทำฐานข้อมูลและระบบติดตามประเมินผลระดับพื้นที่เพื่อสนับสนุนการขับเคลื่อนเป้าหมายของ
สหประชาชาติว่าด้วยการพัฒนาที่ยั่งยืนด้านการศึกษา SDG4 ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2565 ในวันอังคาร
ที่ 3 พฤษภาคม โดยใช้รูปแบบการประชุมทางไกลผา่ นสื่ออิเล็กทรอนิกส์ (โปแกรม Zoom) จัดโดยสำนักงาน
ปลดั กระทรวงศกึ ษาธิการ



2. การดำเนนิ งานในสว่ นภูมภิ าค/ระดบั พน้ื ท่ีรับผิดชอบ
2.1. ประชุมเชิงปฏิบัติการสร้างการรับรู้การขับเคลื่อนเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน

ด้านการศกึ ษาในพน้ื ท่ีรบั ผดิ ชอบของสำนกั งานศกึ ษาธกิ ารภาค 2 และระดบั จงั หวัด จงั หวัดนครปฐม เปน็ กรอบ
แนวทางและเป้าหมายการขับเคลื่อนเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนด้านการศึกษา และแผนที่นำทางฯ (SDG4
Roadmap) ไปสู่การปฏิบัติ ทุกภาคส่วนที่เกี่ยวข้อง ต้องรับรู้ เข้าใจ และเข้ามามีส่วนร่วมดำเนินการ เพื่อให้
เหน็ ความสำคญั และเข้ามามีสว่ นรว่ มในการขับเคลื่อนไปสู่การปฏบิ ัติอย่างจริงจังกับการพัฒนาด้านการศึกษา
ของสำนักงานศึกษาธิการจังหวัดนครปฐม ตามคำสั่งคณะกรรมการขับเคลื่อนเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน
ที่ 2/ 2565 เรื่อง แต่งตั้งคณะทำงานขับเคลื่อนเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนด้านการศึกษาระดับจังหวัด
นครปฐม ลงวันท่ี วันที่ 31 พฤษภาคม 2565 เพื่อขับเคลื่อนเป้าหมายของสหประชาชาติว่าด้วยการพัฒนา
ที่ยั่งยืนด้านการศึกษา SDG4 ในระดับพื้นที่ ประกอบด้วย คณะทำงานขับเคลือ่ นเป้าหมายการพัฒนาที่ยัง่ ยืน
ด้านการศึกษาระดับจังหวัดนครปฐม หน่วยงานการศึกษาในจังหวัดนครปฐม และบุคลากรในสำนักงาน
ศึกษาธิการจงั หวัดนครปฐม ในวันที่ 3 สงิ หาคม 2565 โดยใช้รปู แบบการประชมุ ทางไกลผ่านส่อื อิเลก็ ทรอนิกส์
(โปแกรม Zoom)

2.2 การประชุมเชิงปฏิบัติการจัดทำแผนปฏิบัติการขับเคลื่อนเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน
ด้านการศึกษา (SDG4) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2565 – 2566 จังหวัดนครปฐม เพื่อสนับสนุนการขับเคลื่อน
เป้าหมายของสหประชาชาติว่าด้วยการพัฒนาที่ยั่งยืนด้านการศึกษา SDG4 ระดับจังหวัด แผนที่นำทางฯ
หรอื ทบทวน ปรบั ปรุงแผนท่นี ำทางฯ ใหส้ อดคล้องกับความเปลี่ยนแปลงของสถานการณ์ความต้องการ/ความจำเป็น
และบรบิ ทที่เก่ียวข้อง ประกอบด้วย คณะทำงานขับเคล่ือนเป้าหมายการพฒั นาทย่ี ั่งยืนด้านการศึกษาระดับจังหวัด
นครปฐม ผู้ทรงคณุ วฒุ ิด้านการศึกษา หนว่ ยงานการศึกษาในจังหวัดนครปฐม และบุคลากรในสำนักงานศึกษาธิการ
จังหวัดนครปฐม ในวันที่ 16 สิงหาคม 2565 ณ ห้องประชุมทวารวดีศรีพระประโทณ โรงเรียนวัดพระประโทณ
เจดยี ์ อำเภอเมืองนครปฐม จงั หวัดนครปฐม

2.3 การกำกับ ติดตาม และประเมินผลการดำเนินงาน รวมถึงปัญหาอุปสรรค และแนวทาง
ในการแกไ้ ขปัญหาหรอื พฒั นาการจดั การศกึ ษาให้บรรลเุ ปา้ หมายทก่ี ำหนด

2.4 การจดั ทำรายงานผลการดำเนนิ งานเพื่อเสนอคณะกรรมการ หรอื คณะทำงานขับเคลื่อน
เป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนดา้ นการศึกษาระดับจังหวดั รับทราบและนำไปใช้เป็นข้อมูลประกอบการกำหนด
แนวทางการดำเนินงานในระยะต่อไป รวมถึง รายงานผลการดำเนินงานต่อคณะกรรมการฯ และหน่วยงาน
ตน้ สงั กัดทราบตามลำดับต่อไป

3. จดั พมิ พ์เผยแพร่ใหบ้ คุ คล หน่วยงานท่เี ก่ยี วข้องรบั ทราบผา่ นเวบ็ ไซตข์ องหน่วยงาน

ในการดำเนินการรายงานผลการดำเนนิ งานขับเคลื่อนเป้าหมายการพัฒนาท่ียัง่ ยืนด้านการศึกษา

(SDG4) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2565 จังหวัดนครปฐม สำนักงานศึกษาธิการจงั หวัดนครปฐม ได้ดำเนินการ

รายงานเป็นรายเป้าหมายย่อย ตามที่มีข้อมูลผลการดำเนินงาน หรือข้อมูลพื้นฐานตามตัวชี้วัดครบถ้วน สมบูรณ์

สามารถนำเสนอความก้าวหน้าหรือสภาพการดำเนินงานขับเคลื่อนเป้าหมายย่อยได้อย่างชัดเจน เป็นรูปธรรม

ผลการดำเนินงานขับเคลื่อนเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนด้านการศึกษา (SDG4) รายเป้าหมายของจังหวัดนครปฐม

จำนวน 6 เปา้ หมาย ดงั น้ี



1 เป้าหมายย่อย SDG 4.1 สรา้ งหลกั ประกนั วา่ เดก็ ชายและเดก็ หญิงทกุ คนสำเร็จการศกึ ษาระดับ
ประถมศึกษาและมัธยมศึกษาที่มีคุณภาพ เท่าเทียม และไม่มีค่าใช้จ่าย นำไปสู่ผลลัพธ์ทางการเรียน
ทม่ี ีประสิทธิผล ภายในปี พ.ศ. 2573

- โครงการ (IFTE) วิจัยนวตั กรรมการศกึ ษาเพื่อพฒั นาการศกึ ษาจงั หวัดนครปฐมระยะที่ 2

- โครงการทดสอบทางการสึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6

และชัน้ มัธยมศึกษาปีที่ 3 ปกี ารศกึ ษา 2564

2. เป้าหมายย่อย SDG 4.2 สร้างหลักประกันว่าเด็กชายและเด็กหญิงทุกคนเข้าถึงการพัฒนา
การดแู ล และการจดั การศกึ ษาระดับกอ่ นประถมศึกษา สำหรับเด็กปฐมวัยท่ีมคี ณุ ภาพ ภายในปี 2573

- โครงการขับเคลอ่ื นการพัฒนาการจัดการศกึ ษาปฐมวัยในระดับพืน้ ที่จังหวดั นครปฐม
3 เป้าหมายย่อย SDG 4.3 ให้ชายและหญิงทุกคนเข้าถึงการศึกษาวิชาเทคนิคอาชีวศึกษา
อุดมศกึ ษา รวมถึงมหาวิทยาลยั ทมี่ รี าคาท่สี ามารถจา่ ยไดแ้ ละมีคณุ ภาพภายในปี 2573

- โครงการส่งเสรมิ เวทีและประชาคมเพ่ือการจัดทำรูปแบบและแนวทางพัฒนาหลักสตู ร
ตอ่ เน่ืองเชือ่ มโยงการศกึ ษาขึ้นพ้ืนฐานกบั อาชวี ศึกษาและอดุ มศกึ ษา ปงี บประมาณ 2565

4) เป้าหมายย่อย SDG4.5 ขจัดความเหลี่อมล้ำทางเพศในการศึกษา และสร้างหลักประกันว่า
กลุ่มที่เปราะบางซึ่งรวมถึงผู้พิการ ชนพื้นเมือง และเด็กเข้าถึงการศึกษาและการฝึกอาชีพทุกระดับ
อยา่ งเทา่ เทียม ภายในปี 2573

- โครงการส่งเสริมโอกาส ความเสมอภาคและความเท่าเทียมทางการศึกษา “พาน้อง
กลับมาเรยี น” ระดบั จงั หวดั

5) เป้าหมายย่อย SDG 4.7 สร้างหลักประกันว่าผู้เรียนทุกคนได้รับความรู้และทักษะที่จำเป็น
สำหรับส่งเสริมการพัฒนาอย่างยั่งยืน รวมไปถึง การศึกษาสำหรับการพัฒนาอย่างยั่งยืนและการมีวิถีชีวิตท่ี
ยงั่ ยนื สิทธมิ นษุ ยชน ความเสมอภาคระหว่างเพศ การส่งเสริมวฒั นธรรมแหง่ ความสงบสุขและไม่ใช้ความรุนแรง
การเป็นพลเมืองของโลก และความนิยมในความหลากหลายทางวัฒนธรรมและในส่วนร่วมของวัฒนธรรมต่อ
การพัฒนาท่ียง่ั ยืน ภายในปี 2573

- โครงการสร้างและส่งเสริมความเป็นพลเมืองดีตามรอยพระยุคลบาทด้านการศึกษา
สกู่ ารปฏิบตั ิ ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2565

6) เปา้ หมายย่อย SDG 4.a สรา้ งและยกระดับอปุ กรณ์และเครื่องมือทางการศึกษาที่อ่อนไหวต่อ
เด็กผ้พู กิ าร และเพศภาวะ และให้มีสภาพแวดลอ้ มทางการเรยี นรทู้ ี่ปลอดภยั ปราศจากความรุนแรง ครอบคลุม
และมีประสทิ ธผิ ลสำหรับทุกคน

- โครงการการประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้เพื่อขับเคลื่อนการยกระดับคุณภาพการศึกษา
และประสิทธภิ าพการบรหิ ารจัดการศึกษาจงั หวดั นครปฐมโดยผ่านกลไกของ กศจ.

1

สว่ นท่ี 1

บทนำ

1.1 เกรนิ่ นำ

ตามมติคณะกรรมการเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน (กพย.) ในคราวประชุมครั้งที่ 1/2562
เมื่อวันที่ 19 ธันวาคม 2562 เห็นชอบในหลักการร่างแผนการขับเคลื่อนเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน
สำหรับประเทศไทย (Thailand’s SDG Roadmap) เพื่อใช้เป็นกรอบแนวทางในการดำเนินงาน
เพื่อขับเคลื่อนการดำเนินงานให้เป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนซึ่งแผนการขับเคลื่อนฯ ครอบคลุมการ
ดำเนินการหลักใน 6 ด้าน ดงั นี้

1) การสร้างการตระหนักรู้ ดำเนินการให้ทุกภาคส่วนมีความรู้ และความเข้าใจ
ในเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน โดยมีการดำเนินการทั้งในระดับประเทศ และระดับท้องถิ่น เพื่อให้
ทุกภาคส่วนมีสว่ นร่วมในการขบั เคลอื่ นประเทศสู่ความยัง่ ยนื

2) การเชื่อมโยงเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนกับแผน 3 ระดับของประเทศขับเคลื่อน
การพัฒนาประเทศตามกรอบยุทธศาสตร์ชาติ แผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ และแผนระดับอื่นๆ
ซ่ึงสอดคลอ้ งกบั เป้าหมายการพัฒนาทย่ี งั่ ยนื สรา้ งประเทศใหม้ ่ันคง โดยไม่ทิง้ ใครไว้ข้างหลัง

3) กลไกการขับเคลื่อนการพัฒนาที่ยั่งยืน มีคณะกรรมการเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน
เป็นกลไกสนับสนุนการขับเคลื่อนในระดับนโยบาย และหน่วยงานภาครัฐบูรณาการร่วมกับทุกภาคส่วน
ของสงั คม เพอ่ื นำไปสกู่ ารปฏิบตั ทิ ่ีเปน็ รูปธรรม

4) การดำเนินงานเพื่อบรรลุเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน ดำเนินงานโดยยึดหลัก
ความสัมพันธ์เชงิ เหตแุ ละผล เพ่ือจัดทำแผนงาน/โครงการที่สำคัญตอ่ การบรรลุเป้าหมายการพัฒนาท่ีย่ังยืน
และยุทธศาสตร์ชาติ รวมทั้งขยายผลสู่การขับเคลื่อนเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนในระดับพื้นท่ี
(SDG Localization)

5) ภาคีการพัฒนา สนับสนุนความร่วมมือกับทุกภาคส่วน ทั้งในประเทศและภาคี
การพฒั นาระหวา่ งประเทศ เพอ่ื รว่ มขับเคลือ่ นประเทศไทยให้บรรลุเปา้ หมายการพัฒนาท่ียงั่ ยืน

6) การติดตามประเมินผลการขับเคลื่อนเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน ติดตาม
และประเมินผลการขับเคลื่อนเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนด้วยระบบฐานข้อมูลกลางที่มีการรายงาน
ความกา้ วหน้าจากหน่วยงานทีเ่ กยี่ วข้องอยา่ งสม่ำเสมอ

ในการขับเคลื่อนเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนสู่การปฏิบัติของประเทศไทย สำนักงาน
สภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ในฐานะเลขานุการ กพย. ได้จัดประชุมชี้แจงสร้างความรู้
ความเข้าใจกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เมื่อวันท่ี 18 กันยายน 2563 มีวัตถุประสงค์เพื่อทำความเข้าใจ
ในเรือ่ งการขับเคลอื่ น SDGs ระหว่างหนว่ ยงานรับผดิ ชอบและประสานงานหลักรายเป้าหมายหลัก (Goals)
และเป้าหมายย่อย (Targets) กำหนดแนวทางการขบั เคล่ือน SDGs รว่ มกนั ในระยะ 10 ปขี า้ งหนา้ รวมถึง
รับทราบแนวทางการจัดทำ Roadmap รายเป้าหมายหลัก และการกำหนดค่าเป้าหมาย/หมุดหมาย
รายเป้าหมายย่อย โดยการจัดทำ Roadmap เพื่อการดำเนินการขับเคลื่อนเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน
โดยในระดับเป้าหมายหลัก (Goal) กำหนดให้เจ้าภาพรายเป้าหมายหลักเป็นผู้ดำเนินการ ในการจัดทำ
Roadmap ให้ประสานหน่วยงานรับผิดชอบรายเป้าหมายย่อยเพื่อพิจารณากำหนดค่าเป้าหมาย
และหมุดหมาย (milestone) ให้สอดคล้องกับ SDGs และเป้าหมายของยุทธศาสตร์ชาติและแผนอื่นๆ
ที่เกี่ยวข้องรวมทั้งกำหนดตัวชี้วัดที่เหมาะสม โดยพิจารณาจากตัวชี้วัดสหประชาชาติกำหนดเป็นหลัก

2

(global SDG indicators) และอาจเสนอตัวชี้วัดทดแทน (proxy indicators) และตัวชี้วัดเพิ่มเติม
(additional indicators) เพื่อให้การขับเคลื่อน SDGs สอดคล้องกับบริบทของประเทศ ตลอดจนประสาน
หน่วยงานท่ีเกี่ยวข้องในการพัฒนาและจัดเก็บข้อมูลตัวชี้วัด เพื่อระบุแหล่งข้อมูล (sources)
และผูป้ ระสานงาน (focal point) ด้วย

กระทรวงศึกษาธิการได้รับมอบหมายให้เป็นหน่วยงานรับผิดชอบและประสานงานหลัก เป้าหมาย
หลักที่ 4 “สร้างหลักประกันว่า ทุกคนมีการศึกษาที่มีคุณภาพอย่างครอบคลุมและเท่าเทียมและสนับสนุน
โอกาสในการเรียนรู้ตลอดชีวิต” ซึ่งในการดำเนินงาน กระทรวงศึกษาธิการ โดยสำนักงานปลัดกระทรวง
ศึกษาธิการ ได้ดำเนินการแต่งตั้งคณะกรรมการขับเคลื่อนเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนด้านการศึกษา
รับผิดชอบการดำเนินงานขับเคลื่อนเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนด้านการศึกษาในภาพรวม และแต่งต้ัง
คณะทำงานจัดทำแผนที่นำทาง (Roadmap) การขับเคลื่อนเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนด้านการศึกษา
รับผิดชอบจัดทำแผนที่นำทางขับเคลื่อนเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนด้านการศึกษา (SDG4 Roadmap)
ที่สอดคล้องกับ Thailand’s SDG Roadmap เพื่อใช้เป็นกรอบแนวทางในการดำเนินงาน สำหรับในการ
ดำเนินงานเพื่อขับเคลื่อนเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนด้านการศึกษาลงสู่ การปฏิบัติในระดับพื้นท่ี
กระทรวงศึกษาธิการโดยคณะกรรมการขับเคลื่อนเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนด้านการศึกษา เห็นชอบให้มีการ
แต่งตัง้ คณะทำงานขบั เคล่อื นเป้าหมายการพัฒนาทยี่ ัง่ ยนื ด้านการศกึ ษา ระดบั ภาค/กลุม่ จังหวัด และระดับ
จังหวัด และให้มีการจัดทำแผนที่นำทางขับเคล่ือนเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยนื ด้านการศึกษา (SDG4 Roadmap)
ระดบั ภาค/กลมุ่ จงั หวัด และระดบั จงั หวดั เพื่อใช้เปน็ กรอบแนวทางในการดำเนนิ งาน

ดังนั้น สำนักงานศึกษาธิการจังหวัดนครปฐม ได้ดำเนินงานเพื่อขับเคลื่อนเป้าหมายการพัฒนา
ที่ยั่งยืนด้านการศึกษา (เป้าหมายหลักที่ 4) ไปสู่การปฏิบัติ ตามกรอบแนวทาง และกลไกขับเคลื่อน
การดำเนินงาน ดังน้ี

1. กรอบแนวทางและเป้าหมายการดำเนนิ งาน
1.1 การดำเนินงานภาพรวม ได้แก่ แผนที่นำทางขับเคลื่อนเป้าหมายการพัฒนา

ทยี่ ง่ั ยนื ดา้ นการศึกษา
1.2 การดำเนินงานในพื้นที่ระดับภาค ได้แก่ แผนที่นำทางขับเคลื่อนเป้าหมาย

การพฒั นาทยี่ ง่ั ยนื ด้านการศึกษา ระดับภาค/กลุ่มจังหวดั
1.3 การดำเนินงานในพื้นที่ระดับจังหวัด ได้แก่ แผนที่นำทางขับเคลื่อนเป้าหมาย

การพฒั นาท่ีย่ังยืนดา้ นการศกึ ษา ระดับจังหวดั
2. กลไกการดำเนินงาน แบ่งเปน็
2.1 การดำเนินงานภาพรวม ได้แก่ คณะกรรมการขับเคลื่อนเป้าหมายการพัฒนา

ที่ยั่งยืนดา้ นการศกึ ษา โดยมสี ำนกั งานปลัดกระทรวงศกึ ษาธกิ าร เป็นหนว่ ยงานรับผิดชอบและประสานงานหลัก
2.2 การดำเนินงานในพื้นที่ระดับภาค ได้แก่ คณะทำงานขับเคลื่อนเป้าหมาย

การพัฒนาที่ยั่งยืนด้านการศึกษา ระดับภาค/กลุ่มจังหวัด โดยมีสำนักงานศึกษาธิการภาค 18 ภาค
เปน็ หนว่ ยงานรับผิดชอบและประสานงานหลกั

2.3 การดำเนินงานในพื้นที่ระดับจังหวัด ได้แก่ คณะทำงานขับเคลื่อนเป้าหมาย
การพัฒนาที่ยั่งยืนด้านการศึกษา ระดับจังหวัด โดยมีสำนักงานศึกษาธิการจังหวัด 77 จังหวัด
เป็นหนว่ ยงานรับผดิ ชอบและประสานงานหลกั

3

จากกรอบแนวทางและกลไกการดำเนินงานขับเคลื่อนเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน
ด้านการศกึ ษาไปสกู่ ารปฏบิ ตั ิให้บรรลุเป้าหมายทีก่ ำหนดไว้ ต้องอาศัยกลไกและความร่วมมือจากหน่วยงาน
หรือภาคีเครือข่ายที่เกี่ยวข้องทั้งในส่วนกลาง และในระดับพื้นที่ร่วมกันดำเนินงานอย่างจริงจัง ต่อเนื่อง
ดังนั้น กรอบแนวคิดในการกำหนดขอบเขตและแนวปฏบิ ัติในการดำเนินงานโครงการฯ คือ ยดึ เปา้ หมาย SDG4
เป็นเป้าหมายหลักเป้าหมายเดียว แต่แนวทางการปฏิบัติหรือกิจกรรมที่จะดำเนินการ สามารถดำเนินการ
ได้หลากหลายแนวทาง โดยคำนึงถงึ ความสอดคล้อง เหมาะสมกับสถานภาพ สถานการณ์ และความต้องการ
หรือความจำเป็น รวมถึงสภาพแวดล้อมในแต่ละพื้นที่ เน้นการถ่ายทอดเป้าหมายการดำเนินงาน
จากภาพรวม (ส่วนกลาง) ไปสู่เป้าหมายการดำเนินงานในระดับพื้นพื้นที่ภาคและจังหวัด ดังนั้น ขอบเขต
การดำเนินงานที่เป็นกิจกรรมหลักภายใต้โครงการฯ จึงมีกิจกรรมการดำเนินงานที่เหมือนกัน แต่มี
ความแตกต่างกนั ในสว่ นของขอบเขตและระดับความรับผดิ ชอบทม่ี ีผลการดำเนินงานท่ีสอดคล้อง เช่ือมโยง
และส่งผลกระทบต่อกันโดยตรง ได้แก่ ระดับกำหนดนโยบาย หน่วยงานรับผิดชอบและประสานงานหลกั
คือ สำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ สป. ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร สป. สำนักความสัมพันธ์
ต่างประเทศ สป. และระดับพื้นที่ หน่วยงานรับผิดชอบและประสานงานหลัก คือ สำนักงานศึกษาธิการภาค
และสำนกั งานศกึ ษาธกิ ารจังหวัด โดยกรอบแนวทางหรือกจิ กรรมหลกั ท่จี ะดำเนนิ การ มดี ังนี้

1. การประชุม ชี้แจง สร้างความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับกรอบแนวทางและเป้าหมาย
การขบั เคลอ่ื นเปา้ หมายการพัฒนาทยี่ ัง่ ยืนดา้ นการศึกษา และแผนทนี่ ำทางฯ (SDG4 Roadmap) ไปสกู่ ารปฏิบัติ
ใหถ้ ูกต้อง ตรงกนั รวมท้ัง ระดมความคิดเหน็ เพื่อกำหนดแนวทางการดำเนินงานและบรู ณาการการทำงานร่วมกนั

2. การจัดทำแผนปฏบิ ัติการขับเคล่อื นแผนทนี่ ำทางฯ หรือทบทวน ปรบั ปรุงแผนที่นำทางฯ
ให้สอดคล้องกับความเปล่ียนแปลงของสถานการณ์ ความต้องการ/ความจำเป็น และบริบททีเ่ ก่ียวข้อง

3. การกำกบั ตดิ ตาม และประเมนิ ผลการดำเนินงาน รวมถงึ ปัญหาอปุ สรรค และแนวทาง
ในการแก้ไขปญั หาหรอื พัฒนาการจดั การศกึ ษาให้บรรลเุ ปา้ หมายทก่ี ำหนด

4. การจัดเก็บข้อมูลและจัดทำฐานข้อมูล เพื่อใช้ในการติดตามและรายงานผลการดำเนินงาน
ตามตวั ช้ีวดั เปา้ หมายการพฒั นาท่ีย่งั ยนื รวมถึง การพฒั นาวิธกี ารจัดเกบ็ ขอ้ มลู ตามตวั ชีว้ ัดที่ยงั ไมม่ ีขอ้ มลู พ้ืนฐาน

5. การจัดทำรายงานผลการดำเนินงานฯ เพื่อเสนอคณะกรรมการฯ หรือคณะทำงานฯ
รับทราบและนำไปใชเ้ ปน็ ข้อมูลประกอบการกำหนดแนวทางการดำเนนิ งานในระยะตอ่ ไป รวมถึง รายงาน
ผลการดำเนนิ งานตอ่ คณะกรรมการฯ และ กพย. ตามลำดบั

6. การวเิ คราะห์สรปุ ผลการดำเนินงาน และแลกเปล่ยี นเรียนรู้ ระดมความคิดเห็นร่วมกัน
เพื่อกำหนดกรอบแนวทางการแก้ไขปัญหา หรือกำหนดแนวทางหรือนวัตกรรมการพัฒนาให้บรรลุเป้าหมาย
ในระยะตอ่ ไป

1.2 วตั ถุประสงค์
1) เพอ่ื นำเสนอข้อมูลผลการดำเนนิ งานของสำนักงานศกึ ษาธิการจังหวัดนครปฐมและหน่วยงาน.

ที่เกี่ยวข้องในการขับเคลื่อนการดำเนินงานตามเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนด้านการศึกษา (เป้าหมายที่ 4 :
SDG4) พ.ศ. 2565

2) เพื่อวิเคราะห์ข้อมูลผลการดำเนินงาน ปัญหาอุปสรรค ประเด็นท้าทายและประเด็น
ข้อเสนอแนะจากผลการดำเนินงานในปี พ.ศ. 2565 มาพิจารณากำหนดกรอบแนวทางและเป้าหมาย
การดำเนนิ งานให้บรรลเุ ป้าหมายการพฒั นาท่ีย่ังยืนดา้ นการศึกษาในปถี ดั ไป

4

3) เพื่อรายงานความก้าวหน้าการดำเนินงานขับเคลื่อนเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน
ดา้ นการศกึ ษา ปี 2565 นำเสนอผ้บู ริหารและคณะทำงานฯ ศกึ ษาธกิ ารภาค และสำนกั งานปลดั กระทรวง
ศึกษาธกิ าร ตามลำดบั

1.3 แผนที่นำทางการขับเคลือ่ นเปา้ หมายการพฒั นาทย่ี ่งั ยืนดา้ นการศกึ ษา

แผนที่นำทางการขับเคลื่อนเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนด้านการศึกษา (SDG4 Roadmap)
มีสาระสำคัญ แบ่งออกเป็น 5 ส่วน ได้แก่ ส่วนที่ 1 บทนำ และปัจจัย ส่วนที่ 2 เป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน
(SDGs) กับการพัฒนาประเทศไทย ส่วนที่ 3 ความสำคัญของเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน (เป้าหมายหลัก
ที่ 4) ส่วนที่ 4 สาระสำคัญของแผนที่นำทางการขับเคลื่อนเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนด้านการศึกษา (SDG4
Roadmap) และส่วนท่ี 5 การขบั เคล่ือนเป้าหมายการพฒั นาทย่ี ่งั ยืน เปา้ หมายหลักท่ี 4 สู่การปฏิบัติ และการ
ตดิ ตามประเมินผล โดยยดึ องค์ประกอบของแผนการขับเคล่ือนเป้าหมายการพัฒนาท่ีย่งั ยนื สำหรับประเทศไทย
(Thailand’s SDGs Roadmap) ตามที่ กพย. เหน็ ชอบ นำมาใช้เปน็ กรอบหรือองค์ประกอบหลักของ SDG4
Roadmap ทั้งนี้ สำหรับสาระสำคัญของแผนที่นำทางฯ ส่วนที่มีความสำคัญและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
สามารถนำไปใช้เป็นกรอบแนวทางในการดำเนินงาน คือ ส่วนที่ 4 ที่ได้นำเสนอให้เห็นภาพห่วงโซ่คุณค่า
(Value Chain) และตัวช้ีวัดและเป้าหมายของการดำเนินงาน รวมถึงกรอบแนวทาง แผนงานหรอื โครงการ
สำคญั ในการดำเนินงานเพื่อขับเคลอื่ นเปา้ หมายการพัฒนาที่ยงั่ ยืนในแต่ละเป้าหมายยอ่ ยใหบ้ รรลุเป้าหมาย
ทกี่ ำหนดไว้ มีรายละเอยี ดโดยสรปุ ดังนี้

เป้าหมายยอ่ ย/ตัวชว้ี ดั แหลง่ ข้อมลู หนว่ ยงาน

SDG 4.1 สร้างหลักประกันวา่ เด็กชายและเด็กหญิงทุกคนสำเร็จการศึกษาระดับประถมศึกษาและมัธยมศึกษา

ท่มี คี ณุ ภาพ เท่าเทียม และไมม่ คี ่าใช้จ่าย นำไปสู่ผลลพั ธ์ทางการเรียนท่มี ปี ระสิทธิผล ภายในปี พ.ศ. 2573

1) ร้อยละของเด็กในวัย ป.3 ที่มีทักษะการอ่านและการคำนวณขั้น ผลสอบ NT ศธ. (สพฐ.)

พ้ืนฐาน

2) คะแนนเฉล่ียผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขนั้ พน้ื ฐาน ผลสอบ O-NET สทศ.

(O-NET) (1) ภาษาไทย (2) คณิตศาสตร์ (3) วิทยาศาสตร์

(4) ภาษาต่างประเทศ (ภาษาอังกฤษ)

3) อัตราการสำเรจ็ การศกึ ษาระดับประถมศึกษามธั ยมศึกษาตอนต้น ฐานขอ้ มูลกลาง ศธ.

และมัธยมศึกษาตอนปลาย ดา้ นการศกึ ษา ศธ. (ศทก.สป.)

SDG 4.2 สร้างหลักประกันว่าเด็กชายและเด็กหญิงทุกคนเข้าถึงการพัฒนา การดูแล และการจัดการศึกษา
ระดบั กอ่ นประถม ศึกษา สำหรับเด็กปฐมวยั ที่มคี ุณภาพ ภายในปี 2573

1) รอ้ ยละของเด็กอายุต่ำกว่า 5 ปี ท่มี ีพฒั นาการทางด้านสุขภาพ การ ระบบฐานขอ้ มูล พม.

เรียนรู้ และพฒั นาการทางบุคลิกภาพตามวยั จำแนกตามเพศ สารสนเทศการพฒั นาเดก็ ศธ.
(ศทก.สป.)
ปฐมวัยตามมาตรฐานชาติ

(ด้านคุณภาพเดก็ ปฐมวัย)

2) อัตราการเข้าเรียนปฐมวยั (อย่างนอ้ ย 1 ปี กอ่ นถึงเกณฑ์อายุเข้า ฐานขอ้ มลู กลาง

เรยี นประถมศึกษา) จำแนกตามเพศ ดา้ นการศกึ ษา ศธ.

5

เปา้ หมายย่อย/ตัวชี้วดั แหล่งข้อมูล หน่วยงาน

SDG 4.3 ให้ชายและหญิงทุกคนเข้าถึงการศึกษาวิชาเทคนิคอาชีวศึกษา อุดมศึกษา รวมถึงมหาวิทยาลัย
ทม่ี รี าคาทส่ี ามารถจา่ ยได้และมีคุณภาพภายในปี 2573

1) อัตราการเข้าเรยี นระดบั อาชีวศึกษา (สัดสว่ นผู้เรียนระดับ ฐานขอ้ มูลกลาง ศธ.
มธั ยมศกึ ษาตอนปลายสายอาชวี ศึกษา (ปวช.) : สายสามัญศึกษา) ด้านการศึกษา ศธ. (ศทก.สป.)

2) อตั ราการเข้าเรียนต่อในระดับอุดมศึกษา ฐานข้อมูลการศึกษา อว. อว.

SDG 4.4 เพิม่ จำนวนเยาวชนและผ้ใู หญ่ทีม่ ีทักษะท่ีจำเปน็ รวมถึงทักษะทางเทคนิคและอาชีพสำหรับการจ้าง
งาน การมงี านทีด่ แี ละการเปน็ ผปู้ ระกอบการ ภายในปี 2573

1) สัดส่วนของเยาวชน/ผู้ใหญ่ที่มีทักษะทางด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ รายงานผลการสำรวจ สสช.

และการสอ่ื สาร จำแนกตามประเภททักษะ ข้อมลู

SDG 4.5 ขจัดความเหลี่อมล้ำทางเพศในการศึกษา และสร้างหลักประกันว่ากลุ่มที่เปราะบางซึ่งรวมถงึ
ผู้พกิ ารชนพน้ื เมือง และเด็กเข้าถงึ การศึกษาและการฝกึ อาชพี ทกุ ระดบั อย่างเทา่ เทียม ภายในปี 2573

1) ดชั นีความเทา่ เทยี มทางเพศ จำแนกตามระดับการศึกษา (ปฐมวยั ฐานขอ้ มูลกลาง ศธ.

ประถมศึกษา มัธยมศกึ ษาตอนตน้ มัธยมศึกษาตอนปลาย ด้านการศึกษา ศธ. (ศทก.สป.)

อุดมศึกษา)

2) ดัชนคี วามเท่าเทียมทางความมง่ั ค่ัง จำแนกตามระดบั การศกึ ษา รายงานผลการสำรวจ สสช.

(ปฐมวยั ประถมศกึ ษา มธั ยมศึกษาตอนตน้ มัธยมศกึ ษาตอนปลาย ขอ้ มูล

อดุ มศกึ ษา)

3) ดัชนีความเท่าเทียมตามพื้นที่ จำแนกตามระดับการศึกษา รายงานผลการสำรวจ สสช.

(ปฐมวัย ประถมศึกษา มัธยมศึกษาตอนต้น มัธยมศึกษาตอนปลาย ข้อมลู

อดุ มศกึ ษา)

SDG 4.6 สร้างหลักประกันว่าเยาวชนทุกคนและผู้ใหญ่ในสัดสว่ นสูง ทั้งชายและหญิงสามารถอ่านออก
เขียนได้ และคำนวณได้ ภายในปี 2573

1) อัตราการอ่านออกเขียนได้ของประชากรอายุ 15 ปี ขึ้นไป รายงานผลการสำรวจ สสช.
สสช.
จำแนกตามเพศ ขอ้ มลู สสช.

2) อัตราการมที กั ษะดา้ นการคำนวณของประชากรอายุ 15 ปขี ้ึนไป รายงานผลการสำรวจ

จำแนกตามเพศ ข้อมลู

3) อัตราการอ่านออกเขียนได้และมีทักษะด้านการคำนวณของ รายงานผลการสำรวจ

ประชากรอายุ 15 ปีขึ้นไป ข้อมูล

6

เป้าหมายยอ่ ย/ตัวชี้วัด แหล่งขอ้ มูล หน่วยงาน

SDG 4.7 สร้างหลักประกันว่าผู้เรียนทุกคนได้รับความรู้และทักษะที่จำเป็นสำหรับส่งเสริมการพัฒนา

อย่างยั่งยืน รวมไปถึง การศึกษาสำหรับการพัฒนาอย่างยั่งยืนและการมีวิถีชีวิตที่ยั่งยืน สิทธิมนุษยชน

ความเสมอภาคระหว่างเพศ การส่งเสริมวัฒนธรรมแห่งความสงบสุขและไม่ใช้ความรุนแรง การเป็น

พลเมืองของโลก และความนยิ มในความหลากหลายทางวัฒนธรรมและในสว่ นร่วมของวฒั นธรรมต่อการ

พฒั นาท่ยี ง่ั ยนื ภายในปี 2573

1) ระดบั การดำเนินการการกำหนดเรอื่ ง การศึกษาเพ่ือความเปน็ จัดทำรายงานผล ศธ.

พลเมอื งโลกและการจัดการศึกษา เพื่อการพฒั นาทย่ี ัง่ ยนื เปน็ เร่ือง การวิเคราะห์ระดับ

หลักใน (ก) นโยบายการศกึ ษาของประเทศ (ข) หลกั สตู ร (ค) การดำเนนิ งานเชิง

การศึกษาของครู (หลกั สตู รการผลิต/พฒั นาคร)ู และ (ง) การ นโยบาย

ประเมินผลนกั เรยี น ตามประเดน็ ท่ีกำหนด

2) การจัดกิจกรรมหรือโครงการเพื่อพัฒนาผู้เรียนให้มีความรู้และ เสนอตัวชี้วดั เพ่มิ เตมิ ศธ.

ทกั ษะเกี่ยวกับความเป็นพลเมอื ง หรือการพัฒนาทีย่ ่งั ยืน (โครงการ/ เพอ่ื แสดงข้อมูลการ

กจิ กรรมพัฒนาผ้เู รยี นเสริมหลกั สตู ร) ดำเนนิ งานเชงิ ปฏิบตั ิ

SDG 4.a สรา้ งและยกระดับอุปกรณ์และเครื่องมือทางการศึกษาที่ออ่ นไหวต่อเด็กผพู้ ิการ และเพศภาวะและให้
มีสภาพแวดลอ้ มทางการเรียนรู้ทป่ี ลอดภัย ปราศจากความรนุ แรง ครอบคลุมและมีประสิทธิผลสำหรับทุกคน

1) สัดส่วนของโรงเรียนที่มีการเข้าถึงบริการขั้นพื้นฐาน จำแนกตาม จะดำเนนิ การพัฒนา ศธ.
ประเภทบริการ (สัดส่วนของโรงเรียนที่มีการเข้าถึง) (a) ไฟฟ้า (b) รปู แบบและวิธีการ
อนิ เทอรเ์ น็ตทีใ่ ช้ในการเรยี นการสอน (c) เครอ่ื งคอมพิวเตอร์ท่ีใช้ใน จดั เก็บข้อมูลร่วมกบั
การเรยี นการสอน (d) โครงสร้างพื้นฐาน และวัสดุอปุ กรณ์ที่ได้รบั การ หน่วยงานทเ่ี ก่ียวขอ้ ง
ปรับให้เหมาะสมกับนักเรียนที่มีความบกพร่องทางร่างกาย (e) น้ำด่ืม ต่อไป
พื้นฐาน (f) สิ่งอำนวยความสะดวกพื้นฐานด้านสุขอนามัยที่แบ่งแยก
ตามเพศ และ (g) สิ่งอำนวยความสะดวกพื้นฐานในการทำความ
สะอาดมือ (ตามนิยามตัวชี้วัดของ WASH ในเรื่อง น้ำ สุขอนามัย
และสขุ ลกั ษณะสำหรบั ทุกคน)

SDG 4.b ขยายจำนวนทุนการศึกษาในท่ัวโลกทใ่ี ห้สำหรบั ประเทศกำลังพัฒนาโดยเฉพาะประเทศพฒั นาน้อยท่ีสุด
รัฐกำลังพัฒนาที่เป็นเกาะขนาดเล็ก และประเทศในแอฟริกาในการสมัครเข้าศึกษาต่อในระดับอุดมศึกษา
รวมถึงการฝึกอาชีพ และโปรแกรมด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ด้านเทคนิค วิศวกรรม และ
วิทยาศาสตร์ในประเทศพัฒนาแล้วและประเทศกำลังพัฒนาอ่นื ๆ ภายในปี 2563

1) ปริมาณความช่วยเหลือเพื่อการพัฒนาอย่างเป็นทางการ (ODA) รายงานผลการ กต.
ที่เป็นทุนการศึกษา สำหรับประเทศกำลังพัฒนาและประเทศพัฒนา ดำเนนิ งาน
นอ้ ยทส่ี ดุ

7

เปา้ หมายย่อย/ตัวชวี้ ดั แหล่งขอ้ มลู หนว่ ยงาน

SDG 4.c เพิ่มจำนวนครูที่มีคุณภาพ รวมถึงการดำเนินการผ่านทางความร่วมมือระหว่างประเทศในการ
ฝึกอบรมครูในประเทศกำลังพัฒนาเฉพาะอย่างยิ่งในประเทศพัฒนาน้อยที่สุด และรัฐกำลังพัฒนาที่เป็น

เกาะขนาดเล็ก ภายในปี 2573

1) สัดส่วนของครูที่มีคุณวุฒิเหมาะสมในการจัดการศึกษาพื้นฐาน ฐานข้อมูลทางการศึกษา ศธ. (สกศ.)
จำแนกตามระดับการศึกษา ผู้ซึ่งอย่างน้อยได้รับการฝึกอบรม (เชน่

การฝึกอบรมการสอน) ซึ่งต้องดำเนินการก่อนหรือระหว่างช่วงที่
ทำการสอนในระดับที่เก่ียวข้องของแต่ละประเทศ (1) ก่อนประถม
ศึกษา (2) ประถมศึกษา (3) มัธยมศึกษาตอนต้น (4) มัธยมศึกษา

ตอนปลาย

1.4 กลไกการขับเคลอื่ น (กลไกระดับพ้นื ท่ี)
1) กลไกการขบั เคล่อื นระดับชาติ ไดแ้ ก่ คณะกรรมการเพอื่ การพฒั นาท่ียั่งยนื คณะกรรมการนโยบาย

การพัฒนาเด็กปฐมวัย คณะอนุกรรมการส่งเสริมการพัฒนาที่ยั่งยืนตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง

คณะอนุกรรมการติดตามและประเมินผลการพัฒนาที่ย่งั ยืน ฯลฯ
2) กลไกการขับเคลื่อนระดับกระทรวง ได้แก่ คณะกรรมการขับเคลื่อนเป้าหมายการพัฒนา

ท่ยี ง่ั ยืนดา้ นการศึกษา
3) กลไกการขบั เคลอื่ นระดับพืน้ ท่ี
3.1) คณะทำงานขับเคลื่อนในระดับพื้นที่ ได้แก่ คณะทำงานขับเคลื่อนเป้าหมายการพัฒนา

ที่ยั่งยืนด้านการศึกษา ระดับภาค/กลุ่มจังหวัด และคณะทำงานขับเคลื่อนเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน
ดา้ นการศึกษา ระดบั จงั หวดั

3.2) หน่วยงานภาครัฐ ได้แก่ คณะกรรมการศึกษาธิการจังหวัด สำนักงานศึกษาธิการ
ภาค/สำนักงานศึกษาธิการจังหวัด สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา/สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา
มัธยมศึกษา องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น สำนักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์จังหวัด

สถานศึกษา/สถาบนั อุดมศึกษากรุงเทพมหานคร และเมืองพทั ยา
3.3) หน่วยงานภาคเอกชน ได้แก่ สภาหอการค้าแห่งประเทศไทย/หอการค้าจังหวัด

สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย/สภาอุตสาหกรรมจังหวัด สถานศึกษา/สถาบันอุดมศึกษาเอกชน/
นานาชาติ

4) ภาคีการพัฒนา สนับสนุนความร่วมมือกับทุกภาคส่วน ทั้งในประเทศและภาคีการพัฒนา

ระหว่างประเทศ เพื่อร่วมขับเคลื่อนประเทศไทยให้บรรลุเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน ได้แก่ ภาคเอกชน
ภาควิชาการ ภาคประชาสงั คม และภาคีการพฒั นาระหว่างประเทศ

8

สว่ นท่ี 2

การดำเนนิ งานขบั เคลอ่ื นเป้าหมายการพัฒนาทย่ี ั่งยนื ดา้ นการศกึ ษา (SDG4) ส่กู ารปฏิบัติ
ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 จังหวดั นครปฐม

2.1 การดำเนินโครงการจัดทำฐานข้อมูลและระบบติดตามประเมินผลระดับพื้นที่เพื่อสนับสนุน
การขับเคลื่อนเป้าหมายของสหประชาชาติว่าด้วยการพัฒนาที่ยั่งยืนด้านการศึกษา SDG4 ปีงบประมาณ
พ.ศ. 2565 (สว่ นกลาง/ระดับภาค/กลมุ่ จงั หวัด/ระดบั จงั หวดั )

1) ขอบเขตการดำเนินโครงการ
1.1) วัตถปุ ระสงค์
(1) เพื่อขับเคลื่อนการดำเนินงานตามเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนด้านการศึกษา (SDG4

Roadmap) ของประเทศไทย
(2) เพ่ือพฒั นาฐานขอ้ มูลและระบบติดตามรายงานผลสำหรบั สนับสนุนการขับเคลื่อน

เปา้ หมายของสหประชาชาติว่าดว้ ยการพัฒนาท่ยี งั่ ยนื ด้านการศกึ ษา ในภาพรวมของประเทศ
1.2) เปา้ หมาย
(1) ร้อยละของหน่วยงานที่เกี่ยวข้องมกี ารดำเนินการเพื่อขับเคลื่อนเป้าหมายการพัฒนา

ที่ยัง่ ยนื ดา้ นการศกึ ษา ตาม SDG4 Roadmap (ร้อยละ 100)
(2) มีฐานข้อมูล เพื่อการจัดทำรายงานผลการดำเนินงานตามตัวชี้วัด SDG4 Roadmap

(ร้อยละ 50)
(3) การจัดทำรายงานผลการดำเนินงานขับเคล่ือนเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนเป้าหมาย

หลกั ท่ี 4 แลว้ เสร็จ และนำเสนอต่อคณะกรรมการเพ่อื การพฒั นาทีย่ ่ังยืนภายในระยะเวลาท่ีกำหนด (1 ฉบับ)
1.3) กจิ กรรมสำคัญภายใต้โครงการ
(1) การประชุม ชี้แจง สร้างความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับกรอบแนวทางและเป้าหมาย

การขับเคลื่อนเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนด้านการศึกษา และแผนที่นำทางฯ (SDG4 Roadmap) ไปสู่
การปฏบิ ัติ ใหถ้ ูกต้อง ตรงกนั รวมท้ัง ระดมความคิดเห็น เพื่อกำหนดแนวทางการดำเนนิ งานและบรู ณาการ
การทำงานร่วมกัน

(2) การจัดทำแผนปฏิบัติการขับเคลื่อนแผนที่นำทางฯ หรือทบทวน ปรับปรุงแผนท่ี
นำทางฯ ใหส้ อดคล้องกับความเปล่ียนแปลงของสถานการณ์ ความต้องการ/ความจำเป็น และบริบททีเ่ กี่ยวข้อง

(3) การกำกับ ติดตาม และประเมินผลการดำเนินงาน รวมถึงปัญหาอุปสรรค
และแนวทางในการแก้ไขปญั หาหรือพัฒนาการจดั การศกึ ษาให้บรรลเุ ป้าหมายท่ีกำหนด

(4) การจัดเก็บข้อมูลและจัดทำฐานข้อมูล เพื่อใช้ในการติดตามและรายงานผล
การดำเนินงานตามตัวชี้วัดเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน รวมถึง การพัฒนาวิธีการจัดเก็บข้อมูลตามตัวชี้วัด
ที่ยงั ไมม่ ขี อ้ มลู พ้ืนฐาน

(5) การจัดทำรายงานผลการดำเนินงานฯ เพอ่ื เสนอคณะกรรมการฯ หรอื คณะทำงาน
รบั ทราบและนำไปใช้เป็นข้อมูลประกอบการกำหนดแนวทางการดำเนนิ งานในระยะต่อไป รวมถึง รายงาน
ผลการดำเนินงานตอ่ คณะกรรมการฯ และ กพย. ตามลำดับ

(6) การวิเคราะห์สรุปผลการดำเนินงาน และแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ระดมความคิดเห็น
ร่วมกันเพื่อกำหนดกรอบแนวทางการแก้ไขปัญหา หรือกำหนดแนวทางหรือนวัตกรรมการพัฒนาให้บรรลุ
เปา้ หมายในระยะต่อไป

9

แผนภาพที่ 1 ผังการดำเนินงานโครงการจดั ทำฐานข้อมลู และระบบตดิ ตามประเมนิ ผลฯ ปงี บประมาณ
พ.ศ.2565

2) ผลการดำเนนิ งาน
2.1) การประชุม ชี้แจง สร้างความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับกรอบแนวทางและเป้าหมาย

การขับเคล่ือนเป้าหมายการพัฒนาทยี่ งั่ ยนื ด้านการศึกษา และแผนที่นำทางฯ (SDG4 Roadmap) ไปสกู่ ารปฏิบัติ
ให้ถกู ตอ้ ง ตรงกัน รวมท้งั ระดมความคิดเห็น เพื่อกำหนดแนวทางการดำเนนิ งานและบรู ณาการการทำงานร่วมกนั

สำนักงานศึกษาธิการจังหวัดนครปฐม ได้ดำเนินการจัดประชุมเชิงปฏิบัติการ
สร้างการรบั รกู้ ารขบั เคล่ือนเป้าหมายการพัฒนาที่ย่งั ยนื ด้านการศกึ ษาระดบั จงั หวัดและระดบั พืน้ ที่ ร่วมกับ
สำนักงานศึกษาธิการภาค 2 ภายใต้โครงการจัดทำฐานข้อมูลและระบบติดตามประเมินผลระดับพื้นที่
เพื่อสนับสนุนการขับเคลื่อนเป้าหมายของสหประชาชาติว่าด้วยการพัฒนาที่ยั่งยืนด้านการศึกษา SDG4
ในวนั พธุ ที่ 3 สิงหาคม 2565 ณ ห้องประชุมช้ัน 3 สำนักงานศกึ ษาธิการจงั หวัดนครปฐม อำเภอเมอื งนครปฐม
จังหวัดนครปฐม ผ่านระบบ Zoom Meeting (Meeting ID : 547 035 6089 Passcode : 556766)
โดยมีผเู้ ข้าร่วมประชุม ประกอบด้วย

1. คณะทำงานขับเคลื่อนเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนด้านการศึกษาระดับจังหวัด
จังหวัดนครปฐม ตามคำสั่งคณะกรรมการขับเคลื่อนเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนด้านการศึกษา
ท่ี 2/2565 ลงวนั ท่ี 31 พฤษภาคม 2565

2. ผูอ้ ำนวยการกลุ่ม/หนว่ ย และศึกษานเิ ทศก์ บุคลาการใน ศธจ.นครปฐม
3. หน่วยงานการศกึ ษาในจงั หวดั นครปฐม
โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อสร้างความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการดำเนินงานขับเคลื่อน
เป้าหมายการพฒั นาทย่ี ง่ั ยนื ด้านการศกึ ษา แผนที่นำทางฯ และกรอบแนวทางทางการดำเนนิ โครงการระดบั
ภาค/กลุม่ จงั หวัด ใหห้ น่วยงานทีเ่ ก่ยี วขอ้ งในระดบั พน้ื ท่ีทราบและรว่ มดำเนินการ รวมท้ังระดมความคดิ เห็น
ข้อเสนอแนะเกีย่ วกบั ประเดน็ ปญั หาและกรอบแนวทางพัฒนาการดำเนนิ งาน สรุประเด็น ดังนี้

10

1. การดำเนินงานขบั เคล่ือน SDGs ภาพรวม
คณะกรรมการเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน (กพย.) ในคราวประชุมครั้งที่ 1/2562 เมื่อวันที่ 19

ธันวาคม 2562 ไดม้ มี ตเิ หน็ ชอบในหลักการร่างแผนการขับเคล่ือนเป้าหมายการพฒั นาที่ย่งั ยืนสำหรับประเทศ
ไทย (Thailand’s SDG Roadmap) เพื่อใช้เป็นกรอบแนวทางในการดำเนินงานเพื่อขับเคลื่อนการดำเนินงาน
ใหเ้ ปา้ หมายการพฒั นาทยี่ ่ังยนื ซ่ึงแผนการขับเคล่อื นฯ ครอบคลุมการดำเนนิ การหลกั ใน 6 ด้าน ดงั นี้

1) การสร้างการตระหนักรู้ ดำเนินการให้ทุกภาคส่วนมีความรู้และความเข้าใจ
ในเป้าหมาย การพัฒนาที่ยั่งยืน โดยมีการดำเนินการทั้งในระดับประเทศ และระดับท้องถิ่น เพื่อให้
ทกุ ภาคสว่ นมีส่วนร่วมในการขับเคลื่อนประเทศส่คู วามยง่ั ยืน

2) การเชื่อมโยงเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนกับแผน 3 ระดับของประเทศ
ขับเคล่อื นการพัฒนาประเทศตามกรอบยุทธศาสตร์ชาติ แผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ และแผนระดับ
อ่นื ๆ ซง่ึ สอดคล้องกบั เปา้ หมายการพฒั นาท่ียงั่ ยนื สร้างประเทศใหม้ ่นั คง โดยไม่ทง้ิ ใครไวข้ า้ งหลงั

3) กลไกการขับเคลื่อนการพัฒนาที่ยั่งยืน มีคณะกรรมการเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน
เป็นกลไกสนับสนุนการขับเคลื่อนในระดับนโยบาย และหน่วยงานภาครัฐบูรณาการร่วมกับทุกภาคส่วน
ของสงั คม เพ่ือนำไปสู่การปฏิบตั ิที่เปน็ รูปธรรม

4) การดำเนินงานเพื่อบรรลุเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน ดำเนินงานโดยยึดหลัก
ความสมั พนั ธ์ เชงิ เหตุและผล เพื่อจัดทำแผนงาน/โครงการที่สำคญั ตอ่ การบรรลุเป้าหมายการพัฒนาท่ีย่ังยืนและ
ยทุ ธศาสตร์ชาติ รวมทัง้ ขยายผลสู่การขับเคล่อื นเป้าหมายการพัฒนาทีย่ ่ังยืนในระดับพ้นื ที่ (SDG Localization)

5) ภาคีการพัฒนา สนับสนุนความร่วมมือกับทุกภาคส่วน ทั้งในประเทศและภาคี
การพัฒนาระหวา่ งประเทศ เพอ่ื ร่วมขับเคลือ่ นประเทศไทยให้บรรลุเป้าหมายการพฒั นาทีย่ ั่งยนื

6) การติดตามประเมินผลการขับเคลื่อนเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน ติดตามและ
ประเมินผล การขับเคลื่อนเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนด้วยระบบฐานข้อมูลกลางที่มีการรายงาน
ความก้าวหนา้ จากหนว่ ยงาน ที่เกย่ี วขอ้ งอย่างสม่ำเสมอ

2. การดำเนินงานขับเคล่อื น SDGs ระดบั เปา้ หมาย
ในการขับเคลื่อนเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนสู่การปฏิบัติของประเทศไทย สำนักงาน

สภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ในฐานะเลขานุการ กพย. ได้จัดประชุมชี้แจงสร้างความรู้
ความเข้าใจกับหน่วยงาน ที่เกี่ยวข้อง เมื่อวันที่ 18 กันยายน 2563 มีวัตถุประสงค์เพื่อทำความเข้าใจในเรื่อง
การขบั เคลื่อน SDGs ระหวา่ งหนว่ ยงานรบั ผดิ ชอบและประสานงานหลกั รายเปา้ หมายหลกั (Goals) และเป้าหมาย
ย่อย (Targets) กำหนดแนวทางการขับเคลื่อน SDGs ร่วมกันในระยะ 10 ปีข้างหน้า รวมถึง รับทราบแนวทาง
การจัดทำ Roadmap รายเป้าหมายหลัก และการกำหนดค่าเป้าหมาย/หมุดหมายรายเป้าหมายย่อย โดยการ
จัดทำ Roadmap เพื่อการดำเนินการขับเคลื่อนเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนโดยในระดับเป้าหมายหลัก (Goal)
กำหนดใหเ้ จ้าภาพรายเป้าหมายหลัก เป็นผู้ดำเนนิ การ ในการจดั ทำ Roadmap ใหป้ ระสานหนว่ ยงานรับผิดชอบ
รายเป้าหมายย่อยเพื่อพิจารณากำหนด ค่าเป้าหมายและหมุดหมาย (milestone) ให้สอดคล้องกับ SDGs
และเป้าหมายของยุทธศาสตร์ชาติและแผนอ่นื ๆ ทเี่ ก่ียวข้อง รวมทงั้ กำหนดตัวชี้วดั ท่ีเหมาะสม โดยพิจารณาจาก
ตัวชี้วัดที่สหประชาชาติกำหนดเป็นหลัก (global SDG indicators) และอาจเสนอตัวชี้วัดทดแทน (proxy
indicators) และตัวชี้วัดเพิ่มเติม (additional indicators) เพื่อให้การขับเคลื่อน SDGs สอดคล้องกับบริบท
ของประเทศ ตลอดจนประสานหน่วยงานทีเ่ กีย่ วข้องในการพฒั นา และจดั เก็บข้อมลู ตวั ชีว้ ัด เพ่ือระบุแหล่งข้อมูล
(sources) และผปู้ ระสานงาน (focal point) ด้วย

11

แผนภาพที่ 2 การดำเนินงานเพอ่ื บรรลุเป้าหมายการพฒั นาทย่ี ่ังยืน

แผนภาพท่ี 3 การจัดทำแผนทนี่ ำทาง (Roadmap) การขบั เคลื่อน SDGs17 เป้าหมาย

2.2) การจัดทำแผนปฏิบัติการขับเคลื่อนแผนที่นำทางฯ หรือทบทวน ปรับปรุงแผนที่
นำทางฯ ใหส้ อดคล้องกับความเปล่ียนแปลงของสถานการณ์ ความต้องการ/ความจำเป็น และบรบิ ทท่เี ก่ียวข้อง

12

สำนักงานศึกษาธิการจังหวัดนครปฐม ได้ดำเนินการจัดประชุมเชิงปฏิบัติการจัดทำ
แผนปฏบิ ตั กิ ารขบั เคลอ่ื นเป้าหมายการพฒั นาท่ีย่ังยืนด้านการศึกษา พ.ศ.2565 - 2566 จงั หวดั นครปฐม
ในวนั อังคารที่ 16 สงิ หาคม 2565 ณ หอ้ งประชุมทวารวดศี รพี ระประโทณ โรงเรียนวัดพระประโทณเจดีย์
อำเภอเมืองนครปฐม จงั หวดั นครปฐม โดยมีผเู้ ขา้ รว่ มประชมุ จำนวน 61 ราย ดงั นี้

1. คณะทำงานขับเคลื่อนเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนด้านการศึกษาระดับจังหวัด
จังหวัดนครปฐม ตามคำสั่งคณะกรรมการขับเคลื่อนเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนด้านการศึกษา
ที่ 2/2565 ลงวันที่ 31 พฤษภาคม 2565

2. หนว่ ยงานการศกึ ษาในจังหวดั นครปฐม
3. ผู้อำนวยการกลมุ่ /หนว่ ย และศกึ ษานเิ ทศก์ และบคุ ลาการใน ศธจ.นครปฐม
การจัดประชุมเชงิ ปฏบิ ัตกิ ารจัดแผนปฏิบัติการขับเคลื่อนเป้าหมายการพัฒนาทีย่ ่งั ยนื
ดา้ นการศกึ ษา พ.ศ.2565 – 2566 จังหวัดนครปฐม เพื่อใชเ้ ปน็ กรอบแนวทางในการสร้างหลักประกันว่า
ทุกคนในจังหวัดนครปฐมจะมีการศึกษาที่มีคุณภาพอย่างครอบคลุมและเท่าเทียม และสนับสนุนโอกาส
ในการเรยี นรู้ตลอดชวี ิต (SDG4 Roadmap) และหน่วยงานทเ่ี กยี่ วข้อง มแี ผนงาน/โครงการเพอ่ื ดำเนินการ
ตาม SDG4 Roadmap
2.3) การกำกับ ติดตาม และประเมินผลการดำเนินงาน รวมถึงปัญหาอุปสรรค
และแนวทางในการแกไ้ ขปญั หาหรือพฒั นาการจัดการศึกษาใหบ้ รรลุเป้าหมายท่ีกำหนด
สำนักงานศึกษาธิการจังหวัดนครปฐม ได้มีการจัดทำแนวทางในการกำกับติดตาม
ประเมนิ ผลการดำเนินขบั เคลอ่ื นเป้าหมายการพัฒนาที่ย่ังยืน ดำเนนิ การโดยใชก้ ระบวนการและกลไก ดังนี้
1. ผูบ้ ริหารหน่วยงานให้ความสำคัญขับเคล่ือนเป้าหมายการพัฒนาทีย่ ง่ั ยนื ด้านการศึกษา
และการกำกับ การติดตามประเมินผลการดำเนินงานในภาพรวม หน่วยงานที่รับผิดชอบตัวชี้วัดตามแผนงาน/
โครงการ ดำเนินการประมวลผล สรุปข้อมูล หลังเสร็จสิ้นโครงการ และสิ้นปีงบประมาณนำเสนอ
ต่อคณะกรรมการขับเคล่ือนเป้าหมายการพัฒนาที่ยัง่ ยนื ด้านการศึกษาระดับจังหวัด และหน่วยงานที่เก่ียวข้อง
ในจังหวัดนครปฐม
2. ประสานหน่วยงานการศึกษาในจังหวัดนครปฐม จดั เก็บขอ้ มลู และจัดทำฐานข้อมูล
เพื่อใช้ในการติดตามและรายงานผลการดำเนินงานตามตัวชี้วัดและนำไปใช้เป็นข้อมูลประกอบการดำเนินงาน
ระยะตอ่ ไป
3. จัดทำรายงานความก้าวหนา้ การดำเนินงานเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยนื เป้าหมาย
หลักที่ 4 ตอ่ สำนักงานปลดั กระทรวงศึกษาธกิ าร
4. จดั พิมพ์ และเผยแพรใ่ ห้หน่วยงานทีเ่ กยี่ วขอ้ ง และสาธารณชนผ่านเว็บไซต์
2.4) การจัดเก็บข้อมูลและจัดทำฐานข้อมูล เพื่อใช้ในการติดตามและรายงาน
ผลการดำเนินงานตามตัวชีว้ ัดเปา้ หมายการพัฒนาที่ยั่งยนื รวมถึงการพัฒนาวธิ ีการจัดเก็บข้อมูลตามตัวชี้วดั
ท่ยี ังไม่มขี ้อมลู พ้ืนฐาน
สำนักงานศึกษาธิการจังหวัดนครปฐม ได้ชี้แจงวัตถุประสงค์และเป้าหมายตัวชี้วัด
ขอบเขตและแนวปฏิบัติการดำเนินงานโครงการจัดทำฐานข้อมูลและระบบติดตามประเมินผลระดับพื้นท่ี
เพื่อสนับสนุนการขับเคลื่อนเป้าหมายการพัฒนาที่ย่ังยืนด้านการศึกษา SDG4 ปีงบประมาณ พ.ศ.2565
ของสำนกั งานปลัดกระทรวงศกึ ษาธิการ และผ้รู บั ผิดชอบจดั เกบ็ ข้อมลู และจดั ทำฐานขอ้ มลู ของหนว่ ยงาน

13

2.5) การจัดทำรายงานผลการดำเนินงานฯ เพือ่ เสนอคณะกรรมการฯ หรอื คณะทำงานฯ
รับทราบและนำไปใช้เป็นข้อมูลประกอบการกำหนดแนวทางการดำเนินงานในระยะต่อไป รวมถึงรายงาน
ผลการดำเนนิ งานต่อคณะกรรมการฯ และ กพย. ตามลำดบั

สำนักงานศึกษาธิการจังหวัดนครปฐม จัดทำเล่มรายงานผลการดำเนินงานขับเคลื่อน
เป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนด้านการศึกษา SDG4 ปีงบประมาณ พ.ศ.2565 ขึ้น เพื่อรายงานผล
การดำเนนิ งานโครงการ/กิจกรรมและข้อมูล ที่สนบั สนุนการขบั เคลื่อนเปา้ หมายของสหประชาชาติว่าด้วย
การพัฒนาทย่ี ัง่ ยืนดา้ นการศกึ ษา SDG4 ในพน้ื ทจี่ ังหวดั นครปฐม

2.6) การวิเคราะห์สรุปผลการดำเนินงาน และแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ระดมความคิดเห็น
ร่วมกันเพื่อกำหนดกรอบแนวทางการแก้ไขปัญหา หรือกำหนดแนวทางหรือนวัตกรรมการพัฒนาให้บรรลุ
เป้าหมายในระยะต่อไป

สำนักงานศึกษาธิการจังหวัดนครปฐม ได้จัดประชุมเชิงปฏิบัติการ ให้กับคณะทำงาน
และผู้แทนจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับตัวชี้วัดค่าเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนด้านการศึกษา เมื่อวันที่
3 สิงหาคม 2565 ณ ห้องประชุมชั้น 3 สำนักงานศึกษาธิการจังหวัดนครปฐม อำเภอเมืองนครปฐม จังหวัด
นครปฐม ผ่านระบบ Zoom Meeting ร่วมกับสำนักงานศึกษาธิการภาค 2 โดยผู้ช่วยศาสตราจารย์
ชล บุนนาค ผู้อำนวยการศูนย์วิจัยและสนับสนุนเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน ( SDG Move)
มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ซึ่งเป็นผู้มีความรู้ความเชี่ยวชาญในด้านการวางแผน ด้านการศึกษา
และขับเคลื่อนเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนด้านการศึกษา SDG4 ซึ่งการประชุมดังกล่าวทำให้ผู้เข้าร่วม
ประชุมได้รับความรู้ความเข้าใจ กรอบแนวทางที่เกี่ยวข้องกับการวางแผน และแนวคิดที่หลากหลาย
สำหรับการจัดทำฐานขอ้ มูลและระบบติดตามประเมินผลระดับพื้นทีเ่ พื่อสนบั สนุนการขับเคลือ่ นเป้าหมาย
ของสหประชาชาตวิ า่ ด้วยการพัฒนาที่ย่ังยนื ด้านการศกึ ษา SDG4 ของกระทรวงศึกษาธิการ และได้ระดม
ความคิดเหน็ ร่วมกนั ในการดำเนินงานของจงั หวัดนครปฐม

14

ส่วนที่ 3

ความกา้ วหน้าการดำเนนิ งานขับเคลอ่ื นเป้าหมายการพัฒนาท่ยี ง่ั ยนื ดา้ นการศึกษา (SDG4)
ผลการดำเนนิ งานขับเคลือ่ นเป้าหมายการพัฒนาท่ยี ั่งยนื ด้านการศึกษา (SDG4) รายเป้าหมายยอ่ ย

1 เปา้ หมายยอ่ ย SDG 4.1 สรา้ งหลักประกันว่าเด็กชายและเด็กหญิงทุกคนสำเร็จการศึกษา
ระดับประถมศึกษาและมัธยมศึกษาที่มีคุณภาพ เท่าเทยี ม และไม่มคี ่าใช้จ่าย นำไปสผู่ ลลัพธท์ างการเรียนท่ี
มีประสทิ ธผิ ล ภายในปี พ.ศ. 2573

1.) โครงการ (IFTE) วิจัยนวัตกรรมการศึกษาเพื่อพัฒนาการศึกษาจังหวัดนครปฐม
ระยะที่ 2

การพัฒนากระบวนการทำงานและสร้างนวัตกรรมในการทำงานให้เหมาะสม สอดคล้อง
กับสภาพบริบทและความต้องการของแต่ละพื้นที่ รองรับการพัฒนาผู้เรียนให้มีความรู้และทักษะในศตวรรษ
ท่ี ๒๑ โดยการนำผลการวิเคราะห์ การวิจัยและพัฒนานวัตกรรมเพื่อยกระดับคุณภาพการศึกษามาใช้ในการ
วางแผนการพัฒนาต่อยอดการดำเนินงาน โดยการสร้างเครือข่ายความร่วมมือของบุคลากรในทุกภาคส่วน
เพื่อสร้างนวัตกรรมการพัฒนาคุณภาพการศึกษาทั้งในด้านการบริหารจัดการศึกษา การจัดการเรียนรู้ และ
การนิเทศการศึกษา เพื่อยกระดับคุณภาพของผู้เรียนให้มีทักษะการเรียนรู้ ทักษะอาชีพและทักษะชีวิต
ในศตวรรษ ที่ 2๑ โดยการดำเนินงานโครงการ Innovation Foe Thai Education (IFTE) นวัตกรรม
เพอ่ื การศกึ ษา ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2565 โดยศึกษานิเทศก์ สำนกั งานศึกษาธิการจังหวัดนครปฐม

1.1 ผลการดำเนนิ งานหรือสถานการณต์ ามเป้าหมายยอ่ ย
สำนักงานศึกษาธิการจังหวัดนครปฐม โดยกลุ่มนิเทศ ติดตาม และประเมินผล

ได้ดำเนินการโครงการ Innovation Foe Thai Education (IFTE) นวัตกรรมเพื่อการศึกษา ประจำปี
งบประมาณ พ.ศ. 2565 ทำให้สำนักงานศึกษาธิการจังหวัดนครปฐมมีข้อมูลสารสนเทศ นวัตกรรมและ
การวิจยั ทางการศกึ ษา และมีเครอื ขา่ ยความรว่ มมือในการพฒั นาคุณภาพการศึกษาในจงั หวัดนครปฐม

1.2 ปญั หาอุปสรรค หรือประเด็นทา้ ทายการบรรลเุ ปา้ หมาย
ด้วยสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ทำให้

การดำเนินการตามกิจกรรม เช่น การจัดประชุมต้องเลื่อนเวลาออกไปจากปฏิทินแนวทางการดำเนินงาน
ทก่ี ำหนดไว้ และมรี ะยะเวลาในการดำเนินงานที่เร่งรบี ในช่วงสนิ้ ปีงบประมาณ เพือ่ ให้การดำเนินการบรรลุ
เปา้ หมายตามแผนทีว่ างไว้

1.3 ประเด็นขอ้ เสนอแนะการดำเนนิ งานใหบ้ รรลุเป้าหมาย
สำนักงานศึกษาธิการจังหวัดนครปฐม มีแนวทางแก้ไขปัญหาคือ วางแผน

การดำเนนิ งานให้ครอบคลมุ และเป็นไปตามมาตรการป้องกนั อย่างเครง่ ครัด โดยประชุมในรปู แบบออนไลน์
การนิเทศแบบออนไลน์ รวมถึงการดำเนินการที่หลากหลายและเหมาะสม ปรับตามสถานการณ์และตาม
บริบทของพื้นที่ เพ่อื ให้การดำเนนิ โครงการเปน็ ไปตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

2.) โครงการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ชั้นประถมศึกษา
ปีท่ี 6 และช้นั มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 3 ปีการศกึ ษา 2564

2.1 ผลการดำเนินงานหรือสถานการณต์ ามเปา้ หมายยอ่ ย
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเป็นข้อมูลที่สำคัญสามารถบอกคุณภาพของผู้เรียน

ได้ สำนักงานศึกษาธิการจังหวดั นครปฐม เห็นความสำคัญในการประเมินคุณภาพการศึกษา จึงได้ร่วมกบั

15

สถาบันทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติ (องค์การมหาชน) จัดทำโครงการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ
ขั้นพื้นฐาน (O-NET) ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 และชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ปีการศึกษา 2564 เพื่อดำเนินการ
ประเมินผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ในวันที่ 12 กุมภาพันธ์ 2565 และชั้นมัธยมศึกษา
ปีที่ 3 ในวันที่ 13 กุมภาพันธ์ 2565 เพื่อกำกับ ติดตาม และควบคุมคุณภาพการจัดการศึกษา
ของโรงเรียนสังกัดสำนักงานส่งเสริมการศึกษาเอกชน (สช.) และสถานศึกษาสังกัดองค์กรปกครอง
ส่วนทอ้ งถน่ิ (อปท.) อกี ทัง้ เปน็ ขอ้ มูลพื้นฐานในการจดั ทำแผนพฒั นาคุณภาพการจัดการศึกษาของโรงเรียน
และเป็นสารสนเทศสำคัญสำหรับครูผู้สอนในการปรบั ปรุงการจัดการเรยี นการสอนรวมถึงเป็นสารสนเทศ
เพ่อื การพฒั นายกระดับผลสมั ฤทธิ์ทางการเรยี นของหนว่ ยงานต้นสงั กดั

ผลการดำเนินงานทำให้สำนักงานศึกษาธิการจงั หวดั นครปฐม มขี ้อมลู พืน้ ฐานในการจัดทำ
แผนพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาของโรงเรียน และเป็นสารสนเทศสำคัญสำหรับครูผู้สอนในการ
ปรับปรุงการจัดการเรียนการสอน รวมถึงเป็นสารสนเทศเพื่อการพัฒนายกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
ของหนว่ ยงานต้นสงั กัด

2.2 ปัญหาอปุ สรรค หรือประเด็นท้าทายการบรรลเุ ปา้ หมาย
เนื่องจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคโควิด - 2019 ในจังหวัดนครปฐม

มีความรุนแรง ส่งผลให้การดำเนินกิจกรรมต่าง ๆ โดยเฉพาะการรวมกลุ่มของคนจำนวนมาก และการใช้
อาคารของสถานศึกษาถูกจำกดั หรอื งด ทำใหก้ จิ กรรมของโครงการจำเปน็ ต้องเลอ่ื นออกไป

2.3 ประเดน็ ขอ้ เสนอแนะการดำเนนิ งานให้บรรลเุ ปา้ หมาย
การปรับปฏิทินการดำเนินงานให้สอดคล้องกับสถานการณ์และปรับกิจกรรม

ให้กระชบั หรือรวบกจิ กรรม รวมถึงปรบั แนวทางการดำเนินกจิ กรรมเป็นลกั ษณะออนไลนม์ ากขน้ึ

2. เปา้ หมายยอ่ ย SDG 4.2 สรา้ งหลกั ประกนั ว่าเด็กชายและเด็กหญิงทุกคนเขา้ ถึงการพัฒนา
การดแู ล และการจดั การศึกษาระดับกอ่ นประถมศึกษา สำหรบั เดก็ ปฐมวัยท่มี คี ุณภาพ ภายในปี 2573

1) โครงการขับเคลื่อนการพัฒนาการจัดการศึกษาปฐมวัยในระดับพื้นที่จังหวัด
นครปฐม

2.1 ผลการดำเนินงานหรอื สถานการณ์ตามเปา้ หมายย่อย
สำนักงานศึกษาธิการจังหวัดนครปฐมได้ดำเนินงานในเรื่องหลักที่สำคัญตั้งแต่

ปีงบประมาณ พ.ศ. 2561 ไดแ้ ก่ สร้างความร้คู วามเข้าใจผู้บรหิ าร ครู ผู้ดแู ลเดก็ และผ้เู กีย่ วขอ้ งท้ังภาครัฐ
และเอกชน จัดทำระบบข้อมูลสารสนเทศเด็กปฐมวัย จัดทำแผนพัฒนาการศึกษาปฐมวัยเชิงบูรณาการ
ระดับจังหวัด และการคัดเลือก รวบรวม และขยายผลผลงานวิจัย นวัตกรรม รูปแบบและแนวปฏิบัติที่ดี
ของการจัดการศึกษาปฐมวัย รวมทั้งมีการนิเทศ กำกับ ติดตามความคืบหน้าของการดำเนินงาน
ของหน่วยงานและสถานศึกษาในพื้นที่เป็นระยะย่างต่อเนื่อง นอกจากนั้นในการดำเนินงานข้างต้น
สำนักงานศึกษาธิการจังหวัด ได้มีการประสานงาน สร้างความร่วมมือและบูรณาการการทำงานร่วมกับ
หน่วยงานของกระทรวงหลักที่เกี่ยวข้องในพื้นที่เป็นอย่างดี เช่น สำนักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคง
ของมนุษย์จังหวัด สาธารณสุขจังหวัด ท้องถิ่นจังหวัด เพื่อให้การดำเนินงานขับเคลื่อนการส่งเสริม ดูแล
และพฒั นาเด็กปฐมวัยในส่วนของพื้นทีร่ ะดับจังหวัดเป็นไปอย่างต่อเนือ่ ง และมปี ระสิทธภิ าพ สอดคล้องกับ
ข้อกำหนดของกฎหมาย สำนักงานศึกษาธิการจังหวัดนครปฐม จึงจัดทำโครงการขับเคลื่อนการพัฒนา
การจัดการศึกษาปฐมวัยในระดับพื้นที่จังหวัดนครปฐม ปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 เพื่อบูรณาการการทำงาน
ร่วมกนั ระหว่างหน่วยงานท่ีเกยี่ วข้องในพนื้ ทเ่ี ป็นสำคัญ

16

2.2 ปญั หาอุปสรรค หรอื ประเด็นทา้ ทายการบรรลเุ ปา้ หมาย
เนื่องจากมีหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในการดำเนินการจัดการศึกษาให้กับเด็กปฐม

เปน็ จำนวนมาก อาจทำให้เกิดอปุ สรรคในการสอื่ สารและความไม่เขา้ ใจตรงกนั

2.3 ประเดน็ ขอ้ เสนอแนะการดำเนินงานใหบ้ รรลเุ ปา้ หมาย
เพือ่ ให้การดำเนินการจัดการศึกษาใหก้ ับเด็กปฐมวยั ในพ้นื ท่ีรบั ผดิ ชอบของสำนักงาน

ศึกษาธิการจังหวัดนครปฐม เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของโครงการ สำนักงานศึกษาธิการจังหวัดนครปฐม
จึงได้แต่งตัง้ คณะทำงานขับเคล่ือน การประชุมคณะกรรมการดำเนนิ งานเพ่ือกำหนดปฏทิ ินการปฏิบตั ิงาน
ท่ชี ดั เจน และมกี ารนิเทศติดตามประเมินผลเป็นระยะๆ

3 เป้าหมายย่อย SDG 4.3 ให้ชายและหญิงทุกคนเข้าถึงการศึกษาวิชาเทคนิคอาชีวศึกษา
อดุ มศกึ ษา รวมถงึ มหาวิทยาลัยท่ีมีราคาทสี่ ามารถจ่ายได้และมคี ุณภาพภายในปี 2573

1) โครงการส่งเสริมเวทีและประชาคมเพือ่ การจัดทำรปู แบบและแนวทางพัฒนา
หลกั สูตรต่อเนอื่ งเช่ือมโยงการศึกษาข้ึนพ้ืนฐานกบั อาชีวศึกษาและอดุ มศึกษา ปีงบประมาณ 2565

3.1 ผลการดำเนนิ งานหรือสถานการณ์ตามเปา้ หมายยอ่ ย
นโยบายในการเพิ่มสัดส่วนผู้เรียนสายอาชีพและสายสามัญ ให้ได้ 50 ต่อ 50 และ

ในปกี ารศึกษา 2565 สดั สว่ นผู้เรียนสายอาชพี จะต้องอยู่ท่ี ร้อยละ 60 ข้นึ ไป และสายสามัญร้อยละ 40
ต่อสภาพความเป็นจริงในปัจจุบัน มีผู้เรียนในสายอาชีพเพียงร้อยละ 30-36 เท่านั้น ซึ่งสำนักงาน
ศึกษาธิการจังหวัดนครปฐม ได้กำหนดเป้าหมายจัดทำโครงการส่งเสริมเวทีและประชาคมเพื่อการจัดทำ
รูปแบบและการพัฒนาหลักสูตรต่อเนื่องเชื่อมโยงการศึกษาขั้นพื้นฐานกับอาชีวศึกษาและอุดมศึกษา
ส่งเสริมให้สถานศึกษาหรือหน่วยงานการศึกษาในจังหวัดมีนวัตกรรมที่จะสนับสนุนการศึกษาที่ต่อเนื่อง
เชื่อมโยงระหว่างการศึกษาขั้นพื้นฐานกับอาชีวศึกษาและอุดมศึกษา ที่สอดคล้องกับบริบทของพื้นท่ี
สามารถพัฒนาทักษะผู้เรียนให้สอดคล้องกับความต้องการและบรบิ ททางการศึกษาในแต่ละสาขาวิชาชพี
มีทักษะต่อยอดในสถาบนั อุดมศึกษาได้อย่างมีประสิทธิภาพ โดยอาศัยกระบวนการการมีสว่ นร่วมผา่ นเวที
และประชาคม

จากผลการดำเนนิ งานโครงการของสำนักงานศึกษาธกิ ารจังหวดั นครปฐม มีหลักสูตร
ตอ่ เนือ่ งเชอื่ มโยงการศกึ ษาขน้ั พืน้ ฐานกบั อาชีวศกึ ษาและอดุ มศึกษาทสี่ อดคล้องกับบริบทของพื้นท่ีในระดับ
จังหวัดนครปฐม อย่างน้อย 1 หลักสูตร คือ งานซ่อมเครื่องใช้ไฟฟ้าภายในบ้าน ประเภทวิชาอุสาหกรรม
แผนกวชิ าชา่ งไฟฟ้ากำลัง ของวทิ ยาลยั การอาชพี พุทธมณฑล

3.2) ปัญหาอปุ สรรค หรือประเด็นท้าทายการบรรลเุ ปา้ หมาย
1) ผู้เขา้ ร่วมกจิ กรรมไมเ่ ปน็ ไปตามเป้าหมายท่ีกำหนด
2) ส่วนราชการ หนว่ ยงานเกิดความล่าชา้
3) สถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคตดิ เช้อื ไวรสั โคโรน่า 2019 (COVID-19)

3.3) ประเด็นข้อเสนอแนะการดำเนินงานให้บรรลเุ ปา้ หมาย
1) หัวหน้าส่วนราชการระดับจังหวดั สำนักงานเขตพืน้ ที่การศึกษาจงั หวดั นครปฐม

หน่วยงานการศึกษาในจงั หวัดนครปฐมควรใหค้ วามรว่ มมอื ในการขบั เคลือ่ นโครงการเชงิ พนื้ ที่
2) ควรมกี ารช้ีแจงสร้างความเขา้ ใจอยา่ งชดั เจนและท่ัวถงึ

17

4) เป้าหมายยอ่ ย SDG 4.4 เพมิ่ จำนวนเยาวชนและผ้ใู หญ่ที่มีทักษะท่ีจำเป็น รวมถึงทักษะ
ทางเทคนคิ และอาชีพ สำหรับการจ้างงาน การมีงานทีด่ ีและการเปน็ ผู้ประกอบการ ภายในปี 2573

4.1) ผลการดำเนนิ งานหรอื สถานการณ์ตามเป้าหมายย่อย
4.2) ปญั หาอุปสรรค หรือประเด็นทา้ ทายการบรรลุเปา้ หมาย
4.3) ประเด็นขอ้ เสนอแนะการดำเนนิ งานให้บรรลเุ ปา้ หมาย

5) เป้าหมายย่อย SDG4.5 ขจัดความเหลี่อมล้ำทางเพศในการศึกษา และสร้างหลักประกัน
ว่ากลุ่มที่เปราะบางซึ่งรวมถึงผู้พิการ ชนพื้นเมือง และเด็กเข้าถึงการศึกษาและการฝึกอาชีพทุกระดับ
อย่างเท่าเทียม ภายในปี 2573

1) โครงการส่งเสริมโอกาส ความเสมอภาคและความเท่าเทียมทางการศึกษา
“พาน้องกลับมาเรยี น” ระดับจงั หวดั

5.1) ผลการดำเนนิ งานหรอื สถานการณ์ตามเป้าหมายยอ่ ย
การขับเคลื่อนการดำเนินงานส่งเสริมโอกาส ความเสมอภาคและความเท่าเทียม

ทางการศึกษา “พาน้องกลับมาเรียน” จงั หวดั นครปฐม เปน็ เปา้ หมายการพฒั นาประเทศเพ่ือพัฒนาคนไทย
ทุกกลุ่มทุกช่วงวัยให้เป็นคนดี เก่งและมีคุณภาพตามมาตรฐานอย่างเท่าเทียมตามที่รัฐบาลมีนโยบาย
“ไม่ทิ้งใครไว้ข้างหลัง” โดยให้ความสำคัญกับประซาซนทุกกลุ่มให้ได้รับสิทธิและโอกาสอย่างเสมอภาค
เท่าเทียมกันในช่วงสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ส่งผลกระทบกับ
กลุม่ เปราะบางต่างๆ ทำให้เดก็ หลุดออกจากระบบการศึกษาจำนวนมาก ดังนนั้ เพือ่ สรา้ งโอกาสและความ
เสมอภาค ลดความเหลื่อมล้ำให้กับผู้เรียนทุกคนได้รับบริการทางการศึกษาอย่างทั่วถึงและเท่าเทียม
สำนักงานศกึ ษาธิการจังหวัดนครปฐม ได้ตดิ ตามคน้ หาเดก็ ตกหล่นและเดก็ ออกกลางคันในระดับการศึกษา
ขน้ั พื้นฐาน จำนวน 215 คนไดร้ บั การตดิ ตามค้นหาใหก้ ลับเขา้ ส่รู ะบบการศึกษา ร้อยละ 80

5.2) ปญั หาอุปสรรค หรอื ประเด็นทา้ ทายการบรรลุเปา้ หมาย
เนื่องจากการดำเนินงานภายใต้สถานการณ์การแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโคโรนา

2019 ทำใหเ้ ดก็ บางรายมกี ารโยกยา้ ยถ่ินฐานไมส่ ามารถตดิ ตามไดท้ ง้ั หมด

5.3) ประเดน็ ข้อเสนอแนะการดำเนนิ งานใหบ้ รรลุเป้าหมาย
การดำเนินการตามมาตรการป้องกันการแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโคโรนา 2019

ต้องดำเนินการอย่างเคร่งครัด และควรมีการนำเข้าข้อมูลที่เป็นปัจจุบันในระบบ เพื่อให้การออกติดตามได้
ตรงตามวตั ถุประสงค์

6) เป้าหมายย่อย SDG 4.6 สร้างหลักประกันว่าเยาวชนทุกคนและผู้ใหญ่ในสัดส่วนสูง
ทั้งชายและหญิงสามารถอา่ นออกเขียนไดแ้ ละคำนวณได้ ภายในปี 2573

6.1) ผลการดำเนนิ งานหรอื สถานการณ์ตามเป้าหมายยอ่ ย
6.2) ปัญหาอุปสรรค หรือประเด็นทา้ ทายการบรรลเุ ป้าหมาย
6.3) ประเด็นขอ้ เสนอแนะการดำเนินงานใหบ้ รรลเุ ป้าหมาย

18

7) เป้าหมายย่อย SDG 4.7 สร้างหลักประกันว่าผู้เรียนทุกคนได้รับความรู้และทักษะท่ี
จำเปน็ สำหรับส่งเสริมการพัฒนาอย่างย่ังยนื รวมไปถึง การศกึ ษาสำหรับการพัฒนาอย่างย่ังยนื และการมีวิถี
ชีวติ ทย่ี ัง่ ยืน สทิ ธิมนษุ ยชน ความเสมอภาคระหว่างเพศ การสง่ เสริมวัฒนธรรมแห่งความสงบสุขและไม่ใช้
ความรุนแรง การเป็นพลเมืองของโลก และความนิยมในความหลากหลายทางวัฒนธรรมและในส่วนร่วม
ของวัฒนธรรมต่อการพัฒนาท่ียั่งยืน ภายในปี 2573

1) โครงการสร้างและส่งเสริมความเป็นพลเมืองดีตามรอยพระยุคลบาท
ด้านการศึกษาส่กู ารปฏิบัติ ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2565

7.1) ผลการดำเนนิ งานหรอื สถานการณ์ตามเปา้ หมายยอ่ ย
สำนักงานศึกษาธิการจังหวัดนครปฐม น้อมนำพระบรมราโชบายด้านการศึกษา

4 ด้าน ประกอบด้วย (1) การมีทัศนคติที่ถูกต้องต่อบ้านเมือง (2) การมีพื้นฐานชีวิตที่มั่นคง มีคุณธรรม
(3) การมีงานทำ - มีอาชีพ และ (4) การเป็นพลเมืองดี ซึ่งกระทรวงศึกษาธิการได้ขอพระราชทาน
พระบรมราชานุญาต น้อมนำพระราโชบายด้านการศึกษามาเป็นหลักชัยในการสร้างนักเรียนเป็นคนดี
และพฒั นาให้เปน็ คนเกง่ สู่การปฏิบัตติ ามรอยพระยุคลบาทอย่างเป็นรูปธรรม

สง่ ผลให้ผ้เู ข้ารว่ มโครงการได้เรยี นรพู้ ระราชกรณียกิจของพระราชวงศ์จกั รี มีเจตคติ
ที่ดีต่อบ้านเมือง มีโอกาสทำหน้าที่เป็นพลเมืองดี มีพื้นฐานชีวิตที่มั่นคง มีคุณธรรม สามารถวางแผน
การประกอบอาชีพเพื่อให้มีงานทำ ได้เรียนรู้ถึงนวัตวิถีของท้องถิ่นและชุมชน มีจิตสำนึกรักและภูมิใจ
ในทอ้ งถิน่ ชุมชนของตนเอง สามารถนำความรไู้ ปประยกุ ตใ์ ช้และเปน็ พลเมืองทด่ี ขี องประเทศชาติ

7.2) ปญั หาอุปสรรค หรอื ประเดน็ ทา้ ทายการบรรลุเปา้ หมาย
เนื่องจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ทำให้

ไม่สามารถจัดกิจกรรมไดค้ รบทุกกจิ กรรม จึงต้องปรบั เปลยี่ นกิจกรรมใหเ้ หมาะสมกับสถานการณ์

7.3) ประเดน็ ข้อเสนอแนะการดำเนนิ งานให้บรรลเุ ป้าหมาย
การให้ความร่วมมือของสถานศึกษาและการประสานงานที่ดีระหว่างหน่วยงาน

และการบรหิ ารจัดการการดำเนินกจิ กรรมใหเ้ ปน็ ไปตามมาตรการการปอ้ งกนั การแพรร่ ะบาดของโรคติดเช้ือ
ไวรัสโคโรนา 2019

8) เป้าหมายย่อย SDG 4.a สรา้ งและยกระดบั อุปกรณ์และเครอ่ื งมอื ทางการศึกษาที่อ่อนไหว
ต่อเด็กผู้พิการ และเพศภาวะ และให้มีสภาพแวดล้อมทางการเรียนรู้ที่ปลอดภัย ปราศจากความรุนแรง
ครอบคลมุ และมปี ระสิทธผิ ลสำหรับทุกคน

1) โครงการการประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้เพื่อขับเคลื่อนการยกระดับคุณภาพ
การศึกษาและประสทิ ธภิ าพการบรหิ ารจัดการศกึ ษาจังหวัดนครปฐมโดยผา่ นกลไกของ กศจ.

8.1) ผลการดำเนินงานหรอื สถานการณต์ ามเป้าหมายยอ่ ย
คำสั่งหัวหน้าคณะรักษาความสงบแห่งชาติ ที่ 19/2560 กำหนดให้ในแต่ละ

จังหวัดให้มีคณะกรรมการศึกษาธิการจังหวัด (กศจ.) มีอำนาจหน้าที่ในส่วนของการยกระดับคุณภาพ
การศึกษาและการเรียนรู้ให้มีคุณภาพ เท่าเทียมและทั่วถึงในพื้นที่จังหวัด โดยการกำหนดยุทธศาสตร์
แนวทางการจัดการศึกษา และการส่งเสริมสนับสนุนการจัดการศึกษาทุกระดับและทุกประเภท ประสาน
และส่งเสริมการบริหารและการจัดการศึกษาขององคก์ รปกครองสว่ นท้องถน่ิ รวมทั้งส่งเสรมิ และสนับสนุน
การจัดการศึกษาของบุคคล ครอบครัว องค์กรชุมชน องค์กรวิชาชีพ สถาบันศาสนา สถานประกอบการ

19

และสถาบันสังคมอื่นที่จัดการศึกษาในรูปแบบที่หลากหลาย ให้ความเห็นชอบกรอบการประเมินผล
การปฏิบัติงานและตัวชี้วัดในการดำเนินงานในลักษณะตัวชี้วัดร่วมของส่วนราชการหรือหน่วยงาน
และสถานศึกษา และกำกับ เร่งรดั ติดตาม และประเมินผลการปฏิบัติงานของส่วนราชการหรือหน่วยงาน
และสถานศึกษา โดยมสี ำนักงานศึกษาธกิ ารจงั หวัดนครปฐม เปน็ ผรู้ ับผิดชอบงานธุรการของคณะกรรมการ
ศึกษาธกิ ารจังหวดั

สำนักงานศกึ ษาธิการจังหวดั นครปฐม ได้จัดการประชุมเสวนาแลกเปล่ยี นเรียนรู้
เพื่อขับเคลื่อนการยกระดับคุณภาพการศึกษาและประสิทธิภาพการบริหารจัดการศึกษาจังหวัดนครปฐม
โดยผ่านกลไกของคณะกรรมการศึกษาธิการจังหวัดนครปฐม เมอ่ื วันท่ี 4 กรกฎาคม 2565 โดยมผี ู้เข้าร่วม
ประชุมจำนวนทั้งสิน้ จำนวน 61 คน ประกอบดว้ ยคณะกรรมการศกึ ษาธิการจังหวัด และคณะอนุกรรมการ
ศึกษาธิการจังหวัด คณุอนุกรรมการบริหารราชการเชิงยุทธศาสตร์ คณะอนุกรรมการเกี่ยวกับ
การพัฒนาการศึกษา ผู้บริหาร ครูและบุคลากรทางการศึกษา เข้าร่วมประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ เพื่อให้มี
แนวทางในการยกระดบั คณุ ภาพการศึกษาของจงั หวดั นครปฐม ร่วมกนั

8.2) ปญั หาอปุ สรรค หรือประเดน็ ท้าทายการบรรลุเปา้ หมาย
ด้วยสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ทำให้

การดำเนินการไม่เปน็ ไปตามแผนทวี่ างไว้ มาตรการการจำกัดคนในการรวมกลมุ่ จัดกิจกรรม และมาตรการ
ในการป้องกันรกั ษา การเว้นระยะห่าง ทำให้กิจกรรมไมเ่ ป็นไปตามแผน

8.3) ประเด็นขอ้ เสนอแนะการดำเนินงานให้บรรลเุ ปา้ หมาย
การสร้างความรู้ ความเข้าใจในบทบาทหน้าที่ของ กศจ. ที่ไม่ชัดเจน ในระดับ

ผบู้ ริหารและผปู้ ฏบิ ัติทำใหเ้ กดิ ความกังวลในเร่ืองของความกา้ วหนา้ ในสายอาชีพ

9) เป้าหมายย่อย SDG 4.b ขยายจำนวนทุนการศึกษาในทั่วโลกที่ให้สำหรับประเทศกำลัง
พัฒนาโดยเฉพาะประเทศพฒั นาน้อยที่สุด รฐั กำลงั พัฒนาทเ่ี ป็นเกาะขนาดเล็ก และประเทศในแอฟริกาในการ
สมคั รเข้าศกึ ษาตอ่ ในระดบั อุดมศึกษา รวมถึงการฝกึ อาชีพ และโปรแกรมด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการ
สื่อสาร ด้านเทคนิค วิศวกรรม และวิทยาศาสตร์ในประเทศพัฒนาแล้วและประเทศกำลังพัฒนาอื่น ๆ
ภายในปี 2563

9.1) ผลการดำเนินงานหรอื สถานการณ์ตามเป้าหมายยอ่ ย
9.2) ปญั หาอุปสรรค หรอื ประเด็นท้าทายการบรรลุเปา้ หมาย
9.3) ประเด็นขอ้ เสนอแนะการดำเนินงานให้บรรลเุ ปา้ หมาย

10) เป้าหมายย่อย SDG 4.c เพิ่มจำนวนครูที่มีคุณภาพ รวมถึงการดำเนินการ
ผ ่ านทางความร ่ วมม ื อ ระหว ่ างป ระเ ทศใน การฝ ึ กอบ รมครู ในประเทศกำล ั งพ ั ฒนาเฉพาะอย ่ างยิ่ ง
ในประเทศพัฒนานอ้ ยที่สุด และรฐั กำลังพัฒนาที่เปน็ เกาะขนาดเล็ก ภายในปี 2573

10.1) ผลการดำเนนิ งานหรือสถานการณต์ ามเป้าหมายยอ่ ย
10.2) ปัญหาอุปสรรค หรือประเดน็ ทา้ ทายการบรรลุเปา้ หมาย
10.3) ประเด็นขอ้ เสนอแนะการดำเนินงานให้บรรลุเปา้ หมาย

20

สว่ นท่ี 4

บทสรปุ ผลการดำเนินงาน ความทา้ ทาย และขอ้ เสนอแนะการดำเนินงานระยะตอ่ ไป

4.1 สรุปผลการดำเนินงานขับเคล่อื นเปา้ หมายการพัฒนาที่ยง่ั ยนื ดา้ นการศึกษา

ในการดำเนินการขับเคลื่อนเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนด้านการศึกษา (SDG4 Roadmap)
จังหวดั นครปฐม มวี ตั ถุประสงค์เพ่ือใช้เปน็ กรอบแนวทางและเป้าหมายของการดำเนนิ งานในการขับเคล่ือน
เป้าหมายการพัฒนาทีย่ ั่งยืน เป้าหมายที่ 4 สร้างหลักประกันว่าทกุ คนมีการศึกษาที่มคี ุณภาพ ครอบคลุม
และเท่าเทียม และสนับสนุนโอกาสในการเรียนรู้ตลอดชีวิต (SDG4) ไปสู่การปฏิบัติได้อย่างชัดเจน
เป็นรูปธรรม มีกรอบแนวทางในการติดตาม ประเมินผลความสำเร็จของการดำเนินงาน และรายงาน
ผลการดำเนินงานในฐานะหนว่ ยงานรับผิดชอบและประสานงานหลักเป้าหมายการพัฒนาที่ย่ังยืนในพื้นที่
จังหวัดนครปฐม ให้เป็นไปตามแนวทางการดำเนินงานที่คณะกรรมการเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืนกำหนด
สำนักงานศึกษาธกิ ารจังหวดั นครปฐม มีการบูรณาการและขับเคลอ่ื นการศึกษาในระดบั จงั หวัด โดยได้สนอง
นโยบายของรัฐบาลและกระทรวงศึกษาธิการ ในเร่ืองการขบั เคลื่อนเปา้ หมายของสหประชาชาตวิ ่าด้วยการ
พัฒนาที่ยั่งยืนด้านการศึกษา (SDG4) การศึกษาที่มีคุณภาพและโอกาสในการเรียนรู้ตลอดชีวิต
โดยกระบวนการขบั เคล่ือนการดำเนนิ งาน ดงั น้ี

1. สำนกั งานศกึ ษาธิการจังหวัดนครปฐม รว่ มประชมุ ช้แี จงสร้างความรูค้ วามเข้าใจการดำเนิน
โครงการจัดทำฐานข้อมูลและระบบติดตามประเมินผลระดับพื้นที่เพื่อสนับสนุนการขับเคลื่อนเป้าหมาย
ของสหประชาชาติว่าด้วยการพัฒนาที่ยั่งยืนด้านการศึกษา SDG4 ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2565
ในวันอังคารที่ 3 พฤษภาคม โดยใช้รูปแบบการประชุมทางไกลผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์ (โปแกรม Zoom)
จัดโดยสำนกั งานปลัดกระทรวงศึกษาธกิ าร

2. การดำเนนิ งานในสว่ นภมู ิภาค/ระดบั พื้นท่ีรบั ผดิ ชอบ
2.1. ประชุมเชิงปฏิบัติการสร้างการรับรู้การขับเคลื่อนเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน

ด้านการศึกษาในพื้นที่รับผิดชอบของสำนักงานศึกษาธิการภาค 2 และระดับจังหวัด จังหวัดนครปฐม
เป็นกรอบแนวทางและเป้าหมายการขับเคลื่อนเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนด้านการศึกษา และแผนท่ี
นำทางฯ (SDG4 Roadmap) ไปสู่การปฏบิ ตั ิ ทกุ ภาคสว่ นท่เี กย่ี วข้อง ต้องรับรู้ เข้าใจ และเข้ามามีส่วนร่วม
ดำเนินการ เพื่อให้เห็นความสำคัญ และเข้ามามีส่วนร่วมในการขับเคลื่อนไปสู่การปฏิบัติอย่างจริงจัง
กับการพฒั นาดา้ นการศึกษาของสำนักงานศึกษาธกิ ารจงั หวัดนครปฐม ตามคำส่ังคณะกรรมการขับเคล่ือน
เป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนที่ 2/ 2565 เรื่อง แต่งตั้งคณะทำงานขับเคลื่อนเป้าหมายการพัฒนาที่ย่งั ยนื
ด้านการศึกษาระดับจังหวัดนครปฐม ลงวันท่ี วันที่ 31 พฤษภาคม 2565 เพื่อขับเคลื่อนเป้าหมาย
ของสหประชาชาตวิ า่ ดว้ ยการพัฒนาท่ยี ั่งยืนดา้ นการศึกษา SDG4 ในระดับพน้ื ท่ี ประกอบด้วย คณะทำงาน
ขับเคลื่อนเปา้ หมายการพัฒนาท่ียั่งยืนด้านการศึกษาระดบั จังหวัดนครปฐม หน่วยงานการศกึ ษาในจังหวดั
นครปฐม และบุคลากรในสำนักงานศกึ ษาธิการจงั หวัดนครปฐม ในวันที่ 3 สงิ หาคม 2565 โดยใช้รูปแบบ
การประชมุ ทางไกลผ่านส่ืออเิ ล็กทรอนกิ ส์ (โปแกรม Zoom)

2.2 การประชุมเชงิ ปฏบิ ัตกิ ารจดั ทำแผนปฏิบัตกิ ารขับเคลอื่ นเปา้ หมายการพัฒนาท่ียั่งยืน
ด้านการศึกษา (SDG4) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2565 – 2566 จังหวัดนครปฐม เพื่อสนับสนุน
การขบั เคลื่อนเป้าหมายของสหประชาชาตวิ ่าด้วยการพัฒนาทีย่ ่ังยนื ด้านการศกึ ษา SDG4 ระดับจังหวัด แผนที่
นำทางฯ หรือทบทวน ปรับปรุงแผนที่นำทางฯ ให้สอดคล้องกับความเปลี่ยนแปลงของสถานการณ์
ความต้องการ/ความจำเป็น และบริบทที่เกี่ยวข้อง ประกอบด้วย คณะทำงานขับเคลื่อนเป้าหมายการพัฒนา

21

ทย่ี งั่ ยืนด้านการศึกษาระดับจังหวัดนครปฐม ผูท้ รงคณุ วุฒิด้านการศึกษา หนว่ ยงานการศกึ ษาในจังหวัดนครปฐม
และบุคลากรในสำนักงานศึกษาธิการจังหวัดนครปฐม ในวันที่ 16 สิงหาคม 2565 ณ ห้องประชุมทวารวดี
ศรพี ระประโทณ โรงเรยี นวดั พระประโทณเจดีย์ อำเภอเมืองนครปฐม จงั หวัดนครปฐม

2.3 การกำกับ ติดตาม และประเมินผลการดำเนินงาน รวมถึงปัญหาอุปสรรค และ
แนวทางในการแกไ้ ขปัญหาหรอื พัฒนาการจัดการศกึ ษาใหบ้ รรลเุ ป้าหมายทก่ี ำหนด

2.4 การจัดทำรายงานผลการดำเนินงานเพื่อเสนอคณะกรรมการ หรือคณะทำงาน
ขับเคลื่อนเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนด้านการศึกษาระดับจังหวัด รับทราบและนำไปใช้เป็นข้อมูล
ประกอบการกำหนดแนวทางการดำเนินงานในระยะต่อไป รวมถึง รายงานผลการดำเนินงาน
ต่อคณะกรรมการฯ และหนว่ ยงานต้นสังกดั ทราบตามลำดับต่อไป

3. จดั พมิ พเ์ ผยแพรใ่ หบ้ คุ คล หนว่ ยงานท่เี กยี่ วข้องรับทราบผ่านเวบ็ ไซตข์ องหนว่ ยงาน

จากผลการดำเนนิ งานของสำนกั งานศึกษาธิการจงั หวัดนครปฐม ในการดำเนินงานขับเคล่ือน
เปา้ หมายการพัฒนาทยี่ ั่งยนื ด้านการศึกษา (SDG4) ในปงี บประมาณ พ.ศ.2565 มผี ลการดำเนนิ การ ดงั นี้

เป้าหมายย่อย กลุ่มที่มีข้อมูลผลการดำเนินงาน หรือข้อมูลพื้นฐานตามตัวชี้วัดครบถ้วน
สมบูรณ์ สามารถนำเสนอความกา้ วหน้าหรือสภาพการดำเนนิ งานขับเคลื่อนเป้าหมายย่อยได้อย่างชัดเจน
เป็นรปู ธรรม ผลการดำเนนิ งานขับเคลอ่ื นเป้าหมายการพฒั นาที่ย่งั ยืนด้านการศกึ ษา (SDG4) รายเปา้ หมาย
ของจงั หวัดนครปฐม จำนวน 6 เป้าหมาย ดงั นี้

1. เป้าหมายย่อย SDG 4.1 สรา้ งหลักประกนั ว่าเด็กชายและเดก็ หญิงทกุ คนสำเร็จการศึกษา
ระดับประถมศึกษาและมธั ยมศึกษาที่มคี ุณภาพ เท่าเทียม และไม่มีค่าใช้จ่าย นำไปสู่ผลลัพธท์ างการเรยี น
ท่มี ปี ระสิทธผิ ล ภายในปี พ.ศ. 2573

- โครงการ (IFTE) วิจัยนวัตกรรมการศึกษาเพื่อพัฒนาการศึกษาจังหวัดนครปฐม
ระยะท่ี 2

- โครงการทดสอบทางการสึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ชั้นประถมศึกษา
ปที ี่ 6 และชั้นมธั ยมศึกษาปที ่ี 3 ปีการศึกษา 2564

2. เปา้ หมายย่อย SDG 4.2 สรา้ งหลักประกนั วา่ เดก็ ชายและเดก็ หญงิ ทุกคนเข้าถงึ การพัฒนา
การดแู ล และการจดั การศึกษาระดับก่อนประถมศกึ ษา สำหรับเด็กปฐมวัยทีม่ คี ุณภาพ ภายในปี 2573

- โครงการขับเคลื่อนการพัฒนาการจัดการศึกษาปฐมวัยในระดับพื้นที่จังหวัด
นครปฐม

3. เป้าหมายย่อย SDG 4.3 ให้ชายและหญิงทุกคนเข้าถึงการศึกษาวิชาเทคนิคอาชีวศึกษา
อุดมศกึ ษา รวมถงึ มหาวทิ ยาลยั ท่มี ีราคาท่สี ามารถจา่ ยไดแ้ ละมคี ุณภาพภายในปี 2573

- โครงการส่งเสริมเวทีและประชาคมเพื่อการจัดทำรูปแบบและแนวทางพัฒนา
หลกั สูตรตอ่ เนอ่ื งเชื่อมโยงการศกึ ษาข้นึ พื้นฐานกบั อาชีวศกึ ษาและอดุ มศกึ ษา ปงี บประมาณ 2565

4. เป้าหมายย่อย SDG4.5 ขจัดความเหลี่อมล้ำทางเพศในการศึกษา และสร้างหลักประกนั
ว่ากลุ่มที่เปราะบางซึ่งรวมถึงผู้พิการ ชนพื้นเมือง และเด็กเข้าถึงการศึกษาและการฝึกอาชีพทุกระดับ
อยา่ งเทา่ เทยี ม ภายในปี 2573

- โครงการส่งเสรมิ โอกาส ความเสมอภาคและความเท่าเทียมทางการศึกษา “พาน้อง
กลับมาเรียน” ระดบั จงั หวดั

22

5. เปา้ หมายย่อย SDG 4.7 สรา้ งหลกั ประกันวา่ ผู้เรียนทุกคนได้รับความรูแ้ ละทกั ษะท่ีจำเป็น
สำหรบั ส่งเสรมิ การพัฒนาอย่างย่งั ยืน รวมไปถงึ การศกึ ษาสำหรบั การพฒั นาอย่างย่ังยนื และการมีวิถีชีวิตที่
ยั่งยืน สิทธิมนุษยชน ความเสมอภาคระหว่างเพศ การส่งเสริมวัฒนธรรมแห่งความสงบสุขและไม่ใช้ความ
รุนแรง การเป็นพลเมืองของโลก และความนิยมในความหลากหลายทางวัฒนธรรมและในส่วนร่วมของ
วฒั นธรรมต่อการพฒั นาที่ยัง่ ยนื ภายในปี 2573

- โครงการสร้างและส่งเสรมิ ความเป็นพลเมืองดีตามรอยพระยคุ ลบาทด้านการศึกษา
สู่การปฏิบตั ิ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565

6. เปา้ หมายยอ่ ย SDG 4.a สรา้ งและยกระดบั อุปกรณ์และเครอื่ งมือทางการศึกษาที่อ่อนไหว
ต่อเด็กผู้พิการ และเพศภาวะ และให้มีสภาพแวดล้อมทางการเรียนรู้ที่ปลอดภัย ปราศจากความรุนแรง
ครอบคลุมและมปี ระสทิ ธิผลสำหรับทกุ คน

- โครงการการประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้เพื่อขับเคลื่อนการยกระดับคุณภาพ
การศึกษาและประสิทธภิ าพการบริหารจดั การศกึ ษาจงั หวัดนครปฐมโดยผา่ นกลไกของ กศจ.

4.2 สรปุ ประเด็นความทา้ ทายการบรรลเุ ปา้ หมาย

1. สถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชือ้ ไวรสั โคโรนา 2019 ส่งผลกระทบต่อคุณภาพ
การศึกษา โดยเฉพาะกลุ่มนักเรียนที่มีฐานะยากจนและอยู่พื้นที่ห่างไกล เนื่องจากส่วนใหญ่ไม่มีโอกาส
เข้าถงึ การเรียน การสอนทดแทน เช่น การเรยี นออนไลน์ และการถ่ายทอดสดผ่านสญั ญาณโทรทศั น์ ทำให้
เกดิ การเรยี นถดถอย ภาวะการณ์สูญเสียโอกาสต่างๆ (Learning Loss)

2. การเก็บข้อมูลยังคงเป็นปัญหาพื้นฐาน ที่มีความสำคัญที่สุดในการวัดผลความก้าวหน้า
ของการดำเนินการ SDG4 ในระดับจังหวัด จึงจำเป็นอย่างที่ต้องมีการจัดเก็บข้อมูลสารสนเทศ
จากหลายหลายแหล่งและประเภท ในระดับองค์กร/พื้นที่/ท้องถิ่น รวมไปถึงการสร้างความต่อเนื่อง
ของการจัดเกบ็ ขอ้ มูล เพือ่ ใหม้ ขี ้อมูลเพียงพอสำหรบั การกำหนดตัวช้ีวัดของเป้าหมาย และการจดั เกบ็ ข้อมูล
ตอ้ งมกี ารตรวจสอบความถูกตอ้ ง เปน็ ปจั จบุ นั

3. การสร้างความตระหนักรู้เกี่ยวกับการพัฒนาที่ยั่งยืนด้านการศึกษาให้เกิดขึ้นในวงกว้าง
ทุกภาคส่วนต้องร่วมกันสร้างทัศนคติและจิตสำนึกความยั่งยืนให้เกิดขึ้นในสังคม เนื่องจากการพัฒนา
ที่ยั่งยืนเป็นเรื่องที่เกี่ยวข้องกับคนทุกคน ดังนั้น หน่วยงานของภาครัฐ ภาคเอกชน องค์กรปกครอง
ส่วนท้องถิ่น สถาบันวิชาการ องค์กรอิสระ หรือประชาชนทั่วไปจะต้องมีจิตสำนึกในการสร้างสังคมให้มี
ความยงั่ ยืนรว่ มกัน

4.3 สรปุ ประเด็นข้อเสนอแนะการดำเนนิ งานใหบ้ รรลเุ ปา้ หมาย
1. การบูรณาการความร่วมมือจากทุกภาคส่วน เพื่อให้การดำเนินงานมีประสิทธิภาพ

และเกิดผลเป็นรูปธรรม ภายใต้งบประมาณและทรัพยากรที่มีอย่างจำกัด เพื่อขับเคลื่อนเป้าหมายย่อย
ใหส้ ามารถประสบผลสำเร็จได้

2. การจัดตั้งกลไกในการประสานงานในระดับภูมิภาค และระดับพื้นที่เพื่อติดตาม ทบทวน
เป้าหมายการพฒั นาทยี่ ั่งยนื ด้านการศึกษาใหเ้ ปน็ ไปในกรอบทศิ ทางเดียวกัน

3. การจัดทำระบบฐานข้อมูลกลาง (Dashboard) ของตัวชี้วัดเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน
ด้านการศึกษา (SDG4) เพื่อเป็นฐานข้อมูลที่น่าเชื่อถือและเข้าถึงได้ ทำให้สามารถติดตามความก้าวหน้า
ผลการดำเนนิ การขบั เคลือ่ นได้

ภาคผนวก



ประชมุ เชิงปฏบิ ตั กิ ารสรา้ งการรับรูก้ ารขบั เคลอื่ นเปา้ หมายการพฒั นาที่ยั่งยืนด้านการศกึ ษา ในพ้นื ท่ีรบั ผิดชอบ
ของสานกั งานศึกษาธิการภาค 2 และระดบั จังหวดั จงั หวัดนครปฐม ผ่านระบบ Video conference โปรแกรม Zoom



โครงการ โครงการจัดทำฐานข้อมูลและระบบติดตามประเมินผลระดับพื้นที่เพื่อสนับสบุนการขับเคลื่อน

เป็าหมายชองสหประซาชาติว่าด้วยการพัฒนาที่ยั่งยืนด้านการติกษา รว0๔

แผนงาบยุทธศาสตร์เพื่อสนับสบุบด้านการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพทรัพยากรมบุษย์ งบรายจ่ายลื่น

ลักษณะโครงการ 0 โครงการต่อเมื่อง □ โครงการใหม่

• ความสอดคล้องลับยุทธศาสตร์ชาติ รเทซศาสตร์ที่ ๖ การปรับสมดุลและพัฒนาระบบบริหารจัดการภาครัฐ
• ความสอดคลัองลับแผน๗ บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ ๒0 ต้านการบริการประชาชนและประสิทธิภาพภาครัฐ
• ความสอดคล้องลับแผนปฏิรูปประเทศ ต้านการบริหารราชการแผ่นติน

• ความสอดคล้องลับแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ ๑๒ ( พ-ศ. ๒4๖0 - ๒<๕๖๔)
ยุทธศาสตร์ที่ ๖ การบริหารลัดการในภาครัฐ การข้องลันการทุจริตประพฤติมิชอบและธรรมาภบาลในสังคมไทย

• ความสอดคล้องลับนโยบายรัฐบาล
นโยบายหลักที่ ๑๑ การปฏิรูปการบริหารลัดการภาครัฐ
นโยบายเร่งด่วนที.่ ..... ,1....... ............-....... ' ...................................................

• ความสอดคล้องลับยุทธศาสตร์กระทรวงติกษาธิการ บังบประมาณ พ.ศ. ๒4๖4:
ยุทธศาสตร์ที่๖ ปรับปรุงระบบบริหารลัดการและส่งเสริมให้ทุกภาคส่วนมิส่วนร่วมในการลัดการติกษา

• ความสอดคล้องลับยุทธศาสตร์สำบักงานปลัดกระทรวงติกษาธิการ บังบประมาณ พ.ศ. ๒4๖4:
ยุทธศาสตร์ที่ 4: พัฒนาระบบบริหารลัดการให้มิประสิทธิภาพ

• **ความสอดคล้องลับยุทธศาสตร์การติกษาสำนักงานติกษาธิการภาค ๒ บังบประมาณ พ.ศ. ๒4๖£
ยุทธศาสตร์ที่4 พัฒนาระบบบริหารลัดการติกษาและส่งเสริมให้ทุกภาคส่วนมิส่วนร่วมใบการลัดการติกษา

• ***ความสอดคล้องลับยุทธศาสตร์ลังหว้ด่นครปฐม ยุทธศาสตร์ที่ ๓ เพมรายไต้ ลดรายจ่าย ลดบัญหาครัวเริอนและ
สิงแวดล้อม สร้างความเสมอภาค และความเท่าเทยมโดยนำศาสตร์พระราชามาเบันแนวทางหลัก

• ***ความสอดคล้องลับยุทธศาสตร์การติกษาสำนักงานติกษาธิการจังหวัดนครปฐม บังบประมาณ พ.ศ. ๒4๖๕
ยุทธศาสตร์ที่4:พัฒนาระบบการบริหารจัดการและการมิส่วนร่วมบนฐานของเทคโนโลยีติจิทัลเพื่อให้เกิด
ประสิทธิภาพและประสิทธิผล

๑. หลักการและเหตุผลความจำเป็น

สืบเมื่องจากประเทศไทยได้ร่วมลงนามรับรองพันธะลัญญาทางการเมืองระดับผู้นำในเอกสาร
“ Transforming Our World: The ๒ ๐๓ ๐ Agenda for Sustainable Development” ซ ึ่งเป ็น ก ารย ืน ย ัน
เจตนารมณ์และกำหนดทิศทางการพัฒนาที่ยั่งยืนชองโลกใน ๑๕ ปีข้างหน้าร่วมลัน เพื่อผลักดันและขับเคลื่อนการ
แก้ไขปัญหาในทุกมิติ ประกอบด้วย เปัาหมายหลัก ๑๗ เปัาหมาย ทีครอบคลุมด้านเศรษฐกิจ ลังคม
และสิ่งแวดล้อม ซึ่งใบการดำเนินการขับเคลื่อนเปัาหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน ประเทศไทยกำหนดให้มืคณะกรรมการ
เพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน (กพย.) ซึ่งมืนายกรัฐมนตรีเป็นประธาน และมิสำนักงาบสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและลังคม
แห่งชาติ (สศซ.) เป็นฝ่ายเลขาบุการ โดยการขับเคลื่อนเปัาหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน มุ่งเน้นให้ความสำคัญลับการ
ดำเนินการใบระดับพื้นที่ (Localizing SDGs) และให้ทุกภาคส่วนที่เกี่ยวข้องมิส่วนร่วมในการวิเคราะห์และ
ลังเคราะห์เป็าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน เพื่อถ่ายทอดเปัาหมายร่วมระดับโลก สู่เปัาหมายระดับประเทศและระดับ
พื้นที่ เพื่อให้สามารถนำไปสู่การปฎิบ้ติให้บรรลุเปัาหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนที่กำหนดไว้

คณะกรรมการเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน ในคราวประทุมครั้งที่ ๑/๒๕๖๒ เม่อื วนั ที่ ๑๙ ธันวาคม ๒๕๖๒
พิจารณาการดำเนินงานขับเคลื่อนเป็าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน และเพื่อให้การขับเคลื่อนสำหรับประเทศไทย
มืกรอบแนวทางการดำเนินการที่ขัดเจน นำไปสู่การปฎบ้ติที่เป็นรูปธรรมและมูรณาการ จึงมิมติเห็นขอบหลักการ
รา่ งแผนการขับเคลื่อนเปัาหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนสำหรับประเทศไทย (Thailand’s SDGs Roadmap) เพื่อใช้เป็นแผน
สำหรับการขับเคลื่อนเปัาหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนของประเทศไทย โดยมอบหมายให้ สศช. ดำเนินงาบตามแผนการ
ขันเคลื่อนฯ รว่ มลับหน่วยงาใท่เี กี่ยวชอ้ ง และให้ยกเลิกการดำเนินงานตามที่คณะอบุกรรมการภายโต้ กพย. ที่ได้เคยมขิ อ้
ลังการหรีอเคยมิมติไว้ รวมทั้งเห็บชอบให้มิการปรับปรุงดำลังและอำนาจหน้าที่ของคณะอบุกรรมการภายใต้ กพย.



๔ คณะ ต่อมาในคราวประชุมคณะกรรมการฯ ครั้งที ๑/»อ£๖๓ เมื่อ'ร'นที' ๑๔ กันยายน ๒๕๖๓ ที่ประชุมมีมติ
เห้นขอบการกำหนดหน่วยงานรับผิดขอบและประสานงาบหลักการขับเคลื่อนเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน ๑๗
เปา๋ หมายหลัก (Goal) และ ๑๖๙ เป้าหมายย่อย (Target) รวมทั้ง มอบหมายให้ฝ่ายเลขานุการฯ ประสานหน่วยงาน
รับผิดขอบฯ รายเป๋าหมายหลักและเป้าหมายย่อย ดำเนินการขับเคลื่อนตามภารกิจ และรายงานความคืบหน้าการ
ดำเนินงานให้คณะกรรมการฯ ทราบเป๋นระยะ

กระทรวงศึกษาธิการเป้นหน่วยงานรับผิดขอบและประสานงานหลักการขับเคลื่อนเป้าหมายการ
พัฒ นาที่ยั่งยืนเป๋าหมายหลักที่ ๔ สร้างหลักประกันว่าทุกคนมีการศึกษาที่มีค,ณ ภาพอย่างครอบคลุม
และเท่าเทียม และสนับสนุนโอกาสในการเรียบเตลอดขัวิต ซึ่งใบการดำเนินงาบที่ผ่านมา สำนักนโยบาย
และยุทธศาสตร์ สำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ ใด้มีการดำเนินโครงการจัดทำฐานข้อมูลและระบบติดตาม
ประเมีบผ ลระดับ พ ื้นท ี\พ ื่อสน ับ สนุน การขับ เค ลื่อนเป ้าห มายข องสห ป ระซ าซ าติวาด้วยการพ ัฒ นา
ที่ยั่งยืนด้านการศึกษา SEXk: โดยในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๔๖๒ และ ห.ศ. »0๔๖๓ ดำเนินการสร้างการรับรู้
ความเข้าใจเกี่ยวกับการขับเคลื่อนเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนด้านการศึกษา ร่วมกับสำนักงานศึกษาธิการภาค
๑๘ ภาค และสำนักนุรณาการกิจการการศึกษา สป. และมีการดัดเสือกจังหวัดนำร่องเพ อขับเคลื่อนเป๋าหมาย
การพัฒนาที่ยั่งยืนด้านการศึกษาใบระดับพื้นที่ (รอ6๔ Lab) จำนวน ๖ จังหวัด ใด้แก1เขียงราย อุดรธานี ลพบุรี
ปรายืนบุรี สตูล และป้ตตานี รวมถึงดำเนินการสร้างการรับรู้ในการจัดทำแผนเพื่อสนับสบุบการขับเคลื่อนเป้าหมาย
การพฒั นาท่ยี ั่งยืนด้านการศกึ ษา ร03๔ โดยใช้หลกั การความลมั พันธ์เซิงเหตุและผล (XYZ)

สำหรับการดำเนินงาบใบปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๔๖๔ ภายใดโครงการจัดทำฐานข้อมูล
และระบบติดตามประเมนผลระดับพื้นที่เพื่อสนับสนุนการขับเคลื่อนเป้าหมายของสหประขาขาติว่าด้วยการพัฒนา
ที่ยั่งยืนด้านการศึกษา ร06๔ ใด้กำหนดแนวทางการดำเนินงานเพื่อการขับเคลื่อนเป้าหมายการพัฒ นา
ที่ยั่งยืน เป๋าหมายหลักที่ ๔ ให้บรรลุเป้าหมาย และมีความสอดคล้องกับแนวทางการดำเนินงาบที่ กพย. กำหนด
ดังพื้ (๑) แต่งตั้งคณะกรรมการขับเคลื่อนเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนด้านการศึกษา เพื่อทำหน้าที่กำหนดกรอบ
แนวทางและเป้าหมายการดำเนินงานใบการขับเคลื่อนเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนด้านการศึกษา รวมถึงพจารณา
ให้ความเหบขอบแผนที่นำทางการขับเคลื่อนเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนด้านการศึกษา (ร0ด๔ Roadmap) และ
กำกับ ติดตาม รายงานผลการดำเนินงาน และแก้ใขป้ญหาอุปสรรคในการดำเนินงาบ เพื่อให้การดำเนินงานบรรลุ
เป้าหมายการขับเคลื่อนเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนด้านการศึกษาในภาพรวม (๒) แต่งตั้งคณะทำงานจัดทำแผนที่
นำทาง (Roadmap) การขับเคลื่อนเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนด้านการศึกษา เพื่อทำหน้าที่กำหนดเป้าหมาย ตัวขี้วัด
และแนวทางการดำเนินงาน ภายใต้ (ร่าง) แผนที่นำทางการขันเคลื่อนเป๋าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนด้านการศึกษา และ
จัดทำ (ร่าง) แผนที่นำทางการขับเคลื่อนเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนด้านการศึกษา เสนอต่อคณะกรรมการขับเคลื่อน
เป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนด้านการศึกษา เพื่อพิจารณาให้ความเห้นขอบ รวมทั้ง กำหนดแนวทางการติดตามและ
รายงานผลการดำเนินงานการขับเคลื่อนเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนด้านการศึกษา (๓) แต่งตั้งคณะทำงานขับเคลื่อน
แผนที่นำทางเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน

ด้านการศึกษา (รอร๔ Roadmap) ระดับภาคและระดับจังหวัด เพื่อทำหน้าที่กำหนดเป้าหมาย
ตัวขี้วัดและแนวทางการดำเนินงานใบระดับพื้นที่ ที่สอดคล้องเซึ่อมโยง และขับเคลื่อนแผนที่นำทาง ร06๔
Roadmap ภาพรวมใปสู่การปฎิบ้ตใบระดับพื้นที่ภาคและจังหวัด

กิจกรรมการดำเนินงานและผลการดำเนิบงานที่สำคัญ ใด้แก, (๑) การจัดทำแผนที่นำทาง
การขับเคลื่อนเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนด้านการศึกษา CSDGocr Roadmap) (๒) การประชุมขี้แจงกรอบแนวทาง
การดำเนินโครงการฯ ให้หน่วยงานในระดับพื้นที่ (สำนักงานศึกษาธกิ ารภาค ๑๘ ภาค และสำนักงานศึกษาธิการจังหวัด
๗๗ จงั หวัด) รับทราบแนวทางการดำเนินงานและการจัดทำแผนที่นำทางฯ ระดับภาคและระดับจังหวัด และการจดั ทำ
(ร่าง) คำส์งแต่งตั้งคณะทำงานขับเคลื่อนเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนด้านการศึกษา (ระดับภาคและระดับจังหวัด)
รวมถึงการหารือและรับฟ้งความคดเห้นในการดำเนินงาน รว ม ๒ ครั้ง (๓)สำนักงานศึกษาธิการภาคและสำนักงาบ

ศึกบาธิการจังหวัดดำเนินกิจกรรมภายใต้โครงการๆ มีผลการดำเนินงานสำคัญ ไต้แก่ การสร้างความรู้ความเข้าใจ
เกี่ยวกับเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน (เป๋าหมายหลักที่ ๔) แผนและแนวทางการดำเนินงานขับเคลื่อนเป๋าหมายการ
พัฒนาท่,ี ยั่งยืนจากระคับนโยบาย (ระคับประเทศ) ใปสู่ระดับปฏิบัติ (ระดับพื้นที่) การจัดทำแผนที่นำทางการ
ขับเคลื่อนเป๋าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนต้านการศึกบา (ร0ด๔ Roadmap) ระดับภาคและจังหวัด และการจัดทำ
ดำลังแต่งตั้งคณะทำงานขับเคลื่อนแผนที่นำทางการขับเคลื่อนเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนต้านการศึกบา (รอ6๔
Roadmap) ระดับภาคและระดับจังหวัด และ (๔) รายงานความก้าวหน้าการดำเนินการเที่อขับเคลื่อนเป๋าหมายการ
พัฒนาที่ยั่งยืน เป๋าหมายหลักที่ ๔ ให้ สคช. ในฐานะฝ่ายเลขาบุการ กพย. ทราบ ทั้งนี้ การดำเนินการในระยะ
ต่อใป คือ การดำเนินการขับเคลื่อนเป๋าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน เป๋าหมายหลักที่ ๔ ตามแผนที่นำทางการ
ขับเคลื่อนเป๋าหมายการพัฒ นาท ยั่งยืนต้านการคืกษ า (รวร๔ Roadmap) ที่ใต้รับความเห้นชอบจาก
คณะกรรมการขับเคลื่อนเป๋าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนต้านการคืกษาดังนั้น เที่อให้การดำเนินการขับเคลื่อนเป๋าหมาย
การพัฒนาที่ยั่งยืนต้านการคืกษา เป้าหมายหลักที่ ๔ ที่กระทรวงศึกบาซิการเป็นหน่วยงานรับผิดขอบหลัก เปีนไป
ด้วยความเรียบร้อย มีความต่อเนื่องและบรรลุเป๋าหมายที่กำหนดไว้ สำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ สำนักงาบ
ศึกบาซิการจังหวัดนครปฐม จึงใต้ดำเนินโครงการจัดทำฐานข้อบุลและระบบติดตามประเมินผลระดับพื้นที่เพื่อ
สนับสบุนการขับเคลื่อนเป้าหมายของสหประซาชาติว่าด้วยการพัฒนาที่ยั่งยืนต้านการคืกบา รอ0๔ ประจำปี
งบประมาณ พ.ศ. ๒๔๖๔

to. วัตชุประสงดํ
๒.๑ เพื่อใช้เป็นแผนปฏิบัติการสำหรับการขับเคลื่อนเป๋าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนต้านการคืกบา {ร£&๔

Roadmap) ใปสู่การปฏิบ้ติ
๒.๒ เพื่อใช้เป็นกรอบในการประสาบจัดเก้บรวบรวมข้อบุลผลการดำเนินงาน กำกับ ติดตามและ

ประเมินผลการดำเนินงานขับเคลื่อนเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนต้านการคืกบา ปี พ.ศ.๒๔๖๔
๒.๒ เพื่อจดั ทำฐานขอ้ ยูลผลการดำเนินงานสำหรบั การรายงานความก้าวหน้าการดำเนินงานขบเคล่อื นเป้าหมาย

การพัฒนาท่ยี ั่งยืนด้านการคกื บา (เป๋าหมายหลักที่ ๔)

๓. เป้าหมายโครงการ (Output)
๓.๑ เป๋าหมายเชิงปริมาณ
หน่วยงานการศึกบามีการขับเคลื่อนเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนต้านการคืกบาใบระดับพื้นที่
๓.๒ เป๋าหมายเชิงคุณภาพ
มีฐาน'ข้อบุลที่ถูกต้อง เพื่อการรายงานผลการดำเนินงานขับเคลื่อนเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนต้าน

การศึกบา เปา้ 'หมาย,หลกที่ ๔

๔. กลุ่มเป้าหมายโครงการ (Target group
หน่วยงาบต้านการศึกบาในจังหวัดนครปฐม

๔. ดัวขี๋[วัตเป้าหมายโครงการ (Outputs) และตวั น้วี ดั ผลลัพธ์ (Outcomes)
๔.® ตว้ น้วี ดั เป้าหมายโครงการ
๔.๑.๑ ร้อยละของหน่วยงาบที่เกี่ยวข้องมีการดำเนินการเพื่อขับเคลื่อนเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน

ต้านการศึกบา ตาม ร06๔ Roadmap (ร้อยละ ๘๔)
๔.๑.๒ มีฐานข้อยูล เพื่อการจัดทำรายงานผลการดำเนินงานตามตวั น้วี ัด SDG£ Roadmap

๔.๒ ตัวนี้วดั ผลลัพธ์ (Outcomes)

การจัดทำรายงานผลการดำเนินงานขับเคลื่อนเฟ้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน เฟ้าหมายหลักที่ ๔
แลว้ เสรจ และนำเสนอต่อคณะกรรมการเที่อการพัฒนาที่ยั่งยืนภายใบระยะเวลาที่กำหนด

๖. วซิ ดึ ำเนินการ(Activity) - กํจกรรม
๖.© วีรดำเนินการ (Activity
๖.๑.๑ เตวียมการและกำหนดกรอบแนวทางการดำเนินงาน
๖.๑.๖ ประชุมเชิงปฎฟ้ตัการคณะกรรมการขับเคลื่อนเปีาหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนด้านการดักบา
๖.๑.๓ ดำเนินการประชุมเพื่อชี้แจงแนวทางการดำเนินงานและการติดตามผลการดำเนินงานขับเคลื่อน

SDGt Roadmap ใบปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๕
๖.๑.๔ จัดทำระบบ/รูปแบบการติดตามและรายงาบผลการดำเนินงาน และระบบสารสนเทศเพื่อ

การรายงานผลการดำเนินงานการขับเคลื่อนเฟ้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนด้านการสืกบา (SDGsr)
๖.๑.๕ หน่วยงาบในระดับพื้นที่ดำเนินกํจกรรมเพื่อการขับเคลื่อนเฟ้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนตาม

แผนที่นำทางๆ (รอ6๔ Roadmap)
๖.๑.๖ ติดตามผลการดำเนินงาน ฟ้ญหาอุปสรรค และรายงานผลการดำเนินงานโครงการฯ และผล

การดำเนินงานตามแผนที่นำทางการขับเคลื่อนเฟ้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนด้านการสืกบา (ร0ด๔ Roadmap)
๖.๑.๗ จัดพิมพัและเผยแพร่รายงานผลการดำเนินการขับเคลื่อนแผนที่นำทางการขับเคลื่อน

เฟ้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนด้านการดักบา (SDGce: Roadmap)
๖.to ตัจกรรม

โตรมาสที่ ๑ ไตรมาสทึ๋ ๒ ไตรมาสที่ ๓ ไตรมาสที่ ๔
(เม.ย. - มิ.ย.) (ก.ค. - ก.ย.)
ตัจกรรม

(ต.ค. - ส.ค.) (ม.ค. - ม.ค,)

๖.๒ .๑ ป ระช ุม ฝ า ย เล ข า น ุก า ร ดักบา -
วีเคราะทํข้อยูลที่เลื่วข้องเพื่อกำหนดกรอบ
แนวทางหรือแผนการดำเนินงาบ ๘,๒๐๐-

๖.๒.๒ ประชุมชี้แจงสร้างความรู้ความเข้าใจ
กรอบแนวทางหรอแผนการดำเนินงานและ
การติดตามผลการดำเนินงาบขับเคลื อน
รอ6๔ Roadmapใบ ป ีงบ ป ระม าณ พ.ศ.
๒๕๖๕ (คณะทำงาน)
จำนวน ๑ วัน จำนวน ๓๐ คน
- ค่าอาหารกลางวัน
(๑®๐ บาท X ๑ มื้อ X ๓ ๐ คน) =๓ ,๓ 0 0 บาท
- ค่าอาหารว่างนละเครืองติม
(๕0 บาท X ๒ มื้อ X ๓ 0 คน) =๓ ,0 0 0 บาท
- ค่าถ่ายเอกสาร ๓ 0 ใเค ๆ ละ ๕ 0 บาท =

๑ ,๒ 00 บาท

- ค่าวัสดุ ๗ 0 0 บาท



ไตรมาสที ๑ ไตรมาสที ๒ ไตรมาสที ๓ ไตรมาสที ๔
(เม.ย. - ร.ย.) (ก.ค. - ก.ย.)
จัจกรรม

(ต.ค. - 5.ค.) (ม.ค. - มํ.ค.)

๖.๒.๓ ประชุมเซิงปฎํใวัติการจัดทำแผนปฎํบัติ ๑๔,๒๐๐.-
การขับ เคลอน เป ๋าห มายการพ ัฒ น าท ียั่งยืน ๔,๓๒๐.-
ด้านการติกษา โดยรวบรวมขัอ:Ljลแผนงาบ/
โครงการนละงบประมาณ ทีสอดคล้องจับ
เป๋าหมายการพัฒนาทียั่งยืนด้านการติกษา
เทีอใขัเป็นกรอบแนวทางในการดำเนินงานฯ
จำนวน ๑ วัน จำนวน ๓๐ คน (หน่วยงาบ
การติกษาใบจังหวัด)

- ค่าอาหารกลางวับ

(๑®o บาท X ®มื้อ X รท๐ คบ) - 01,0100 บาท
- ค่าอาหาร'ว่างและเด่รองล่ม
(๙๐ บาท X ๒ มื้อ X 010 คบ) =01,๐00 บาท
- ค่าตอบแทบวัทยากร (®คบ X 01 ซม. X ๑,๒ 0 ๐
บาท) =01,๖๐๐ บาท
- ค่าพาหบะวัท ยากร ๑,๕ ๐๐ บาท
- ค่าถ่ายเอกสาร 01๐ ชุด ๆ ละ ๙๐ บาท
=๑,๒๐๐ บาท
- ค่าวัสดุ ®,๖ ๐๐ บาท

๖.๒.๔ จัดทำระบบ/รูปแบบการติดตามและ
ราย งาบ ผ ล ก ารด ำเน ิน งาน แ ล ะระบ บ
สารสนเทศเทีอการรายงานผลการดำเนินงาบ
ก ารขับ เคลอน เป ๋าห มายการพ ัฒ น าท ียั่งรบ
ด้านการติกษา (ร0<3๔)

๖ .๒ .๕ ห น ่วย งาน ใน ระด ับ พ ึ๋น ท ึ๋ด ำเน ิน
ก จ ก รรม เพ อ ก ารข ับ เค ล อ น เป ๋วห ม าย ก าร
พัฒนาทียั่งยืน ดามแผนทีนำทางฯ (ร0ด๔
Roadmap) ระดับจังหวัด

๖.๒.๖ ติดตามผลการดำเนินงาบ ป๋ญหา
อุปสรรค และสรุปรายงาบผลการดำเนินงาบ
โครงการฯ พร้อมจัดทำรูปเล่มเอกสารและผล
ก ารด ำเน ิน งาน ต าม แ ผ น ท ี น ำท างการ
ขับเคทีอบเป๋าหมายการพัฒนาทียั่งรบด้าน
การติกบา (SDGtf Roadmap)
- ค่าตอบแหบปฎิฟ้ติงาบบอกเวลาราชการ ๖ คน

วับ ซรรมดา/วับหอุดราชการ (๖ คบ X ๒ ๐ ชม.

X ๖ ๐ บาท) =๔,01๒๐ บาท



กิจกรรม ไตรมาสที่ ๑ ไตรมาสที่ ๒ ไตรมาสที่ ๓ ไตรมาสที่ ๔
(ต.ค. - ธ.ค.) (ม.ค. - มี.ค.) (เม.ย. - มิ.ย.) (ก.ค. - ก.ย.)
๖.๒.๗ จัดพิมพ์และเผยแพร่รายงานผลการ
ดำเนินการขับเคลื่อนแผนที่นำทางการ ๓,๒๘๐.-
ขับเคลื่อนเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนด้าน
การศึกษา (รอด๔ Roadmap)
- ค่าวัสดุสำนักงาน = ๒,๒๘๐ บาท
- ค่าจ้างทำรูปเล่มเอกสาร ร0ด๔
=๑,๐๐๐ บาท

๗. ตัวชี้'วัดกิจกรรม
หน่วยงานที'เกี่ยวข้องมีการดำเนินการเพื่อขับเคลื่อนเป้าหมายการพัฒ นาที'ยั่งยืนด้านการศึกษา

ตาม รอด๔ Roadmap โดยมีฐานข้อมูล เพื่อการจัดทำรายงานผลการดำเนินงานตามตัวซี้วัด SDG๔ Roadmap

๘. ระยะเวลาดำเนินการ เมษายน - กันยายน ๒๕๖๕
๙. สถานที่ดำเนินการ/พื้นที่ดำเนินการ สถานที่ราชการ/เอกซน

๑๐. งบประมาณ ๓๐,๐๐0 บาท (ถัวจ่ายทุกรายการ) พร้อมระบุรายละเอียดงบประมาณ

หมวดงบรายจ่าย งบประมาณ (บาท)
งบดำเนินงาน ะ
-
• ค่าตอบแทน
- ค่าทำการนอกเวลาราชการ ๔,๓๒๐.-
- ค่าตอบแทนวิทยากร ๓,๖๐๐-

• ค่าใช้สอย ๖,๖๐๐.-
- ค่าอาหารกลางวัน ๖,๐๐๐.-
- ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม ๑,๕๐๐.-
- ค่าเบี้ยเลี้ยง ที่พกั และพาหนะ
- ค่าใช้จ่ายในการประชุม -
- ค่าจ้างเหมาบริการ
๓,๔๐๐.-
• ค่าวัสดุ
- วัสดุสำนักงาน ๔,๕๘๐.-
- วัสดุคอมพิวเตอร์
รวมทั้งลี้น ๓๐๐๐๐.-

การวิเคราะห้ความเทียงของโครงการ
ความเทียง
๑) ใบการดำเนินการมหลายหน่วยงาบทีเทียวข้องด่าเนิบงาบร่วมจับนบบบุรณาการ ทั้งบี้ในส่วนของการ

กำหบคใครงการ/วิอกรรมของหน่วยงาน เทีอขับเคลอบนพบปฏิบัติการฯ ไปสู่การปฏิบติ วิงขนอยู่จับความพร้อม
และแนวนโยบายของแค่ละหน่วยงาน รวมถึงการโต้รับการจัดลรรงบประมาณเพอใข้ในการดำเนินงานดํองเป็นไป
ตามการจัจของห น่วยงาน ดํ'งนั้น อาจทำไห,'งบประมาณ หได้ร*'บไม่เพัยงพอต'อการดำเนินงาน
ให้เป็นไปตามเป๋าหมายทกี ำหนดไร้

๖) สถานการ{นการแพรร่ ะบาดของโรคตคิ เขอไวรสั โคโรนา ๒0*๙ (00710-๑๙)
การบวหิ ารความเทยี ง
๑) ปรับขันดอน/วิจกรรมการดำเนินงานไหเหมาะลมลอดคล้องจับทรัพยากรทีจัาจัด และสถานการณ์
ทีเปทียนแปลง
๒) วางแผนVIรอกำหนดกรอบระยะเวลาการดำเนินงาบไห้ขดั เจน

•to. กลุ่มงาบรับอดขอบ ะ กลุ่มนโยบายและแผน ศธจ.นครปฐม

•01. ประโยขน่ทีคาดว่าจะไล้รับ (Impact)
๑๓.® การดำเนินงานขับเคลอนเป๋าหมายการพัฒนาทียั่งรน (เป๋าหมายหลักที ๔) ด้านการล้กบา 2

ประสิทวิภาพและเวิดประสิทวิผล ส่งผลต่อการบรรลุเป๋าหมายการพัฒนาทียง่ั รนของประเทศ และเป๋าหมายของ
ยุทธศาสตร์ขาติ แผนนม่บทกายไต้ยุทธศาสตร์ขาติ รวมถึงสอดคล้องจับแผนระต้บด่าง ๆ ทีเทียวข้อง

๑๓.๖ หน่วยงานทีเทียวข้องไนลังจัดและนอกลังจัดกระทรวงติกชทวกิ าร ภายไนจังหวัดนครปฐม รับเกรอบ
ทศิ ทางและเป๋าหมายการดำเนินงานเทีอขบ้ เคลอนเปา๋ หมายการพฒั นาทีย่งั รน (เป๋าหมายหลักที ๔)ไต้อย่างขัดเจน
และมส่วนร่วมในการสนับสบุบ สง่ เสวมิ และบุรณาการการดำเนินงานร่วมจัน

(ลงทีอ). ............ผู้เสนอโครงการ

(บาง{นิขขารัช เนาวรัดน์)

นักวิเคราะหนโยบายและแผนข้านาญการ

ปฏิน้ติหน้าทีผู้อำนวยการกลุ่มนโยบายและแผน

(ลงทีอ). .ผ เู้ ทินชอบโครงการ

(นางทองเวิอ เทียมธบาบุรักบ์)

รองติกษาวิการจังหวัดนครปฐม

(นายคงกระพับ เวชุสาโรจน์)
ติกบารการขังหวัดนครปฐม

คำสังคณะกรรมการขับเคล็่อบเป้าหมายการพัฒนาท็่ยั่งยืน
ที่ CR /๒๕๖๕

โรี๋อิงิบัใต่งตั้งผู้รับผิดขอบและประสาบงานหลักการดำเนับงิานขับเคลื่อน
เป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนด้านการศึกษา (SDG4) ในระดับพื้นที่

ตามมติที่ประขุมคณะกรรมการเพื่อการพัฒนาทียั่งยืน (กพย.) คร งั๊ ที่ ๑/๒๕๖๓ เมือวันที่
๑๔ กันยายน ๒๔๖๓ เห็นชอบการกำหนดหน่วยงาบรับผิดซอบและประสานงาบหลักการขับเคลื่อนเป้าหมาย
การพัฒนาทียั่งยืน (SDGs) รายเป้าหมายหลัก (ระดับเป้าหมายหลัก ะC1, ระดับเป้าหมายย่อย ะC2) ทำหน้าที่
ประสานหรือนุรณ าการทำงานภาพรวมระหว่างหน่วยงานทีเกียวข้องเพื่อให้บรรลุเป้าหมายหลัก SDGs
ที่รับผิดขอบ รายงานผลการดำเนินงานขับเคลือบต่อฝ่ายเลขานุการ•คณะกรรมการเพื่อการพัฒนาที,ยั่งยืน
(ฝ่ายเลขานุการฯ) และใบกรณที ี่ไม่มีการจัดเก็บข้อมูลดัวซี้วัด ตามที่ UN กำหนด ให้หน่วยงานรับผิดชอบเป้าหมายหลัก
(C.1) รวบรวมความเห็น/ข้อเลนอแนะจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง (ระดับเป้าห'มายย่อย) จัดทำข้อเสนอดัวฃี้วัดที่เห็นว่า
เหมาะสมในการขับเคลื่อนให้บรรลุเป้าหมายย่อยต่อฝ่ายเลขาบุการฯ เพื่อพิจารณาดำเนินการตามความเหมาะสมต่อไป
โดยกระทรวงศึกษาธิการได้รับมอบหมายเนิบหน่วยงานรับผิดชอบและประสานงานหลัก เป้าหมายหลักที่ ๔
“สร้างหลักประกันว่าทุกคนมีการศึกษาที่มีคุณภาพอย่างครอบคลุมและเท่าเทียม และสนับลนุนโอกาสในการเรียนรู้
ตลอดชีวิต”

ในการดำเนินงานขับเคลื่อนเป้าหมายการพัฒนาทียั่งยืนสู,การปฏิบัติ กระทรวงศึกษาธิการได้แต่งตั้ง
คณะกรรมการขับเคลื่อนเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนด้านการศึกษา ทำหน้าที่กำหนดกรอบแนวทางและเป้าหมาย
การดำเนินงานขับเคลื่อนเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนดัานการศึกษาภาพรวม ทั้งนี้ เพื่อให้การดำเนินงานขับเคลือบ
เป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนด้านการศึกษาบรรลุเป้ทหมายทีกำหนดไวิได้อย,วงยั่งยืน คณะกรรมการฯ เห็บชอบแผนท่ี
นำทางการขับเคลื่อนเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนด้านการศึกษา (SDG4 Roadmap) เพื่อนำไปใช้เนินกรอบแนวทาง
การดำเนินงานในภาพรวม รวมทั้ง เพื่อให้การดำเนินงาบเนินไปอย่างยั่งยืน ควรต้องดำเนินการโดยยีดพี้นทีเนินฐาน
จึงเห็นชอบให้แต่งตั้งคณะทำงานขับเคลื่อนเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนในระดับภาค/กลุ่มจังหวัด และระดับจังหวัด
ทำหน้าที่กำหนดกรอบแนวทางใบการขับเคลื่อนเป้าหมายการพัฒนาทียั่งยืนด้านการศึกษาให้มีความสอดคล้อง
เหมาะสบกับบริบท สภาพปัญหาและความต้องการของพึ้นที่ ช่วยให้การขับเคลื่อนเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน
ด้านการศึกษาเนินไปอย่างมีประสิทธิภาพและมีความยั่งยืน

ดังนั้น เพื่อให้การดำเนินงาบขับเคลื่อนเป๋าหมายการพัฒนาทียั่งยืนด้านการศึกษา (SDG4) ในระดับ
พื้นที่เนินไปด้วยความเรียบร้อย และบรรลุเป้าหมายการพัฒนาทีกำหนดไว้ รวมทั้ง สอดคล้องกับแนวทาง
การดำเนินงานที่ กพย. และคณะกรรมการขับเคลื่อนเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนด้านการศึกษากำหนด จึงเห็บสมควร
กำหนดให้มืหน่วยงานรับผิดชอบและประสานงาบหลักการขับเคลือบเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนต้านการศึกษา

ในระดับพื้นที่ขึ้นโดยองค์ประกอบและอำนาจหน้าที่ของผู้รับผดิ ขอบและประสานงานหลักการดำเนินงานขบั เคลื่อน

เป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนด้านการศึกษา (SDG4) ระดับภาค/กลุ่มจังหวัด และระดับจังหวัด มีดังน

/ผ้รับผิดชอบ...

-๒ -

ผู้รับผิดชอบและประสานงาน'พลัก ระดับภาค/กลุ่มจังหวัด

๑. นางสาวอษุ า อนุกูล นักวิชาการศึกษาชำนาญการพิเศษ สำนักงานศึกษาธิการภาค ๑
สำนักงานศึกษาธิการภาค ๒
๒. นางสาวสิรีกัญยา สุขวิเสส ผู้อำนวยการกลุ่มยุทธศาสตร์การศึกษา สำนักงานศึกษาธิการภาค ๒
สำนักงานศึกษาธิการภาค ๓
๓. นางสาวภพภร สุมาลกันต์ นักวิชาการศึกษาชำนาญการ สำนักงานศึกษาธิการภาค ๔
สำนักงาบศึกษาธิการภาค ๕
๔. นางอังคณา คำสุวรรณ __ นักวิชาการศึกษาชำนาญการ สำนักงานศึกษาธิการภาค ๖,
สำนักงานศึกษาธิการภาค ๗
๕. นางสาวอมลรดา พรหมวิหาร นักวิชาการศึกษาชำนาญการพิเศษ สำนักงานศึกษาธิการภาค ๗
สำนักงานศึกษาธิการภาค ๗
๖. นายพุฒิพัฒน์ ชยั เกตธุ นพัฌน์ นักวิชาการศึกษาปฏิบัติการ สำนักงานศึกษาธิการภาค ๘
สำนักงานศึกษาธิการภาค ๙
๗. นายวีรวัฒน่ เชัมแข็ง นักวิชาการศึกษาชำนาญการ สำนักงานศึกษาธิการภาค ๑ 0
สำนักงาบศึกษาธิการภาค ๑ 0
๘. บางสัสุรื โอรามหลง ผู้อำนวยการกลุ่มยุทธศาสตร์การศึกษา สำนักงานศึกษาธิการภาค ๑0
สำนักงานศึกษาธิการภาค ๑๑
๙. บายรัชมงคล พลับลังเกตุ นักวิชาการศึกษาชำนาญการ สำนักงาบศึกษาธิการภาค ๑๒
สำนักงาบศึกษาธิการภาค ๑๓
๑0, บายอับดุลรอเซะ-ดือราฮิง นักวิชาการศึกษาปฏิบัติการ สำนักงานศึกษาธิการภาค ๑๔
สำนักงาบศึกษาธิการภาค ๑๔
๑๑. บายพีระพัฒน์ แก้วจันทร์ น ัก วิซ าก ารศ ึก ษ าป ฏ ิบ ัต ิก าร สำนักงาบศึกษาธิการภาค ๑๔
สำนักงาบศึกษาธิการภาค ๑๖
๑๒. บายสัจจา จุ่นบุญ นักวิชาการศึกษาชำนาญการ สำนักงานศึกษาธิการภาค ๑๗.
สำนักงานศึกษาธิการภาค ๑๘
๑๓. บางสาวลัดดาวรรณ ศรีหาบุตร นักวิชาการศึกษาชำนาญการ

๑๔. นางสาวนิธิศชยา ประพรหมมา นักวิชาการศึกษาชำนาญการ

๑๔. บางสาวสาวิตรี ขำผิวพรรณ นักวิชาการศึกษาชำนาญการ

๑๖. นางสาวอภัยวรรณ พลธิราช นักวิชาการศึกษาปฏิบัติการ

๑๗. ว่าที่รอยตรี นทีเทพ บญุ อาจ นักวิชาการศึกษา

๑๘. นางสาวสุญาดา แดนจอหอ นักวิชาการศึกษาปฏิบัติการ

๑๙. บางโสภษิ ฐ์ แก้วกนก นักวิชาการศึกษาชำนาญการ

๒๐. นายศิรซานนท์ พกิ ุลทอง นักวิชาการศึกษาชำนาญการ

๒๑. บางสาวเอญจมากรณ์ สุริยบูรพาล นักวิชาการศึกษาชำนาญการ

๒๒. นายสุทัศน์ หน่อเรือง ผู้อำนวยการกลุ่มยุทธศาสตร์การศึกษา

๒๓. นางชลัยรัตน์ กระทู้ นักวิชาการศึกษาชำนาญการ

๒๔. บายธงจรัส แสงอรุณ ผู้อำนวยการกลุ่มยุทธศาสตร์การศึกษา

ผู้รับผิดชอบและประสานงานหฺลัก ระดับจังหวัด

๑. บางสาวสุประวิณ์ มาโยง นักวิเคราะห์นโยบายและเพบชำนาญการ สำนักงานศึกษาธิการจังหวัด
กรุงเทพมหานคร
๒. บางสาววราภรณ์ ชูเทพ ผู้อำนวยการกลุ่มนโยบายและแผน สำนักงานศึกษาธิการจังหฺวัดกระบี่
ผู้อำนวยการกลุ่มนโยบายและแผน สำนักงานศึกษาธิการจังหวัดกาญจนบุรี
๓. นางจิตติมา ธนะรัตน์ นักวิเคราะห์นโยบายและแผนชำนาญการ สำนักงานศึกษาธิการจังหวัดกาญจนบุรี
นักวิชาการคอมพิวเตอร์ชำนาญการ
๔. นายสราวุธ พูลพิพัฒน์ นักวิเคราะห์นโยบายและแผนชำนาญการพิเศษ สำนักงานศึกษาธิการจังหวัดกาฬสิบธุ
๕. นายศาสตรา ดอนโอฬาร ผู้อำนวยการกลุ่มนโยบายและแผน สำนักงานศึกษาธิการจังหวัดกำแพงเพชร
๖. นางศุภกานต์ คุ้มสุวรรณ สำนักงานศึกษาธิการจังหวัดชอนแก่น!
๗. นางจิตตา แสนเกษม

/๘. นางสาว.]

๘. นางสาวกบกพร กลุ ขวญั นักวิเคราะห์นโยบายและแผนชำนาญการ สำนักงาบศึกษาธิการจังหวัดชอนแก่น
๙. นายพงศกร คำ0สงมาตย์ นักวิเคราะห์นโยบายและแผนปฏินัตการ สำนักงาบศึกษาธิการจังหวัดขอนแก่นุ
๑๐. นางธิติมา โฮมแพน
๑๑. นางอนัญญา พวงพกุ ผู้อำนวยการกลุ่มนโยบายและแผน สำนักงานศึกษาธิการจังหวัดจันทบุรี ;
๑๒. นางสำอาง ซาญพนา
๑๓. นางอมรรัตน์ ธรรมิวงศ์ นัก?วิเคราะห์,นโยบายและนพบชำนาญการพิเศษ สำนักงานศึกษาธิการจังหวัค ฉะเชิงเทรา
๑๔. นางเนาวรัตน์ สอนสขุ นักวิเคราะห์นโยบายและแผนชำนาญการ
๑๔. นางสาวปานมนัส โปธา นักวิเคราะห์นโยบายและแผนชำนาญการ นิ Iสำนักงา ศึกษาธิการจังหวัดชลบุรี
๑๖. นางจุไลวรรณ ไกรมาก ผู้อำนวยการกลุ่มนโยบายและแผน
๑๗. พันจ่าตรีฉลอง อ่อนนวน สำนักงาบศึกษาธิการจังหวัดชัยภมิ ;
๑๘. นางสาวสุปราณี พุ่มจน นิ น ิ, นิ นิ นิ น,ิ น *ิ
๑๙. นางสาวนิศา กาละ สำนักงานศึกษาธิการจังหวัดชัยนาท
๒๐. นางวรรณา สภุ าพุฒ
๒๑. นางจุฑารัตน์ เล็กมาก นักวิเคราะห์นโยบายและแผนชำนาญการ สำนักงานศึกษาธิการจังหวัดเชียงใหม่
๒๒. นางสาวอมรรัตน์ จินดา
๒๓. บางณีซซารชั เนาวรัตน์ นัก่วิเคราะห์นโยบายและแผบชำนาญการพิ เศษ สำนักงานศึกษาธิการจังหวัดชุมพร
๒๔. บางสาวอลิศา ว่องประชานุกุล
๒๔. บางสาวจิราพรรณ ขื่นเจริญ ผู้อำนวยการกลุ่มนโยบายและแผน สำนักงานศึกษาธิการจังหวัดเชียงราย;
๒๖. จ่าอากาศเอกศักดา พรมเขยี ว
๒๗. นางสาวสรรฃนีย์ แกง้ าม นักวิเคราะห์นโยบายและแผนชำนาญการ สำนักงานศึกษาธิการจังหวัดตาก
๒๘. นางวนาลี ลีบจากศรี
๒๙. นางวลี ศรีพิมาย นักวิเคราะห์นโยบายและแผนชำนาญการ สำนักงาบศึกษาธิการจังหวัดตาก I
๓๐. บางวิภารัตน์ ชาญพล
๓๑. นายฉัตรชัย สุขลีบมา ผู้อำนวยการกลุ่มนโยบายและแผน สำนักงานศึกษาธิการจังหวัดตราด
๓๒. บางสาววารุณี คำคล่ี ผู้อำนวยการกลุ่มนโยบายและแผน
๓๓. บางสาวนันท์บภัส เขียวเกษม สำนักงานศึกษาธิการจังหวัดตรัง. j
๓๔. นางพรทิพย์ วุตติหาละ
๓๔. บางพสซณันศ์ พรหมจรรย์ ผู้อำนวยการกลุ่มนโยบายและแผน สำนักงานศึกษาธิการจังหวัดนครป§ม
๓๖. บายไกรพันธ์ พูลพนั ธ์ชู นักวิเคราะห์นโยบายและแผน
๓๗. นางสาวหทัยกรานต์ มุลิกา . น ิ นิ นิ i/"
สำนักงานศึกษาธิการจังหวัดนครปฐม.
๓๘. นางสาวรัตนาภรณ์ หนูแก้ว
นักวิเคราะห์นโยบายและแผน สำนักงานศึกษาธิการจังหวัดนครปฐม^
๓๙. นายชัยยศ อลงกตกิตติคุณ
เจ้าพนักงานธุรการ สำนักงานศึกษาธิการจังหวัดนครปธม ,
ผู้อำนวยการกลุ่มนโยบายและแผน
นิ นิ น ิ ' J นิ "^
สำนักงาบศึกษาธิการจังหวัดนครนายก

นักวิเคราะห์นโยบายและแผนปฎิบตการ สำนักงานศึกษาธิการจังหวัดนครนายก

เจ้าพนักงานธุรการชำนาญการ สำนักงานศึกษาธิการจังหวัดนครนายก

ผู้อำนวยการกลุ่มนโยบายและแผน สำนักงานศึกษาธิการจงั หวดั นครราชสีมา

นักวิเคราะห์นโยบายและแผนชำนาญการ สำนกั งานศึกษาธิการจงั หวดั นครราชสีมา

นักวิชาการคอมพิวเตอร์ชำนาญการ สำนกั งานศึกษาธิการจงั หวดั นครราชสีมา

นักวิเคราะห์นโยบายและแผนชำนาญการพิเศษ สำนักงานศึกษาธิการจังหวัดนครพน!

ผู้อำนวยการกลุ่มนโยบายและแผน สำนักงาบศึกษาธิการจังหวัดนนทบุรี

ผู้อำนวยการกลุ่มนโยบายและแผน สำนักงานศึกษาธิการจังหวัดนราธิวาส

นักวิเคราะห์นโยบายและแผนชำนาญการ สำนักงานศึกษาธิการจังหวัดน่าน

ผู้อำนวยการกลุ่มนโยบายและแผน สำนักงานศึกษาธิการจังหวัดนครสวรรค์

ผู้อำนวยการกลุ่มนโยบายและแผน สำนักงาบศึกษาธิการจังหวัด
ผู้อำนวยการกลุ่มนโยบายและแผน ประจวบศึรีขันธ์
นักวิเคราะห์นโยบายและแผนปฎิษัติการ สำนักงานศึกษาธิการจังหวัด

นครศรีธรรมราช

สำนักงาบศึกษาธิการจังหวัด
นครศรีธรรมราช

/๔๐. นายมนตร.ี ..

๔0. บายมนตรี นิวัฒบุวงศ์ ศึกษานิเทศก์ สำนักงาบศีกษาธิการจังหวัดบุรีรัมย์
๔๑. บายวัซรพงศ์ พิพัฒน์สุริยวงศ์ รองศึกษาธิการจังหวัดปังกาฬ สำนักงานศึกษาริการจังหวัดบึงกาฬ
๔๒. บางวัชรีกร ชาญสูงเบน นักวิเคราะห์นโยบายและแผนชำนาญการพิเศษ สำนักงานศึกษาธิการจังหวัดบึงกาฬ
๔๓. บางสายรุ้ง พิลาแพง ผู้อำนวยการกลุ่มนโยบายและแผน สำนักงาบศึกษาธิการจังหวัดปราจีนบุรี
๔๔. บางรัชนก พวงกนก นักวิ เคราะห์นโยบายและแผนชำนาญการพิ เศษ สำนักงาบศึกษาธิการจังหวัดปราจีนบุรี
๔๔. นางสาวอัก•ษร บุญช่วย นักวิเคราะห์นโยบายและแผนปฎิบติการ สำนักงานศึกษาธิการจังหวัดปราจีนบุรี
๔๖. นางสาวอามีเบาะ แยบา นักวิเคราะห์นโยบายและแผนชำนาญการพิเศษ สำนักงาบศึกษาธิการจังหวัดบึตตานี
๔๗. บางสาวภัพรา สุขนิคม นักวิเคราะห์นโยบายและแผนชำนาญการ สำนักงาบศึกษาธิการจังหวัด
พระนครศรีอยุธยา
๔๘. นายสิทธิพร สุดพรหม ผู้อำนวยการกลุ่มนโยบายและแผน สำนักงาบศึกษาธิการจังหวัดปทุมธานี I
๔๙. นางผกามาส กล้วยเครีอ ผู้อำนวยการกลุ่มนโยบายและแผน สำนักงาบศึกษาธิการจังหวัดพัทลุง

๔๐. บายมบูญ พืชฟู ผู้อำนวยการกลุ่มนโยบายและแผน สำนักงานศึกษาธิการจังหวัดพังงา

๔๑. บายประภัสร์ จู้สกุล เจ้าหน้าที่ธุรการ สำนักงานศึกษาธิการจังหวัดพังงา

๔๒. บางสาวทักษพร งามชำ นักวิชาการคอมพิวเตอร์ชำนาญการ สำนักงาบศึกษาธิการจังหวัดเพชรบุรี

๔๓. นางสาวปัณมาศ พวงระย้า นักวิเคราะห์นโยบายและแผนชำนาญการ สำนักงานศึกษาธิการจังหวัดเพชรบุรี

๔๔. นางสาวนับทัพร พ่วงวัฒนวงศ์ ผู้อำนวยการกลุ่มนโยบายและแผน สำบกงาบศึกษาธิการจังหวัดพิจีตร

๔๔. นางวัฒนา จันทร์เพ็ญ นักวิเคราะห์นโยบายและแผนชำนาญการ สำนักงาบศึกษาธิการจังหวัดแพร่

๔๖. นางแสงเพ็ญ ปญั ญาสงค์ นักวิเคราะห์นโยบายและแผน่ชำนาญการ สำนักงาบศึกษาธกิ ารจังหวัดพิษณโุ ลก

๔๗. บางกรณิการ์ เกตุภู นักวิเคราะห์นโยบายและแผนชำนาญการ สำนักงานศึกษาธิการจังหวัดพะเยา

๔๘. นางขวัญนภา จันทร์ดี ผู้อำนวยการกลุ่มนโยบายและแผน สำนักงานศึกษาธิการจังหวัดเพชรบูรณ์

๔๙. นายพสกร ทวีทรัพย์ นักวิเคราะห์นโยบายและแผนชำนาญการ สำนักงาบศึกษาธิการจังหวัดเพชรบูรณ์

๖๐. บางสาววลัยลักษณ์ ไกรสาตร์ ผู้อำนวยกฺารกลุ่มนโยบายและแผน สำนักงานศึกษาธิการจังหวัดภูเก็ต

๖๑. บางสาวพัชรีบทร์ ทับทิมไสย์ นักวิเคราะห์นโยบายและแผน สำนักงาบศึกษาธิการจงั หวดั มหาสารคาม
๖๒. นางสาวไอยรา สังฆะ นักวิเคราะห์นโยบายและแผน
" ■■ ■ I

สำนักงาบศึกษาธิการจังหวัดมหาสารคาม

๖๓. นางสาวธัญลักษณ์ รัตนแสนศรี นักวิเคราะห์นโยบายและแผน สำนักงานศึกษาธิการจังหวดั มหาสารคาม

๖๔. บางสาววัลลิยา พันคะซะ นักวิเคราะห์นโยบายและแผน สำนกั งานศึกษาธิการจงั หวดั มหาสารคาร

๖๔. บางสาวลันทนา บางทราย นักวิเคราะห์นโยบายและแผนชำนาญการ สำนักงานศึกษาธิการจังหวัดมุกดาหาร

๖๖. นางสาวซบิดาภา ฉันทะ นักวิเคราะห์นโยบายและแผนชำนาญการพิเศษ สำนักงานศึกษาธิการจังหวัดแม่ร่องสอน

๖๗. บางสาวคัทยวรรณ ภูพวก ผู้อำนวยการกลุ่มนโยบายและแผน สำนักงานศึกษาธิการจังหวัดยะลา

๖๘. บายฮารีส มาหามัด นักวิเคราะห์นโยบายและแผนชำนาญการ สำนักงานศึกษาธิการจังหวัดยะลา

๖๙. บายณัฐกรณ์ ขวัญดี นักวิเคราะห์นโยบายและแผนชำนาญการ สำนักงานศึกษาธิการจังหวัดยะลา

๗๐. นายมีศกั ดิf รัตนพิมพ์ ผู้อำนวยการกลุ่มนโยบายและแผน สำนกั งานศึกษาธิการจังหวัดยโสธร

๗๑. นางสาวนนทรัตน์ บุญจรัส นักวิเคราะห์นโยบายและเพนชำนาญการพเิ ศษ สำนักงานศึกษาธกิ ารจังหวัดยโสธร
๗๒. บางสาวกรรณิการ์ บุญเกลี้ยง
ศึกษานิเทศก์ชำนาญการพิเศษ สำนักงานศึกษาธิการจังหวัดยโสธร

/๗๓. นางพัชรี...

- ๕-

๗๓. บางพัชรี ศรีษะภูมิ ผู้อำนวยการกลุ่มนิเทศ ติดตามและ สำนักงาบศึกษาธิการจังหวัดร้อยเอ็ด
ประเมินผล

๗๔. นางสาวรัชนิ จิตต์สว่าง ผู้อำนวยการกลุ่มนโยบายและแผน สำนักงานศึกษาธิการจังหวัดระนอง

๗๕. บางสาโมาทรานิชุ่เ สุทธิแสงจันทร์ นักวิเคราะห์นโยบายและแผนชำนาญการพิเศษ สำนักงานศึกษาธิการจังหวัดราชบุรี

๗๖. บางสาวจตุพร ขับนอก นักวิเคราะห์นโยบายและแผนชำนาญการ สำนักงานศึกษาธิการจังหวัดระยอง

๗๗. นางสาวขลลดา เตซะบวรกุล นักวิเคราะห์นโยบายและแผนชำนาญการ สำนักงาบศึกษาธิการจังหวัดTะยอง

๗๘. นางดาวนภา นิ่มเรือง นักวิเคราะห์นโยบายและแผนชำนาญการ สำนักงานศึกษาธิการจังหวัดระยอง

โ !๗๙. นางปาริตา ศฺภกาลกำจร นักวิเคราะห์นโยบายและแผนชำนาญการ สำนักงาบศึกษาธิการจังหวัดลำปาง
นักวิชาการกอมพิวเตอร สำนักงาบศึกษาธิการจังหวัดลพบุรี
๘๐. น1ายพซิ ญพงศํ กรตศานติ

๘๑. บางผ่องศรี รัตนงาม ผู้อำนวยการกลุ่มนโยบายและแผน สำนักงานศึกษาธิการจังหวัดลำพูน

๘๒. นายวีรวัฒน์ ภัณทวีขัย นักวิเคราะห์นโยบายและแผนชำนาญการ สำนักงานศึกษาธิการจังหวัดลำพูน

๘๓. นางสาวจุฑามาศ ธนนราพงศ์ นักวิเคราะห์นโยบายและแผนชำนาญการ สำนักงานศึกษาธิการจังหวัดลำพูน

๘๔. บางสาวธมลวรรณ จรัสสุขศรี นักวิเคราะห์นโยบายและแผนปฏิบัติการ -สำนักงาบศึกษาธิการจังหวัดลำพูน

๘๕. บายอภิรักษ์ วิจิตรวรรณ นักวิชาการคอมพิวเตอร์ สำนักงานศึกษาธิการจังหวัดลำพูน

๘๖. นางกาญจนา จัน{เม ผู้อำนวยการกลุ่มนโยบายและแผน สำนกั งานศกึ ษาธกิ ารเลย

๘๗. นางณัฎซญาพร พรหมหาราข นักวิเคราะห์นโยบายและแผนชำนาญการ สำนกั งานศึกษาธกิ ารเลย
๘๘. บ.ส.นุซษราวรรณ คณานิตย์ธนกจ ผู้อำนวยการกลุ่มนโยบายและแผน สำนักงานศึกษาธิการศรีสะเกษ

๘๙. นางเพญ็ พซิ ญาษ์ ลังวงษ์ นักวิเคราะห์นโยบายและแผนชำนาญการ สำนักงานศึกษาธิการศรีสะเกษ

๙๐. นางสาวภูษณิศา โพธิราช นักวิเคราะห์นโยบายและแผนชำนาญการพิเศษ สำนักงาบศึกษาธิการสกลนคร

๙๑. บายเวนิซ แง่มสุราซ นักวิเคราะห์นโยบายและแผนชำนาญการ สำนักงาบศึกษาธิการสกลนคร

๙๒. นายอนันต์ สาโร ผู้อำนวยการกลุ่มนโยบายและแผน สำนกั งานศึกษาธิการสงขลา

๙๓. บายสุพจน่ กล้าหาญ ผู้อำนวยการกลุ่มนโยบายและแผน สำนักฺงานศึกษาธิการสมุทรปราการ

๙๔. นางอังคนา นุ่มวัด ผู้อำนวยการกลุ่มนโยบายและแผน สำนักงานศึกษาธิการสมุทรสงคราม

๙๕: นางสาวนูรีญา รงค์สมัคร นักวิเคราะห์นโยบายและแผนชำนาญการ สำนกั งาบศึกษาธกิ ารสตูล

๙๖. นางสาวพิมฮาย จึงตระกูล ผู้อำนวยการกลุ่มนโยบายและแผน สำนักงาบศึกษาธิการสระแก้ว

๙๗. บายอนุเดช ปรณะวิทย์ ผู้อำนวยการกลุ่มนโยบายและแผน สำนักงานศึกษาธิการสมุทรสาคร

๙๘. นายบุกูล กลัดเงิน นักวิเคราะห์นโยบายและแผนชำนาญการ สำนักงานศึกษาธิการสิงห์บุรี

๙๙. นางทิพวัลย์ วงษ์สมบูรณ์ ผู้อำนวยการกลุ่มนโยบายและแผน สำนักงานศึกษาธิการสระบุรี

๑๐๐. นางสาวอัจฉราภรณ์ บุญมั่น ผู้อำนวยการกลุ่มนโยบายและแผน สำนกั งานศึกษาธิการสุโขทัย

๑๐๑. นายคมกฤษณ์โทนทอง นักวิเคราะห์นโยบายและแผนปฏิบัติการ สำนกั งานศึกษาธิการสุโขทัย

๑๐๒. นายสุภวัจน่ อุบลทัศนีย์ นักวิเคราะห์นโยบายและแผนชำนาญการ สำนักงาบศึกษาธิการสุพรรณบุรี

๑๐๓. นางณ์ฎวิภา ปริยงค์ นักวิเคราะห์นโยบายและแผนชำนาญการ สำนักงาบศึกษาธิการสุรินทร์

๑๐๔. นาย'วุฒิศักดิ' ปริยงค์ นักวิชาการคอมพิวเตอร์ สำนักงานศึกษาธิการสุรินทร์
๑๐๕. นางสาวสนธิยา ไชยชำนิ ผู้อำนวยการกลุ่มนโยบายและแผน สำนักงาบศึกษาธิการสุราษฎร์ธานี

๑๐๖. นายคทาวุธ สมสวัสดี้ นักวิเคราะห์นโยบายและแผนปฏิบัติการ สำนักงานศึกษาธิการสุราษฎร์ธานี

/๑๐๗. นางสาว...

-๖ -

๑๐๗. นางสาวสุภาพันธ์ ทองพยงศ์ .รองศึกษาธิการจังหวัดอุทัยธานี สำนักงานศึกษาธิการอุทัยธานี
สำนักงาบศึกษาธิการอุทัยธานี
๑๐๘. นางสาวนฤมล สิบพูล นักวิเคราะห์นโยบายและเร่พนชำนาญการ สำนักงานศึกษาธิการอุทัยธานี
สำนักงาบศึกษาธิการอุทัยธานี
๑๐๙. นางสาวจามจุรี ฉลาดแย้ม นักวิชาการคอมพิวเตอร์ชำนาญการ สำนักงานศึกษาธิการหนองบัวลำภู
สำนักงานศึกษาธิการหนองบัวลำภู
๑๑๐. บางสาวประไพพรรณขำนาญซัด นักวิชาการคอมพิวเตอร์ชำนาญการ สำนักงาบศึกษาธิการหนองบัวลำภู
สำนักงานศึกษาธิการหนองบัวลำภู
๑๑๑. นายวรวิทย์ รัตบมาลี ผู้อำนวยการกลุ่มนโยบายและแผน สำนักงานศึกษาธิการอุดรธาน้
สำนักงาบศึกษาธิการอำนาจเจริญ
๑๑๒. บายอุกฤษฏ์ โลมพรรณ นักวิชาการคอมพิวเตอร์ปฏิบัติการ สำนักงานศึกษาธิการอุดรดิตถ์
สำนกั งานศึกษาธิการหนองคาย
๑๑รท. นายปิยวิ',ซผลลีบ นักวิเคราะห์นโยบายและแผนปฏิบัติการ สำนักงานศึกษาธิการอุ่บลราชธานี
สำนกั งาบศกึ ษาธกิ ารอา่ งทอง
๑๑๔. บางสาวจำปี หะธรรมวงษ์ นักวิเคราะห์นโยบายและแผนปฏิบัติการ สำนักงานศึกษาธกิ ารอา่ งทอง
สำนกั งานศึกษาธกิ ารอา่ งทอง
๑๑๔. นางสาวรสสุคนธ์ โคลคร นักวิเคราะห์นโยบายและชำนาญการ

๑๑๖. นายวงศกร กมลอารี นักวิเคราะห์นโยบายและชำนาญการ

๑๑๗. บายสมเดียว เกตุอินทร์ ศึกษานิเทศก์ชำนาญการพิเศษ

๑๑๘. บางสาวบัฎซญารตั น์ อัปการัตน์ ผู้อำนวยการกลุ่มนโยบายและแผน

๑๑๙. นางสาวลัดดา อินทร์พิมพ์ นักวิเคราะห์นโยบายและชำนาญการ

๑๒๐. ว่าที่ร้อยตรี จิรวัฒน์ นาคพนม ผู้อำนวยการกลุ่มนโยบายและแผน

๑๒๑. นางสาวพันธ์คิรี ธนารียะวงศ์ นักวิเคราะห์นโยบายและแผนปฏิบัตกิ าร

๑๒๒. ว่าที่ร้อยตรี อนุพงศ์ เสือใย นักวิเคราะห์นโยบายและแผน

อำนาจหน้าที่ .
๑. ประสาน/บูรณาการทำงานระหว่างหน่วยงานทีเกี่ยวช้องในระดับพื้นที่ เพื่อกำหนดกรอบแนวทาง
การดำเนินงานให้บรรลุเบัาหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนด้านการศึกษา (เปีาหมายหลักที่ 4) ในภาพรวม
๒. ประสานการขับเคลื่อนการดำเนินงานกับหน่วยงานทีเกี่ยวช้องให้บรรลุเปีาหมายย่อยภายใต้
เป๋าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนด้านการศึกษา (เป๋าหมายหลักที่ 4)
๓. ประสานกับหน่วยงานที่เกี่ยวช้องในระดับพี้นทีเพื่อวิเคราะห์ จัดเกี่บข้อมู่ลที่เกี่ยวช้อง
ในรายเป๋าหมายย่อย รวมทั้ง รวบรวมและวิเคราะห์สถานการณ์ตัวชี้วัด กำหนดค่ๅเป๋าหมายความสำเร็จฃอุงแด่ละ
เป้าหมายย่อย
๔. ประสาบกับหน่วยงานทีเกี่ยวข้องใบพื้นที่ เพื่อดำเนินโครงการจัดทำฐานข้อมูลและระบบติดตาม
ป ระเม ิน ผ ล ระด ับ พ ี้น ท ี่เพ ื่อส น ับ สน ุน การข ับ เค ล ื่อน เป ๋าห มายช องสห ป ระซ าช าต ิว่าด ้วยการพ ัฒ น าท ี่ยั่งยืน
ด้านการศึกษา SDG4 ในระดับพื้นที่ ให้บรรลุวัตถุประสงศ์และเป้าหมายที่กำหนด รวมทั้ง สนับสบุนการขับเคลื่อน
เป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนต้านการศึกษาให้บรรลุเป้าหมายด้วย
๕. ประสาน กำกับ ติดตามและประเมินผลการดำเนินงาน รวมถีงปีญหาและอุปสรรคการดำเนินงาน

/ ๖. วเิ คราะห.์ ..

- ๗-

๖. วิเคราะห์ สังเคราะห์'ข้อมูลผลการดำเนินงาบตามlilJาหมายย่อยนละตัวชี้วัด จัดทำเป็นฐานข้อมูล
ผลการดำเนินงาบ และรายงาบผลการดำเนินงานต่อฝ่ายเลขานุการคณะกรรมการขับ1,คลื่ลบ1ปาหมายการพฒั นา .
ที่ยั่งยืนด้านการศึกนา

๗. ปฏิบัติงานอื่น ๆ ตามที่ได้รับมอบหมาย
ทั้งนี้ ตั้งแต่บัดนี้เป็นต้นไป

สั่ง ณ วันที่ €09 พฤษภาคม พ.ค. ๒๕๖๕

(นายสุภัทร จำปาทอง)
ปลัดกระทรวงศึกษาธิการ
ประราบคณะกรรมการ
ขับเคลื่อนเป็าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนด้านการศึกนา

คำสง่ั คณะกรรมการขับเคลือ่ นเปา้ หมายการพฒั นาทีย่ ั่งยืนดา้ นทารศทึ ษา

ท่ี พ /๒๕๖๕

เรอี ง แตง่ ตงคณะทำงานขับเคลอบเปา้ หมายการพัฒนาทย่ี ง่ํ ยีนด้านการศทึ ษาระดนั จงั หวดั
จงั หวดั นครปฐม

สืบเนอ่ื งจากประเทศไทยไดร้ ว่ มลงนามรับรองวาระการพัฒนาที่ย่ังยนื ค.ศ. ๒0 ๓๐ โดยกำหนด
เปา้ 'หมายการพัฒนาท่ีย่ังยนื (Sustainable Development Goals: SDGs) ๑๗ เป้าหมายหลกั และ ๑๖๙ เปา้ หมายย่อย
เทอื เปน็ กรอบแนวทางให้แตล่ ะประเทศดำเนินการรว่ มกนั ซึง่ ในการดำเนนิ งานของประเทศไทย ได้แต่งตง้ั
คณะกรรมการเพอ่ื การพัฒนาท่ยี ั่งยืน หรือ “กพย.” โดยมนี ายกรฐั มนตรี เปน็ ประธานคณะกรรมการ ทำหนา้ ที่กำหนด
แนวทางการพัฒนาประเทศ นโยบายและยทุ ธศาสตรก์ ารพฒั นาใหเ้ ป็นไปตามข้อตกลงหรอื ความรว่ มมอื
ระหว่างประเทศ และบรรลเุ ปา้ หมายการพฒั นาทย่ี ั่งยนื ขา้ งต้น สำหรับแนวทางการขับเคลือ่ นเป้าหมายการพัฒนา
ทย่ี ั่งยืนของประเทศไทย กพย. ได้เหน็ ขอบแผนการขบั เคลอ่ื นเป้าหมายการพัฒนาที,ย่ังยืนสำหรับประเทศไทย
(Thailand’s SDGs Roadmap) และกำหนดให้ ต้ังแต่ปี ๒๕๖๔ - ๒๔๗๓ เปน็ ทศวรรษแห่งการทำจริง “ Decade of
Action” รวมทงั้ กำหนดหน่วยงานรับผิดชอบและประสานงานหลักในระดบั เปา้ หมายหลัก (C1) และระดบั
เปา้ หมายย่อย (C2) ทำหนา้ ทีก่ ำหนดแนวทางการดำเนนิ งาบและจัดทำแผนที่นำทาง (Roadmap) เทอื เปน็ กรอบ
แนวทางการดำเนนิ งาบใหบ้ รรลุเปา้ หมายการพฒั นาท่ียง่ั ยนื ทก่ี ำหนดไว้ ซงึ่ กระทรวงศึกษาธิการไดร้ ับมอบหมาย
เป็นหน่วยงานรับผิดขอบและประสาบงานหลกั เป้าหมายหลักท่ี ๔ “ สร้างหลักประกันว่าทกุ คนมีการศึกษา
ทีม่ คี ณุ ภาพอยา่ งครอบคลุมและเท่าเทียม และสนับสบุนโอกาสใบการเรยี นรูต้ ลอดชีวิต”

การขับเคลือบเปา้ หมายการพัฒนาท่ยี ง่ั ยนื เป้าหมายหลกั ท่ี ๔ กระทรวงศกึ ษาธิการได้แต่งต้ัง
คณะกรรมการขับเคล่อื นเป้าหมายการพฒั นาท่ยี ั่งยนื ดา้ นการศึกษา มีปลดั กระทรวงศึกษาธกิ ารเปน็ ประธาน
มีหนา้ ท่กี ำหนดกรอบแนวทางและเป้าหมายการดำเนินงานขบั เคล่อื นเปา้ หมายการพฒั นาที,ย่ังยนื ด้านการศกึ ษา
ภาพรวม ซงึ่ คณะกรรมการฯ ไตเ้ หน็ ชอบแผนท่นี ำทางการขบั เคลื่อนเป้าหมายการพฒั นาท่ยี ่ังยนื ดา้ นการศกึ ษา (SDG4
Roadmap) เทอื นำไปใช้เปน็ กรอบแนวทางและเป้าหมายการดำเนนิ งานแลว้ แตก่ ารขบั เคลือ่ นเปา้ หมาย
การพฒั นาท่ีย่งั ยืนดา้ นการศึกษาให้บรรลเุ ป้าหมายไดอ้ ย่างเป็นรปู ธรรม มคี วามสอดคลอ้ ง เหมาะสมกบั บรบิ ท
สภาพป้ญหาและความต้องการของพื้นที่ ตอ้ งดำเนนิ การโดยใชพ้ ้นื ท่ีเปน็ ฐานการพัฒนา ซึง่ ในการดำเนนิ งาน
มีภาคีเครอื ข่ายเกีย่ วขอ้ งเป็นจำบวบมาก และตอ้ งมีการบรู ณาการการทำงานร่วมกนั อย่างเข้มแข็ง และจรงิ จัง
ดงั น้ัน ใบคราวประขุมคณะกรรมการขบั เคลอ่ื นเป้าหมายการพัฒนาทย่ี ่ังยืนดา้ นการศึกษา ครั้งที่ ๑/๒๔๖๔
เมือ่ วบั ที่ ๒๖ พฤศจิกายน ๒๔๖๔ คณะกรรมการฯ มมี ติเหน็ ชอบให้แตง่ ต้ังคณะทำงาบขบั เคลอื่ นเป้าหมาย
การพัฒนาท่ยี ง่ั ยืนดา้ นการศึกษาระดบั ภาคและจงั หวัด เพื่อให้เป็นกลไกในการขับเคล่ือนการดำเนนิ งาน และบรู ณาการ
การทำงานร่วมกนั ในพ้ืนที่ใหป้ ระสบผลสำเร็จ และบรรลุเปา้ หมายท่ีกำหนดไว้

ดังนั้น เพื่อให้การดำเนินงาบขับเคลื่อนเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนด้านการศึกษาในระดับพื้นที่ภาค

และจังหวดั เปน็ ไปอยา่ งมีประสทิ ธิภาพ บรรลุเปา้ หมายทกี่ ำหนด และเป็นไปตามมติคณะกรรมการฯ ขา้ งตน้
จึงแต่งตัง้ คณะทำงานขบั เคลือ่ นเป้าหมายการพัฒนาทย่ี ั่งยนื ต้านการศกึ ษาระดับจงั หวัด จงั หวัดนครปฐม
โดยมีองค์ประกอบและอำนาจหน้าท่ี ดังนี้

/ทีป่ รึกษา...


Click to View FlipBook Version