The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

หลักสูตรการศึกษา
ประเทศ“ฮ่องกง”

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by นายภูชิต ช่วยชู, 2020-03-04 06:04:43

หลักสูตรการศึกษา ประเทศ“ฮ่องกง”

หลักสูตรการศึกษา
ประเทศ“ฮ่องกง”

หลกั สูตรการศึกษา
ประเทศ“ฮอ่ งกง”

ข้อมูลทั่วไป

ตามข้อตกลงระหวา่ งสาธารณรัฐประชาชนจนี และสหราชอาณาจักร องั กฤษ ซึง่ ได้รว่ ม
ลงนามกัน เม่ือวันท่ี 19 ธันวาคม 2527 ฮ่องกงได้ เปล่ียนสถานะเป็นเขตบริหารพิเศษฮ่องกง
ของสาธารณรัฐประชาชนจีน (Hong Kong Special Administrative Region : SAR)
นับต้ังแต่วันที่ 1 กรกฎาคม 2540 เป็นต้นไป และภายใต้ข้อกําหนดในข้อตกลงดังกล่าว
สาธารณรัฐ ประชาชนจนี ได้ให้ขอ้ สัญญาวา่ จะไม่ใชร้ ะบบเศรษฐกิจแบบสงั คมนยิ มภาย ใตร้ ะบบ
การปกครองแบบ “ หน่ึงประเทศ สองระบบ” ของฮ่องกง และฮ่องกงจะมีอํานาจในการ
ปกครองตนเองในทกุ ๆ ดา้ น ยกเว้น กิจการด้านตา่ งประเทศและการปอ้ งกันประเทศ

ท่ีต้งั ฮ่องกงตั้งอยู่ทางเอเชยี ตะวันออก มอี าณาเขตติดต่อกบั ทะเลจีนใต้
ประชากร และสาธารณรัฐประชาชนจีน

ฮอ่ งกงมปี ระชากรท้งั สนิ้ 6,847,125 คน (ข้อมูลเดอื นกรกฎาคม 2562)

เมืองหลวง วิคตอเรยี

อัตราการอ่านออกเขยี นได้

ประชากรอายุตงั้ แต่ 15 ปขี น้ึ ไปได้รบั การศกึ ษาในโรงเรียน โดยมี ผสู้ ามารถอา่ นออกเขียนได้
รอ้ ยละ 92.2 (ขอ้ มลู ปี 2542)

การศึกษาประเทศ “ฮ่องกง”

ในปี 2539-2540 ประชากรของฮ่องกงจาํ นวน รอ้ ยละ 22 ได้รับ การศึกษาในโรงเรียน
งบประมาณการศึกษาไดร้ บั อนมุ ัติจํานวน 39.82 พนั ล้านดอลลาร์ หรือประมาณ 191 พันล้านบาท
หรือร้อยละ 21 ของ งบประมาณรัฐบาล และคิดเปน็ ร้อยละ 8 ของงบลงทุนทงั้ หมด
ในส่วนการจัดการศกึ ษา รัฐบาลฮ่องกงจดั การศึกษาขนั้ พืน้ ฐาน 9 ปี แบบให้เปลา่ สําหรบั เด็กอายุ
ระหวา่ ง 6-15 ปี โดยแบง่ เปน็ ระดับประถม 6 ปี และมัธยม 3 ปี

การเรียนการสอนของฮอ่ งกงใชท้ ัง้ ภาษาจนี และภาษาองั กฤษร่วม กันเพอื่ ใหน้ ักเรยี นได้มี
ความสามารถในการใช้ภาษาทง้ั สองไดเ้ ป็นอยา่ งดี

ท้งั น้ี มีโรงเรยี นจาํ นวน 15 โรงในฮ่องกงท่ดี ําเนนิ งานโดยมลู นิธิ โรงเรยี นของชาวอังกฤษสําหรับ
นักเรยี นท่ีพอภาษาองั กฤษ รวมทงั้ มี โรงเรียนนานาชาตทิ ่ีเปดิ สําหรบั นักเรียนทุกชาติทกุ ภาษา

รูปแบบของโรงเรยี นในฮ่องกง มี 3 ลักษณะใหญ่ ๆ

1. โรงเรยี นรัฐบาลดําเนินงานท้ังหมดโดยรัฐบาล
2. โรงเรียนทไี่ ดร้ บั การสนับสนุน ซงึ่ ไดร้ บั ความช่วยเหลอื ท้งั หมด

จากรฐั บาลแตบ่ ริหารงานโดยองค์กรอาสาสมคั ร
3. โรงเรยี นเอกชน ซงึ่ บางแห่งได้รับความชว่ ยเหลือดา้ นการเงนิ จากรัฐบาล

การจัดการศึกษาโดยทวั่ ไป

ระดบั อนุบาล การศึกษาพิเศษ วทิ ยาลยั
ระดับประถมศึกษา ระดับหลังมัธยมศกึ ษา
ระดับมธั ยมศกึ ษา การฝึกหดั ครู

การอดุ มศึกษาและการศกึ ษาผูใ้ หญ่

กระทรวงศึกษาธกิ ารของฮ่องกง

วิสยั ทัศน์

กระทรวงศกึ ษาธกิ ารของฮอ่ งกงได้กําหนดวิสยั ทัศนไวว้ า่ “ จะจดั การ ศกึ ษาท่มี คี ุณภาพ
ใหแ้ กน่ ักเรยี น เพื่อให้พฒั นาตนเองไดเ้ ต็มศักยภาพ และเตรียมพรอ้ มสาํ หรบั
ส่งิ ท้าทายต่าง ๆ ในการใช้ชีวติ ”

ภารกิจ

กระทรวงฯ ได้กาํ หนดภารกิจที่จะจดั บรกิ ารระดับอาชีพ ใช้ทรพั ยากร อย่างมปี ระสิทธิภาพ
และสรา้ งเสริมความรว่ มมอื ใหแ้ ข็งแกรง่ เพอื่ ความ เป็นเลิศของการศึกษาในโรงเรยี น

จดุ ประสงค์พื้นฐาน

จดุ ประสงค์พืน้ ฐานคือ การใหบ้ ริการการศกึ ษาในโรงเรยี นควรเป็นไป เพอ่ื พฒั นาศักยภาพ
ของนกั เรยี นแต่ละคน เพอ่ื ให้นกั เรียนมีความคิดเป็น ของตนเอง และเป็นผใู้ หญท่ ีต่ ระหนักถงึ

ภาระทางสงั คม เพียบพรอ้ ม ดว้ ยความรู้ ทกั ษะและเจตคติ ทีจ่ ะชว่ ยนาํ ทางไปสกู่ ารมีชวี ติ
ทีส่ มบูรณใ์ น ฐานะปจั เจกชน และมบี ทบาทในทางบวกต่อการใชช้ วี ติ ในชมุ ชน

การดําเนนิ งานปฏริ ปู การศึกษาสาํ หรบั ศตวรรษที่ 21

ผู้นําฮ่องกงได้เน้นถึงพันธกิจของตนต่อการพัฒนาการศึกษา ระยะยาวและ
แสดงเจตจํานงค์อันแน่วแน่ท่ีจะทบทวนและปฏิรูปการศึกษา ท้ังระบบเพื่อให้
มีคุณภาพและประสิทธิภาพ อันเป็นการเตรียมฮ่องกงให้ พร้อมสําหรับ
ศตวรรษใหม่ ดังนั้น จึงได้มีนโยบายให้คณะกรรมการการ ศึกษาของฮ่องกง
ดําเนินการจัดทํากรอบการปฏิรูปการศึกษาสําหรับ ศตวรรษใหม่ข้ึน โดยได้
ตระหนักถึงความจําเป็นท่ีฮ่องกงจะก้าวไปสู่ภาวะ เศรษฐกิจที่อาศัยความรู้
เป็นพ้ืนฐาน เพ่ือให้ทันต่อความเปลี่ยนแปลงด้าน เศรษฐกิจและสังคม โดย
ในขั้นแรกก่อนจัดทํากรอบการปฏิรูปการศึกษา คณะกรรมการการศึกษาได้
ดําเนินการกําหนดเป้าหมายและจุดมุ่งหมาย ของการศึกษาในศตวรรษใหม่
ดงั นี้+

1) การกําหนดเป้าหมายการศกึ ษาใหม่

2) การกําหนดจดุ ม่งุ หมายของการศกึ ษาสําหรบั ศตวรรษ ใหม่

1) การกําหนดเปา้ หมายการศึกษาใหม่

ผู้นาํ ฮอ่ งกงและคณะกรรมการการศึกษา ไดต้ ระหนักถงึ ความสําคัญของการ
เรียนรู้ตลอดชีวติ เพ่ือนาํ ฮอ่ งกงไปสสู่ ังคมแหง่ การเรียนรู้ อันเป็นเป้าหมาย
สูงสดุ ในการพฒั นาการศกึ ษา ดังน้นั การศกึ ษาจะตอ้ ง ทาํ หนา้ ที่ปลกู ฝงั

การเรียนรู้ตลอดชวี ติ ให้แกป่ ระชาชนทุกคน โดยให้การ ศึกษาในระบบ
โรงเรยี นสรา้ งเสรมิ ใหน้ กั เรียนมีความสนใจและความ สามารถในการเรยี นรู้

เพื่อให้สามารถแสวงหาความรู้ได้ตลอดชีวติ และ ตอบสนองตอ่ สภาวะ
แวดลอ้ มท่เี ปลี่ยนแปลงไดอ้ ย่างมปี ระสิทธผิ ล

2) การกําหนดจดุ มงุ่ หมายของการศกึ ษาสาํ หรับศตวรรษ ใหม่

สาธารณชนได้เหน็ พอ้ งต้องกนั วา่ การศึกษาควรมีจุดมงุ่ หมายท่ัวไป “ .. เพอ่ื ใหท้ ุกคนได้
พัฒนาศกั ยภาพของตนอย่างเต็มท่ีในทกุ ๆ ดา้ น โดย ครอบคลุมด้านจริยธรรม ความรู้ สขุ ภาพ
การมีส่วนรว่ มในสังคมและ ความมสี นุ ทรียภาพ ดังนน้ั ทุก ๆ คนจะมกี ารเตรียมพรอ้ มสาํ หรับการ
เรยี นรู้ การคดิ การค้นหานวัตกรรมด้วยตนเอง และเตรยี มพร้อมสําหรบั การ เปลยี่ นแปลงตลอด
ชวี ติ มีความมน่ั ใจในตนเอง และมจี ติ วญิ ญาณทจี่ ะ ทํางานร่วมกับผ้อู ืน่ และเตม็ ใจทีจ่ ะพยายามก้าว

ไปข้างหน้าเพอื่ ให้ชีวิต สมบรู ณ์ ประสบความสาํ เรจ็ มคี วามกา้ วหน้า มีอิสระและมสี งั คม
ประชาธปิ ไตย อีกท้งั มคี วามเสยี สละเพ่ือความเป็นอย่ทู ีด่ ขี องชาติใน อนาคตและของสงั คมโลก ”

นอกจากการกาํ หนดจุดม่งุ หมายของการศกึ ษาอยา่ งกว้างๆ แล้ว ยังไดก้ าํ หนดวสิ ัยทัศนแ์ ละ
จุดมุ่งหมายของการศกึ ษาในแต่ละระดบั คอื การศึกษาระดบั ปฐมวยั การศกึ ษาในโรงเรียน (หรอื

การศกึ ษาขน้ั พืน้ ฐาน 9 ปี) และการศกึ ษาระดบั หลังมัธยมศกึ ษาโดยใช้หลัก
“ การเรียนรูต้ ลอด ชวี ติ ” เปน็ แนวทางในการกําหนด

หลกั สูตรการศึกษา
ประเทศ “ฮ่องกง”

มรี ปู แบบการปฏิรูปการศึกษาท่สี ดุ ตรงปัญหาท่ีสุด
สามารถตอบคาํ ถามของประเทศไทยได้ คนท้งั ประเทศ
มีความรู้สึกร่วมกันวา่ จาํ เปน็ จะตอ้ งปฏิรูปการศกึ ษา
เพอ่ื ก้าวเขา้ ส่ศู ตวรรษที่ 21 ให้ได้อย่างสงา่ งาม รฐั บาล
ฮ่องกงเข้าใจปัญหาการศกึ ษาของชาติจรงิ จงึ สร้าง

ยทุ ธศาสตรก์ ารปฏิรปู การศึกษาออกเป็น 4 ดา้ น

(1) ปฏิรูปหลักสตู ร ปฏริ ูปเน้อื หารายวชิ าใหส้ อดคลอ้ งสัมพันธก์ ับวิถีชีวติ จรงิ
และสัมพนั ธ์กบั ความเป็นจริงในสังคมในศตวรรษหนา้

(2) ปฏริ ปู ครูและวิธสี อนของครู การจัดกิจกรรมการเรยี นการสอนให้ผู้เรียนได้ลงมอื
ปฏิบัตจิ ริง Learning by doing

(3) ปฏิรปู วธิ ีวดั ผลและประเมนิ การเรียนรู้ สะท้อน ให้รไู้ ด้จริงวา่ ผเู้ รยี นมีความรู้มีความสามารถ
(4) ปฏริ ปู ด้านปัจจยั สนับสนุนการศึกษา จรงิ เพียงใด ข้อสอบจึงเปน็ แบบการเขยี นตอบแบบ
บรรยาย และประเมินผลจากการนาํ เสนอผลงาน
หรือเสนอโครงงาน
เช่น ปฏริ ูปโครงสร้างของกระทรวงศึกษาธกิ าร

และปัจจัยดา้ นอืน่ ๆ

หลักสูตรการศึกษาของฮ่องกงจึงมีปรัชญาการศึกษาของการผสมผสาน
ความเปน็ อารยธรรมตะวนั ตก และตะวันออกอย่างลงตัว นักปรชั ญาของจนี
"ขงจอ๊ื " และ "อารสิ โตเต้ิล"

"ขงจอ๊ื " เปน็ ตัวแทนของความลุ่มลึก วถิ ชี วี ติ
คุณค่า ศาสนาของตะวนั ออก

"อารสิ โตเตล้ิ " เป็นนกั ปรชั ญาของการตัง้ คาํ ถามเชงิ วเิ คราะห์ การแสวงหา
การคน้ พบ ซึ่งเป็นสาระศาสตรท์ างตะวนั ตก การปะทะของ
ความลุม่ ลึกของหลักปรัชญาดังกลา่ วนาํ สู่ "สิ่งทด่ี ีกว่าเพือ่ ชาว

ฮอ่ งกง" จนนํามาสูป่ รัชญาของหลกั สตู รการศกึ ษา

หลกั สูตรการศึกษา
ประเทศ “ฮ่องกง”

หลักสูตรการศึกษาของฮ่องกงมีโครงสรา้ ง 8 กล่มุ สาระ
ประสบการณ์พน้ื ฐานที่จาํ เป็น 5 เรอื่ ง วิชาสําคัญ 4 วชิ า โดยยึดเด็ก

เปน็ ศูนยก์ ลาง และพฒั นาการรอบด้านของเดก็ แตล่ ะคน

นกั เรียนในเกาะฮอ่ งกงเรียนสาระวชิ าสําคญั 4 ดา้ นเปน็ หลัก

ภาษาจนี องั กฤษ คณติ ศาสตร์ ศิลปศาสตร์

ระดบั อนบุ าลชนั้ ปที ี่ 1 ถึง 3 เรียนเพื่อการเตรยี มความพรอ้ มทางดา้ นภาษา คณิตศาสตร์
เบ้ืองตน้ ตัวเองกับสงั คม วิทยาศาสตรก์ บั เทคโนโลยี ศลิ ปศึกษา

พละศึกษา การออกกําลังกายและสขุ ภาพ

ระดับประถมศกึ ษาปีที่ 1 ถงึ ชัน้ มธั ยมศึกษาตอนต้น

เรยี น 4 วิชาเป็นหลกั แต่คอ่ ยๆเพิ่มมากขน้ึ ตามพฒั นาการของเด็ก ใน
กลมุ่ วชิ าวิทยาศาสตร์ สงั คมและมนษุ ยศาสตร์ เทคโนโลยกี ารศึกษา
ศิลปศึกษา พลศึกษา

ประสบการณ์ 5 ดา้ น

คุณธรรมและความเป็นพลเมอื ง
พัฒนาการด้านสตปิ ญั ญา

การบรกิ ารชมุ ชน พฒั นาการด้านค่านยิ ม
สมรรถภาพด้านรา่ งกาย และการมที กั ษะประสบการณด์ ้านอาชพี

ในระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนปลายย่งิ เรียนเข้มข้นใน 4 วิชาถงึ 45-55%
มีวิชาเลือกที่ตนเองถนัด ละสนใจเพ่ิมเติม 2-3 วิชา คิดเป็น 20-30%
และเน้นประสบการณ์การเรียนรู้ผ่านโครงงาน กิจกรรม สาระ
ประสบการณ์ 5 ด้านอีก 10-15% หลักสูตรในระดับโรงเรียนเน้น
เป้าหมาย 7 ประการสําคัญ คอื ความรับผิดชอบ อตั ลกั ษณ์ของชาติ รัก
การอ่าน ทักษะการใช้ภาษา ทักษะการเรียนรู้ ใส่ใจความรู้ใหม่ และการ
ดูแลสขุ ภาพตนเอง

ในฮอ่ งกงมีการปฏริ ูประบบการวัดและประเมนิ ผล (Assessment alignment) คร้งั ใหญ่
ยกเลกิ การสอบ O-Level A-level ลง แต่มีการประเมนิ ผลครัง้ สาํ คญั ระดบั ประเทศเพียง
ครั้งเดียวในระดบั เกรด 12 ไม่สอบพร่าํ เพรอ่ื ผลการสอบของนักเรยี นระดบั 12 จะประกาศเปน็
5 ระดับ อนั ไดแ้ ก่ 1, 2, 3, 4, 5 และระดบั 5 บวก 1 ดาว เปน็ กลุ่มไดค้ ะแนนสงู ระดบั ประเทศ
สูงขึ้นไปเป็นระดบั 5 บวก 2 ดาว เปน็ กลมุ่ ดสี ุดยอด นอกจากน้นั นักเรียนแตล่ ะคนตอ้ งทํา
อัตชีวติ การเรียนของตน (Profile) ท้ังผลการเรียน ประสบการณ์ทีเ่ คยเขา้ รว่ ม รางวลั ความสําเร็จ
นอกหอ้ งเรียน ความมุง่ ม่นั ความสนใจ การเรยี นรใู้ นอนาคต และอ่ืนๆ มหาวทิ ยาลัยในฮ่องกง
จะใช้ผลการเรียน 5 ระดับแตกต่างกันไป ร่วมกับ อัตชีวิตของนักเรียนแต่ละคนพิจารณาร่วมกัน
เพ่อื คัดการศึกษาตอ่ ในระดบั มหาวทิ ยาลัยวิชาชีพเฉพาะทางรอบเดียวเปน็ สําคญั

สมาชกิ ในกลุม่

นายณัฐภทั ร์ คงสนิท นางสาวสุชาดา แซอ่ ่งึ
รหสั นกั ศกึ ษา 6211116034 รหัสนกั ศึกษา 6211116043

นางสาวสุชานาถ ชนะพลชัย นายธนาธิป รัตนพนั ธ์ นางสาวพิมประภา ศรีโภคา
รหสั นกั ศกึ ษา 6211116044 รหัสนักศกึ ษา 6211116051 รหสั นกั ศกึ ษา 6211116052


Click to View FlipBook Version