การพัฒนารปู แบบการบริหารสถานศกึ ษาตามหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง
ของโรงเรยี นบ้านวังใหญ่ สานกั งานเขตพ้ืนท่ีการศกึ ษาประถมศกึ ษาสงขลา เขต 3
นางศรนิ ทิพย์ ทะสะระ
ผ้อู านวยการชานาญการพิเศษ โรงเรยี นบ้านวงั ใหญ่
บทคดั ยอ่
การวิจัยเร่ือง การพัฒนารูปแบบการบริหารสถานศึกษาตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ของ
โรงเรียนบ้านวังใหญ่ สานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษาสงขลา เขต 3 คร้ังนี้ มีวัตถุประสงค์ เพื่อ 1)
ศกึ ษาสภาพปัจจบุ ันและสภาพที่พงึ ประสงคก์ ารบรหิ ารสถานศึกษาตามหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียงของ
โรงเรียนบ้านวังใหญ่ สานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษาสงขลา เขต 3 2) สร้างและตรวจสอบรูปแบบ
การบริหารสถานศึกษาตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงของโรงเรียนบ้านวังใหญ่ สานักงานเขตพ้ืนที่
การศึกษาประถมศึกษาสงขลา เขต 3 3) ทดลองใช้รูปแบบการบริหารสถานศึกษาตามหลักปรัชญาของ
เศรษฐกิจพอเพียงของโรงเรียนบ้านวังใหญ่ สานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษาสงขลา เขต 3 และ 4)
ประเมินความเหมาะสมและความเปน็ ประโยชน์ในการนาไปปฏิบัติของรปู แบบการบริหารสถานศึกษาตามหลัก
ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงของโรงเรียนบ้านวังใหญ่ สานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษาสงขลา เขต
3 โดยมีข้ันตอนการวิจัย 4 ขั้นตอน ได้แก่ขั้นตอนที่ 1 ศึกษาสภาพปัจจุบันและความต้องการด้านการบริหาร
สถานศึกษาตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงของโรงเรียนบ้านวังใหญ่ สานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษา
ประถมศึกษาสงขลา เขต 3 โดยตัวแทนครู ตัวแทนผู้ปกครอง ตัวแทนกรรมการสถานศึกษา จานวน 90 คน
ขั้นตอนท่ี 2 สร้างและตรวจสอบรูปแบบ การบริหารสถานศึกษาตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงของ
โรงเรียนบ้านวังใหญ่ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสงขลา เขต 3 โดยผู้ทรงคุณวุฒิจานวน 5 คน
ขัน้ ตอนท่ี 3 ทดลองใชร้ ูปแบบ การบริหารสถานศึกษาตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียงของโรงเรียนบ้าน
วังใหญ่ สานักงานเขตพ้นื ที่การศึกษาประถมศึกษาสงขลา เขต 3 และขั้นตอนที่ 4 ประเมนิ ความเหมาะสมและ
ความเป็นประโยชน์ในการนาไปปฏิบัติของรูปแบบ การบริหารสถานศึกษาตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ
พอเพียงของโรงเรียนบ้านวังใหญ่ สานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษาสงขลา เขต 3 โดยครูผู้สอน
โรงเรียนบ้านวังใหญ่ ตวั แทนผปู้ กครอง ตวั แทนกรรมการสถานศึกษา จานวน 90 คน เครอ่ื งมือท่ีใชใ้ นการวิจัย
ได้แก่ แบบสอบถามสถิติพ้ืนฐาน ได้แก่ค่าความถี่ (Frequency) ค่าร้อยละ (Percentage) ค่าเฉลี่ย (Mean)
และค่าเบ่ียงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation) ผลการวจิ ยั พบว่า
1. ผลศึกษาสภาพปัจจุบันและความต้องการการบริหารสถานศึกษาตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ
พอเพียงของโรงเรียนบ้านวังใหญ่ สานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษาสงขลา เขต 3 พบว่า สภาพ
ปัจจุบันการบริหารสถานศึกษาตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงของโรงเรียนบ้านวังใหญ่ สานักงานเขต
พ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษาสงขลา เขต 3 ภาพรวมอยู่ในระดับปานกลาง และความต้องการการบริหาร
สถานศึกษาตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงของโรงเรียนบ้านวังใหญ่ สานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษา
ประถมศึกษาสงขลา เขต 3 ภาพรวมอยูใ่ นระดบั มาก
2. ผลการสร้างและตรวจสอบรูปแบบการบริหารสถานศึกษาตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
ของโรงเรียนบ้านวังใหญ่ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสงขลา เขต 3 พบว่าผลการสร้างรูปแบบ
การบริหารสถานศึกษาตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงของโรงเรียนบ้านวังใหญ่ สานักงานเขตพื้นท่ี
การศึกษาประถมศึกษาสงขลา เขต 3 ซ่ึงประกอบด้วย 6 องค์ประกอบ ได้แก่ หลักการของรูปแบบ
วัตถุประสงค์ของรูปแบบ เง่ือนไขการความสาเร็จของการนารูปแบบไปใช้ โครงสร้างสาระสาคัญ การ
ดาเนินงานของรูปแบบ และการวัดและประเมินผล การตรวจสอบรูปแบบการบริหารสถานศึกษาตามหลัก
ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงของโรงเรียนบ้านวังใหญ่ สานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษาสงขลา เขต
3 ของผู้ทรงคุณวุฒิพบว่า ความถูกต้องภาพรวมอยู่ในระดับมากท่ีสุดและความเปน็ ไปได้ ภาพรวม อยู่ในระดบั
มากท่ีสุด และการประเมินคู่มือการใช้รูปแบบการบริหารสถานศึกษาตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
ของโรงเรียนบ้านวังใหญ่ สานกั งานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษาสงขลา เขต 3 พบว่าความถูกต้องของคู่มือ
การใช้รูปแบบการบริหารสถานศึกษาตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงของโรง เรียนบ้านวังใหญ่
สานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษาสงขลา เขต 3 ภาพรวมอยู่ในระดับมากที่สุด และความเป็นไปได้
ของคู่มือการใช้การบริหารสถานศึกษาตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงของโรงเรียนบ้านวังใหญ่
สานักงานเขตพนื้ ทก่ี ารศกึ ษาประถมศึกษาสงขลา เขต 3 ภาพรวมอยู่ในระดับมากทีส่ ุด
3. ผลการทดลองใช้รูปแบบการบริหารสถานศึกษาตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงของ
โรงเรียนบ้านวงั ใหญ่ สานกั งานเขตพนื้ ท่กี ารศกึ ษาประถมศึกษาสงขลา เขต 3 พบว่า กอ่ นดาเนนิ การ ภาพรวม
อยใู่ นระดบั ปานกลางและหลังการดาเนนิ การภาพรวม อยใู่ นระดับมากทส่ี ุด
4. ผลการประเมินความเหมาะสมและความเป็นประโยชน์ในการนาไปปฏิบัติของรูปแบบการบริหาร
สถานศึกษาตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงของโรงเรียนบ้านวังใหญ่ สานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษา
ประถมศึกษาสงขลา เขต 3 พบว่า ภาพรวมอยู่ในระดับมากที่สุด และความเป็นประโยชน์ในการนาไปปฏิบัติ
ของรูปแบบการบริหารสถานศึกษาตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงของโรงเรียนบ้านวังใหญ่ สานักงาน
เขตพ้นื ท่ีการศึกษาประถมศึกษาสงขลา เขต 3 พบว่า ภาพรวมอยใู่ นระดบั มากทส่ี ดุ
บทนา
ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เป็นหลักคิดและหลักปฏิบัติในการดาเนินชีวิตท่ีพระบาทสมเด็จพระ
เจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช (ในหลวงรัชกาลที่ 9) ทรงมีพระราชดารัสชี้แนะแก่พสกนิกรชาวไทยมานานกวา่ 30
ปี ด้วยสายพระเนตรที่ยาวไกลและลึกซ้ึงย่ิงกว่านักพัฒนา หรือนักวิชาการใด ๆ จะมีสติเสมอเหมือนได้ดั่งพระ
บรมราโชวาท และพระราชดารัสของพระองค์ นับต้ังแต่ปี พ.ศ. 2517 เป็นต้นมา ท่ีได้ทรงเน้นย้าแนวทางการ
พฒั นาอยา่ งเป็นข้ันตอนบนหลักแนวคิดพงึ่ ตนเอง เพ่ือให้เกิดความพอมี พอใช้ และมคี วามสุข โดยใช้หลกั ความ
พอประมาณ การคานึงถึงความมีเหตุผลการสร้างภูมิคุ้มกันในตัว และทรงเตือนสติประชาชนคนไทยไม่ให้
ประมาท ตระหนักถึงการพัฒนาท่ีสมดุล ก้าวหน้าไปอย่างสมดุล ในแต่ละข้ันตอนอย่างถูกต้องตามหลักวิชา
และการมีคุณธรรม จริยธรรม เป็นกรอบในการคิด และการกระทา สามารถประยุกต์ใช้ในทุกมิติ ทุกภาคส่วน
และทุกด้านของการพัฒนา เพื่อสังคมส่วนรวมได้อยู่ร่วมกันอย่างสันติสุขและเจริญก้าวหน้าไปพร้อมกันอย่าง
มน่ั คง และยัง่ ยนื (กระทรวงศึกษาธกิ าร, 2552 : 1)
พระราชดารัสของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช (ในหลวงรัชกาลท่ี 9) จากวารสารชัย
พัฒนาความว่า เมอ่ื เดือนสิงหาคม 2542 “เศรษฐกิจพอเพียงเป็นเสมือนรากฐานของชวี ิต รากฐานความมั่นคงของ
แผ่นดิน เปรียบเสมือนเสาเข็มที่ถูกตอกรองรับบ้านเรือนตัวอาคารไว้น่ันเอง สิ่งก่อสร้างจะม่ันคงได้ก็อยู่ที่
เสาเข็ม แต่คนส่วนมากมองไม่เห็นเสาเข็ม และลืมเสาเข็มเสียด้วยซ้าไป” และพระบรมราโชวาทในพิธีพระราชทาน
ปริญญาบัตรของมหาวิทยาลัยขอนแก่น เมื่อวันท่ี 20 ธันวาคม 2516 ความว่า “การพัฒนาประเทศจาเป็นต้องทา
ตามลาดบั ข้ัน ตอ้ งสรา้ งพื้นฐาน คือ ความพอมีพอกิน พอใช้ ของประชาชนส่วนใหญ่เป็นเบื้องต้นก่อน โดยใช้วิธีการ
และใช้อุปกรณ์ทปี่ ระหยัด แตถ่ ูกตอ้ งตามหลักวิชา เม่ือได้พน้ื ฐานมน่ั คงพร้อมพอควรและปฏิบตั ิได้แลว้ จงึ คอ่ ยสร้าง
เสริมความเจริญและฐานะเศรษฐกิจช้ันท่ีสูงข้ึนโดยลาดับต่อไป” จากพระราชดารัสและพระบรมราโชวาทของ
พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดลุ ยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร ดังกลา่ วข้างต้น จะเหน็ ว่าหลัก
ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียงสามารถพัฒนาประเทศ สงั คม และคุณภาพของประชาชนในชาติ
การขับเคล่ือนปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงสู่สถานศึกษาเป็นการจัดการศึกษาที่นาปรัชญาของเศรษฐกิจ
พอเพียงไปประยุกต์ใชใ้ นการพฒั นาผู้เรียน ในและนอกระบบการศึกษา ให้สามารถดารงชีวิตก้าวหน้าไปอย่างสมดุล
ม่ันคงพร้อม ๆ กับมีวิถีการปฏิบัติที่ยั่งยืน พร้อมทั้งเสนอแนวทางการนาปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงไปจัด
การศึกษาว่าสถานศึกษาควรมุ่งส่งเสริมการเรียนรู้และปลูกฝังเสริมสร้างให้ผู้เรียนมีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ใน
การดาเนินชีวิตตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงและมีการพัฒนาหรือบูรณาการเน้ือหาสาระของปรัชญาของ
เศรษฐกิจพอเพียงเข้าไปในหลักสูตร ซ่ึงแนวทางดังกล่าวสามารถนามาปรับใช้ให้เหมาะชมกับบริบทของสถานศึกษา
ได้ (กระทรวงศึกษาธิการ. 2551) และอกี ท้ังนโยบายของกระทรวงศึกษาธิการกาหนด ให้สถานศกึ ษาทุกแห่งนาหลัก
ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสู่การปฏิบัติในสถานศึกษาในหลักการบริหารจัดการท้ัง 5 ด้าน ด้านการบริหาร
จัดการ ด้านหลักสูตรการเรียนการสอน ด้านกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ด้านการพัฒนาบุคลากร และผลลัพธ์ท่ีเกิดกับ
สถานศึกษา ผเู้ รยี น ครผู สู้ อน
จากความสาคัญของหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ผู้วิจัยตระหนักและเห็นความจาเป็น ความสาคัญ
ได้ยึดถือและน้อมนาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสู่การปฏิบัติ นามาใช้ในในการดาเนินชีวิตประจาวัน และ
เป็นแนวทางในการพัฒนาสถานศึกษาให้มีคุณภาพ ผู้วิจัยในฐานะบทบาทของผู้บริหารโรงเรียนบ้านวังใหญ่ ได้
ดาเนินการขับเคลื่อนน้อมนาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงอย่างต่อเน่ืองตลอดมาด้วยความมุ่งมั่น เข้มแข็ง
และให้เกิดความย่ังยืน ตลอดไปให้จงได้ จึงสนใจที่จะพัฒนารูปแบบการบริหารจัดการสถานศึกษาของเศรษฐกิจ
พอเพียงของโรงเรียนบ้านวังใหญ่ สานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษาสงขลา เขต 3 โดยมีความมุ่งหวังให้
เป็นโรงเรียนดีมีคุณภาพ เกิดคุณลักษณะความพอประมาณ ความมีเหตุผล ความมีภูมิคุ้มกันในตัวที่ดี และเงื่อนไข
คุณธรรม เง่ือนไขความรู้ ในขณะเดียวกันจะเป็นการสร้างสัมพันธภาพท่ีดีระหว่างผู้บริหาร บุคลากรในโรงเรียน
ผู้ปกครอง ชุมชน และนาแนวทางของรูปแบบการบริหารสถานศึกษาดังกล่าว มาใช้ในการบริหารงานต่างๆ โดย
รู้เท่าทันการเปล่ียนแปลงของกระแสในยุคโลกาภิวัตน์ อันจะส่งผลให้โรงเรียน นักเรียน บุคลากร ผู้ปกครอง และ
ชุมชน มีความสุขในการอยู่ร่วมกันและมีความรู้คู่คุณธรรม น้อมนาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสู่การ
ประยกุ ต์ใชใ้ นโลกศตวรรษที่ 21 อยา่ งมนั่ คงและยั่งยืน
วัตถุประสงค์ของการวิจัย
การวิจัยคร้งั นมี้ วี ัตถปุ ระสงค์ดังน้ี
1. เพ่ือศึกษาสภาพปัจจบุ ันและสภาพที่พงึ ประสงคก์ ารบริหารสถานศึกษาตามหลักปรัชญาของ
เศรษฐกจิ พอเพยี งของโรงเรยี นบ้านวงั ใหญ่ สานกั งานเขตพ้ืนทีก่ ารศึกษาประถมศึกษาสงขลา เขต 3
2. เพ่ือสรา้ งและตรวจสอบรปู แบบการบริหารสถานศึกษาตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง
ของโรงเรยี นบ้านวังใหญ่ สานักงานเขตพืน้ ที่การศึกษาประถมศึกษาสงขลา เขต 3
3. เพอื่ ทดลองใช้รูปแบบการบริหารสถานศึกษาตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งของโรงเรยี น
บ้านวังใหญ่ สานกั งานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสงขลา เขต 3
4. เพอ่ื ประเมินความเหมาะสมและความเปน็ ประโยชน์ในการนาไปปฏิบัติของรูปแบบการบริหาร
สถานศกึ ษาตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงของโรงเรยี นบ้านวังใหญ่ สานักงานเขตพืน้ ที่การศกึ ษา
ประถมศึกษาสงขลา เขต 3
ข้นั ตอนการดาเนนิ การวิจัย วธิ วี จิ ยั / กระบวนการวจิ ยั ผลท่ไี ดร้ บั
ขัน้ ตอนการวิจัย
1. ศึกษาแนวคดิ ทฤษฎีและงานวจิ ยั ท่ี สภาพปจั จบุ นั และความ
ข้ันตอนที่ 1 ศกึ ษาสภาพ เกยี่ วขอ้ งกับการบรหิ ารสถานศึกษาตาม ตอ้ งการด้านการบรหิ าร
ปจั จบุ ันและความตอ้ งการ หลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง สถานศึกษาตามหลักปรชั ญา
ด้านการบริหารสถานศึกษา ของเศรษฐกจิ พอเพียง
ตามหลกั ปรัชญาของ 2. สอบถามความคิดเห็นเกยี่ วกบั สภาพปจั จบุ นั (ตอบวตั ถุประสงคข์ อ้ 1)
เศรษฐกิจพอเพยี ง และความตอ้ งการการบริหารสถานศกึ ษาตาม
หลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง
ขน้ั ตอนที่ 2 สรา้ งและ 1. ศกึ ษาแนวคิด ทฤษฎแี ละงานวจิ ัยท่ี ได้องคป์ ระกอบของ
ตรวจสอบรปู แบบ เกย่ี วข้องกบั องค์ประกอบของรูปแบบ รปู แบบการบรหิ าร
2. สรุปการสังเคราะห์องคป์ ระกอบของ สถานศึกษาตามหลกั
ข้ันตอนท่ี 3 ทดลอง รูปแบบ ปรชั ญาของเศรษฐกจิ
ใช้รูปแบบ พอเพยี ง
3. สรา้ งรปู แบบและคู่มือการใชร้ ูปแบบ (ตอบวตั ถปุ ระสงค์ขอ้ 2)
ขนั้ ตอนท่ี 4 ประเมิน
ความเหมาะสมและ 4. ตรวจสอบรปู แบบโดยผ้ทู รงคณุ วุฒิ ผลการใช้รูปแบบการบริหาร
ความเปน็ ประโยชน์ สถานศกึ ษาตามหลักปรัชญา
ในการนาไปปฏบิ ัติ 5.ปรบั ปรุงรูปแบบตามข้อเสนอแนะ ของเศรษฐกิจพอเพยี ง
ของรูปแบบ ผู้ทรงคณุ วฒุ ิ (ตอบวตั ถุประสงคข์ ้อ 3)
1. ประชุมชี้แจงทาความเข้าใจกับครแู ละ
บคุ ลากรทางการศึกษาในโรงเรยี น
2. ดาเนินการทดลองใช้รูปแบบ
3. ผูว้ จิ ยั นเิ ทศ และตดิ ตาม
ประเมินและรับรองรปู แบบการบรหิ าร รูปแบบการบรหิ าร
สถานศกึ ษาตามหลกั ปรชั ญาของ สถานศกึ ษาตามหลกั
เศรษฐกจิ พอเพยี ง โดยผูเ้ ชี่ยวชาญและ ปรชั ญาของเศรษฐกิจ
ผู้ทรงคณุ วฒุ ิจานวน 7 คน และแบบ พอเพียง
ตรวจสอบรายการ (checklist)เศรษฐกจิ
พอเพียง (ตอบวตั ถปุ ระสงค์ขอ้ 4)
ภาพที่ 3.1 แสดงข้นั ตอนการดาเนินการวิจัย
กรอบแนวคิดในการวจิ ัย
กรอบแนวคิดการพัฒนารูปแบบการบริหารสถานศึกษาตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงของ
โรงเรียนบา้ นวังใหญ่ สานักงานเขตพืน้ ที่การศกึ ษาประถมศกึ ษาสงขลา เขต 3
ทฤษฎีท่ีเกยี่ วขอ้ ง องค์ประกอบของรูปแบบการบริหาร รปู แบบการบริหาร
1. แนวคดิ ทฤษฎี สถานศกึ ษาตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ สถานศึกษาตามหลัก
เกีย่ วกบั รูปแบบ ปรัชญาของเศรษฐกิจ
2. แนวคิดและทฤษฎี พอเพียง พอเพยี งของโรงเรยี นบ้านวงั
เกี่ยวกบั การบริหาร 1. แนวคดิ ของรปู แบบการบริหารสถานศกึ ษา ใหญ่ สานักงานเขตพนื้ ท่ี
จัดการสถานศึกษา ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงของ การศึกษาประถมศกึ ษา
3. เศรษฐกจิ พอเพียง โรงเรียน บ้านวงั ใหญ่ สานักงานเขตพืน้ ท่ี สงขลา เขต3
การศึกษาประถมศึกษาสงขลา เขต 3
1) หลกั การของรูปแบบ
2) วัตถปุ ระสงค์ของรูปแบบ
3) เงอ่ื นไขการความสาเร็จของการนารูปแบบ
ไปใช้
4) โครงสรา้ งสาระสาคัญ
5) การดาเนินงานของรูปแบบ
6) การวัดและประเมินผล
2. องค์ประกอบของการบริหาร
สถานศกึ ษา ประกอบด้วย
1) การบรหิ ารงานวชิ าการ
2) การบรหิ ารงานงบประมาณ
3) การบรหิ ารงานบุคคล
4) การบริหารงานทัว่ ไป
3. การนาหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง
มาใช้ในการบรหิ ารสถานศกึ ษา
ภาพท่ี 1.1 การพฒั นารูปแบบการบริหารสถานศึกษาตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง
ของโรงเรยี นบา้ นวงั ใหญ่ สานักงานเขตพนื้ ที่การศึกษาประถมศึกษาสงขลา เขต 3
การเก็บรวบรวมข้อมูล
ขน้ั ตอนท่ี 1 ศกึ ษาสภาพปัจจบุ ันและความต้องการด้านการบรหิ ารสถานศกึ ษาตามหลักปรชั ญา
ของเศรษฐกจิ พอเพยี งของโรงเรยี นบา้ นวังใหญ่ สานกั งานเขตพื้นท่กี ารศึกษาประถมศกึ ษาสงขลา เขต 3
ดาเนินการ ดังน้ี
การเก็บรวบรวมขอ้ มูล
นาแบบส อบถาม คว าม คิด เห็น เ ก่ียว กับส ภ าพ ปัจจุ บัน แล ะคว า มต้ อง ก ารรู ปแ บบ การ บริ ห า ร
สถานศึกษาตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงของโรงเรียนบ้านวังใหญ่ สานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษา
ประถมศึกษาสงขลา เขต 3 เพ่ือต้องการทราบภาพรวมของสภาพปัจจุบัน และความต้องการด้านการบริหาร
สถานศึกษาตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงของโรงเรียนบ้านวังใหญ่ สานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษา
ประถมศึกษาสงขลา เขต 3 ว่าเป็นอย่างไร จากครผู ู้สอนของโรงเรียนบา้ นวงั ใหญ่ ตวั แทนกรรมการสถานศึกษา
ตัวแทนผู้ปกครอง และตัวแทนผู้นาชุมชน รวมท้ังส้ินจานวน 90 คน โดยใช้การเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบเจาะจง
(Purposive sampling) โดยการส่งแบบสอบถามไปยังกลุ่ม ตัวอย่างด้วยตนเอง ระหว่างวันท่ี 1 เมษายน พ.ศ.
2563 - 31 พฤษภาคม พ.ศ.2563 จานวน 90 ฉบับ และได้ตอบกลบั มา จานวน 90 ฉบับ คิดเปน็ รอ้ ยละ 100
การวเิ คราะห์ข้อมูล
1. วิเคราะห์ข้อมูลสถานภาพท่ัวไปของผู้ตอบแบบสอบถาม โดยใช้ค่าความถ่ี (Frequency) และค่า
ร้อยละ (Percentage)
2.การวิเคราะห์คะแนนคาตอบของผู้ตอบแบบสอบถาม ใช้การวิเคราะห์ด้วยสถิติพื้นฐาน คือ
ค่าเฉล่ีย (Mean) และส่วนเบีย่ งเบนมาตรฐาน (Standard Deviation) รายข้อและภาพรวม
ขั้นตอนท่ี 2 สร้างและตรวจสอบรูปแบบการบริหารสถานศึกษาตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ
พอเพียงของโรงเรียนบา้ นวังใหญ่ สานกั งานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศกึ ษาสงขลา เขต 3
การเกบ็ รวบรวมขอ้ มลู
นาแบบสอบถามตรวจสอบรูปแบบการบริหารสถานศึกษาตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
ของโรงเรียนบ้านวังใหญ่ สานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษาสงขลา เขต 3 และแบบสอบถามการ
ประเมินคู่มือการใช้รูปแบบการบริหารสถานศึกษาตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงของโรงเรียนบ้านวงั
ใหญ่ สานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษาสงขลา เขต 3 เสนอต่อผู้ทรงคุณวุฒิ และดาเนินการเก็บ
รวบรวมข้อมลู จากแบบสอบถามด้วยตนเอง ในระหวา่ งวันที่ 1 กรกฎาคม 2563 - 31 กรกฎาคม 2563 จานวน
5 ฉบับ ได้ตอบกลับมา จานวน 5 ฉบับ คิดเป็นรอ้ ยละ 100
การวิเคราะหข์ ้อมลู
1. วิเคราะหข์ อ้ มูลสถานภาพทว่ั ไปของผู้ตอบแบบสอบถาม โดยใช้ค่าความถี่ (Frequency) และค่า
ร้อยละ (Percentage)
2.การวิเคราะห์คะแนนคาตอบของผู้ตอบแบบสอบถาม ใช้การวิเคราะห์ด้วยสถิติพื้นฐาน คือ
ค่าเฉลย่ี (Mean) และส่วนเบีย่ งเบนมาตรฐาน (Standard Deviation) รายข้อและภาพรวม
ขั้นตอนท่ี 3 ทดลองใช้รูปแบบการบริหารสถานศึกษาตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
ของโรงเรียนบ้านวังใหญ่ สานกั งานเขตพน้ื ที่การศึกษาประถมศกึ ษาสงขลา เขต 3
การเกบ็ รวบรวมขอ้ มูล
1. นาแบบสอบถามการบริหารสถานศึกษาตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงของโรงเรียน
บา้ นวงั ใหญ่ สานกั งานเขตพื้นท่กี ารศกึ ษาประถมศกึ ษาสงขลา เขต 3 กับกลมุ่ ตัวอย่างในการตอบแบบสอบถาม
(Pre-test)
2. ประชุมช้ีแจงทาความเข้าใจกับครูและบุคลากรทางการศึกษาในโรงเรียนเพ่ือให้ความรู้ความ
เข้าใจในการดาเนินงานและกิจกรรมต่าง ๆ ตามกรอบเนื้อหาของรูปแบบได้แก่ 1) หลักการของรูปแบบ
วัตถุประสงค์ของรูปแบบ เง่ือนไขความสาเร็จของการนารูปแบบไปใช้ โครงสร้างสาระสาคัญ การดาเนินงาน
ของรปู แบบ และการวดั และประเมินผล 2) การดาเนินงานของรูปแบบมี 3 ข้ันตอนไดแ้ ก่ ขัน้ ที่ 1 การวางแผน
ออกแบบแนวทางการจัดการเรียนการสอนและกิจกรรม ขั้นท่ี 2 ปฏิบัติการสอนและกิจกรรมและสังเกตการ
เรียนรู้ของนักเรียน ข้นั ท่ี 3 สะทอ้ นคดิ ผลการปฏิบตั ิงาน
3. กลุ่มตัวอย่างศึกษาคู่มือการใช้รูปแบบการบริหารสถานศึกษาตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ
พอเพยี งของโรงเรยี นบา้ นวังใหญ่ สานกั งานเขตพนื้ ท่ีการศกึ ษาประถมศึกษาสงขลา เขต 3
4. การปฏิบัติงานตามรูปแบบการบริหารสถานศึกษาตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงของ
โรงเรียนบ้านวังใหญ่ สานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษาสงขลา เขต 3 ระหว่างวันที่ 1 พฤศจิกายน
2563 - 31 ตลุ าคม พ.ศ. 2564
5. ผู้วจิ ยั นิเทศ และติดตามการปฏิบัตงิ านตามรูปแบบการบริหารสถานศึกษาตามหลักปรัชญาของ
เศรษฐกิจพอเพียงของโรงเรียนบ้านวังใหญ่ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสงขลา เขต 3 เพื่อ
สอบถามติดตาม สอบถามปัญหาและใหก้ ารช่วยเหลอื
6. นาแบบสอบถามการบริหารสถานศึกษาตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงของโรงเรียน
บา้ นวังใหญ่ สานกั งานเขตพ้ืนที่การศกึ ษาประถมศึกษาสงขลา เขต 3 ให้กลุม่ ตวั อย่าง ตอบแบบสอบถามความ
คิดเห็นการบริหารสถานศึกษาตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงของโรงเรียน บ้านวังใหญ่ สานักงานเขต
พืน้ ท่ีการศึกษาประถมศกึ ษาสงขลา เขต 3
การวเิ คราะห์ขอ้ มลู
1. วิเคราะหข์ อ้ มลู สถานภาพทว่ั ไปของผูต้ อบแบบสอบถาม โดยใช้ค่าความถ่ี (Frequency) และคา่
ร้อยละ (Percentage)
2.การวิเคราะห์คะแนนคาตอบของผู้ตอบแบบสอบถาม ใช้การวิเคราะห์ด้วยสถิติพื้นฐาน คือ
คา่ เฉลยี่ (Mean) และสว่ นเบ่ียงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation) รายขอ้ และภาพรวม
ขัน้ ตอนที่ 4 ประเมนิ ความเหมาะสมและความเป็นประโยชน์ในการนาไปปฏิบัติของการพัฒนา
รูปแบบ การบริหารสถานศึกษาตามหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียงของโรงเรียนบ้านวงั ใหญ่ สานกั งาน
เขตพ้ืนทีก่ ารศกึ ษาประถมศึกษาสงขลา เขต 3
การเก็บรวบรวมขอ้ มลู
ดาเนินการเก็บรวบรว ม ข้อมูล โด ยก ารสน ทน ากลุ่ มเ พ่ื อร่ว ม กันแ สดง ควา ม คิด เห็น และเ ก็บ ข้อมู ล จ า ก
แบบสอบถาม จากกลุ่มตัวอย่างในระหว่างวันที่ 15 – 30 พฤศจิกายน พ.ศ.2564 จากครูผู้สอนตัวแทน
ผู้ปกครองและตัวแทนกรรมการสถานศึกษา จานวน 90 คน ซึ่งผู้วิจัยใช้วิธีการเลือกแบบเจาะจง (Purposive
Sampling) ได้รบั แบบประเมนิ กลบั มา จานวน 90 ฉบับ คดิ เปน็ รอ้ ยละ 100
การวิเคราะหข์ ้อมูล
1. วิเคราะหข์ ้อมูลสถานภาพทั่วไปของผู้ตอบแบบสอบถาม โดยใชค้ า่ ความถี่ (Frequency) และค่า
รอ้ ยละ (Percentage)
2.การวิเคราะห์คะแนนคาตอบของผู้ตอบแบบสอบถาม ใช้การวิเคราะห์ด้วยสถิติพ้ืนฐาน คือ
ค่าเฉลย่ี (Mean) และสว่ นเบ่ยี งเบนมาตรฐาน (Standard Deviation) รายขอ้ และภาพรวม
ผลการวจิ ัย
1. ผลศึกษาสภาพปัจจุบัน สภาพท่ีพึงประสงค์การบริหารจัดการตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ
พอเพียงของโรงเรยี นบ้านวังใหญ่ สานักงานเขตพ้นื ท่ีการศึกษาประถมศึกษาสงขลา เขต 3
ผลการสอบถามความคิดเห็นเก่ียวกับสภาพปัจจุบัน สภาพท่ีพึงประสงค์การบริหารจัดการตามหลัก
ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงของโรงเรียนบ้านวังใหญ่ สานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษาสงขลา เขต 3
พบว่า สภาพปัจจุบันการบริหารจัดการตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงภาพรวม อยู่ในระดับปานกลาง
และสภาพท่ีพึงประสงค์การบรหิ ารจัดการตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี งภาพรวมอยู่ในระดับมาก
2. ผลการสร้างและตรวจสอบรูปแบบการบริหารจัดการตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงของ
โรงเรยี นบา้ นวงั ใหญ่ สานักงานเขตพน้ื ท่กี ารศกึ ษาประถมศกึ ษาสงขลา เขต 3
2.1 ผลการสร้างรูปแบบการบริหารจัดการตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงของโรงเรียน
บ้านวังใหญ่ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสงขลา เขต 3 ซึ่งประกอบด้วย 5 องค์ประกอบ ได้แก่
หลักการของรูปแบบ วัตถุประสงค์ของรูปแบบ เนื้อหาของรูปแบบ กระบวนการของรูปแบบ และการวัดและ
ประเมนิ ผล
2.2 ผลการสอบถามความคิดเห็นเก่ียวกับการตรวจสอบรูปแบบการบริหารจัดการตามหลัก
ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงของโรงเรียนบ้านวังใหญ่ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสงขลา
เขต 3 ของผู้ทรงคุณวุฒิ พบว่า ความถูกต้องภาพรวมอยู่ในระดับมาก และความเป็นไปได้ภาพรวมอยู่ในระดับ
มากทส่ี ดุ
2.3 ผลการสอบถามความคิดเห็นเก่ยี วกับการประเมินคู่มือการใช้รูปแบบการบรหิ ารจดั การตาม
หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงของโรงเรียนบ้านวังใหญ่ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสงขลา
เขต 3 พบว่า ความถูกต้องของคู่มือการใช้รูปแบบการบริหารจัดการตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
ของโรงเรียนบ้านวังใหญ่ สานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษาสงขลา เขต 3 ภาพรวมอยู่ในระดับมาก
ทส่ี ดุ และความเป็นไปได้ ของค่มู อื การใชร้ ปู แบบการบริหารจัดการตามหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งของ
โรงเรยี นบ้านวังใหญ่ สานกั งานเขตพืน้ ที่การศกึ ษาประถมศึกษาสงขลา เขต 3 ภาพรวมอยู่ในระดบั มากท่สี ดุ
3. ผลการทดลองใช้รูปแบบการบริหารจัดการตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงของโรงเรียน
บา้ นวงั ใหญ่ สานกั งานเขตพนื้ ที่การศึกษาประถมศึกษาสงขลา เขต 3 พบว่า กอ่ นการใชร้ ูปแบบภาพรวมอยู่ใน
ระดบั ปานกลาง และหลังการใชร้ ปู แบบภาพรวม อยใู่ นระดับมากท่สี ุด
4. ผลการประเมินความเหมาะสมและความเป็นประโยชน์ในการนาไปปฏิบัติของรปู แบบการบริหาร
จัดการตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงของโรงเรียนบ้านวังใหญ่ สานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษา
ประถมศึกษาสงขลา เขต 3 ผลการสอบถามความคดิ เห็นเก่ยี วกบั การประเมินความเหมาะสมในการนาไปปฏิบัติ
ของรูปแบบการบริหารจัดการตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงของโรงเรียนบ้านวังใหญ่ สานักงานเขต
พ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษาสงขลา เขต 3 พบว่า ภาพรวมอยู่ในระดับมากที่สุด และความเป็นประโยชน์ในกา
รนดไปปฏิบัติของ รูปแบบการบริหารจัดการตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงของโรงเรียนบ้านวังใหญ่
สานักงานเขตพ้นื ท่ีการศึกษาประถมศึกษาสงขลา เขต 3 พบว่า ภาพรวมอยูใ่ นระดบั มากทส่ี ุด
อภิปรายผลการวิจัย
ผูว้ จิ ยั อภิปรายผลการวิจยั ได้ดังน้ี
1. ผลศึกษาสภาพปัจจุบัน สภาพท่ีพึงประสงค์การบริหารจัดการตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ
พอเพยี งของโรงเรยี นบา้ นวงั ใหญ่ สานกั งานเขตพืน้ ท่ีการศึกษาประถมศึกษาสงขลา เขต 3
ผลการสอบถามความคิดเห็นเกีย่ วกบั สภาพปัจจุบนั สภาพท่ีพงึ ประสงคก์ ารบริหารจดั การตามหลัก
ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงของโรงเรียนบ้านวังใหญ่ สานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษาสงขลา เขต 3
พบว่า ผลการศึกษาสภาพท่ีพึงประสงค์การบริหารจัดการตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงของโรงเรียน
บ้านวังใหญ่ สานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษาสงขลา เขต 3 ภาพรวมอยู่ใน ระดับมาก สภาพสภาพ
ปจั จบุ ัน การบรหิ ารจดั การตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งของโรงเรียนบ้านวังใหญ่ สานักงานเขตพ้ืนที่
การศึกษาประถมศึกษาสงขลา เขต 3 ภาพรวมอยู่ในระดับปานกลาง เม่ือพิจารณารายด้านสภาพปัจจุบัน
การบริหารจัดการตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงของโรงเรียนบ้านวังใหญ่ สานักงานเขต พ้ืนที่
การศึกษาประถมศึกษาสงขลา เขต 3 ด้านที่ 1 การสร้างความพอประมาณ ภาพรวมอยู่ในระดับปานกลาง
ด้านท่ี 2 การบริหารงานโดยใช้เหตุผลภาพรวมอยู่ในระดับปานกลาง ด้านท่ี 3 การสร้างภูมิคุ้มกัน ภาพรวมอยู่
ในระดับปานกลาง ด้านที่ 4 การบริหารงานบนฐานของความรู้ ภาพรวมอยู่ในระดับปาน และด้านที่ 5 การ
บริหารงานที่ตั้งอยู่บนคุณธรรมและจริยธรรม ภาพรวมอยู่ในระดับปานกลาง เมื่อพิจารณารายด้านสภาพท่ีพึง
ประสงค์การบริหารจัดการตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงของโรงเรียนบ้านวังใหญ่ สานักงานเขตพ้ืนท่ี
การศึกษาประถมศึกษาสงขลา เขต 3 ด้านที่ 1 การสร้างความพอประมาณ ภาพรวมอยใู่ นระดบั มาก ด้านที่ 2
การบริหารงานโดยใช้เหตุผลภาพรวมอยู่ในระดับมาก ด้านท่ี 3 การสร้างภูมิคุ้มกัน ภาพรวมอยู่ในระดับมาก
ด้านท่ี 4 การบริหารงานบนฐานของความรู้ ภาพรวมอยู่ในระดับมาก และด้านที่ 5 การบริหารงานที่ต้ังอยู่บน
คณุ ธรรมและจรยิ ธรรม ภาพรวมอยใู่ นระดับมาก
2. ผลการสร้างและตรวจสอบรูปแบบการบริหารจัดการตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงของ
โรงเรียนบา้ นวงั ใหญ่ สานกั งานเขตพ้ืนที่การศกึ ษาประถมศกึ ษาสงขลา เขต 3
2.1 ผลการสรา้ งรปู แบบการบริหารจัดการตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียงของโรงเรียน
บ้านวังใหญ่ สานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษาสงขลา เขต 3 ซ่ึงประกอบด้วย 6 องค์ประกอบ ได้แก่
หลักการของรูปแบบ วัตถุประสงค์ของรูปแบบ เงื่อนไขการความสาเร็จของการนารูปแบบไปใช้ โครงสร้าง
สาระสาคัญ การดาเนินงานของรูปแบบ และการวัดและประเมินผล ท่ีเป็นเช่นน้ีเพราะผู้วิจัยได้ศึกษาแนวคิด
และทฤษฎีและนามาสังเคราะห์และสรุปเป็นรูปแบบของการบริหารจัดการตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ
พอเพียงของโรงเรียนบ้านวังใหญ่ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสงขลา เขต 3 ทั้งน้ีสอดคล้องกับ
นภาพร มูลเมือง (2563) รูปแบบการบริหารสถานศึกษาตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงของโรงเรียน
พานทองสภาชนูปถัมภ สังกัดสานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษามัธยมศึกษาเขต 18 ผลการวิจัย พบว่า รูปแบบการ
บริหารสถานศึกษาตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงของโรงเรียนพานทองสภาชนูปถัมภ์ จังหวัดชลบุรี
ประกอบด้วย องค์ประกอบ 5 ส่วน คือ ส่วนนาระบบการบริหารแบบปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียง การนา
รูปแบบไปใช้การประเมนิ ผลและเงือ่ นไขความสาเรจ็ และข้อจากัด และยงั สอดคลอ้ งกบั สุธรรม ธรรมทัศนานนท์
(2560) การพัฒนารูปแบบการบรหิ ารจดั การตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง สาหรับสถานศึกษาสังกดั
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 27 ผลการวิจัยรูปแบบการบริหารจัดการตามหลักปรัชญาของ
เศรษฐกจิ พอเพียง สาหรบั สถานศกึ ษาสงั กดั สานกั งานเขต พ้ืนทีก่ ารศกึ ษามัธยมศกึ ษา เขต 27 แบ่งเป็น 5 สว่ น
ประกอบ ดว้ ยส่วนที่ 1 แนวคิดและหลักการ วตั ถุประสงคข์ อง รปู แบบ ส่วนที่ 2 องค์ประกอบของรูปแบบการ
จัดการศกึ ษาตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียงฯ ประกอบด้วย องคป์ ระกอบท่ี 1 สภาพแวดลอมภายนอก
องค์ประกอบที่ 2 ปัจจัยป้อนเข้า องค์ประกอบท่ี 3 กระบวนการ องค์ประกอบท่ี 4 ผลผลิต /ผลลัพธ์
องค์ประกอบท่ี 5 ขอ้ มลู ปอ้ นกลบั สว่ นที่ 3 การนารปู แบบไปใช้ส่วนที่ 4 การประเมนิ ผล และส่วนที่ 5 เงอ่ื นไข
ความสาเรจ็
2.2 ผลการสอบถามความคิดเห็นเก่ียวกับการตรวจสอบรูปแบบการบริหารจัดการตามหลัก
ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงของโรงเรียนบ้านวังใหญ่ สานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษาสงขลา เขต 3
ของผู้ทรงคุณวุฒิ พบว่า ผลการสอบถามความคิดเห็นเกี่ยวกับการตรวจสอบรูปแบบการบริหารสถานศึกษาตาม
หลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียงของโรงเรยี นบา้ นวังใหญ่ สานกั งานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษาสงขลา เขต
3 ของผทู้ รงคณุ วฒุ ิพบว่า ความถูกต้องภาพรวมอยู่ในระดบั มาก และความเป็นไปได้ ภาพรวมอยใู่ นระดับมากที่สุด
และเมื่อพิจารณารายด้าน หลักการของรูปแบบ ความถูกต้องอยู่ในระดับมาก ความเป็นไปได้อยู่ในระดับมากที่สุด
ด้านวัตถุประสงค์ของรูปแบบความถูกต้องอยู่ในระดับมาก ความเป็นไปได้อยู่ในระดับมากท่ีสุด ด้านเงื่อนไขการ
ความสาเร็จของการนารูปแบบไปใช้ความถูกต้องอยู่ในระดับมากที่สุด ความเป็นไปได้อยู่ในระดับมากท่ีสุด ด้าน
เโครงสร้างสาระสาคัญ ความถูกต้องอยู่ในระดับมาก ความเป็นไปได้อยู่ในระดับมากท่ีสุด ด้านกระบวนการของ
รูปแบบ ความถูกต้องอยู่ในระดับมากที่สุด ความเป็นไปได้อยู่ในระดับมาก ด้านการวัดและประเมินผล ความ
ถูกต้องอยู่ในระดับมากท่ีสุด ความเป็นไปได้อยู่ในระดับมากที่สุด ที่เป็นเช่นนี้เพราะว่ารูปแบบการบริหารจัดการ
ตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียงของโรงเรียนบ้านวังใหญ่ สานกั งานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสงขลา
เขต 3 ผ่านการตรวจสอบและหาคุณภาพจากผู้ทรงคุณวุฒิท่ีมีความรู้ ความสามารถซ่ึงสอดคล้องกับแนวคิดของ
อุทุมพร จามรมาน (2549 : 23) กล่าวว่า การตรวจสอบรูปแบบมีหลายวิธีซ่ึงอาจใช้การวิเคราะห์จากหลักฐานเชงิ
คุณลักษณะ(Qualitative) และเชิงปริมาณ (Quantitative) โดยท่ีการตรวจสอบรูปแบบจากหลักฐานเชิง
คุณลักษณะ อาจใช้ผู้เช่ียวชาญเป็นผู้ตรวจสอบ และสอดคล้องกับแนวคิดของ ไอน์เนอร์ (Eisner. 1976 : 192-
193) ได้เสนอแนวคิดการตรวจสอบ โดยการใช้ผู้ทรงคุณวุฒิในบางเรื่องท่ีต้องการความละเอียดอ่อนมากกว่าการ
วิจัยในเชิงปริมาณ โดยเชื่อว่าการรับรู้ที่เท่ากันน้ันเป็นคุณสมบัติพื้นฐานของผู้รู้ซ่ึงสอดคล้องกับงานวิจัยของ
ไพบูลย์ ศรีบุรินทร์ (2562) การพัฒนารูปแบบการบริหารสถานศึกษา ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงของ
โรงเรียนบ้านเด่ือวิทยาคม สังกัดองค์การบริหารส่วนจังหวัดชัยภูมิผลการวิจัยพบว่าผลการสร้างและตรวจสอบ
รูปแบบการบริหารสถานศึกษา ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ของโรงเรียนบ้านเด่ือวิทยาคม สังกัด
องค์การบริหารสว่ นจังหวัดชัยภมู ิ พบว่า โดยรวมมีความเหมาะสมอยู่ในระดับมากที่สดุ ( X =4.63) และนอกจากนี้
ยงั สอดคล้องกับฉัตรชัย ตัง้ ศรที อง (2561) การพัฒนารปู แบบการบริหารสถานศึกษาพอเพียง สังกัดสานกั งานเขต
พน้ื ทก่ี ารศึกษาประถมศึกษา ภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนล่างผลการวิจยั พบว่า การประเมินรูปแบบการบริหาร
สถานศึกษาพอเพียง พบว่า ความเหมาะสมอยู่ในระดับมากท่ีสุด ความเป็นไปได้อยู่ในระดับมากท่ีสุดและความมี
ประโยชน์อยใู่ นระดับมากท่สี ุด
2.3 ผลการสอบถามความคิดเห็นเก่ยี วกับการประเมนิ คู่มือการใชร้ ูปแบบการบริหารจัดการตาม
หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงของโรงเรียนบ้านวังใหญ่ สานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษาสงขลา
เขต 3 พบว่า ความถูกต้องของคู่มือการใช้รูปแบบการบริหารจัดการตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
ของโรงเรียนบ้านวังใหญ่ สานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษาสงขลา เขต 3 ภาพรวมอยู่ในระดับมาก
ทส่ี ดุ และความเป็นไปได้ ของค่มู ือการใชร้ ูปแบบการบริหารจดั การตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียงของ
โรงเรียนบ้านวังใหญ่ สานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษาสงขลา เขต 3 ภาพรวมอยู่ในระดับมากที่สุด
เป็นเช่นนี้เพราะว่าผู้วิจัยได้ศึกษาแนวคิด ทฤษฎีและงานวิจัยท่ีเก่ียวข้องกับการจัดทาคู่มือการใช้รูปแบบตาม
แนวคิดของไอแวนเควิช และคณะ (Ivancevich et al. 1989 : 11-12) กล่าวว่า การจัดทาคู่มือการใช้รูปแบบ
โดยนาสาระของรูปแบบ เคร่ืองมือ และเอกสารประกอบการใช้รูปแบบทั้งหมดมาบรรจุไว้ในคู่มือเพื่อการ
พัฒนารูปแบบการดาเนินงานที่สมบูรณ์ครบถ้วน และเม่ือตรวจสอบคุณภาพของรูปแบบแล้วต้องรายงานการ
ตรวจสอบรูปแบบไว้ในภาคผนวกของคู่มือ เพ่ือประโยชน์ต่อผู้สนใจศึกษา และนารูปแบบไปใช้ในการ
ดาเนินงานอย่างเหมาะสม ซึ่งสอดคล้องกับงานวิจัยของ นัฎชฎารัตน์ ณ นคร (2559) รูปแบบการพัฒนา
สมรรถนะครูประถมศึกษา สังกดั สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขนั้ พนื้ ฐาน จงั หวัดภาคใตฝ้ ่งั ทะเลอันดามัน
ผลการวิจัยพบว่า ผลการใช้คู่มือรูปแบบการพัฒนาสมรรถนะครูประถมศึกษาสังกัดสานักงานคณะกรรมการ
การศึกษาขั้นพื้นฐาน จังหวัดภาคใต้ฝั่งทะเลอันดามัน พบว่า อยู่ในระดับมาก และสอดคล้องกับงานวิจัยของ
ธญั ญลกั ษณ์ เวชกามา (2560) รปู แบบการพฒั นาสมรรถนะครูดา้ นการสอนภาษาอังกฤษของโรงเรียน
3. ผลการทดลองใช้รูปแบบการบริหารจัดการตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงของโรงเรียน
บา้ นวังใหญ่ สานกั งานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษาสงขลา เขต 3 พบว่า ก่อนการใช้รูปแบบภาพรวมอยู่ใน
ระดับปานกลาง และหลังการใช้รูปแบบภาพรวม อยู่ในระดับมากท่ีสุด ที่เป็นเช่นนี้เพราะผู้วิจัยได้มีการจัดทา
คู่มือท่ีเป็นแนวทางในการดาเนินและมีการช้แี จงทาความเข้าใจให้ผเู้ กี่ยวข้องได้รับทราบ และมีการแจ้งผลการ
ดาเนินการให้ได้รับทราบทั่วกันในทุกส้ินเดือนและเปิดโอกาสให้ผู้มีส่วนร่วมได้แสดงความคิดเห็นมีการ
แลกเปลีย่ นความคิดเห็น ขอ้ คน้ พบจากการดาเนินการเพ่ือนามาปรับปรุงแก้ไขและพัฒนาร่วมกนั สอดคล้องกับ
สุเทพ สังข์วิเศษ (2663) การพัฒนารูปแบบการบริหารจัดการสถานศึกษาตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ
พอเพียง (สถานศึกษาพอเพียง) ของโรงเรียนปาโมกข์วิทยาภูมิ จังหวัดอ่างทอง (สถานศึกษาพอเพียง) ของ
โรงเรียนปาโมกข์วิทยาภูมิ จงั หวัดอ่างทอง ผลการวจิ ัย ผลการทดลองใชร้ ูปแบบการบริหารจัดการสถานศึกษา
ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง (สถานศึกษาพอเพียง) ของโรงเรียนปาโมกข์วิทยาภูมิจังหวัดอ่างทอง
ผลการทดลองใช้รูปแบบการบริหารจัดการสถานศึกษาตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง (สถานศึกษา
พอเพียง) ของโรงเรียนปาโมกขว์ ิทยาภูมิจังหวดั อา่ งทอง โดยรวม พบวา่ มกี ารปฏิบัตอิ ยูใ่ นระดับมาก
4. ผลการประเมนิ ความเหมาะสมและความเป็นประโยชน์ในการนาไปปฏิบัติของรปู แบบการบริหาร
จัดการตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงของโรงเรียนบ้านวังใหญ่ สานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษา
ประถมศึกษาสงขลา เขต 3 ขั้นพ้ืนฐาน ผลการสอบถามความคิดเห็นเก่ียวกับการประเมินความเหมาะสมใน
การนาไปปฏิบัติของรูปแบบการบริหารจัดการตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงของโรงเรียนบ้านวังใหญ่
สานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษาสงขลา เขต 3 พบว่า ภาพรวมอยู่ในระดับมากที่สุด และความเป็น
ประโยชนใ์ นการนาไปปฏบิ ตั ิของ รูปแบบการบรหิ ารจัดการตามหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียงของโรงเรียน
บ้านวังใหญ่ สานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษาสงขลา เขต 3 พบว่า ภาพรวมอยู่ในระดับมากที่สุด ท้ังน้ี
เนื่องจากในการจดั ทาคู่มือและแนวทางในการดาเนินงานหรือการบรหิ ารสถานศึกษาผู้วิจยั ไดจ้ ัดทาค่มู ือสาหรับ
เป็นแนวทางในการดาเนินการอย่างเป็นระบบและตามแผนการดาเนินการที่วางไว้ มีการร่วมกันแสดงความ
คิดเห็นและสะท้อนคิดร่วมกันระหว่าการดาเนินการ ท้ังนี้สอดคล้องกับสุเทพ สังข์วิเศษ (2663) การพัฒนา
รูปแบบการบริหารจัดการสถานศึกษาตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง (สถานศึกษาพอเพียง) ของ
โรงเรียนปาโมกข์วิทยาภูมิ จังหวัดอ่างทอง ผลการวิจัย ผลการประเมินการใช้รูปแบบการบริหารจัดการ
สถานศึกษาตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียง (สถานศึกษาพอเพียง) ของโรงเรียนปาโมกข์วิทยาภูมิ
จังหวัดอ่างทอง พบว่า 4.1) ผลการประเมินประสิทธิภาพการบริหารจัดการสถานศึกษาตามหลักปรัชญาของ
เศรษฐกจิ พอเพียง (สถานศึกษาพอเพียง) ของโรงเรยี นปาโมกขว์ ิทยาภูมิจังหวัดอ่างทอง โดยรวมมคี ณุ ภาพอยู่
ในระดบั มาก
ขอ้ เสนอแนะ
1. ขอ้ เสนอแนะในการนาผลการวิจยั ไปใช้
1.1 โรงเรยี นควรมกี ารประยุกต์ใชร้ ูปแบบ การบรหิ ารจดั การตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง
ใหเ้ ข้ากับบรบิ ทของโรงเรียนแต่ละแหง่ เพื่อให้เกดิ ประสิทธผิ ลมากยิง่ ขึ้น
1.2 โรงเรียนควรนารูปแบบการบริหารจัดการตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงไปใช้ ต้อง
กากับติดตาม ดูแลเพ่ือให้การดาเนินรูปแบบการบริหารจัดการตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงเกิด
ประสทิ ธิภาพมคี วามสาคัญจาเป็นอย่างยิ่งต่อการใช้รูปแบบ
1.3 สานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษาสามารถนารูปแบบการบริหารจัดการตามหลัก
ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียงไปขยายผลใหโ้ รงเรียนในสงั กดั นาไปเป็นแบบอยา่ งใชใ้ นการบรหิ ารสถานศึกษา
1.4 สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานควรให้ความสาคัญและตระหนักถึง ความจาเป็น
ในการนารูปแบบการบริหารจัดการตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง อย่างจริงจังและต่อเนื่อง ท้ังนี้อาจ
นารูปแบบการบริหารจัดการตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ท่ีได้จากการวิจัยมาประยุกต์ใช้และไป
ขยายผล ใหโ้ รงเรยี นในสงั กัดนาไปเปน็ แบบอย่างใชใ้ นการบรหิ ารจัดการสถานศกึ ษา
2. ข้อเสนอแนะเพ่ือการวิจยั คร้งั ตอ่ ไป
2.1 ควรนารูปแบบการบริหารจัดการตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงของโรงเรียนบ้านวัง
ใหญ่ สานักงานเขตพ้ืนทีก่ ารศึกษาประถมศกึ ษาสงขลา เขต 3 ไปใช้สง่ เสรมิ และพัฒนาการดาเนินการดา้ นการ
บริหารจัดการสถานศึกษาสาหรับฝ่ายงานแต่ละฝ่าย โดยมีการประยุกต์ใช้ให้เหมาะสมกับบริบทของ
สถานศกึ ษา
2.2 ควรนารูปแบบการบริหารจัดการตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาใช้บูรณาการเพื่อ
เสรมิ สร้าง ความเข้มแขง้ ทางดา้ นการบรหิ ารสถานศึกษา ทม่ี คี วามหลากหลาย
2.3 ควรมีการศึกษาผลการบริหารจัดการตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงร่วมกับการบริหาร
รปู แบบต่าง ๆ เชน่ พ้ืนทเ่ี ป็นฐาน เพือ่ ใหเ้ กิดประโยชน์สงู สุด
เอกสารอ้างองิ
กระทรวงศึกษาธิการ. (2552). การขบั เคล่ือนเศรษฐกิจพอเพียงดา้ นการศึกษา. กรงุ เทพฯ : ศูนยป์ ระสานงานกลาง
การดาเนนิ งานโครงการอนั เนื่องมาจากพระราชดาริ สานักงานปลัดกระทรวงศึกษาธกิ าร.
นภาพร มลู เมือง. (2563). รูปแบบการบริหารสถานศกึ ษาตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี งของ
โรงเรยี นพานทองสภาชนูปถัมภ สงั กัดสานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษามัธยมศกึ ษาเขต 18. จงั หวดั
ชลบุร.ี
สุธรรม ธรรมทัศนานนท์. (2560). การพัฒนารูปแบบการบริหารจัดการตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจ
พอเพียง สาหรบั สถานศึกษาสงั กดั สานกั งานเขตพนื้ ทีก่ ารศกึ ษามธั ยมศึกษา เขต 27. จังหวดั
รอ้ ยเอ็ด.
ฉตั รชยั ตง้ั ศรีทอง. (2561). การพัฒนารปู แบบการบรหิ ารสถานศึกษาพอเพยี ง สงั กัดสานักงานเขตพื้นท่ี
การศึกษาประถมศึกษา ภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนล่าง. สาขาวชิ าการบริหารการศึกษา
มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏนครราชสมี า.
Ivancevich, J. M., et al. (1989). Management: Principles and function (4th ed.). Boston,MA:
Richrad D.Trwin.
นัฎชฎารัตน์ ณ นคร. (2559). “รูปแบบการพัฒนาสมรรถนะครูประถมศึกษาสังกดั สานักงานคณะกรรมการ
การศึกษาขนั้ พน้ื ฐาน จงั หวัดภาคใตฝ้ ัง่ ทะเลอันดามนั ”. วิทยานพิ นธ์.มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั วไลย
อลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์.
ธัญญลักษณ์ เวชกามา (2560) “การพฒั นาการดาเนนิ งานเสริมสร้างวนิ ยั ดา้ นความรบั ผดิ ชอบของนักเรยี น
โรงเรยี นบ้านท่าเยยี่ มวทิ ยายล อาเภอเมอื งยาง จงั หวัดนครราชสมี า”.วิทยานพิ นธ์การศกึ ษา
มหาบัณฑิตสาขาการบริหารการศึกษา.มหาวิทยาลยั นอรท์ กรุงเทพ.
สเุ ทพ สังขว์ เิ ศษ. (2563). การพัฒนารปู แบบการบริหารจัดการสถานศกึ ษาตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจ
พอเพียง (สถานศกึ ษาพอเพียง) ของโรงเรยี นปาโมกข์วิทยาภมู ิ จังหวัดอา่ งทอง (สถานศกึ ษา
พอเพียง). จังหวัดอา่ งทอง.
Eisner. E. (1976). Educational connoisseurship and criticism :Their form and functions in
education evaluation. The Journal of Aesthetic Education.10(3) :135.