The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

ไดโนเสาร์คอยาว ภูเวียงโกซอรัส สิรินธรเน ที่ พิพิธภัณฑ์สิรินธร ภูกุ้มข้าว จ.กาฬสินธุ์

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by kkpracha, 2019-04-21 03:19:16

ไดโนเสาร์คอยาวที่ภูกุ้มข้าว จ.กาฬสินธุ์

ไดโนเสาร์คอยาว ภูเวียงโกซอรัส สิรินธรเน ที่ พิพิธภัณฑ์สิรินธร ภูกุ้มข้าว จ.กาฬสินธุ์

Keywords: ภูเวียงโกซอรัส สิรินธรเน,พิพิธภัณฑ์สิรินธร,ไดโนเสาร์คอยาว,ซอโรพอด

ค่มู อื ผู้เลา่ เรอ่ื งธรณี

ไดโนเสารค์ อยาวท่ภี กู ุม้ ข้าว

ค่มู อื ผู้เลา่ เรอ่ื งธรณี

ไดโนเสารค์ อยาวท่ภี กู ุม้ ข้าว

ส่ิงแวดล้อมสรรพส่ิงล้วนผันแปรไปกับ...

การศึกษาซากดกึ ด�ำบรรพ์ไดโนเสาร์อย่างละเอียดเพอื่ ระบุสายพนั ธ์ุ
โดยการเปรียบเทียบกบั ผลการศกึ ษาทเี่ ปน็ ท่ียอมรับ

ในวงการบรรพชวี นิ วทิ ยาทวั่ โลก หากไม่ตรงกับสายพนั ธุใ์ ด
ทเ่ี คยมรี ายงานการคน้ พบมากอ่ น จึงจะด�ำเนนิ การตง้ั ชือ่ สายพันธใ์ุ หม่

พระผู้ทรงส

สนพระทัยในศาสตร์แห่งชีวิต

สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาๆ สยามบรมราชกุมารี
เสด็จฯ ทอดพระเนตร หลุมขุดค้นไดโนเสาร์ ภูกุ้มข้าว

เม่ือวันที่ ๒๔ พฤศจิกายน ๒๕๓๘

สนพระทัยในศาสตร์แห่งชีวิต

สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาๆ สยามบรมราชกุมารี
เสด็จฯ ทอดพระเนตร หลุมขุดค้นไดโนเสาร์ ภูกุ้มข้าว

เม่ือวันที่ ๒๔ พฤศจิกายน ๒๕๓๘

และกาลเวลา สมเดจ็ พระเทพรตั นราชสุดาฯ
สยามบรมราชกมุ ารี

ทรงใหค้ วามสนพระทัยในศาสตร์
ด้านธรณวี ทิ ยาเป็นอยา่ งมาก
โดยเฉพาะอยา่ งย่ิงในแขนงของ

ชวี ติ และกาลเวลา

สมเด็จพระเทพรตั นราชสดุ าฯ
สยามบรมราชกุมารี เสดจ็ ฯ
เยย่ี มชมกจิ กรรมการขุดคน้
ซากดกึ ด�ำบรรพ์ ในพืน้ ทตี่ า่ งๆ
ท่วั อีสาน เช่น ทภ่ี เู วียง และภหู ลวง
เมื่อวนั ที่ 24 พฤศจกิ ายน 2538
พระองคไ์ ด้เสดจ็ ฯ เย่ียมชม
หลมุ ขดุ คน้ ซากไดโนเสาร์ ภกู มุ้ ขา้ ว
ณ วัดสกั กะวนั อ�ำเภอสหสั ขันธ์
จังหวัดกาฬสนิ ธ์ุ ซงึ่ เป็นแรงผลักดัน
ยงิ่ ใหญท่ ีท่ ำ� ให้เจา้ หนา้ ท่ีทีเ่ กย่ี วข้อง
ท้งั หมดทมุ่ เทสรรพกำ� ลัง
ในการศกึ ษาคน้ คว้า และพัฒนา
จนกระท่ังเกิดพพิ ธิ ภัณฑไ์ ดโนเสาร์
แห่งแรกของประเทศไทย
ซึ่งพระองค์ได้พระราชทานนาม

“พิพธิ ภณั ฑส์ ิรนิ ธร”

เป็นศริ มิ งคลแกพ่ ิพิธภณั ฑ์ และได้
เสด็จฯ ไปทรงเปน็ ประธานเปิด
เมอื่ วันท่ี 9 ธันวาคม พ.ศ. 2551
พร้อมกบั ได้พระราชทานนาม

สำ� หรับไดโนเสาร์คอยาว
สกลุ และชนิดใหม่ของโลก

“ภูเวียงโกซอรสั สิรนิ ธรเน”

คู่มอื ผเู้ ลา่ เร่อื งธรณี

ไดโนเสารค์ อยาวทภ่ี ูกุ้มข้าว จังหวัดกาฬสินธุ์

อธิบดีกรมทรพั ยากรธรณี นายทศพร นุชอนงค์
รองอธิบดีกรมทรัพยากรธรณี นายสมหมาย เตชวาล
รองอธบิ ดกี รมทรพั ยากรธรณ ี นายนวิ ตั ิ มณขี ตั ิย์
ผู้อ�ำนวยการกองค้มุ ครองซากดกึ ด�ำบรรพ์ นายนราเมศวร์ ธรี ะรังสิกุล
ผ้อู �ำนวยการสำ� นกั งานทรัพยากรธรณี เขต 2 (ขอนแกน่ ) นายนมิ ติ ร ศรคลัง
เขยี นเรอื่ ง นายประชา คุตตกิ ุล
สนับสนุนขอ้ มลู นางสาวอรอุมา สุม่ มาตย์
นางสาวพรเพญ็ จนั ทสิทธิ์
นายปรีชา สายทอง

พมิ พค์ ร้ังที่ 1 จ�ำนวน 2,000 เลม่ เดอื น สิงหาคม 2560
จดั พมิ พโ์ ดย กองคมุ้ ครองซากดกึ ด�ำบรรพ์ กรมทรพั ยากรธรณี
75/10 ถนนพระรามท่ี 6 เขตราชเทวี กรุงเทพมหานคร 10400
โทรศพั ท์ 0 2621 9847 โทรสาร 0 2621 9841
ข้อมลู ทางบรรณานกุ รม
กรมทรัพยากรธรณี, 2560,
คมู่ ือผเู้ ล่าเรอื่ งธรณี ไดโนเสารค์ อยาวท่ีภูกุ้มข้าว จังหวดั กาฬสินธุ์; 32 หนา้
1.ธรณีวิทยา 2.ซากดึกด�ำบรรพ์ 3.ไดโนเสาร์ 4.ภูเวยี งโกซอรสั สริ ินธรเน 5.ภูกมุ้ ขา้ ว
พมิ พ์ทีบ่ ริษัท เทมมา กรปุ๊ จ�ำกดั
15/140 ถนนพฒั นาการ 54 แขวงสวนหลวง เขตสวนหลวง กรุงเทพฯ 10250
โทรศัพท์ 0 2322 5205 โทรสาร 0 2322 1975

ไดโนเสาร์คอยาวทีภ่ ูกุ้มข้าว

ด้วยพระเมตตาของสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ  สยามบรมราชกุมารี
ท่ีเสด็จฯ เยย่ี มชมหลุมขุดสำ� รวจซากดึกด�ำบรรพด์ ้วยความสนพระทยั ทรงซกั ถามและ
ให้ค�ำแนะน�ำต่างๆ แก่เจ้าหน้าท่ีกรมทรัพยากรธรณีตั้งแต่ระยะเริ่มแรกของโครงการ
สำ� รวจ ทำ� ใหเ้ จา้ หนา้ ทก่ี รมทรพั ยากรธรณที กุ คนเกดิ กำ� ลงั ใจอยา่ งเตม็ เปย่ี ม มอี ตุ สาหะ
ในการขดุ คน้ ศกึ ษา วจิ ยั และพัฒนาแหล่งซากดกึ ดำ� บรรพ์ภูกุ้มขา้ ว จนกระท่ังเกดิ เปน็
พพิ ิธภณั ฑ์ไดโนเสารท์ ่ที นั สมยั ท่สี ดุ ในอาเซยี น
นอกจากนพี้ ระองคย์ งั ทรงมพี ระเมตตาพระราชทานพระนามาภไิ ธย“สริ นิ ธร”
เพอ่ื เป็นศิริมงคลให้กบั ทง้ั พพิ ธิ ภณั ฑ์และไดโนเสาร์กนิ พชื สายพนั ธ์ใุ หม่ของโลก และได้
เสดจ็ ฯ ไปทรงเปน็ ประธานเปดิ พพิ ธิ ภณั ฑส์ ริ นิ ธร วนั ท่ี 9 ธนั วาคม 2551 และทรงปฏบิ ตั ิ
การอนุรกั ษซ์ ากไดโนเสาร์ดว้ ยพระองค์เองด้วย
กรมทรัพยากรธรณีรู้สึกซาบซึ้งในพระมหากรุณาธิคุณของพระองค์ท่าน
อย่างหาท่ีสุดมิได้ และได้ทุ่มเทสรรพก�ำลังในการด�ำเนินภารกิจด้านซากดึกด�ำบรรพ์
อย่างต่อเนื่องโดยค�ำนึงถึงประชาชนเป็นที่ตั้งตามค�ำแนะน�ำของพระองค์ท่าน ทั้งน้ี

รวมถงึ คู่มือผเู้ ลา่ เร่อื งธรณี “ไดโนเสาร์คอยาวทภี่ กู ้มุ ขา้ ว” ฉบับน้ี ทีจ่ ัดท�ำขน้ึ โดยมี

วตั ถปุ ระสงคห์ ลกั เพอ่ื ใหค้ วามรดู้ า้ นซากดกึ ดำ� บรรพแ์ บบเขา้ ใจงา่ ยแกย่ วุ มคั คเุ ทศกเ์ พอ่ื
ทจี่ ะไดใ้ หค้ ำ� แนะน�ำแกป่ ระชาชนทมี่ โี อกาสไดเ้ ย่ยี มชมพพิ ธิ ภณั ฑส์ ริ นิ ธร รวมถงึ เพอ่ื ให้
ความรูแ้ ก่ประชาชนทร่ี บั ชมจากส่ือเผยแพรต่ ่างๆ ของกรมทรพั ยากรธรณี
กรมทรัพยากรธรณีหวังเป็นอย่างยิ่งว่า “คู่มือผู้เล่าเรื่องธรณี” ฉบับนี้จะเป็น
แรงผลกั ดนั ใหผ้ อู้ า่ นไดเ้ หน็ ถงึ ประโยชน์ และรว่ มกนั อนรุ กั ษซ์ ากดกึ ดำ� บรรพใ์ หส้ มกบั ที่
พระองคท์ า่ นไดท้ รงให้ความสนพระทัย และอปุ ถัมภศ์ าสตร์ด้านบรรพชีวินเสมอมา

(นายทศพร นุชอนงค์)
อธบิ ดีกรมทรัพยากรธรณี

สารบญั

ภกู มุ้ ขา้ ว...ท่ีเคยได้ยนิ 1
การคน้ พบทย่ี ิง่ ใหญ ่ 2
พพิ ธิ ภณั ฑ์สริ นิ ธร 4
เมอื่ ครง้ั กระโน้น..... 10
ผู้รว่ มชะตากรรม 12
เธอยงั อยู่ท่ีนี ่ 14
เธอเปน็ ใครกัน? 16
อะไรชว่ ยรักษาเธอไว.้ ....อยา่ งไร? 20
สงิ่ ท่ีรักษายากยิ่งกวา่ 22
ความพิเศษเหนือซอโรพอดอืน่ ใด .... 24

ภกู มุ้ ข้าว...ท่ีเคยไดย้ ิน

ไกลออกไปกว่ายี่สิบกิโลเมตรทางเหนือของตัวเมืองกาฬสินธุ์.....ที่อ�ำเภอสหัสขันธ์
มีเขาโดดลูกเล็กๆ ซึ่งหากมองจากพื้นราบจะเห็นรูปร่างเหมือนกับกองข้าวที่พูนอยู่กลางนา
“ภกู มุ้ ขา้ ว” ทไ่ี มค่ อ่ ยมใี ครรจู้ กั มากอ่ น.....และแลว้ ในชว่ งหนา้ ฝนป ี2537 เมอ่ื พระครวู จิ ติ รสหสั คณุ
(ปัจจุบันท่านด�ำรงสมณศักดิ์ที่ พระญาณวิสาลเถร) เจ้าอาวาสวัดสักกะวันซ่ึงต้ังอยู่เชิงภูกุ้มข้าว
ได้ขึ้นไปกางกลดน่ังสมาธิบนยอดภูกุ้มข้าว และกลางดึกคืนหนึ่งเกิดนิมิตเห็นสัตว์โบราณคอยาว
ตวั ใหญก่ วา่ ชา้ งเดนิ ไปมาและลงมาเลน่ นำ�้ ทสี่ ระนำ้� บรเิ วณตนี ภู วนั ตอ่ มาเกดิ ฝนตกหนกั ตดิ ตอ่ กนั นาน
นำ้� ฝนกัดเซาะหน้าดิน และหินผบุ ริเวณเชิงภอู อกไปมาก พระครวู จิ ิตรสหัสคณุ จงึ ไดอ้ อกตรวจตรา
บรเิ วณทท่ี า่ นนมิ ติ เหน็ สตั วโ์ บราณ และไดพ้ บซากกระดกู เกลอ่ื นอยจู่ งึ ไดใ้ หเ้ กบ็ รกั ษาไว้ และแจง้ ให้
นายอำ� เภอทราบเพ่อื ประสานกับกรมทรพั ยากรธรณตี ่อไป
นี่คือจุดเร่ิมต้นที่ท�ำให้ “ภูกุ้มข้าว...ท่ีไม่เคยได้ยิน” กลายเป็นที่รู้จักกันไปทั่วเมืองไทย
และขจรไกลไปท่ัวโลก กับสง่ิ พิเศษสุดในวงการบรรพชีวินไทย ซากไดโนเสาร์คอยาวทีส่ มบรู ณท์ ่ีสดุ
ณ ตำ� แหนง่ ทเี่ จา้ คอยาวสนิ้ สดุ การเดนิ ทาง ซงึ่ สภาพธรณวี ทิ ยาแวดลอ้ มบง่ บอกสภาวะทางภมู ศิ าสตร์
และภูมอิ ากาศเมอื่ ร้อยกวา่ ล้านปไี ด้อย่างชัดเจน
มหาสมบตั ขิ องโลกทช่ี าวไทยคน้ พบและเปน็ เจา้ ของ ไดร้ บั การดแู ล และศกึ ษาวจิ ยั อยา่ ง
ละเอียดทุกแง่มุม โดยกลุ่มผู้เช่ียวชาญด้านบรรพชีวินของไทยและต่างประเทศ จนกระท่ังทราบ
แนน่ อนวา่ ซากดึกดำ� บรรพ์ไดโนเสาร์กนิ พชื ที่ภกู มุ้ ขา้ ว เป็นไดโนเสารส์ ายพนั ธ์ใุ หมท่ ไี่ มเ่ คยพบทีใ่ ด
ในโลกมาก่อน พวกมันเคยด�ำรงเผ่าพันธุ์อยู่ท่ัวอีสานในคร้ังบรรพกาล โดยมีการค้นพบก่อนหน้า
ทแ่ี หลง่ ซากดกึ ดำ� บรรพไ์ ดโนเสารภ์ เู วยี ง จงั หวดั ขอนแกน่
ดว้ ยความสนพระทยั ในศาสตรแ์ หง่ ชวี ติ และกาลเวลา ของสมเดจ็ พระเทพรตั นราชสดุ าฯ
สยามบรมราชกุมารี และพระเมตตาของพระองค์ จึงได้พระราชทานพระราชานุญาตให้อัญเชิญ
พระนามาภไิ ธย “สริ นิ ธร” เปน็ ชอ่ื ชนดิ โดยมชี อื่ แหลง่ ทพี่ บครง้ั แรกในเมอื งไทย “ภเู วยี ง” เปน็ ชอ่ื สกลุ
ไดโนเสาร์คอยาวสายพันธุ์ใหม่ของโลกจึงมีชื่ออย่างเป็นทางการว่า “ภูเวียงโกซอรัส สิรินธรเน”
พร้อมกับได้พระราชทานนามพิพิธภัณฑ์ไดโนเสาร์แห่งแรกของอาเซียนว่า “พิพิธภัณฑ์สิรินธร”
เพือ่ เปน็ ศิรมิ งคลแกว่ งการบรรพชวี นิ ของไทยสบื ไป

ภกู ุ้มขา้ ว...ท่ีเคยได้ยิน จงึ ไดร้ ับการพัฒนา กา้ วหนา้ สถาพรมาจนทุกวันนี้

พพิ ิธภณั ฑ์สริ ินธร 1

การคน้ พบทีย่ ิง่ ใหญ่

หลายปกี อ่ นหนา้ โนน้ พระครวู จิ ติ รสหสั คณุ เจา้ อาวาสวดั สกั กะวนั ไดเ้ กบ็ กระดกู ไดโนเสาร์
ที่หลุดออกจากช้ันหนิ มาเกบ็ รักษาไว้ทศี่ าลาวดั จำ� นวน 3 ชน้ิ จนกระท่งั ปี พ.ศ. 2521 คณะสำ� รวจ
ท�ำแผนที่ของกรมทรัพยากรธรณีได้มาอาศัยพักแรมที่วัด และท่านเจ้าอาวาสได้น�ำกระดูกดังกล่าว
มาให้พิจารณา ต่อมากรมทรัพยากรธรณีได้ส่งคณะส�ำรวจโบราณชีววิทยาไทย-ฝรั่งเศสไปส�ำรวจ
ศกึ ษาในปี 2523 แตพ่ บร่องรอยเพ่มิ เติมเพียงเล็กนอ้ ย จึงไดน้ �ำกระดกู ทัง้ 3 ชนิ้ น้ันกลับไปท�ำการ
วจิ ยั ท่ีหอ้ งปฏิบตั กิ าร และพบวา่ เปน็ ส่วนของกระดูกขาหนา้ ของไดโนเสาร์กินพชื ขนาดใหญ่

สบิ ส่ปี ีต่อมา ในเดือนกนั ยายน 2537 ระหว่างทค่ี ณะส�ำรวจจากกรมทรัพยากรธรณี

ไปศกึ ษาซากดกึ ดำ� บรรพห์ อยทพ่ี บในแหลง่ ซากไดโนเสารใ์ นภาคอสี าน และไดร้ บั ขา่ วการพบกระดกู
ที่วัดสักกะวันจากนิมิตของเจ้าอาวาส จึงได้เข้าไปตรวจสอบและพบว่าเป็นแหล่งท่ีน่าสนใจมาก
แต่ไมส่ ามารถขุดคน้ ไดเ้ นอ่ื งด้วยอุปสรรคจากฝนฟา้ จงึ ได้ปดิ หลุมไวช้ ั่วคราว
เม่ือเข้าสู่ฤดูแล้งปีเดียวกันนั้น การขุดส�ำรวจซากไดโนเสาร์บริเวณภูกุ้มข้าวอย่างเป็น
ระบบ โดยคณะส�ำรวจโบราณชีววิทยาไทย-ฝร่ังเศสจึงได้เริ่มขึ้น และในครั้งนี้สิ่งที่ปรากฏในนิมิต
ของพระครูวิจิตรสหัสคุณ ก็ได้ปรากฏแก่สายตาของคณะส�ำรวจ จากที่เคยคาดการณ์ว่าจะขุดค้น
เขา้ เฝอื กกระดูกเพ่ือนำ� กลับห้องปฏิบตั ิการไดเ้ สร็จภายใน 1 เดอื น ก็ไมเ่ ป็นไปตามคาด
ดว้ ยเหตุวา่ เมอ่ื เร่ิมท�ำการขุดในวนั ที่ 19 พฤศจิกายน 2537 กระดกู 2-3 ช้ินเริม่ โผลใ่ ห้
เห็นจากชั้นหินทรายสีแดงที่ไม่แข็งมากจึงท�ำให้ขุดค้นได้รวดเร็ว เพียงสัปดาห์แรกคณะส�ำรวจขุด
พบกระดกู ขาหนา้ กระดกู สะโพก และกระดกู ส่วนหางของซอโรพอด จากช้นั หนิ ประมาณ 50 ช้ิน
สปั ดาหต์ อ่ มากระดกู ขา สะบกั คอ และซโ่ี ครงหลายซท่ี โี่ ผลอ่ อกมาจากแนวกระดกู สนั หลงั
กป็ รากฏอยกู่ ลางหลมุ ขดุ คน้ พรอ้ มกบั กระดกู ตน้ ขาหลงั อกี 2 คู่ ทบ่ี ง่ ชดั วา่ ในหลมุ นมี้ ซี ากไดโนเสาร์
อย่างน้อย 2 ตัว และเมอ่ื ถงึ วนั ท่ี 20 ธ.ค. 2537 คณะส�ำรวจพบขุดกระดกู รวมทงั้ สนิ้ 181 ช้นิ

2 ไดโนเสารท์ ภ่ี ูกมุ้ ข้าว

เธอรอพบคณะส�ำรวจอยู่ที่นี่

การขุดค้นส�ำรวจด�ำเนินไปอย่างต่อเนื่อง จนกระท่ังถึงเดือนตุลาคม 2538 คณะส�ำรวจ

จึงขุดพบกับซากดึกด�ำบรรพ์ไดโนเสาร์ซอโรพอดท่ีกระดูกยังเรียงรายต่อกันอยู่เกือบครบท้ังตัว
ในลักษณะนอนฟุบคว่�ำลง กระดูกสันหลังทุกช้ินยังอยู่ในต�ำแหน่งเดิม ต่อไปถึงกระดูกปลายหาง
ที่เรียงม้วนตะหวัดพาดขึ้นไปกลางหลัง และมีกระดูกซ่ีโครงแบะออก 2 ข้างของล�ำตัว มีเพียงขา
หน้าข้างขวา ส่วนหวั และคอบางสว่ นหลดุ กระจายไป
นอกจากนย้ี งั พบชนิ้ สว่ นของกะโหลกไดโนเสารซ์ อโรพอดอกี หลายชนิ้ ทำ� ใหท้ ราบวา่ แหลง่ น้ี
มซี ากของซอโรพอด 2 ชนดิ และไดโนเสาร์กนิ เน้อื ขนาดใหญ่หรอื คาร์โนซอร์อีก 2 ชนดิ จากกระดูก
ทพี่ บทง้ั หมดกวา่ 700 ชิ้น ซง่ึ พบวา่ มาจากไดโนเสาร์อย่างนอ้ ย 7 ตวั และสว่ นใหญเ่ ปน็ ซากกระดกู
ไดโนเสารซ์ อโรพอ

พพิ ธิ ภณั ฑ์ไดโนเสาร์ในแหลง่ ของเธอ

ชว่ งปลายปี พ.ศ. 2537 ผลการวจิ ยั ซากดกึ ดำ� บรรพไ์ ดโนเสาร์ “ภเู วยี งโกซอรสั สริ นิ ธรเน”
ไดร้ ับการยอมรับและตพี มิ พ์เผยแพร่ทั่วโลก ท�ำให้หนว่ ยส�ำรวจซากดกึ ดำ� บรรพ์ต้องใชเ้ วลาทง้ั หมด
ในการขดุ ค้นอย่างต่อเนอ่ื ง และพบวา่ เป็นหลุมขดุ คน้ ท่ีสมบูรณท์ ี่สดุ ในประเทศ
กรมทรพั ยากรธรณจี ำ� เปน็ ตอ้ งทำ� งานแขง่ กบั เวลาเนอ่ื งจากมปี ระชาชนจำ� นวนมากสนใจ
และต้องการให้เป็นแหลง่ ท่องเท่ยี วประจำ� จังหวดั กรมทรัพยากรธรณีจงึ ไดจ้ ัดท�ำโครงการวิจยั และ
พัฒนาพพิ ธิ ภณั ฑไ์ ดโนเสารภ์ ูกุม้ ขา้ วขน้ึ เพอ่ื ใหเ้ ปน็ สถานทส่ี ำ� หรับศกึ ษาวจิ ยั ในพื้นท่ี เปน็ ทอี่ นรุ กั ษ์
และเก็บรักษาซากไดโนเสาร์ รวมท้ังเป็นสถานที่ส�ำหรับการเผยแพร่ข้อมูลวิชาการในรูปแบบของ

“พิพิธภณั ฑใ์ นแหลง่ พบซาก”

ภเู วยี งโกซอรัส สิรินธรเน 3

พพิ ิธภัณฑส์ ริ นิ ธร

พพิ ธิ ภณั ฑส์ ริ นิ ธร เปน็ พพิ ธิ ภณั ฑไ์ ดโนเสาร์ ทจี่ ดั แสดงเรอ่ื งราวเกย่ี วกบั ธรณวี ทิ ยาพนื้ ฐาน
เพอ่ื ใหผ้ ชู้ มเขา้ ใจทม่ี าของจกั รวาล โลก และสรรพสง่ิ ทธ่ี รรมชาตริ งั สรรค์ และทำ� ลายลา้ งตามวฏั จกั ร
โดยเริม่ จากทางเขา้ ทชี่ น้ั 2 โซน 1 ในบรรยากาศการกำ� เนิดจกั รวาลเมอ่ื 13,000 ลา้ นปีทแ่ี ล้วมา
4 ไดโนเสารค์ อยาวทีภ่ กู ้มุ ข้าว

จากกำ� เนิดจักรวาลถงึ ยุคไดโนเสาร์ครองโลก

แปดพนั กวา่ ลา้ นปจี ากจดุ กำ� เนดิ จกั รวาล ผชู้ มจะถกู นำ� เขา้ สรู่ ะบบสรุ ยิ ะทเี่ รมิ่ สรา้ งตวั จาก
ฝนุ่ และกา๊ ซตา่ งๆ ปรมิ าณมหาศาล ซง่ึ ยบุ ตวั ลงและหมนุ รอบตวั เองจากแรงโนม้ ถว่ ง ทำ� ใหเ้ กดิ ความ
รอ้ นสงู มากบรเิ วณใจกลางจนเกดิ ปฏกิ ริ ยิ านวิ เคลยี รฟ์ วิ ชน่ั กลายเปน็ ดาวฤกษท์ ช่ี อ่ื วา่ ดวงอาทิตย์
ท่ีมีบริวารดวงที่ 3 ท่ีร้อนแดงดุจดาวฤกษ์ และคอ่ ยๆ เยน็ ตวั ลงอยา่ งชา้ ๆ เปน็

“ดาวเคราะห์โลก” ในโซน 2 เพื่อเตรียมต้อนรับชีวิตแรกที่จะอุบัติข้ึนด้วย
โครงสรา้ งพนื้ ฐานเรียบงา่ ยในอีกพนั ลา้ นปขี า้ งหน้า

กว่าสามพันล้านปีนับจากการปรากฏชีวิตแรกบนดาวเคราะห์ใบนี้
จากบรมยุคดึกด�ำบรรพ์ เข้าสู่มหายุคเก่าแก่ พาลีโอโซอิก ในโซน 3

พัฒนการของโลกและส่ิงมีชีวิตยุคเริ่มแรก ได้ปรับสภาพแวดล้อม
ของโลกใหเ้ หมาะสมกบั สง่ิ มชี วี ติ ทมี่ วี วิ ฒั นาการซบั ซอ้ น
และหลากหลายขนึ้ จากพน้ื มหาสมทุ รกา้ วสกู่ าร
ครองแผ่นพื้นทวปี ทวั่ โลก แตก่ ลบั ตอ้ งเผชญิ กบั
การทำ� ลายลา้ งดบั สน้ิ สญู พนั ธห์ุ ลายครา รวมถึง

คราวสุดทา้ ยเมื่อปลายยุคเพอร์เมียนท่ีเป็นจดุ สนิ้ สุดของมหายุคพาลโี อโซอิก

เมอ่ื เดนิ เวยี นขวาตามหอ้ งแสดงตอ่ ไป ผชู้ มจะขา้ มเขา้ สมู่ หายคุ กลาง มโี ซโซอกิ บรเิ วณชนั้ 1
ในโซน 4.1 พบกับการฟื้นตัวของโลกและสิ่งมีชวี ติ ทีเ่ หลือรอดมาเพยี งร้อยละ 5 เหล่าเดนตายใช้
ระยะเวลาไมก่ ีส่ ิบล้านปี ววิ ฒั นาการข้นึ เป็นไดโนเสาร์ หลากหลายสายพันธค์ุ รอบครองโลก ตลอด

ช่วงมหายุค ท่ามกลางความ
แปรผันของธรรมชาติ
ในโซน 4.2 บริเวณโถง
ไดโนเสาร์ ผู้ชมจะพบกับโครง
กระดูกของไดโนเสาร์ไทยหลาก
หลายสายพันธุ์ ท่ีแสดงการจัด
จำ� แนก ตามลกั ษณะของสะโพก
ท่ีเป็นแบบนกโบราณ และแบบ
สตั วเ์ ล้อื ยคลาน

ภเู วยี งโกซอรสั สิรินธรเน 5

ผ้คู รองโลกหลงั ไดโนเสาร์ดับส้นิ อวสาน

เมอื่ จบบทบาทของไดโนเสารแ์ ลว้ ในโซน 8 พบกบั ววิ ฒั นาการของสตั วเ์ ลย้ี ง
ลกู ดว้ ยนำ้� นมทกี่ า้ วเข้ามาแทนท่ีได้ดีที่สุด “ไพรเมต” หรือสัตว์ในตระกูลลิง ท่ีเริ่ม
ววิ ฒั นาการมาเปน็ สตั วเ์ ดนิ 2 ขา โดยเฉพาะในสกลุ “โฮโม“ ทม่ี กี ารพฒั นาโครงสรา้ ง
มอื ใหส้ ามารถใชเ้ ครอ่ื งมอื ไดอ้ ยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ ประกอบกบั พฒั นาการขนาดของ
สมองทเ่ี พมิ่ ขน้ึ อยา่ งรวดเรว็ จนมปี รมิ าตรใหญก่ วา่ สองเทา่ เมอื่ เทยี บกบั มนษุ ยย์ คุ ตน้
มนษุ ยป์ จั จบุ นั ครอบครองโลกไวไ้ ด้ และดว้ ยประสทิ ธภิ าพของสมองทำ� ให้
สามารถก้าวออกไปส�ำรวจไกลถึงดวงจันทร์ และดาวเคราะห์เพื่อนบ้าน รวมทั้งส่ง

ยานอวกาศออกพน้ จากระบบสุริยะ สหู่ ว้ งจกั รวาลไกลโพ้น

เมื่อวนขวารอบโถงไดโนเสารบ์ ริเวณชั้น 1 ต่ืนตากบั โครง
รา่ งภายในของไดโนเสารแ์ ลว้ ใน โซน 5 ทา่ นจะไดพ้ บกบั บรรยากาศเมอื่ ครงั้ ทยี่ กั ษใ์ หญย่ งั มชี วี ติ อยู่
ทง้ั ลกั ษณะทา่ ทาง อปุ นสิ ยั และความเปน็ อยขู่ องผลู้ า่ และผถู้ กู ลา่ ตลอดจนกลไกตา่ งๆ ในการดำ� รง

วิถชี วี ติ ของไดโนเสาร์ ชวี ติ เชน่ การยอ่ ยอาหาร การสง่ เสยี ง และอวยั วะพเิ ศษ
ตา่ งๆ ทชี่ ว่ ยใหเ้ หลา่ ไดโนเสารห์ ลากสายพนั ธอ์ุ ยรู่ อดได้
6 ไดโนเสารท์ ภี่ กู ุม้ ข้าว

หลงั เหตกุ ารณส์ ญู พนั ธค์ุ รงั้ ใหญล่ า่ สดุ ทม่ี นษุ ยร์ จู้ กั ในชว่ งรอยตอ่ ของ ผู้จากไป
มหายคุ มโี ซโซอกิ กบั มหายคุ ซโี นโซอกิ ไดโนเสารท์ งั้ หมดพรอ้ มใจกนั ทง้ิ กับ
โลกสฟี า้ ใบนใ้ี หก้ บั ผมู้ าแทน ทเี่ คยอาศยั อยอู่ ยา่ ง
หลบๆ ซอ่ นๆ ในมหายคุ กอ่ น ผูม้ าแทน

โซน 7
เหล่าสัตว์เล้ียงลูกด้วยน้�ำนม
เ ริ่ ม วิ วั ฒ น า ก า ร อ ย ่ า ง ก ้ า ว
กระโดดเมื่อปราศจากกลุ่มผู้ล่า
ใหญ่ เลก็ ทป่ี ราดเปรยี ว ทเ่ี คยคกุ คาม
ทงั้ บนบก ในอากาศ และในทะเล
มหายคุ ซโี นโซอกิ จงึ เปน็ ชว่ งเวลาทอง
ของเหล่าสัตว์ท่ีคุ้นเคยทั้งหลาย เช่น ช้าง
ม้า วัว ควาย ค้างคาว โลมา วาฬ
รวมถึง “คน” ที่ข้ึนมาครอง

โลกแทนทไ่ี ดโนเสาร์

แตไ่ มม่ สี ง่ิ ใดอยคู่ ำ้� ฟา้ เหลา่ ผคู้ รองโลกแหง่ มหายคุ มโี ซโซอกิ
ก็ไมอ่ าจหลดุ พน้ สัจจะธรรมข้อนี้ คงทิ้งเพยี งหลกั ฐานใหผ้ ้มู าใหม่ได้ศึกษา เรยี นรู้ และจนิ ตนาการ
เหมอื นกบั ทพี่ พิ ธิ ภณั ฑไ์ ดโนเสารน์ ำ� เสนอตามผลการศกึ ษาของนกั บรรพชวี นิ วทิ ยาทวั่ โลกใน โซน 6
รวมถงึ สาเหตขุ องการสญู พนั ธใ์ุ หญค่ รงั้ สดุ ทา้ ยทมี่ นษุ ย์

พบิ ัตภิ ัยจากอวกาศ?ร้จู ัก สงสัย และศกึ ษา เพ่อื ไขปรศิ นาดกึ ด�ำบรรพ์

พพิ ธิ ภัณฑส์ ิรนิ ธร 7

ห้องปฏิบตั กิ ารขา้ งคลังมหาสมบัติ

มกี ารคน้ พบซากดกึ ดำ� บรรพค์ รง้ั แรกในประเทศไทยเมอื่ รอ้ ยกวา่ ปกี อ่ นหนา้ และเรม่ิ มกี ารตงั้ ชอื่
วทิ ยาศาสตรอ์ ยา่ งเปน็ ทางการครง้ั แรกในปีพ.ศ. 2463 จากนนั้ เปน็ ตน้ มาการสำ� รวจ วจิ ยั ซากดกึ ดำ� บรรพ์
ในประเทศไทยกก็ า้ วหนา้ ไปอย่างตอ่ เน่อื ง และก้าวขึ้นเปน็ ผนู้ �ำในเอเชียแถบอาคเนย์


ทพ่ี พิ ธิ ภณั ฑส์ ริ นิ ธร นอกจากจะมกี ารจดั แสดงซากดกึ ดำ� บรรพ์ และศาสตรท์ เ่ี กย่ี วขอ้ งแลว้
ยงั มหี อ้ งปฏบิ ตั กิ ารวจิ ยั ซากดกึ ดำ� บรรพท์ ที่ นั สมยั ทส่ี ดุ ในอาเซยี น ซง่ึ เปดิ ใหผ้ ชู้ มมองเหน็ ไดจ้ ากสว่ น
จัดแสดง และในบริเวณที่เช่ือมต่อจากห้องปฏิบัติการนี้คือ ห้องมั่นคง หรือคลังมหาสมบัติ ท่ีเก็บ
รักษาบรรดาซากดึกดำ� บรรพท์ ี่ค้นพบจากทว่ั ประเทศไทย เพื่อการศึกษาอ้างองิ ของโลก

8 ไดโนเสาร์คอยาวท่ภี กู ุ้มข้าว

หลุมขุดค้น

หา่ งจากตวั อาคารพพิ ธิ ภณั ฑส์ ริ นิ ธรขน้ึ ภกู มุ้ ขา้ วไปไมม่ ากนกั มอี าคารเดย่ี วชน้ั เดยี วตง้ั อยู่
ชื่อว่า “อาคารพระญาณวิสาลเถร” ซึ่งตั้งข้ึนตามสมณศักดิ์ของเจ้าอาวาสวัดสักกะวัน ผู้ค้นพบ
กระดูกไดโนเสาร์ภูกุ้มข้าว อาคารหลังน้ีสร้างข้ึนในปี 2542 เพื่อคลุมหลุมขุดค้นประวัติศาสตร์
ซากดกึ ดำ� บรรพข์ องไทย และเปดิ เปน็ พพิ ธิ ภณั ฑแ์ หลง่ ขดุ คน้ ไดโนเสาร์ “ภเู วยี งโกซอรสั สริ นิ ธรเน”
แสดงซากทส่ี มบรู ณ์ทส่ี ดุ ในสถานทพ่ี บจรงิ พรอ้ มสภาพแวดล้อมเดิมๆ ทีไ่ ด้รับการอนุรักษไ์ ว้
ภายในอาคารมีระเบียง
โ ด ย ร อ บ ห ลุ ม ขุ ด ค ้ น ท่ี ผู ้ ช ม
สามารถเดินดูได้ทุกมุม นอกจาก
นี้รอบๆ ระเบยี งยงั มีการจดั แสดง
นทิ รรศการเกยี่ วขอ้ งกบั บรรพชวี นิ
วิทยาตลอดปี


ในช่วงแรกของการส�ำรวจ
ขดุ คน้ ซากไดโนเสารภ์ กู มุ้ ขา้ ว คณะสำ� รวจ
พบซากดึกด�ำบรรพ์มากมายจึงได้มีการ
กอ่ สรา้ งอาคารชว่ั คราวขน้ึ คลมุ หลมุ ขดุ คน้

ในปี 2537
ซากดึกด�ำบรรพ์
ที่ขุดค้นพบถูกทะยอย
น�ำข้ึนไปอนุรักษ์ในห้อง
ปฏิบัติการเฉพาะกิจที่จัด
ตั้งขึ้นโดยอาศัยศาลาวัด
สกั กะวนั เปน็ ที่ทำ� การ

พิพิธภัณฑ์สิรินธร 9

เม่ือคร้ังกระโน้น...ภูกุ้มข้าวเมื่อ 130 ล้านปีก่อน มีสภาพเป็นที่ราบลุ่ม

เวงิ้ วา้ งไกลสุดลูกหลู ูกตา และแห้งแลง้ ยิ่งกว่าภกู ุ้มขา้ วในทุกวันนีม้ ากมายนัก นานๆ จึงจะมฝี นตก
สกั ครงั้ หนง่ึ แตก่ ย็ งั คงมฝี งู ไดโนเสารห์ ลากสายพนั ธอ์ุ าศยั อยไู่ ด้ และเทยี่ วเวยี นวนหาอาหารตามสอง
ขา้ งลำ� นำ�้ สายเลก็ ๆ ทยี่ งั พอจะเปน็ แหลง่ เกอ้ื กลู ชวี ติ ทงั้ พชื และสตั วน์ อ้ ยใหญต่ ลอดชว่ งหว่ งโซอ่ าหาร
สตั วร์ ว่ มสมยั กบั ไดโนเสารค์ อยาว ภเู วยี งโกซอรสั สริ นิ ธรเน ในครง้ั กระโนน้ ทม่ี หี ลกั ฐาน
ซากดึกด�ำบรรพ์ยืนยันชัดเจนมีมากมายเช่น เจ้านักล่าจอมโหด-สยามโมไทรันนัส อีสานเอนซิส
นกั ล่าปลาตัวฉกาจ-สยามโมซอรัส สธุ ธี รนิ และเจ้าจระเขโ้ บราณจอมเขมอื บ-โกนิโอโฟลิส ภูเวียง
เอนซสิ เป็นตน้

สยามโมซอรสั สธุ ธี รนิ เปน็ ไดโนเสารก์ นิ เนอ้ื ทม่ี ฟี นั เปน็
รปู กรวยแหลม มสี นั เลก็ ๆ ยาวตลอดฟนั เหมอื นของจระเข้

ซงึ่ แปลกกวา่ สายพนั ธอ์ุ นื่ ๆ ทมี่ ฟี นั แบนๆ ปลายแหลม
โคง้ เลก็ นอ้ ย และมรี อยหยกั เปน็ ฟนั เลอื่ ย
โกนโิ อโฟลสิ ภเู วยี งเอนซสิ เปน็ จระเขโ้ บราณ
ขนาดกลาง จมกู สน้ั พบซากดกึ ดำ� บรรพใ์ น
3 ทวปี คอื เอเชยี ยโุ รป และอเมรกิ าเหนอื

ไดโนเสาร์กนิ เนือ้ สยามโมไทรนั นัส อสิ านเอนซิส
มชี วี ิตอยใู่ นช่วงยุคครเี ทเชียสตอนตน้ มคี วามยาว
ประมาณ 6.5 เมตร ซ่ึงยาวเพียงคร่ึงเดยี วของ
ไทรนั โนซอรัส เรก็ ซ์ ซ่ึงเปน็ ญาตริ ุ่นหลงั ทม่ี ชี ีวติ ในชว่ ง
ปลายยคุ ครเี ทเชียส ใกล้กบั การสญู พันธุ์ครั้งใหญ่

10

ในบรรดาเหล่าสัตว์ดึกด�ำบรรพ์ทั้งหลายน้ี มีเพียงเจ้าคอยาวท่ีเป็นสัตว์กินพืชหาอาหาร
อยตู่ ามพงไมห้ า่ งตลิง่ ส่วนสหายร่วมยุคทง้ั หลายทก่ี ล่าวถึงล้วนแลว้ แตห่ ากินกันตามแนวตล่งิ ล�ำน้ำ�
ท�ำให้พบหลักฐานซากดกึ ด�ำบรรพร์ อยตนี ของพวกคอยาวน้อยมาก

ในคราวนนั้ .... ฝูงเจ้าคอยาวอาจหนีจากการไล่ล่าของพวก

เจ้านักล่าจอมโหด-สยามโมไทรันนัส อีสานเอนซิส และมาจบฉากชีวิต
อยบู่ รเิ วณตลิง่ ริมน้�ำ
แต่คร้ังนั้นเกิดมีเหตุให้พวกนักล่าต้องทิ้งซากเจ้าคอยาวท่ีมี
สภาพเกือบครบทั้งตัวเอาไว้หนึ่งซาก และไม่มีสัตว์กินซากอื่นใดมา
รบกวน ท�ำให้กระบวนการเก็บรักษาซากดึกด�ำบรรพ์เข้าจัดการได้
อย่างสมบูรณ์ จนกลายเป็นส่วนหน่ึงของชั้นหินตะกอนของหมวด
หินเสาขัว ในกลุ่มหินโคราช

ไดโนเสาร์คอยาว ภเู วยี งโกซอรัส สริ นิ ธรเน
เดิน 4 ขา กนิ พชื เป็นอาหาร

มีคอยาว และหางยาวทส่ี มดลุ กนั
สว่ นหางใชเ้ ปน็ อาวธุ ปอ้ งกนั ตวั

11

ผงั แสดงกระดกู ไดโนเสารจ์ ากแแหลง่ ขุดค้นภูกุ้มขา้ ว
วัดสักกะวัน อ.สหสั ขันธ์ จ.กาฬสินธุ ์
เมอื่ เดอื นพฤศจิกายน 2538
เป็นกระดูกของไดโนเสารก์ ว่า 700 ช้ิน

ส่วนใหญ่เปน็ ไดโนเสาร์ซอโรพอด อยา่ งน้อย 7 ตวั
ซ่งึ ถูกน้�ำพดั มากองรวมกันอยู่ในบรเิ วณเดียวกัน

ต้งั แต่เม่อื 130 ลา้ นปกี อ่ น
กระดกู เหล่านถี้ ูกตะกอนดินทรายทน่ี �้ำพัดพามา
ทบั ถมเอาไว้ เก็บรกั ษาซากกระดูกเป็นซากดกึ ดำ� บรรพ์
เหลือเปน็ หลกั ฐานบนั ทกึ เร่อื งราว ร่องรอยของสิ่งมีชีวิต
ในอดีต ใหน้ กั วทิ ยาศาสตร์ศกึ ษา และจินตนาการ

(กรมทรพั ยากรธรณ,ี 2550)

เธอถูกพบในลกั ษณะ
ฟุบคว�่ำลงกับพื้น หางตวัดพาด
กลางหลงั ชไี้ ปทางขวาทางเดยี วกบั
ท่ีคอยาวพาดไป

เป็นท่าสุดท้ายของเธอ
ก่อนท่ีเนื้อหนังของเธอจะ

เน่าเปื่อย เหลือเพียงโครง
กระดูกที่ธรรมชาติได้ช่วย
เก็บรักษาไว้ให้เป็นสมบัติ
ของโลก

ส่วนสแี ดงเป็นโครง
กระดกู ทเี่ กือบครบท้งั ตัวของ
ไดโนเสารค์ อยาวทถ่ี กู ธรรมชาติ
รักษาไวร้ วมกับผรู้ ่วมชะตากรรม
อีก 6 ตัว ท่ีกระจายออกไปดา้ นบนของภาพ
12 ไดโนเสาร์คอยาวทภี่ กู ้มุ ข้าว

ผรู้ ว่ มชะตากรรม

จากโศกนาฏกรรมเม่ือครั้งกระโน้นฝูงไดโนเสาร์คอยาว และผู้ร่วมชะตากรรม
ถูกกระบวนการทางธรณีวิทยาเก็บรักษาไว้เป็นเวลาร่วม 130 ล้านปี
ผลการขุดค้น ศึกษาวิจัยแสดงให้เห็นว่าเหตุการณ์ครั้งนั้น ณ บริเวณที่ปัจจุบันน้ี
เป็นพิพิธภัณฑ์สิรินธร มีเพียงเจ้าคอยาวเพียงตัวเดียวที่ยังคงสภาพค่อนข้างครบถ้วน
ขาดเพียงขาหน้าข้างขวา และหัวกะโหลก ส่วนใหญ่ซากกระดูกของไดโนเสาร์ที่ตาย
ในคราวน้ันกระจัดกระจายอยู่บนพื้นท้องน�้ำ เนื่องจากการถูกกระแสน้�ำพัดพาและถูก
แทะกินโดยไดโนเสาร์กินเน้ือ
จากหลกั ฐานซากดึกดำ� บรรพ์กระดกู ทั้งหมดกว่า 700 ชนิ้ ทสี่ ่วนใหญเ่ ปน็ กระดูก
ส่วนตา่ งๆ ของซอโรพอด รวมถึงช้นิ สว่ นของกะโหลก กราม และฟนั ดว้ ย โดยพบวา่ กระดกู
เหล่าน้ีมาจากไดโนเสาร์อยา่ งนอ้ ย 7 ตวั ซึง่ เป็นซอโรพอดอย่างน้อย 2 ชนิด และเปน็
ไดโนเสาร์กินเนือ้ ขนาดใหญ่ หรอื คารโ์ นซอร์อกี อยา่ งน้อย 2 ชนดิ เชน่ กนั

นอกจากนย้ี งั พบฟนั ของ สยามโมไทรนั นสั อสิ านเอนซิส บรรพบรุ ษุ ของเจ้าทเี รก็ ซ์

ทม่ี ากนิ ซากเจา้ คอยาวจนฟนั หลดุ ลว่ งลง (แตพ่ วกมนั จะมฟี นั ชดุ ใหมเ่ ลอ่ื นมาแทนทไี่ ดต้ ลอด)

ปัจจุบันช้ินส่วนหลักฐานที่ส�ำคัญของโลกทั้งหมดเหล่าน้ีได้รับการปกป้องโดยอาคาร
พระญาณวิสาลเถรที่อยู่ภายในบริเวณพิพิธภัณฑ์สิรินธร และได้รับการคุ้มครองโดยพระราช
บญั ญตั ิคุ้มครองซากดกึ ดำ� บรรพ์ พ.ศ. 2551 รว่ มกบั ประชาชนชาวไทยทุกคน

ภเู วยี งโกซอรสั สิรนิ ธรเน 13

เธอยังอยู่ทีน่ .ี่ ...กับเพอ่ื นร่วมชะตากรรมมากมาย

ภูกุม้ ขา้ วมลี กั ษณะเป็นภูเขาโดด ประกอบด้วยกลุ่มหนิ โคราช 2 หมวดหิน คอื หมวดหนิ
เสาขวั อยตู่ อนลา่ ง และหมวดหนิ ภพู านวางตวั อยตู่ อนบน โดยหมวดหนิ ทง้ั สองวางเรยี งซอ้ นตอ่ เนอื่ งกนั
ลักษณะการวางตัวมคี วามเอยี งเทประมาณ 10 องศาลงไปทางทศิ ตะวันตก พบหมวดหินภพู านได้
ตง้ั แตร่ ะดับความสูงประมาณ 270 เมตร เหนอื ระดบั ทะเลปานกลางข้นึ ไป ส่วนพ้ืนทีต่ อนล่างเปน็
หมวดหนิ เสาขวั ซงึ่ ประกอบดว้ ยหนิ ทรายแปง้ หนิ ทราย หนิ โคลนสนี ำ�้ ตาลแดง ซากกระดกู ไดโนเสาร์
ถกู พบในชั้นหินทราย และหินกรวดมนเนอื้ ปนู
ซากดกึ ดำ� บรรพก์ ระดกู “ภเู วยี งโกซอรสั สริ นิ ธรเน” ทส่ี มบรู ณพ์ บอยใู่ นชนั้ หนิ ทรายสลบั
หนิ ดนิ ดาน ทร่ี ะดบั ประมาณ 200 เมตร เหนอื ระดบั ทะเลปานกลาง (ตำ� แหนง่ หลมุ ขดุ คน้ ) นอกจากน้ี
ยังพบเศษกระดูกกระจายอยู่ในช้ันหินกรวดมนโดยรอบภูกุ้มข้าว ท้ังท่ีอยู่บนและอยู่ล่างชั้นหิน
ประวัติศาสตรท์ ีพ่ บซากที่สมบรู ณด์ ้วย
กระดกู ในชนั้ หนิ กรวดมนพบวา่ มลี กั ษณะแตกหกั ซงึ่ เกดิ จากการกระทบ กระแทก และขดั สี
กับตะกอนกรวดในขณะที่ถูกกระแสน�้ำพัดพามาสะสมตัว ท้ังนี้เน่ืองจากกระแสน�้ำท่ีจะสามารถ
พัดพากรวดไปได้ ต้องมีความแรงมากกว่ากระแสน�้ำที่พัดพาตะกอนทราย ดังนั้นจึงพบกระดูก
ในลกั ษณะกระจัดกระจาย และแตกหกั

แนวชั้นหนิ ทรายสลับหินดนิ ดาน
ที่ชว่ ยเก็บรักษาซากของเธอ

เอาไว้อย่างสมบูรณ์

อาคารพระญาณวสิ าลเถร พิพิธภณั ฑส์ ริ นิ ธร
วัดสักกะวัน

14 ไดโนเสารท์ ีภ่ กู มุ้ ข้าว

พ.ศ. ๒๕๕๑ - ควอเทอ รนา ีร พพิ ธิ ภณั ฑ สมเดจ็ พระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารพี ระราชทานพระราชานญุ าต
พ.ศ. ๒๕๓๘ - สริ นิ ธร ใหอ ัญเชญิ พระนามาภิไธย “สิรนิ ธร” เปน ชือ่ พิพธิ ภัณฑไ ดโนเสารท ่ีดที สี่ ดุ ในอาเซียน

พ.ศ. ๒๕๓๗ - พบซากทง้ั ตัว มกี ารพบซากไดโนเสารคอยาวเกือบครบทงั้ ตวั ทีถ่ ือวา สมบูรณท ส่ี ดุ ในอาเซียน
พ.ศ. ๒๕๒๑ - ของเจา คอยาว ถกู เกบ็ รกั ษาไวอ ยา งดีในชน้ั หนิ ทรายของหมวดหินเสาขวั
๒.๕๘ ลา นป -
๒๓ ลานป - ไดโนเสาร สมเดจ็ พระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารพี ระราชทานพระราชานุญาต
เจา ฟา สิรินธร ใหอญั เชญิ พระนามาภิไธย “สริ ินธร” เปน ชือ่ ไดโนเสาร “ภูเวยี งโกซอรสั สริ ินธรเน”
๖๖ ลา นป - ขุดคน และวจิ ยั กรมทรพั ยากรธรณีรว มกบั ผเู ช่ียวชาญฝรงั่ เศาดำเนนิ การสำรวจ ขุดคน ศกึ ษา
อยางเปน ระบบ วิจัยอยา งเปนระบบจนพบซากดกึ ดำบรรพไดโนเสารม ากมายหลายรอ ยชิ้น
๙๕ ลานป - าณ วัดสักกะวัน มีการพบซากดึกดำบรรพก ระดกู ไดโนเสารโดยพระครวู จิ ติ รสหัสคุณ เจา อาวาส

แผนดนิ อสี าน ภูมิประเทศคลายกบั ทเ่ี หน็ ในปจ จบุ นั เพียงแตยังไมถ ูกปรบั แตง โดยมนุษย

พาลีโอจีน นีโอจีน เปนชวงเวลาแหง การสลักเสลา เกลาแตงภมู ิประเทศ

สลักเสลา ดวยกระบวนการกัดเซาะทางธรณีวิทยาทอ่ี าศัยปจจัย

ดานกายภาพ เคมี และชวี วทิ ยารว มกัน
ปลายยุคครีเทเชียสไดโนเสารสูญพันธุ แองโคราชถูกยกตวั ขึ้นเปนท่ีราบสงู

ภทู อก ชวงทา ยสุดของแอง โคราชโบราณ มีภมู อิ ากาศแหงแลงแบบทะเลทราย
เปน การปดทบั ดานบนสุดดว ยตะกอนทรายละเอียดสีแดงเปนสว นใหญ

มหา มกี ารทวมเขามาของนำ้ ทะเลหลายรอบ และตางถกู ระเหยแหงไป
สารคาม เหลอื ไวเ ปน เกลอื สนิ เธาวและแรโ พแทช หลายช้ัน
มีความหนารวมหลายรอ ยเมตร

๑๑๓ ลานป -

ครีเทเชียส (K) พบซากดึกดำบรรพปลา เตา และไดโนเสารกนิ พชื มากมาย

โคกกรวด ในหนิ หมวดน้ที ั่วภาคอสี าน นอกจากน้ยี ังพบรอยตนี อกิ วั โนดอน

ไดโนเสารนกกระจอกเทศ และจระเขท ี่จงั หวัดนครพนมดว ย

รอกหยับมสหัมวมดผวหัสดรนิ หะภหนิ ูพวเาสา่ นางข๑๑วั ๒๓๕๐ ลา นป - ภพู าน โดดเดน ดว ยหนิ ทรายปนหินกรวดมนชั้นหนา
ลานป - เสาขัว พบรอยตนี ไดโนเสารกินเนื้อขนาดใหญใ นหนิ หมวดนี้
โดดเดน ดว ยซากดึกดำบรรพไดโนเสารห ลายสายพันธุ โดยเฉพาะทภ่ี กู มุ ขาว
ที่ซึ่งหมวดหนิ นไี้ ดเ ก็บรักษาซากเจา ไดโนเสารค อยาวไวใ หคนไทยไดช ื่นชม

พระวหิ าร โดดเดน ดวยชั้นหินทรายเนอื้ ควอตซ พบรอยตีนไดโนเสารในหนิ หมวดนี้ดว ย

๑๔๕ ลานป - ภูกระดึง มีการสะสมตัวของตะกอนอยางตอเนื่องมากมายจากปลายยุคจแู รกซิกไปจนถึง
ตน ยคุ ครีเทเชยี ส หินหมวดนี้คอ นขางหนามากเมื่อเทียบกบั หมวดหินอ่นื ๆ ใน
จูแอส ิซกตอนปลาย กลมุ หนิ โคราช พบซากดกึ ดำบรรพไดโนเสารกนิ พืชหลายชนิด เตา ยกั ษ จระเข
ปลาปอด และปลาเกล็ดแข็งเลปโดเทส

๒๐๐ ลานป - น้ำพอง หมวดหนิ น้ำพองสะสมตัวต้ังแตป ลายยุคไทรแอสซกิ จนถึงปลายยคุ
๒๐๘ ลานป - จแู รสซกิ ทำใหม ีความหนาเฉลย่ี รว มหนึง่ กิโลเมตร แตในบางชวง
๒๒๗ ลานป - ไทรแอสซิกตอนปลาย มีการหยุดสะสมตัวของตะกอน โดยเฉพาะในชวงตน ของยคุ จูแรสซกิ
พบซากไดโนเสารก ินพชื ทแ่ี กทส่ี ุดในประเทศไทย

หวยหินลาด แองโคราชเริม่ สะสมตะกอนชนั้ ลา งสดุ พบซากดกึ ดำบรรพเ ตา
และสตั วค รึง่ บกคร่งึ น้ำหลายชนิดในหินหมวดนี้ทว่ั อีสาน
15
พพิ ิธภณั ฑส์ ริ นิ ธร

เธอเปน็ ใครกัน?....มาท�ำความรจู้ ักเผา่ พันธุ์ไดโนเสารก์ ัน


นกั บรรพชวี นิ วทิ ยาทวั่ โลกจดั แบง่ ไดโนเสารเ์ ปน็  2 กลมุ่ ใหญต่ ามลกั ษณะของกระดกู สะโพก

1. มีสะโพกเหมือนกับของสัตว์เลื้อยคลาน เรียกว่า ซอริสเชีย (saurischia) จะมีกระดูก
หัวหน่าว (Pubis) กับกระดูกก้น (Ischium) อยู่แยกจากกัน โดยกระดูกหัวหน่าวชี้ไปด้านหน้า
ไดโนเสาร์ซอริสเชียน (saurischian) มีวิวัฒนาการแยกย่อยออกเป็นหลากหลายสายพันธุ์ตาม
ธรณีกาล แบง่ ไดเ้ ป็น 2 พวก คอื พวกกนิ เนอ้ื กบั พวกกนิ พืช
• เทอโรพอด (Theropod) เปน็ ไดโนเสาร์ พวกกนิ เนอ้ื เดนิ สองขา แบง่ ดว้ ยขนาดไดเ้ ปน็
2 กลุ่มย่อย คอื

• คารโ์ นซอร์ (Carnosaurs) มขี นาดใหญ่
• ซีลูโรซอร์ (Coelurosaurs) มขี นาดเล็ก
• ซอโรพอด (Sauropod) เปน็ ไดโนเสาร ์พวกกนิ พชื  ขนาดใหญ ่เดนิ สข่ี า ซง่ึ ไดโนเสารค์ อยาว
ภเู วยี งโกซอรัส สริ นิ ธรเน จัดอยู่ในกลุม่ ซอโรพอดนเ้ี อง
ซอโรพอดมวี ิวัฒนาการมาจาก โปรซอโรพอด ซ่งึ หมายถึง “ก่อนซอโรพอด” ท่ีมีขนาด
เล็กกว่า มีเล็บแหลมคม และเดนิ สองขาไดด้ ว้ ย ซง่ึ กรมทรพั ยากรธรณสี ำ� รวจพบกระดูกสะโพกสว่ น
หน้าในชัน้ หินทรายสีแดงยคุ ไทรแอสซิกของหมวดหนิ น้�ำพอง อายปุ ระมาณ 200 ล้านปี ในจังหวดั
เพชรบรู ณ์ โปรซอโรพอดมกี ารววิ ัฒนาการไปเปน็ ซอโรพอด ในชว่ งปลายยุคไทรแอสซิก ประมาณ
150 ล้านปกี อ่ น และแพรพ่ นั ธอุ์ ย่างกวา้ งขวางในช่วงปลายยุคครเี ทเชียส ซงึ่ ต่อมาไม่นานกด็ บั สูญ
สิ้นในชว่ งรอยตอ่ ครีเทเชียส-พาลโี อจนี
2. มีสะโพกเหมือนของนกโบราณ เรียกว่า ออร์นิธิสเชีย (ornithischia) จะมีกระดูก
หัวหน่าวอยตู่ ดิ กบั กระดกู กน้ โดยชไ้ี ปดา้ นหลงั ทง้ั คู่ ไดโนเสารอ์ อรน์ ธิ สิ เชยี น (ornithischian) เปน็
ไดโนเสารก์ นิ พชื ทั้งหมด มีววิ ฒั นาการแยกยอ่ ยออก เปน็ หลากหลายสายพันธตุ์ ามธรณกี าล แบง่ ได้
เปน็  5 กลุ่มย่อย คอื
1. สเตโกซอร์ (Stegosaurs) เปน็ ไดโนเสาร์ มคี รบี หลัง เดินส่ีขา
2. ออนิโธพอดส์ (Ornithopods) เป็นไดโนเสาร์ ปากเปด็ เดินสองขา
3. เซอราทอปเชยี น (Ceratopsians) เป็นไดโนเสาร์ มีเขา เดินสีข่ า
* 4. แองกโิ ลซอร์ (Ankylosaurs) เปน็ ไดโนเสาร์ หุ้มเกราะ เดินส่ขี า
* 5. พาคเี ซปฟาโลซอร์ (Pachycephalosaurs) เปน็ ไดโนเสาร์ หัวแขง็ เดินสองขา
* แองกโิ ลซอร์ และ พาคเี ซปฟาโลซอร์ เปน็ ไดโนเสาร์ 2 กลุ่มทยี่ ังไม่พบในประเทศไทย
16 ไดโนเสาร์ทภี่ กู ้มุ ข้าว

แหลง่ ชมุ นุมไดโนเสารใ์ นเมอื งไทย (โดยเฉพาะในภาคอีสาน)

ซากไดโนเสารท์ ถ่ี กู ขดุ คน้ พบในเมอื งไทย มที ง้ั ทเี่ ปน็ ซากกระดกู และรอ่ งรอยดกึ ดำ� บรรพ์
ส่วนใหญ่อยู่บนท่ีราบสูงโคราช โดยมีอายุคลุมกว้างเกือบตลอดมหายุคมีโซโซอิก ซากกระดูก
ไดโนเสาร์ท่ีพบส่วนใหญ่อยู่ในหมวดหินภูกระดึง เสาขัว และโคกกรวด โดยพบบ้างในหมวดหิน
พระวหิ าร และภพู าน สำ� หรบั เจา้ คอยาวถกู พบอยใู่ นหมวดหนิ
เสาขวั หลายแห่ง เชน่ ภเู วียง ภกู ้มุ ขา้ ว และปางสีดา

ภูเวยี ง ภกู ้มุ ขา้ ว

ปางสดี า Ratchasimasaurus

โคกกรวด
Psittacosaurus
Siamosaurus Kinnareemimus Phuwiangosaurus Sauropods Siamodon ค ีรเทเชียส
Stegosaurs
Siamotyrannus Compsognathus Hypsilophodontid Ceratopsians เสาขวั
Euhelopodid ภกู ระดงึ

Carnosaurs Coelurosaurs Stegosaur Ornithopods จูแรส ิซก
มหา ุยค มีโซโซอิก

Isanosaurus น้ำพอง ไทรแอสซิก

THEROPODS PROSAUROPODS

กระดกู กน SAURISCHIANS ORNITHISCHIANS
DINOSAURS กระดูกกน กระดกู หวั หนา ว
กระดูกหวั หนา ว

สะโพกแบบสัตวเ ลือ้ ยคลาน สะโพกแบบนก 17

พิพิธภัณฑส์ ิรินธร

สดั ส่วน สรีระ และอุปนสิ ยั ของพวกเธอ....

ค�ำว่า “ภูเวียงโกซอรัส” หมายถึง สัตว์เล้ือยคลานแห่งภูเวียง ซึ่งเป็นสถานท่ีที่พวกเธอ
ถูกคน้ พบเปน็ ครงั้ แรกในโลก “ภูเวยี งโกซอรสั สริ นิ ธรเน” เปน็ ไดโนเสาร์สายพนั ธุ์ใหม่ของโลกซึ่ง
ผลงานวิจัยของ Martin, et al., (1994) รายงานต�ำแหน่งทางอนุกรมวธิ านของเธอดังนี้

(ขอ้ มลู จากกรมทรัพยากรธรณ,ี 2549)

“ภูเวียงโกซอรัส สิรินธรเน”
เปน็ ไดโนเสารก์ นิ พชื ขนาดใหญ่ หรอื
ซอโรพอด (Sauropod) คำ� นวณความยาวไดป้ ระมาณ 20 เมตร
คำ� วา่ Sauropod มาจากค�ำวา่ sauros และ pous ในภาษากรกี แปลวา่ สตั ว์เลอ้ื ยคลาน และ เทา้
ซอโรพอดเปน็ ไดโนเสารใ์ นลำ� ดบั ซอรสิ เชยี (Saurischia) เปน็ พวกมสี ะโพกเหมอื นกบั ของ
สัตว์เล้ือยคลาน คือมีกระดูกก้นช้ีไปด้านหลัง และกระดูกหัวหน่าวช้ีไปด้านหน้า เป็นพวกเดิน 4 ขา
มลี กั ษณะเดน่ คอื หวั เลก็ คอยาว หางยาว ขาใหญ่ ลำ� ตวั หนา โครงสรา้ งของซอโรพอดทวั่ ๆ ไปมลี กั ษณะ
คอยาว และหางยาวอยใู่ นระนาบเดยี วกนั ทำ� ใหส้ ามารถกระจายนำ้� หนกั และทรงตวั ไดด้ ี
18 ไดโนเสาร์ท่ภี ูกุ้มข้าว

ซอโรพอดปรากฏขน้ึ บนโลกเปน็ ครง้ั แรกในตอนปลายคุ ไทรแอสซกิ (Late Triassic) เรยี กวา่
โปรซอโรพอด ซงึ่ หมายถงึ “กอ่ นซอโรพอด” พวกมนั จะอยรู่ วมกนั เปน็ ฝงู กนิ พชื เปน็ อาหาร สามารถ
เดนิ ได้ทงั้ 4 ขา และ 2 ขา เวลากนิ ใบไม้บนต้นไมส้ งู จะยืนด้วย 2 ขาหลัง แต่เวลาเดิน หรือกินไม้
ตน้ เต้ียมนั ก็จะใช้ทงั้ 4 ขา
เมอ่ื เข้าสยู่ ุคจูแรสซกิ (Jurassic) พวกซอโรพอดได้ววิ ัฒนาการจนมีขนาดใหญ่ขึ้นกวา่ ใน
ยุคแรก และมีน�้ำหนักตัวมากขึ้นจนต้องใช้ขาท้ัง 4 ข้างในการพยุงตัว และแทบจะไม่สามารถยืน
ดว้ ยสองขาหลงั ได้อกี

จากการศกึ ษาขนาดชอ่ งอกของซอโรพอดทวั่ ไป สามารถคำ� นวณขนาดหวั ใจของพวกเธอ
ได้วา่ โตพอๆ กบั ลกู บาสเกตบอล ซงึ่ หัวใจขนาดนีจ้ ะ ไมส่ ามารถ
สูบฉีดเลือดข้ึนไปเลี้ยงสมองที่อยู่สูงๆ ขณะชคู อ
ขึน้ ได้

ดงั นั้นในเวลาปกติ ลำ� คอของพวกเธอนา่ จะ
อยใู่ นแนวเดยี วกบั ลำ� ตวั หรอื อยใู่ นมมุ เอยี งลาดระดบั
เดียวกับแนวสันหลัง

ซ่ึ ง น่ั น ท� ำ ใ ห ้
อ า ห า ร ห ลั ก ข อ ง
พ ว ก เ ธ อ เ ป ็ น พื ช ท่ี
มีลักษณะเป็นไม้พุ่ม

มากกว่ายอดไม้สูงอย่างที่
เคยเชือ่ กัน และถ่ินอาศัยของพวก
เธอก็น่าจะเป็นทุ่งราบท่ีเต็มไปด้วยพุ่มไม้
และไม้ต้น มากกวา่ ป่าดิบทมี่ ไี ม้ยนื ตน้ ล�ำต้นสูง

จากหลกั ฐานทางรอยชวี นิ วทิ ยา ระบวุ า่ รอยตนี ของพวกเธอมโี อกาสพบนอ้ ยกวา่ ของพวก
ไดโนเสาร์กินเน้ือซ่ึงมักหากินบริเวณชายน้�ำท่ีมีตะกอนเปียกช้ืน ท�ำให้เกิดรอยประทับได้ง่ายกว่า
และมากกวา่ ของพวกซอโรพอดทมี่ กั หากนิ พืชในบริเวณพงไมท้ ี่เกิดรอยย่ำ� ได้ยากกว่า
แตจ่ ากหลกั ฐานรอยตนี และรอยทางเดนิ ของซอโรพอดทพ่ี บหลายแหง่ ในโลก มลี กั ษณะของ
การเดนิ รว่ มทางกนั ทำ� ใหท้ ราบไดว้ า่ ซอโรพอดเปน็ สตั วส์ งั คม ทมี่ กั อาศยั อยรู่ วมเปน็ ฝงู เหมอื นชา้ ง

พพิ ิธภัณฑ์สริ นิ ธร 19

อะไรชว่ ยรกั ษาเธอไว.้ ....อย่างไร?

ทนั ทที เ่ี จา้ คอยาวลม้ ฟบุ ลงกบั พน้ื ดนิ เมอ่ื สน้ิ สดุ การเดนิ ทาง กระบวนการทางธรรมชาติ
ไดเ้ ขา้ จดั การกบั ซาก ผ่านกาลเวลาจนกระทงั่ กลายเป็นซากดกึ ด�ำบรรพ์
1. การเกิดซากดึกดำ� บรรพ์เร่มิ ต้นเมื่อส่ิงมีชวี ติ ตายลง เนอ้ื เย่ือตา่ งๆ จะถกู ย่อยสลาย
ใหเ้ นา่ เปอ่ื ยไป เหลอื ไวเ้ พยี งสว่ นโครงสรา้ งส่วนท่ีแข็ง
2. โครงกระดกู ตอ้ งถกู ปดิ ทบั ดว้ ยตะกอนอยา่ งรวดเรว็ กอ่ นทจี่ ะถกู ธรรมชาติ หรอื สตั ว์
อ่ืนท�ำลายไป กระบวนการน้ีมักเกิดข้ึนในแม่น้�ำ ทะเลสาบ หรือชายทะเล ท่ีซ่ึงซากสัตว์จะถูก
ปดิ ทบั ดว้ ยตะกอนอยา่ งรวดเรว็ และเมอ่ื เวลาผา่ นไปชน้ั ของตะกอนกจ็ ะหนาขน้ึ นำ้� หนกั ทก่ี ดทบั
กม็ ากขึ้น ช้ันตะกอนก็เร่ิมแขง็ ตวั กลายเป็นช้นั หินตะกอน

การยอ่ ยสลายเนอ้ื เยอื่ เหลือไวแ้ คน่ ้ี ตะกอนปิดทับ

โดยอาศยั  แ บคทเี รยี โครงสร้างทแี่ ข็ง ตะกอนดิน ทรายปิดทับ
แสงแดด สายน�้ำ กรด ด่าง จะยงั คงหลงเหลอื อยู่ หนาขนึ้ เร่ือยๆ สว่ นลา่ งถูก

ปิดทับไปหมดแล้ว

ซากไดโนเสาร์ทอดอยบู่ น น้ำ� พาตะกอนมาปดิ ทับ ช้ันตะกอนจมลกึ ลง
ช้ันตะกอนที่อาจเป็นที่อยู่ โครงกระดูกพรอ้ มๆ กบั
อาศัยของส่งิ มีชีวิตเลก็ ๆ กระบวนการยอ่ ยสลาย ชนั้ ตะกอนทรดุ ตวั จมลง
ทมี่ ีสว่ นช่วยในการกำ� จัด เนอ้ื หนังของไดโนเสาร์ เน่ืองจากถูกมวลของ
เนื้อเยื่อของเจ้าคอยาว ตะกอนด้านบนทถ่ี ูกพัดพา
มาปิดทบั เพ่ิมขึน้ เรื่อยๆ

20 ไดโนเสาร์คอยาวท่ภี ูกุ้มขา้ ว

แบบที่ 1 การเกิดซากดึกด�ำบรรพม์  ี 2  แบบ

สารอินทรีย์ในกระดูกสลายตัว และค่อยๆ ถูกแทนที่ด้วยน�้ำแร่ภายในหินชั้น เช่น
สารละลายซิลิกา จนกระท่ังกระดูกกลายเป็นหินอย่างสมบูรณ์ โดยมีรูปร่างลักษณะ และ
โครงสรา้ งเหมอื นกระดกู ทกุ ประการ แบบท่เี กิดข้นึ กบั เจา้ คอยาวที่ภูกุม้ ข้าว
แบบท่ี 2
กระดูกถูกละลายหายไปท้ังหมดเหลือเป็นโพรง ซึ่งยังคงรูปร่างภายนอกของกระดูก
เอาไว้ บางครง้ั โพรงนีอ้ าจมนี �้ำแร่เตมิ เข้าไป ท�ำให้ไดร้ ปู ร่างเหมือนกระดกู จำ� ลองโดยธรรมชาติ
แตไ่ มป่ รากฏโครงสร้างภายในของกระดกู ให้เหน็
เวลา (ลา นป)

- 66

ภูทอก

ฝังลกึ ลงเรอื่ ยๆ ตะกอนปิดทบั สนทิ มหา - 95
สารคาม - 113
บนผิวหนา้ ของท้องน�้ำ ไมม่ ีซากใดๆ ปรากฏให้เห็น
เกือบไมเ่ หน็ โครงกระดกู แล้ว บนพ้นื ท้องนำ้� อีกต่อไป

โคกกรวด ครีเทเชียส (K)

ผวิ หนา้ ตะกอนใหม่ - 125
ภพู าน

ตะกอนปิดทับหนาข้ึนเรื่อยๆ เสาขัว - 130
พระวิหาร

ชน้ั ตะกอนใหม่ทป่ี ดิ ทบั ชั้นตะกอนเดมิ ภูกระดงึ - 145
โครงกระดูกหนาข้ึนมากจาก
ตะกอนท่ีถกู พดั พาเข้ามา ชุดตะกอนทงั้ หมดนีก้ ลาย ูจแอส ิซกตอนปลาย
โดยทางน�้ำอยา่ งต่อเนอ่ื ง เป็นเพยี งเศษเส้ยี วเลก็ ๆ
ของชน้ั หนิ ทรายทีถ่ ูกจดั เปน็ น้ำพอง ไทรแอส ิซกตอนปลาย - 200
- 208
“หมวดหนิ เสาขวั ” หว ยหนิ ลาด - 227

พพิ ิธภณั ฑส์ ริ นิ ธร 21

สิ่งท่ีรักษายากยง่ิ กวา่

ธรรมชาตยิ อ่ มดำ� เนนิ ไปอยา่ งตอ่ เนอ่ื งสอดคลอ้ งกนั ทง้ั สรา้ งสรรค ์ และ
ทำ� ลายลา้ ง และทว่ั ทง้ั เอกภพกม็ นั่ คงอยใู่ ตก้ ฎของธรรมชาตทิ งั้ มวลทม่ี นษุ ยไ์ ด้
เรียนรู้แล้วบางส่วน และท่ียงั ไมส่ ามารถเข้าใจไดอ้ กี มากมาย
ส่ิงหนึ่งท่ีมนุษย์จ�ำเป็นต้องท�ำเพื่อการเรียนรู้จากธรรมชาติ คือการ
“แทรกแซง” กระบวนการทางธรรมชาติ และเมื่อมนุษย์ตัดสินใจแทรกแซง
ธรรมชาติแลว้  สง่ิ ที่ตามมาคือความรับผดิ ชอบท่ียิง่ ใหญ่
ส่ิงท่ีธรรมชาติได้เพียรทะนุถนอมรักษาผ่านธรณีกาลมากว่าร้อยล้านปี
และเราไดเ้ พยี รเสาะหา ขดุ คน้  สำ� รวจ ศกึ ษา วจิ ยั  ดว้ ยความพยายามอยา่ งสงู  
จนประสบความส�ำเร็จ กลับกลายเป็นสิง่ ทีเ่ ราต้องดแู ลรกั ษาอย่างยากย่ิง
เมื่อเราเร่ิมต้นย่ืนมือเข้าไปแทรกแซงธรรมชาติ เราต้องพร้อมที่จะรับ
ภาระอันยง่ิ ใหญท่ ่ธี รรมชาตสิ ่งมอบตอ่ ให้กับเราอยา่ งมอิ าจหลกี เลี่ยงได ้
มนั เปน็ หนา้ ทข่ี องทกุ คนทจี่ ะไดร้ ว่ มมอื กนั รบั ผดิ ชอบอยา่ งเตม็ ภาคภมู ิ

กรมทรพั ยากรธรณี 2560

22 ไดโนเสารท์ ีภ่ กู ้มุ ข้าว

เอกสารอ้างองิ

กรมทรัพยากรธรณี, 2549, ไดโนเสาร์ภูเวียง เจ้าฟ้าสิรินธร พมิ พค์ รง้ั ที่ 1 กรงุ เทพฯ: บรษิ ทั รงุ่ ศลิ ป์
การพิมพ์ (1977) จำ� กัด
กรมทรัพยากรธรณี, 2550, ความหลากหลายทางชีวภาพของส่ิงมีชีวิตดึกด�ำบรรพ์ในประเทศไทย
พิมพ์ครัง้ ท่ี 1 กรงุ เทพฯ: อมรินทรพ์ ริน้ ติ้งแอนดพ์ ับลิชช่งิ
กรมทรัพยากรธรณ,ี 2550, ไดโนเสาร์ของไทย พิมพค์ รง้ั ท่ี 3 กรุงเทพฯ: กรมทรพั ยกรธรณี
prc.msu.ac.th/2016/10/04/สไปโนซอรัส-ไดโนเสาร์น้/%20(สไปโนซอรสั …ไดโนเสารน์ ำ้� ตัวแรก
%20????) (accessed, 25 July 2017)
www.komkid.com/ธรรมชาติวิทยา/ซอโรพอด-ยกั ษใ์ หญ่ใจดี/ (accessed, 25 July 2017)
https://pixabay.com/en/lightning-clouds-night-thunderstorm-501895/ (accessed,
31 July 2017)

ภูเวียงโกซอรสั สริ นิ ธรเน 23

ความพเิ ศษเหนอื ซอโรพอดอื่นใด....

ไดโนเสารค์ อยาว ภเู วยี งโกซอรสั สริ นิ ธรเน ไดร้ บั การจดั ลำ� ดบั ใหมโ่ ดยอาศยั หลกั ฐานจาก
กระดกู สนั หลงั สว่ นคอ สว่ นกลางตวั กระดกู ซโ่ี ครง กระดกู สะบกั กระดกู ตน้ ขาหนา้ กระดกู หนา้ แขง้
และกระดูกสะโพก ในการเปรยี บเทยี บกบั กระดูกซอโรพอด ทม่ี กี ารศกึ ษาวิจยั แลว้ และร้จู ักกนั ดี
จากทั่วโลก เชน่ จีน อเมริกา และแทนซาเนีย ประกอบดว้ ย

1. ตวั อยา่ งยคุ จูแรสซิกตอนกลาง และตอนปลาย
4 สกุลจาก เสฉวน และจากชานตุง ประเทศจีน
1.1 ชโู นซอรัส (Shunosaurus) จากเสฉวน
1.2 มาเมนซซี อรสั (Mamenchisaurus) จากเสฉวน
1.3 โอเหม่ซอรัส (Omeisaurus) จากเสฉวน
1.4 ยูฮีโลปสั (Euhelopus) จากชานตงุ
2. ตัวอยา่ งยคุ จูแรสซิกตอนปลาย 3 สกลุ จากหมวดหนิ มอรร์ ิสัน ทางตะวนั ตกของอเมรกิ า
2.1 คามาราซอรสั (Camarasaurus)
2.2 ดิพโพลโดคัส (Diplodocus)
2.3 อะแพตโตซอรสั (Apatosaurus)
3. ตัวอย่างยคุ จูแรสซิกตอนปลาย 2 สกุลจากช้ันหนิ เทนดากรู ู (Tendaguru beds) แทนซาเนยี
3.1 บาโรซอรัส (Barosaurus)
3.2 แบรคคีโอซอรสั (Brachiosaurus)
สรปุ ผลการศกึ ษาพบวา่ ภเู วยี งโกซอรสั สริ นิ ธรเน ไมม่ ลี กั ษณะทค่ี ลา้ ยกบั ไดโนเสารซ์ อโร
พอด วงศใ์ ดๆ ท่ีได้มกี ารศึกษามาก่อนเลย จงึ ถอื ได้วา่ เปน็ ซอโรพอดที่ยังไมส่ ามารถวนิ ิจฉยั ในระดบั
วงศ์ได้ จนกว่าจะมีการค้นพบกระดูกส่วนท่ีส�ำคัญมากกว่าน้ี โดยเฉพาะอย่างยิ่งในส่วน
กะโหลก และกระดูกสนั หลังทอี่ ยู่ในสภาพทสี่ มบูรณ์ จงึ จะสามารถจัด
วางต�ำแหนง่ ทางอนุกรมวธิ านทถ่ี ูกต้องสมบูรณ์ได้
24 ไดโนเสารค์ อยาวทภี่ กู ้มุ ขา้ ว

ทีซ่ ่อนไว้ในตัวเธอ กระดูกสันหลงั ส่วนลำ� ตัว
มชี อ่ งรเู ปิดท่แี กนกลางกระดกู สันหลงั คอ่ นข้างลกึ

กระโดงนูรัลสไปน์ส้นั และเรียวในแนวยาว
ตามล�ำตวั ใกล้เคียงกบั 1.4

ด้านหนา้ ของแผ่นกระดูกสะโพก (Ilium)
พฒั นาไปได้ดีกว่าทพี่ บในซอโรพอดอ่ืนๆ
กา้ นกระดกู หัวหนา่ ว คอ่ นข้างตรงยาว
และชี้ท�ำมุมต้ังฉากกับแกนของแผน่ กระดกู
สว่ นของ 2.2 และ 2.3 ชไี้ ปทางดา้ นหัว
กระดกู หวั หน่าว (Pubis) มีขนาดใกลเ้ คยี ง

กบั ของ 2.1 แตบ่ อบบางกว่าของ 2.2

ส่วนรองรบั กระดูกกน้ (Ischium)
บนกระดูกหวั หน่าว มีขนาดต่างจากซอโรพอดอ่นื ๆ

คือ ส้นั กว่าของ 3.2 ยาวกวา่ ของ 2.1 และ3.1
เบา้ กระดกู สะโพก acetabular สำ� หรับยดึ ส่วนหัวของกระดูกขาหลัง

จะส้นั ในแนวยาวตามล�ำตวั แต่กว้างในแนวขวางลำ� ตัว

ทีซ่ ่อนไว้ในตัวเธอ กระดูกสันหลงั ส่วนลำ� ตัว
มชี อ่ งรเู ปิดท่แี กนกลางกระดกู สันหลงั คอ่ นข้างลกึ

กระโดงนูรัลสไปน์ส้นั และเรียวในแนวยาว
ตามล�ำตวั ใกล้เคียงกบั 1.4

ด้านหนา้ ของแผ่นกระดูกสะโพก (Ilium)
พฒั นาไปได้ดีกว่าทพี่ บในซอโรพอดอ่ืนๆ
กา้ นกระดกู หัวหนา่ ว คอ่ นข้างตรงยาว
และชี้ท�ำมุมต้ังฉากกับแกนของแผน่ กระดกู
สว่ นของ 2.2 และ 2.3 ชไี้ ปทางดา้ นหัว
กระดกู หวั หน่าว (Pubis) มีขนาดใกลเ้ คยี ง

กบั ของ 2.1 แตบ่ อบบางกว่าของ 2.2

ส่วนรองรบั กระดูกกน้ (Ischium)
บนกระดูกหวั หน่าว มีขนาดต่างจากซอโรพอดอ่นื ๆ

คือ ส้นั กว่าของ 3.2 ยาวกวา่ ของ 2.1 และ3.1
เบา้ กระดกู สะโพก acetabular สำ� หรับยดึ ส่วนหัวของกระดูกขาหลัง

จะส้นั ในแนวยาวตามล�ำตวั แต่กว้างในแนวขวางลำ� ตัว

ด้านหลงั ของกระดกู สนั หลังส่วนคอมี กระดกู สนั หลังส่วนคอมีลกั ษณะคอ่ นข้างใกลเ้ คยี งกับ
กระโดงนูรลั สไปน์ (Neural spine) 2.1 และ 3.1 แตค่ อ่ นขา้ งแตกตา่ งจากของจีน
ทั้งสองขา้ งสูง และถ่างออกเป็นมุมกวา้ ง
ส่วนของจีนมกี ระดูกสว่ นนี้ค่อนขา้ งสั้นกวา่ มาก

ดา้ นหนา้ ของกระดกู สนั หลงั สว่ นคอ
มนี รู ลั อาร์ค (Neural arches)
ยาว ต�่ำ และกว้างมาก

สว่ นของจนี มกี ระดกู ส่วนนี้แบนราบ
และกว้างมากในแนวขวาง

กระดกู สะบกั ค่อนข้างยาว และกวา้ งออก
บรเิ วณส่วนปลายสุด ใกลเ้ คียงกับ 2.3
กระดูกขาหน้าท่อนบน ขยายกว้างออกที่ปลายท้งั
สองขา้ งต่างจากของซอโรพอดอืน่ ๆ
ท่ีมีขนาดใหญ่ เทอะทะ ส่วนของ 3.2
มลี กั ษณะทีย่ าว เรียวกว่ามาก

กระดูกขาท่อนบนค่อนขา้ งแบน และมีความหนา
แตกตา่ งจากซอโรพอดอนื่ ๆ คอื
เลก็ กวา่ ของ 2.1 และ 2.3
บอบบางกวา่ ของ 2.2 และ 1.4

ป่มุ กระดกู ตน้ ขาปลายบน trochanter
ซ่งึ เป็นท่เี กาะของกลา้ มเนื้อ มลี ักษณะนูนคล้ายหงอน
และอยู่คอ่ นข้างสูง ส่วนของจนี มีลักษณะเปน็ ก้อนโหนก

และอยูต่ ่ำ� กว่ากึง่ กลางของกระดูกทอ่ นขาหลงั

ภเู วยี งโกซอรัส สริ ินธรเน




Click to View FlipBook Version