The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

รอยตีนไดโนเสาร์ยักษ์ บนหน้าพลาญหินทราย ในห้วยลำพะยัง ที่ภูแฝกถูกค้นพบโดยเด็กนักเรียนหญิงสองคน และนำไปสู่การจัดตั้งวนอุทยานภูแฝก เพื่อการอนุรักษ์มรดกทางธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by kkpracha, 2019-04-21 01:48:34

แหล่งรอยตีนไดโนเสาร์ภูแฝก จังหวัดกาฬสินธุ์

รอยตีนไดโนเสาร์ยักษ์ บนหน้าพลาญหินทราย ในห้วยลำพะยัง ที่ภูแฝกถูกค้นพบโดยเด็กนักเรียนหญิงสองคน และนำไปสู่การจัดตั้งวนอุทยานภูแฝก เพื่อการอนุรักษ์มรดกทางธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม

Keywords: รอยตีนไดโนเสาร์,ภูแผก,ซากดึกดำบรรพ์

คมู่ อื ผูเ้ ลา่ เรอ่ื งธรณี

แหลง่ รอยตนี ไดโนเสารภ์ ูแฝก

จังหวัดกาฬสินธ์ุ

N
pace angle
PACE PACE
STRIDE

แหลง่ รอยตนี ไดคโ่มู นือเผสเู้ าลรา่ ภ์เรแู ื่อฝงธกรณจังี หวัดกาฬสินธ์ุ

อธบิ ดีกรมทรพั ยากรธรณ ี นายทศพร นุชอนงค์
รองอธิบดีกรมทรพั ยากรธรณี นายสมหมาย เตชวาล
รองอธิบดกี รมทรัพยากรธรณี นายนิวตั ิ มณีขตั ยิ ์
ผูอ้ ำ� นวยการสำ� นักธรณวี ทิ ยา นายอนกุ ลู วงศใ์ หญ่
ผอู้ ำ� นวยการกองค้มุ ครองซากดกึ ดำ� บรรพ ์ นายนราเมศวร์ ธรี ะรังสิกุล
เขยี นเร่ือง นายประชา คุตติกลุ
ผูส้ นบั สนนุ ขอ้ มูล นางธดิ า ลิอารด์

นางสาวนภาพร ติ๊บผัด
นายปรชี า สายทอง

พิมพค์ รัง้ ท่ี 1 จำ� นวน 2,000 เล่ม เดือน มิถนุ ายน 2560
จัดพมิ พโ์ ดย กองคุ้มครองซากดกึ ด�ำบรรพ์ กรมทรัพยากรธรณี
75/10 ถนนพระรามท่ี 6 เขตราชเทวี กรงุ เทพมหานคร 10400
โทรศัพท์ 0 2621 9847 โทรสาร 0 2621 9841
ขอ้ มูลทางบรรณานกุ รม
กรมทรพั ยากรธรณ,ี 2560,
คู่มอื ผู้เลา่ เรือ่ งธรณี แหลง่ รอยตีนไดโนเสารภ์ ูแฝก; 26 หนา้
1.ธรณวี ิทยา 2.รอยตีนไดโนเสาร์ 3.ภูแฝก
พมิ พ์ทีบ่ ริษัท รุ่งศิลป์การพมิ พ์ (1977) จ�ำกัด
โทรศพั ท์ 0 2743 9000, 0 2746 3031 โทรสาร 0 2746 3387
Email: [email protected]

รอยประทบั ล้ำ� ค่า

ทุกองค์กรภายใต้กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม ตระหนักดีถึง
ภารกิจด้านการศึกษา ส�ำรวจ อนุรักษ์ และเผยแพร่องค์ความรู้ด้านทรัพยากรธรรมชาติสู่
สงั คม เพอ่ื ความเขา้ ใจทถี่ กู ตอ้ งทงั้ ดา้ นการเกดิ   การพฒั นา  การอนรุ กั ษ์ และการใชป้ ระโยชน์
ทรัพยากรธรรมชาติทุกประเภทอยา่ งชาญฉลาด และกลมกลนื กับวิถชี วี ติ ของคนไทย
ด้วยเหตุน้ีกรมทรัพยากรธรณีจึงได้ร่วมมือกับกรมป่าไม้และกรมชลประทานใน
การอนรุ กั ษ์วนอุทยานรอยตนี ไดโนเสาร์ภูแฝก  จงั หวดั กาฬสินธ์ุ โดยไดร้ ับการสนับสนุนจาก
กระทรวงการทอ่ งเทย่ี วและกฬี าเพอ่ื ใหเ้ ปน็ แหลง่ อนรุ กั ษ์ และทอ่ งเทยี่ วสำ� หรบั ทกุ คน ทส่ี ำ� คญั
คือเพ่อื สง่ เสริมการศึกษาหาความรู้ด้านปา่ ไม้ และธรณีวิทยาจากแหลง่ ธรรมชาต ิ
“คมู่ อื ผเู้ ลา่ เรอ่ื งธรณ ี  แหลง่ รอยตนี ไดโนเสารภ์ แู ฝก  จงั หวดั กาฬสนิ ธ์ุ” จดั ทำ� ขน้ึ
โดยมีวัตถุประสงค์หลักเพ่ือให้ความรู้ด้านวิชาการเบื้องต้นแก่ผู้ท่ีจะศึกษาเพื่อน�ำความรู้ที่ได้
ไปเผยแพรต่ อ่ ไปใหก้ บั นกั ทอ่ งเทย่ี ว  และเปน็ การเรมิ่ ตน้ ใหก้ บั ผอู้ า่ นทสี่ นใจไดศ้ กึ ษาหาความรู้
ในระดบั ท่ีลกึ ลงไปอีก ทงั้ ในสาขาสงิ่ แวดล้อม วนศาสตร์ และธรณวี ิทยา
กรมทรัพยากรธรณี หวังเป็นอย่างย่ิงว่า คู่มือเล่มนี้จะเป็นสื่อที่เริ่มต้นจุดประกาย
ให้ผู้อ่านได้เหน็ ความส�ำคัญของธรรมชาตใิ นแขนงตา่ งๆ และไดม้ ีโอกาสร่วมกันอนุรกั ษ์ และ
เผยแพร่ส่ิงพิเศษที่ธรรมชาติได้เพียรรังสรรค์ผ่านธรณีกาลที่นานแสนนานมาเพื่อมนุษยชาติ
ทั้งมวล

นายทศพร นุชอนงค์
(อธบิ ดีกรมทรพั ยากรธรณี)

สารบญั
แหลง่ รอยตนี ไดโนเสารภ์ แู ฝก จังหวัดกาฬสินธุ์ 1

พบกบั รอยตีนยกั ษ์ ในอาณาจักรดกึ ด�ำบรรพ์

เคยี งขา้ งซงุ กลายเป็นหินอายกุ ว่าร้อยล้านปี

รู้จกั เจ้าของรอยตนี 6

รู้จักหนา้ ตาไดโนเสาร์กนั กอ่ น แล้วคอ่ ยไปดรู อยตีน

เจา้ ของร่องรอยดึกด�ำบรรพ์ ประทับตราครองแผน่ ดินอีสาน

รอยตีนไดโนเสารเ์ กิดขน้ึ ไดอ้ ยา่ งไร? 12

พจิ ารณา ตรวจวดั คำ� นวณ ตามดว้ ยจนิ ตนาการ
แลว้ เราก็ไดร้ จู้ กั เจ้าของรอยตีนโบราณ.....

ผดู้ ูแลรอยประทับล�้ำค่า 18

มรดกท่ีผคู้ รองแผ่นดินอีสานบรรจงประทับทง้ิ ไวเ้ ม่อื ร้อยกว่าล้านปีทีแ่ ล้ว....

ประกาศกรมทรัพยากรธรณี 19

ข้ึนทะเบยี นแหล่งรอยตีนไดโนเสารภ์ แู ฝก

รอยทางเดินไดโนเสาร์ขนาดใหญ่ ทภ่ี ูแฝก

ช่วงวนั หยดุ ในหน้าหนาวปี 2539 ชาวบ้านนาคพู าลกู ๆ ไปพกั ผ่อนท่วี งั เครอื จาน ซง่ึ เปน็
พลาญหนิ ทรายอย่ทู ่เี ชงิ ภูแฝก จากทน่ี ่ันเดก็ หญิงสองคนชวนกนั ไปเดินเท่ียวเลน่ และเมอ่ื พากนั ไป
ถึงบริเวณหว้ ยลำ� พะยงั ด.ญ.กลั ยามาศ สงิ หน์ าคลอง อายุ 10 ขวบ และ ด.ญ.พชั รี ไวแสน อายุ 11
ขวบ ก็พบกบั ร่องรอยแปลกตา นา่ สงสยั หลายรอยเรยี งต่อเนอ่ื งกนั ไปอยบู่ นหนา้ ชัน้ หนิ จึงพากัน
กลบั มาบอกพอ่ แม่ และได้แจ้งใหท้ างราชการทราบ



จากการตรวจสอบโดยคณะสำ� รวจไดโนเสาร์ กรมทรพั ยากรธรณี พบวา่ ทเ่ี ดก็ นอ้ ยทง้ั สอง
พบเห็นคือรอยทางเดินของไดโนเสารก์ ินเน้ือขนาดใหญ่ พวกคาร์โนซอร์ ที่ท้ิงร่องรอยประทบั อยูใ่ น
ชน้ั หนิ ทรายในหมวดหนิ พระวิหาร ยุคครีเทเชียสตอนตน้ ประมาณ 140 ลา้ นปีมาแลว้
การส�ำรวจเบ้อื งต้นในปี พ.ศ. 2539 พบวา่ มีรอยตีนยกั ษ์ของไดโนเสาร์อยูเ่ พียง 21 รอย
ปรากฏเปน็ รอยทางเดนิ 6 แนว ตา่ งทิศทางกนั แต่ทพี่ อจะเห็นชดั เจนมีอยู่ 3 แนว
เพ่ืออนุรักษ์ซากร่องรอยดึกด�ำบรรพ์ดังกล่าว วันที่ 27 มกราคม 2540 กรมป่าไม้จึง
ได้ประกาศจัดต้ังพ้ืนท่ีโดยรอบประมาณ 4,062 ไร่ ในเขตป่าสงวนแห่งชาติป่าดงห้วยฝา ในท้อง
ที่บ้านน�้ำค�ำ ต�ำบลภูแล่นช้าง อ�ำเภอนาคู จังหวัดกาฬสินธุ์ ขึ้นเป็น “วนอุทยานภูแฝก” และ
ได้ร่วมกับกรมชลประทานก่อสร้างฝายน้�ำล้นบริเวณต้นน้�ำ เพื่อชะลอความรุนแรงของกระแส
น�้ำในฤดูฝนไม่ให้พัดพาก้อนหินมาครูดถูกับรอยตีนไดโนเสาร์จนลบเลือนไป พร้อมกันนั้นกรม
ทรัพยากรธรณีได้ท�ำการศึกษาวิจัยและสนับสนุนข้อมูลวิชาการ
ดา้ นธรณวี ทิ ยา และบรรพชวี นิ วทิ ยาใหก้ บั วนอทุ ยานภแู ฝก และ
ได้ร่วมกับกระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา เผยแพร่ข้อมูล และ
ดำ� เนินกจิ กรรมต่างๆ เพอ่ื เสริมการอนรุ กั ษ์อย่างยั่งยนื
1

แหลง่ รอยตีนไดโนเสารภ์ แู ฝก
รอยทางเดินและรอยตีนไดโนเสาร์กินเน้ือขนาดใหญ่ถูกพบอยู่บนหน้าช้ันหินทรายใน
วนอุทยานภแู ฝก ซง่ึ อยู่หา่ งจากตัวเมืองกาฬสินธุไ์ ปทางทศิ ตะวันออกเฉียงเหนือ 74 กิโลเมตร
เดนิ ทางจากตัวเมืองตามเส้นทางกาฬสนิ ธุ-์ สกลนคร (ทางหลวงหมายเลข 12) ประมาณ
42 กิโลเมตร แลว้ แยกขวาท่ีอำ� เภอสมเด็จ ไปประมาณ 19 กโิ ลเมตร ถึงอำ� เภอหว้ ยผ้งึ แยกซา้ ยไป
ทางอ�ำเภอนาคู ประมาณ 9 กิโลเมตร ถงึ ทางแยกซ้ายเขา้ หน่วยจดั การลุ่มน้ำ� ล�ำพะยัง ต.ภแู ลน่ ชา้ ง
เดนิ ทางตอ่ ไปประมาณ 4 กโิ ลเมตร เขา้ ถงึ บรเิ วณทพี่ บรอยทางเดนิ ไดโนเสาร์ ทหี่ ว้ ย
ล�ำพะยงั ในวนอุทยานภแู ฝก

* รอยตีนไดโนเสารภแู ฝก

จังหวดั กาฬสินธุ

ธรณีวทิ ยาที่ภูแฝก

บริเวณโดยรอบวนอุทยานภูแฝก พบหมวดหินต่างๆ ของกลุ่มหินโคราช ประกอบด้วย
หมวดหนิ ภกู ระดงึ พระวหิ ารเสาขวั และภพู านวางตวั เปน็ แนวขอบดา้ นใตข้ องเทอื กเขาภพู าน โดยพบ
หมวดหนิ โคกกรวดบรเิ วณที่ราบขนานไปกับแนวเขา ทัง้ หมดมโี ครงสร้างเปน็ แนวประทนุ คว�ำ่ สลบั
ประทนุ หงาย (f\g g\f f\g) มแี กนอย่ใู นแนวตะวันตกเฉยี งเหนือ-ตะวนั ออกเฉียงใต้
รอยทางเดนิ และรอยตนี ของไดโนเสารก์ นิ เนอื้ และไดโนเสารก์ นิ พชื ขนาดใหญท่ พี่ บบรเิ วณ
ภแู ฝกประทบั อยบู่ นชัน้ หนิ ทรายในหมวดหินพระวหิ าร ของกลุ่มหินโคราชซึง่ ส่วนใหญเ่ กดิ จากการ
สะสมตัวบนภาคพ้ืนทวีป หมวดหินพระวิหารประกอบด้วยหินทรายเน้ือควอตซ์ที่มีขนาดช้ันหนา
แสดงการวางช้นั เฉียงระดบั มีหินทรายแป้งและหนิ เคลยแ์ ทรกสลบั
2

พ.ศ. 2560 - พฒั นาแหลง คนไทยชว ยกนั อนรุ ักษแ หลง รอยตีนไดโนเสาร ภูแฝกจนเปน แหลง แทง่ ลำ� ดบั ชน้ั หนิ ของ
พ.ศ. 2556 - เรียนรู และอางอิงทางธรณีวิทยาทีส่ ำคญั และมีชือ่ เสียงของไทย กลุ่มหินโคราช แห่งมหายุค
พ.ศ. 2551 - มโี ซโซอกิ คลุมตลอดช่วงเวลา
พ.ศ. 2540 - แหลงรอยตีน ประกาศขึน้ ทะเบียนแหลง ซากดึกดำบรรพรอยตีนไดโนเสาร ภูแฝก
พ.ศ. 2539 - ไดโนเสารภูแฝก จ.กาฬสินธุ วันที่ 25 กันยายน 2556
2.58 ลานป -
ควอเทอ รนารี พรบ.คุมครอง ประกาศใช พรบ. คมุ ครองซากดึกดำบรรพในเดือน มกราคม 2551 ครองโลกของไดโนเสาร์
23 ลานป - หมวดหินต่างๆ ท่ี
66 ลา นป - ซากดึกดำบรรพ ประกอบกนั เปน็ กลมุ่ หนิ โคราช
95 ลา นป - สะสมตัวอยู่ในแอ่งบนทวีป
ตั้งวนอุทยาน กรมปาไมประกาศจัดต้งั วนอทุ ยานภูแฝก เพือ่ อนรุ ักษซากดึกดำบรรพ ภายใต้สภาวะแวดล้อมท่ีแปร
113 ลา นป -
พบรอยตีน เด็กหญิงสองคนสงั เกตเห็นรอยยุบบนหนา ชัน้ หินทรายทีภ่ แู ฝก
125 ลานป -
แผน ดินอีสาน ภมู ิประเทศคลายกบั ที่เหน็ ในปจจบุ ัน
130 ลา นป - เพียงแตยังไมถ ูกปรับแตง โดยมนุษย

145 ลานป - พาลีโอจีน นีโอจีน เปน ชว งเวลาแหงการสลกั เสลา เกลาแตง ภูมิประเทศ เปลี่ยนไปมาตลอดช่วงเวลา
ร้อยกว่าล้านปี ท�ำให้เกิดเป็น
200 ลา นป - สลกั เสลา ดว ยกระบวนการกดั เซาะทางธรณีวิทยาทีอ่ าศยั ปจจยั หมวดหินทรายท่ีมีลักษณะ
208 ลา นป - แตกต่างกนั ไป
227 ลานป - ดา นกายภาพ เคมี และชีววิทยารว มกัน บางหมวดหินเด่น

ภูทอก ปลายยคุ ครีเทเชียส ไดโนเสารส ูญพนั ธุ แอง โคราชถูกยกตัวขึน้ เปน ทีร่ าบสงู
KTpt ชว งทา ยสุดของแองโคราช มีภมู ิอากาศแหงแลงแบบทะเลทราย
เปนการปดทบั ดา นบนสุดดว ยตะกอนทรายละเอียดสีแดงเปน สว นใหญ

มหา มีการทวมเขามาของนำ้ ทะเลหลายรอบ และตา งถกู ระเหยแหงไป ด้วยตะกอนที่สะสมตัวใน
สารคาม เหลือไวเ ปนเกลือสินเธาวแ ละแรโ พแทช หลายช้ัน ระบบธารนำ�้ ประสานสายทใี่ ห้
KTms มีความหนารวมหลายรอยเมตร ตะกอนกรวดทราย บางหมวดหนิ

มีสตั วดึกดำบรรพอาศยั อยอู ยางมากมายในชวง ครีเทเชียสตอนตน เด่นด้วยตะกอนที่สะสมตัวใน
โคกกรวด พบซากดึกดำบรรพป ลา เตา และไดโนเสารก ินพืชในหินหมวดนี้ ธารน้�ำโค้งตวัดท่ีให้ตะกอน
ครีเทเชียส (K) Kkk ทัว่ ภาคอีสาน และพบรอยทางเดินไดโนเสารม ากมายที่ทาอุเทน ทรายชนั้ หนา มีชน้ั เฉียงระดับ
จ.นครพนม ปรากฏทั่วไป

ภพู าน Kpp โดดเดนดวยหินทรายปนเม็ดกรวดคอนขา งเหลี่ยมชัน้ หนา สลับช้ันหิน
ทรายแปง และหินโคลนช้นั บาง พบรอยตีนไดโนเสารใ นหมวดนี้

เสาขวั โดดเดนดว ยซากดึกดำบรรพม ากมายในชัน้ หินทรายหนา สีนำ้ ตาลแดง ช่วงท้ายของการ
Ksk สะสมตะกอนมกี ารทว่ มเขา้ มา
โดดเดนดวยช้ันหินทรายเนือ้ ควอตซ ทีว่ นอุทยานภูแฝก จ.กาฬสินธุ ของนำ้� ทะเลหลายครงั้ ภายใต้
พระวิหาร
JKpw พบรอยทางเดินไดโนเสารก ินพิืชขนาดใหญ และรอยตีนไดโนเสารคอยาว

ไทรแอสซิกตอนปลาย ูจแอสซิกตอนปลาย ภูกระดงึ มีการสะสมตวั ของตะกอนอยา งตอเนือ่ งมากมายจากปลายยคุ สภาพอากาศที่แห้งแล้งท�ำให้
Jpk จแู รกซิกไปจนถึงตน ยุคครีเทเชียส หินหมวดนี้คอ นขางหนามาก นำ้� ทะเลระเหยแหง้ ไปสนิ้ ทง้ิ ไว้
เมือ่ เทียบกบั หมวดหินอื่นๆ ในกลุมหินโคราช พบรอยตีนไดโนเสาร เปน็ ชน้ั เกลือสินเธาวห์ นา
และไมกลายเปนหินในหินตะกอนหมวดนี้

นำ้ พอง หมวดหินนำ้ พองสะสมตัวต้ังแตปลายยคุ ไทรแอสซิกจนถึงปลายยคุ ในแทบทกุ หมวดหนิ
Trnp จูแรสซิกทำใหม ีความหนาเฉลี่ยรวมหนึง่ กิโลเมตร แตในบางชวง ปรากฏหลักฐานซากกระดูก
มีการหยดุ สะสมตวั ของตะกอนโดยเฉพาะในชว งตนของยคุ จแู รสซิก และซากรอ่ งรอยทบ่ี ง่ ชช้ี ดั เจน
ที่จงั หวดั เลยพบรอยตีนไดโนเสารกินเนื้อขนาดใหญในหินหมวดนี้

หว ยหนิ ลาด แองโคราชเริม่ สะสมตะกอนชนั้ ลา งสุด ว่าเกิดอยู่ภายใต้อาณาจักร
Trhl ของไดโนเสารน์ านาพนั ธ์ุ

3

รอยตนี เรยี งร้อย....เป็นรอยทางเดนิ

จากปากทางเข้าหน่วยจัดการลุ่มน�้ำล�ำพะยังไปตามทางลาดยางประมาณ 4 กิโลเมตร
จะถงึ จดุ ทพี่ บรอยตนี ไดโนเสารข์ นาดใหญเ่ รยี งรอ้ ยเปน็ รอยทางเดนิ อยบู่ นหนา้ ชนั้ หนิ ทรายในหมวดหนิ
พระวหิ าร อายุประมาณ 140 ล้านปี ในบริเวณท่เี ป็นทางน�ำ้ ไหลในชว่ งฤดูฝน
รอยทางเดินและรอยตีนไดโนเสาร์ ท่ีสำ� รวจพบมีท้ังขนาดใหญ่และขนาดเล็ก อยา่ งน้อย
25 รอย ใน 7 แนวทางเดนิ มที งั้ รอยตนี ของไดโนเสารแ์ บบมสี ามนวิ้ ทคี่ อ่ นขา้ งชดั เจน ในรอยทชี่ ดั ทส่ี ดุ
จะสามารถสงั เกตเหน็ รอยกรงเลบ็ ทสี่ ว่ นปลายนวิ้ และรอยตนี ไดโนเสารแ์ บบกลมๆ เหมอื นรอยตนี ชา้ ง
ท่มี ขี นาดใหญ่ ปรากฏอยู่บนหน้าหินทรายชน้ั ที่ปิดทบั อย่บู นชั้นหินที่พบรอยตีนแบบมีสามน้วิ

 ผา กกนอง ภผู าธาตุ ภูสะโล

หมวดหนิ พระวหิ าร หมวดหินภูกระดึง
JKpw Jpk

จดุ แสดง + จุดพบไมก ลายเปนหิน
ไมก ลายเปน หนิ
+ +รอยตีนไดโนเสาร


กรอบแผนที่แนบทายประกาศฯ ศาลเจาแมน างนอน

หมวดหินเสาขัว ภแู ฝก ตนน้ำลำพะยงั บา นนำ้ ปนุ

ภเู ขยี ว Ksk รอยพระพุทธบาท

ภูแผงมา บานนำ้ คำ บา นโนนนาคำ

หมวดหินภูพาน หนวยจดั การลุมนำ้ ลำพะยงั 
Kpp
(ส�ำนกั ธรณีวทิ ยา กรมทรัพยากรธรณ,ี 2560)

พบไมก้ ลายเปน็ หินทีภ่ ูแฝกดว้ ย
ในวนอุทยานภูแฝก ก่อนถึงรอยทางเดินไดโนเสาร์ที่ปรากฏอยู่ในหมวดหินพระวิหาร

เราจะพบจุดแสดงไม้กลายเปน็ หนิ ทีถ่ ูกนำ� มาจากหมวดหินภกู ระดึงบรเิ วณเชิงภผู าธาตุ
ไมก้ ลายเป็นหนิ ทพี่ บเกดิ จาก “พญาไม”้ อายุประมาณ 140 ลา้ นปี พญาไม้เปน็ ไม้ยนื ตน้
ทจี่ ดั อยใู่ นวงศ์ Podocarpaceae เมอื่ โคน่ ลงแลว้ ถกู ปดิ ทบั ดว้ ยตะกอนทราย และถกู สารละลายซลิ กิ า
ทมี่ ากบั นำ�้ บาดาลซมึ เขา้ ไปในเนอ้ื ไม้ จากนนั้ จงึ ตกผลกึ แทนทเ่ี ซลลเ์ นอื้ เยอ่ื ของไมอ้ ยา่ งชา้ ๆ จนกลายเปน็
หนิ ทงั้ ตน้ อยใู่ นชน้ั ตะกอนทรายดงั กลา่ ว ซง่ึ ภายหลงั แขง็ ตวั เปน็ หนิ ทรายอยใู่ นหมวดหนิ ภกู ระดงึ
4

รอยตนี ที่ภแู ฝก

บรเิ วณทพี่ บรอยตนี เปน็ สว่ นทหี่ นิ ทราย
ชัน้ บนถูกกดั เซาะออกไป ทำ� ให้เปดิ ถงึ ชั้นทีม่ รี อย
ประทับ สว่ นด้านข้างเปน็ หินทรายชัน้ บนท่แี สดง
แนวชั้นหินเดิมให้เห็นชัดเจน และถูกปิดทับด้วย
ชน้ั หนิ ซง่ึ ผพุ งั อยกู่ บั ท่ี โดยสว่ นบนสดุ ถกู คลมุ ดว้ ย
ชัน้ ดนิ ทถ่ี กู ยดึ อยดู่ ้วยรากไม้
ในช่วงหน้าน�้ำบริเวณรอยทางเดิน
ไดโนเสาร์ที่แห้งแล้งจะกลายเป็นทางน้�ำไหล
ผ่าน ซ่ึงเดิมเป็นตัวช่วยให้รอยทางเดินปรากฏ
แก่สายตาชาวโลก แต่ด้วยกระบวนการทาง
ธรณีวิทยาทางน้�ำเดิมนี้จะกลายเป็นตัวท�ำลาย
รอยทางเดินเหล่านี้ โดยการพัดพาเศษหินจาก
บนเขาลงมาครูดกับพ้ืนหน้าหินทราย และรอย
ทางเดนิ
รอยทางเดินไดโนเสาร์ภูแฝกท่ีปรากฏ
ชดั เจนประกอบดว้ ยรอยตนี ขนาดใหญท่ ม่ี สี ามนว้ิ
เรียงร้อยต่อกันให้เห็นชัดเจนถึงทิศทางที่เจ้าของ
รอยตีนมุ่งหน้าไป
ปลายนิ้วในสุดและนอกสุดกางออก
จากกันเป็นมุมแหลม บริเวณส้นมีลักษณะค่อน
ข้างแหลมไมม่ นปา้ น ตรงปลายนิว้ ในบางรอยตีน
ปรากฏรอยกรงเล็บจกิ ลงไปในเนือ้ ทราย

5

ไดโนเสาร์ในเมืองไทย

เพ่ือให้เข้าใจลักษณะของรอยทางเดิน และรอยตีนไดโนเสาร์ได้ง่ายขึ้น เราควรท�ำความ
รู้จัก และเขา้ ใจตวั ของไดโนเสาร์ให้ดีกอ่ น ส่งิ ท่ที �ำใหเ้ รารูจ้ กั ไดโนเสาร์ไดด้ คี ือ ซากดกึ ดำ� บรรพ์
นักบรรพชีวินวิทยานิยมจ�ำแนกซากดึกด�ำบรรพ์ออกเป็น 4 กลุ่มใหญ่ๆ ได้แก่
ซากดกึ ดำ� บรรพส์ ตั ว์ไม่มีกระดูกสันหลัง ซากดึกด�ำบรรพ์สตั ว์มกี ระดกู สันหลงั ซากดกึ ดำ� บรรพพ์ ืช
และซากร่องรอยสัตวด์ ึกดำ� บรรพ์ โดยทซี่ ากไดโนเสารจ์ ดั เปน็ ซากดกึ ดำ� บรรพส์ ตั วม์ กี ระดกู สนั หลงั

การจัดจ�ำแนกประเภทไดโนเสาร์

นักบรรพชีวินวทิ ยาจัดแบ่งไดโนเสาร์เป็น 2 กลุ่มใหญ่ตามลกั ษณะของกระดูกสะโพก
1. ซอริสเชีย (saurischia) สะโพกเหมือนของสัตว์เลื้อยคลาน จะมีกระดูกหัวหน่าวกับ

กระดกู ก้นอยู่แยกจากกัน โดยกระดกู หัวหน่าวช้ีไปดา้ นหนา้
2. ออร์นิธิสเชีย (ornithischia) สะโพกเหมือนของนก จะมีกระดูกหัวหน่าวอยู่ติดกับ

กระดูกกน้ โดยช้ีไปด้านหลงั ท้งั คู่

ไดโนเสาร์ทั้งสองกลมุ่ มวี ิวฒั นาการแยกยอ่ ยออกเปน็ หลากหลายสายพนั ธ์ตุ ามธรณีกาล
ไดโนเสารซ์ อริสเชียน (saurischians) แบง่ เปน็ 2 กลมุ่ คอื พวกกนิ เนอ้ื กบั พวกกนิ พชื
1. เทอโรพอดส์ (Theropods) เปน็ ไดโนเสาร์ พวกกนิ เนอื้ เดนิ สองขา แบ่งเปน็ 2 กล่มุ
ยอ่ ยด้วยขนาด คอื

• คาร์โนซอร์ (Carnosaurs) มขี นาดใหญ่
• ซลี ูโรซอร์ (Coelurosaurs) มขี นาดเลก็
2. ซอโรพอดส์ (Sauropods) เป็นไดโนเสาร์ พวกกินพชื ขนาดใหญ่ เดินสี่ขา

ไดโนเสารอ์ อรน์ ธิ สิ เชยี น (ornithischians) เปน็ ไดโนเสารพ์ วกกนิ พชื ทง้ั หมด แบง่ เปน็ 5
กลมุ่ ยอ่ ย คอื
1. สเตโกซอร์ (Stegosaurs) เป็นไดโนเสาร์ มีครบี หลัง เดนิ ส่ขี า
2. ออนโิ ธพอดส์ (Ornithopods) เป็นไดโนเสาร์ ปากเป็ด เดินสองขา
3. เซอราทอปเชยี น (Ceratopsians) เป็นไดโนเสาร์ มีเขา เดนิ ส่ขี า
* 4. แองกิโลซอร์ (Ankylosaurs) เปน็ ไดโนเสาร์ หุม้ เกราะ เดนิ ส่ขี า
* 5. พาคเี ซปฟาโลซอร์ (Pachycephalosaurs) เปน็ ไดโนเสาร์ หัวแขง็ เดินสองขา
* แองกิโลซอร์ และ พาคีเซปฟาโลซอร์ เปน็ ไดโนเสาร์ 2 กลมุ่ ท่ียังไม่พบในประเทศไทย
6

แหล่งชุมนมุ ไดโนเสารใ์ นเมอื งไทย (โดยเฉพาะภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนอื )

ซากไดโนเสารท์ ถี่ กู ขดุ คน้ พบในเมอื งไทย มที ง้ั ทเี่ ปน็ ซากกระดกู และรอ่ งรอยดกึ ดำ� บรรพ์
ส่วนใหญ่อยู่บนท่ีราบสูงโคราช โดยมีอายุคลุมกว้างเกือบตลอดมหายุคมีโซโซอิก ซากกระดูก
ไดโนเสารท์ พี่ บสว่ นใหญอ่ ยใู่ นหมวดหนิ ภกู ระดงึ เสาขวั และโคกกรวด โดยพบนอ้ ยมากในหมวดหนิ
พระวหิ าร และภพู าน แตก่ ลับ พบรอยตีน และรอยทางเดินมากมาย

Ratchasimasaurus โคกกรวด
Psittacosaurus
Siamosaurus Kinnareemimus PhuwiangosaurusSauropods Siamodon ค ีรเทเ ีชยส
Stegosaurs ภูพาน

Ceratopsians เสาขวั

Siamotyrannus Compsognathus Hypsilophodontid พระวหิ าร

Coelurosaurs Euhelopodid ภกู ระดึง จูแรสซิก
มหายุค มีโซโซอิก
Carnosaurs Stegosaur Ornithopods

Isanosaurus น้ำพอง ไทรแอสซิก

THEROPODS PROSAUROPODS

กระดกู กน SAURISCHIANS ORNITHISCHIANS
DINOSAURS กระดูกกน กระดกู หวั หนา ว
กระดูกหวั หนาว

สะโพกแบบสัตวเ ลื้อยคลาน สะโพกแบบนก

7

รอยชวี ินวิทยา (Ichnology) (กรมทรัพยากรธรณี, 2550)

ซากรอ่ งรอยสตั วด์ กึ ดำ� บรรพ์ หรอื trace fossils เรยี กอกี อยา่ งวา่ ichnofossil ซง่ึ มาจาก
คำ� ภาษากรีกว่า “ichnos” หมายถึง รอยทางเดิน หรอื รอยเทา้ การศกึ ษารอ่ งรอยสัตว์ดกึ ด�ำบรรพ์
และสง่ิ ทีเ่ กีย่ วข้องกัน เปน็ ศาสตร์ท่ีเรียกว่า รอยชวี นิ วทิ ยา Ichnolog y
รอ่ งรอยเหลา่ นเ้ี กดิ จากการกระทำ� ของสตั วข์ ณะทย่ี งั มชี วี ติ อยู่ แลว้ ถกู เกบ็ รกั ษาไวใ้ นชนั้ หนิ
ไดแ้ กร่ อ่ งรอยทเี่ กดิ จากการเดนิ วง่ิ คลาน คบื เลอ้ื ย ไลล่ า่ เหยอ่ื หาอาหาร แทะ กดั พกั อาศยั หนภี ยั
พักหลบภัย ขุดรู เจาะรู ตลอดจนถึงสิ่งท่ีสัตว์ขับถ่ายออกมา รวมท้ังรูท่ีสัตว์เจาะเข้าไปในหิน
เปลือกหอย และเน้อื ไมอ้ ีกดว้ ย แตไ่ ม่รวมร่องรอยต่างๆ ทีเ่ กิดข้นึ ภายหลังจากที่สงิ่ มชี วี ติ น้นั ตายลง
แลว้ ถกู นำ้� หรอื ลมพดั พาไปให้ครูดไถเป็นรอยตา่ งๆ
ลกั ษณะของรอ่ งรอยสตั ว์ดึกด�ำบรรพท์ ีพ่ บมาก ได้แก่ รอยทางเดนิ ของสตั ว์ (Trackway
หรอื Trail) รอยตีนสตั ว์ (Foot print)  รอยชอนไช (Burrow) เปน็ รูในชน้ั หินทม่ี กั มโี คลนหรือทราย
อยภู่ ายใน รเู จาะไช (Boring) เปน็ รอ่ ง หรอื โพรงบนสง่ิ ทแี่ ขง็ ซงึ่ เกดิ จากการกระทำ� ของพชื หรอื สตั ว์
มกั เปน็ รูว่างๆ ไม่มีสิ่งใดไปอดุ มลู หิน หรือ มลู สตั วโ์ บราณ (Coprolite) เป็นซากมลู ดกึ ด�ำบรรพ์
ของสตั วม์ กี ระดูกสนั หลังจ�ำพวกปลา สตั วเ์ ลื้อยคลาน และสัตวเ์ ล้ยี งลกู ด้วยนม
รอ่ งรอยสตั วด์ กึ ดำ� บรรพ์ ใชเ้ ปน็ หลกั ฐานในการศกึ ษาววิ ฒั นาการของสงิ่ มชี วี ติ โดยเฉพาะ
อย่างยงิ่ สัตว์เนอ้ื ออ่ นทีไ่ ม่มีโครงสรา้ งร่างกายเป็นสารแข็ง บอกการดำ� รงชีวิตอยู่ในอดตี ของสัตวใ์ น
บรเิ วณนั้น และช่วยในการแปลความหมายสภาวะแวดลอ้ มโบราณไดเ้ ปน็ อยา่ งดี
ในประเทศไทยพบรอ่ งรอยสตั วด์ กึ ดำ� บรรพอ์ ยหู่ ลากหลายแบบมากกวา่ 30 สกลุ ในชน้ั
หนิ ตะกอนตั้งแต่ยุคแคมเบรียน จนถึงปัจจุบัน ทั่วทุกภาคของประเทศ ทั้งในสภาพแวดล้อมแบบ
ภาคพ้ืนทวปี ขอบทวปี ทะเล มหาสมุทร ท้งั บนผวิ ดนิ ใตด้ ิน น้ำ� จดื นำ�้ กร่อย หรือน้�ำเค็ม

รอยชอนไชของสัตว์ดึกด�ำบรรพ์ท่ี
ปรากฏอยบู่ นชนั้ หนิ ทรายทพี่ บจากใต้
จรดเหนอื ของไทย ตง้ั แตย่ คุ แคมเบรยี น 
อายุมากกว่า 500 ล้านปี จนถึงยุค
ครเี ทเชยี ส ประมาณ 100 ล้านปี
(กรมทรพั ยากรธรณี, 2550)

8

รอยทางเดนิ และรอยตีนไดโนเสาร์

ดว้ ยเหตทุ ร่ี อยทางเดนิ และรอยตนี ไดโนเสารเ์ ปน็ เพยี งรอ่ งรอยทเ่ี กดิ จากไดโนเสาร์ แตไ่ มไ่ ด้
เป็นส่วนหนึ่งส่วนใดของไดโนเสาร์ และรายงานการศึกษาท่ีพบทั่วโลกส่วนใหญ่ก็ไม่สามารถระบุ
ได้ชัดเจนว่า รอยที่ศึกษาอยู่เกิดจากไดโนเสาร์ชนิดใด ส่วนใหญ่ระบุได้เพียงว่าเกิดจากไดโนเสาร์
กลุ่มใด ซงึ่ โดยท่ัวไปแบง่ ออกเป็น 2 กล่มุ คอื กลุ่มเดินสองขา และ กลมุ่ เดนิ สี่ขา


แ ทงมาตราสวนยาว 0.5 เมตร

Carnosaurs Coelurosaurs Ornithopods Sauropods
เดินสองขา เดนิ ส่ขี า

ตัวอยางรอยทางเดินและรอยตีนไดโนเสารส วนใหญท ่ีพบทั่วไป

ไดโนเสาร์เดิน 2 ขา มอี ยู่ 2 กลุ่มใหญ่ คือ
1. เทอโรพอด พวกกนิ เนื้อ รอยตนี เทอโรพอดมกั จะมีรอยนิ้วคอ่ นข้างยาว แคบ และมี
ปลายแหลมของรอยกรงเล็บ บริเวณส้นมักจะมีลักษณะแหลมเป็นตัววี กลุ่มเทอโรพอดมีการแบ่ง
เป็น 2 กลุม่ ย่อย คือ รอยของคารโ์ นซอร์ ลกั ษณะใหญ่ ก�ำยำ� นว้ิ มักแยกจากกันกวา้ งและดูแข็ง
แรง และรอยของซลี ูโรซอร์ ลกั ษณะเลก็ เพียว มักมีน้วิ ทีอ่ ยตู่ ิดกนั
2. ออรน์ โิ ทพอด พวกกนิ พืช รอยตีนออร์นิโทพอดมกั จะกวา้ งกว่าของเทอโรพอด มสี น้ ท่ี
มนและคอ่ นข้างส้นั รอยนว้ิ สน้ั เพราะมีเลบ็ แบบกีบสตั ว์ (บางครั้งพบเดินสี่ขาด้วย)

9

รอยชีวินวิทยาของไดโนเสาร์เมืองไทย

ในเมอื งไทยมกี ารคน้ พบรอยทางเดนิ และรอยตนี ไดโนเสารม์ ากมายในภาคตะวนั ออกเฉยี ง
เหนอื ส่วนใหญเ่ กดิ จากกลมุ่ เดินสองขา ผู้เชีย่ วชาญดา้ นรอยทางเดินไดโนเสาร์ Guban, G.J. เสนอ
วา่ เนอื่ งจากบรเิ วณทหี่ ากนิ ของไดโนเสารเ์ ดนิ สขี่ า พวกกนิ พชื ไมใ่ ชร่ มิ ฝง่ั แมน่ ำ�้ ทมี่ ตี ะกอนชมุ่ ชน้ื แต่
เป็นดงไม้ทพี่ ้ืนดนิ ถูกปดิ ทบั ด้วยไม้ขนาดเลก็ หรอื ใบไมห้ นาแน่น
การค้นพบรอยตีนไดโนเสาร์กินเนื้อขนาดใหญ่ท่ีปรากฏแนวทางเดินเป็นครั้งแรกของ
ประเทศไทย อยู่ท่ีวนอุทยานภูแฝกนี่เอง นอกจากนี้ยังพบรอยตีนไดโนเสาร์ซอโรพอดคร้ังแรกใน
เมืองไทยด้วย โดยก่อนหน้านต้ี ้ังแต่ พ.ศ. 2527 พบเพียงรอยทางเดนิ ของไดโนเสาร์ขนาดเล็ก และ
รอยตนี ไดโนเสาร์ขนาดใหญท่ ่ไี มเ่ ห็นต่อเน่ืองเปน็ รอยทางเดิน ดังน้ี
พ.ศ. 2527 ภหู ลวง อ.ภกู ระดงึ จ.เลย พบรอยตนี ไดโนเสารพ์ วกกนิ เนอ้ื ขนาดใหญ่ 15 รอย
เปน็ ครง้ั แรกในอาเซยี น บนหนิ ทรายในหมวดหนิ ภพู าน ยคุ ครเี ทเชยี สตอนตน้ ประมาณ 120 ลา้ นปี
พ.ศ. 2532 ลานหินลาดป่าชาด อ.ภเู วยี ง จ. ขอนแก่น พบรอยตนี ไดโนเสาร์พวกกนิ เนือ้
ขนาดเลก็ และสตั วเ์ ลอื้ ยคลาน มากกวา่ 60 รอย ประทบั เปน็ แนวทางเดนิ หลายทศิ ทาง บนหนิ ทราย
ในหมวดหนิ พระวหิ าร ยคุ ครเี ทเชยี สตอนตน้ ประมาณ 140 ลา้ นปี
พ.ศ. 2535 อทุ ยานแหง่ ชาตเิ ขาใหญ่ พบรอยตนี ไดโนเสารพ์ วกกนิ เนอ้ื ขนาดเลก็ 7-8 รอย
และพวกกินเนื้อขนาดใหญ่ 1 รอย บนหนิ ทรายในหมวดหนิ พระวิหาร
พ.ศ. 2539 วนอุทยานภูแฝก อ.นาคู จ.กาฬสินธุ์ พบรอยตีนไดโนเสาร์พวกกินเนื้อ
ขนาดใหญ่ อย่างน้อย 25 รอย ประทบั เป็นแนวทางเดิน 7 ทิศทาง และรอยตีนไดโนเสาร์กนิ พืช
ขนาดใหญ่ 2 รอย บนหินทรายในหมวดหนิ พระวหิ าร
พ.ศ. 2539 ภูเก้า อ. โนนสัง จ.หนองบวั ล�ำภู พบรอยตนี ไดโนเสารพ์ วกกนิ เนื้อขนาดย่อม
มากกวา่ 20 รอย ประทบั เปน็ แนวทางเดนิ หลายทศิ ทาง บนหนิ ทรายในหมวดหนิ พระวหิ าร
พ.ศ. 2544 ท่าอเุ ทน จ.นครพนม พบรอยตนี ไดโนเสารพ์ วกกินเนอ้ื ขนาดเล็ก มากกว่า
200 รอย ประทบั เปน็ แนวทางเดนิ หลายทศิ ทาง บนหนิ ทรายในหมวดหนิ โคกกรวด  ยคุ ครเี ทเชยี สตอนตน้
ประมาณ 100 ลา้ นปี
พ.ศ. 2549 อทุ ยานแหง่ ชาตภิ หู นิ รอ่ งกลา้ พบรอยตนี ไดโนเสารก์ นิ เนอื้ ขนาดใหญ่ 10 รอย
ประทบั เปน็ แนวทางเดนิ 3 ทศิ ทาง ในหมวดหนิ ภพู าน ยคุ ครเี ทเชยี สตอนตน้ ประมาณ 120 ลา้ นปี
พ.ศ. 2550 ทา่ สองคอน อ.ภกู ระดงึ จ.เลย พบรอยตนี คารโ์ นซอร์ ไดโนเสารก์ นิ เนอ้ื ขนาดใหญ่
ครง้ั แรกในเมอื งไทย ในหมวดหนิ นำ้� พอง ยคุ ไทรแอสซกิ ตอนปลาย ประมาณ 210-200 ลา้ นปี
พ.ศ. 2551 บ.โนนตมู ต.วงั ชมภู อ.หนองบวั แดง จ.ชยั ภมู ิ พบรอยตนี คารโ์ นซอร์ ไดโนเสาร์
กนิ เนอ้ื ขนาดใหญ่ รอยตนี ไดโนเสารค์ อยาว และรอยกบี เดนิ เปน็ แนวรว่ มทศิ ทางกนั ยาวกวา่ 25 เมตร
ในหมวดหนิ น้ำ� พอง ยคุ ไทรแอสซกิ ตอนปลาย ประมาณ 210 ลา้ นปี
10

แหล่งชุมนมุ รอยทางเดนิ และรอยตนี ไดโนเสารใ์ นเมอื งไทย

ซากดกึ ดำ� บรรพร์ อยทางเดนิ และรอยตนี ไดโนเสารท์ พ่ี บในเมอื งไทยสว่ นใหญเ่ ปน็ แบบเดนิ
สองขา และพบมากทสี่ ุดในหินทรายของหมวดหนิ พระวิหารซึง่ เป็นหมวดหนิ ทีพ่ บซากดึกดำ� บรรพ์
ไดโนเสาร์น้อยมาก และทพ่ี บมากตอ่ มาคอื หมวดหินภูพาน โคกกรวด และนำ�้ พอง

ทาอุเทน

ภูหลวง ภแู ฝก
ภหู ินรอ งกลา ทาสองคอน ภูเกา

ภูเวียง

โนนตูม

เขาใหญ

Ornithopods Ceratopsians พบแ ตซากกระดูก ยังไ มพบรอย ีตน โคกกรวด ครีเทเ ีชยส
บาง ีท ็กเดิน ี่สขา ภูพาน
Carnosaurs Stegosaurs พบแตซากกระดูก ัยงไ มพบรอย ีตน เสาขัว จูแรส ิซก
Sauropods มหา ุยค ีมโซโซอิก
Prosauropods พระวหิ าร
ภูกระดงึ
Coelurosaurs
Ornithomimosaurs นำ้ พอง ไทรแอสซิก

เดินสองขา (BIPEDAL) เดนิ สี่ขา (QUADRUPEDAL)

รอยตีนไดโนเสาร
(DINOSAUR FOOTPRINT)
11

รอยตนี ไดโนเสาร์ ทภี่ แู ฝก เกิดข้ึนได้อยา่ งไร?

เห็นภาพของรอยตีนไดโนเสาร์ท่ีเรียงร้อยเป็นรอยทางเดินแล้ว คงสงสัยว่าแล้วรอยตีน
เหลา่ นไ้ี ปปรากฏอยบู่ นหน้าหินทรายแข็งแกร่งของหมวดหนิ พระวิหารได้อยา่ งไร?
รอ่ งรอยเหล่านท้ี ี่จรงิ แล้วกค็ อื ซากดึกดำ� บรรพ์ประเภทหนึง่
ซากดึกด�ำบรรพ์ หมายถึงซากหรือร่องรอยของส่ิงมีชีวิตในอดีตท่ีประทับอยู่ในชั้นหิน
เกดิ จากการทซ่ี าก หรอื รอ่ งรอยของสงิ่ มชี วี ติ ในอดตี ถกู ปดิ ทบั ดว้ ยตะกอน ซงึ่ ภายหลงั แขง็ ตวั กลายเปน็
หนิ ดว้ ยกระบวนการทางธรณวี ทิ ยา ซากสงิ่ มชี วี ติ เหลา่ นน้ั จงึ กลายเปน็ ซากดกึ ดำ� บรรพอ์ ยใู่ นชน้ั หนิ
สว่ นใหญเ่ นอื้ เยอื่ ทอี่ อ่ นจะถกู ยอ่ ยสลายไปโดยงา่ ย เหลอื เพยี งสว่ นโครงสรา้ งทแี่ ขง็ เชน่ กระดกู ฟนั
เปลอื ก กระดอง หรอื สว่ นเนอ้ื เยอ่ื ถาวรของพชื เมอื่ มนี ำ�้ แรไ่ หลซมึ เขา้ ไปในโครงสรา้ งทหี่ ลงเหลอื อยู่
ดังกล่าวจะเกิดการตกผลึกแทนที่ และเปล่ียนแปลงสภาพเป็นซากดึกด�ำบรรพ์ นอกจากในช้ันหิน
แลว้ ซากดกึ ด�ำบรรพอ์ าจพบอย่ใู นอ�ำพัน หรอื น�ำ้ แข็งได้เช่นกัน
ซากดกึ ดำ� บรรพม์ กี ารเกดิ ทต่ี า่ งจากซากรอ่ งรอยดกึ ดำ� บรรพ์ ในชว่ งแรกของการสะสมตวั
ซากดกึ ดำ� บรรพต์ อ้ งการถกู ปดิ ทบั อยา่ งรวดเรว็ เพอ่ื ปอ้ งกนั การถกู ยอ่ ยสลาย ขณะทรี่ อ่ งรอยทางเดนิ
ตอ้ งอาศยั เวลาใหร้ อยพมิ พแ์ ห้งโดยการระเหยน้ำ� ของชั้นตะกอนที่ถูกยำ่� ผ่าน เม่อื แข็งตัวคงรูปแลว้
จึงคอ่ ยถกู ตะกอนใหมม่ าปดิ ทบั อย่างชา้ ๆ น่มุ นวลเพอ่ื ไม่ให้รอยประทับถูกแรงนำ้� ทำ� ลาย

การประทบั รอยตนี เปน็ แบบพมิ พ์ และรปู พมิ พใ์ นชน้ั ตะกอนทป่ี ดิ ทบั (คดั ลอกจาก กรมทรพั ยากรธรณ,ี 2553)

เงอ่ื นไขสำ� คญั ทจี่ ำ� เปน็ สำ� หรบั การรกั ษารอยประทบั ของสง่ิ มชี วี ติ ดกึ ดำ� บรรพบ์ นหนิ ทราย
1. ร่องรอยถูกประทบั บนตะกอนที่เปียกชื้น และไมถ่ ูกท�ำลายโดยธรรมชาติหรอื สัตว์
2. สภาวะอากาศแหง้ ในเวลาต่อมา ท�ำใหร้ ่องรอยประทบั แขง็ ตัว คงรปู
3. ในภายหลงั มกี ารสะสมของตะกอนอยา่ งชา้ ๆ ปิดทับร่องรอยทแี่ ขง็ ตัวแล้ว
โดยไมท่ �ำลายร่องรอยเดมิ
4. มกี ารปดิ ทบั ด้วยช้ันตะกอน ตอ่ เนอ่ื งอีกมากมาย
5. ตะกอนทงั้ หมดแข็งตัวเป็นหินชั้นตามกาลเวลา ด้วยแรงกดทับมหาศาล
หากขาดเงอื่ นไขขอ้ หนง่ึ ขอ้ ใด การเกบ็ รกั ษารอ่ งรอยประทบั ดกึ ดำ� บรรพด์ ว้ ยกระบวนการ
ทางธรณวี ทิ ยากจ็ ะไมส่ ามารถเกดิ ขนึ้ ไดส้ ำ� เรจ็ หรอื หากสำ� เรจ็ กจ็ ะดไู มอ่ อกวา่ เปน็ รอยอะไร
12

ขอ้ มูลท่ไี ดจ้ ากรอยไดโนเสาร์ (Kuban, G. J., http://paleo.cc/paluxy/ovrdino.htm)
รอยตนี และรอยทางเดนิ ไดโนเสารส์ ามารถใหข้ อ้ มลู เกย่ี วกบั พฤตกิ รรมของไดโนเสาร์
การเคลื่อนที่ สรีระวิทยาของตีน อายุทางธรณีวิทยา และการกระจายตัวทางภูมิศาสตร์
การศกึ ษารอ่ งรอยไดโนเสารย์ งั ชว่ ยเสรมิ ความรเู้ กย่ี วกบั ระบบนเิ วศโบราณ และประชากรศาสตร์
การพจิ ารณารอ่ งรอยเดี่ยวๆ ท�ำให้ได้ทราบขนาด รูปรา่ งตีน และจ�ำนวนน้ิวตีน ร่องรอย
ท่ีชัดๆ บอกได้ถึงกายวิภาคของส่วนท่ีนุ่มของตีน รวมถึงรูปแบบของฝ่าตีนและกล้ามเน้ือตีน และ
ความยดื หยนุ่ ของน้วิ
ลักษณะของรอยทางรวมถึงรูปแบบของรอยทางบ่งบอกบุคลิกของเจ้าของร่องรอย
รอยทางสามารถบอกได้ว่าไดโนเสาร์ก�ำลังเดิน ก�ำลังเหยาะ ก�ำลังวิ่ง หรือก�ำลังลุยน�้ำหรือโคลน
รอยทางบอกไดด้ ว้ ยวา่ มนั กำ� ลงั เดนิ สองขา หรอื เดนิ สข่ี า หรอื ทา่ อน่ื ๆ ทอี่ ยรู่ ะหวา่ งสองทา่ น้ี
เราสามารถค�ำนวณอย่างคร่าวๆ ได้ว่ามันเคลื่อนที่ได้เร็ว แค่ไหน และบอกได้ด้วยว่ามัน
ยกหางหรอื เปลา่ หรอื วา่ มนั เดนิ หนบี ๆ หรอื เดนิ กางขา และ ในบางกรณีบอกท่าหยุดนิ่งของ
ไดโนเสารไ์ ดด้ ว้ ย
รอ่ งรอยบง่ บอกพฤตกิ รรมสงั คมของไดโนเสาร์และสง่ิ แวดลอ้ มทพ่ี วกมนั อาศยั อยู่ในบางแหลง่
มีร่องรอยขนานกันเป็นสิบรอยไปในทางทิศทางเดียวกัน ช้ีให้เห็นถึงการรวมฝูง หรือการอพยพ
บางร่องรอยบ่งบอกต�ำแหน่ง ของชายฝั่งโบราณ บางแห่งแสดงถึงพฤติกรรมอ่ืนๆ เช่น
การรวมกลุ่มรอบพงไม้ แสดง ถึงการหาอาหาร บางแหล่งมีร่องรอยท่ีแสดงถึงการไล่ล่า
บางแหล่งแสดงร่องรอยของ ความโกลาหล

- - - - - - - - - - - - . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .
การเดินบนปลายตีนโดยมีรอยทางเดินแคบๆ เป็นลักษณะทั่วไปของทางเดิน

ของไดโนเสาร์เดิน 2 ขา เป็นสัญลกั ษณ์ของสัตว์ทวี่ ง่ิ และเคลื่อนไหวอยา่ งมีประสิทธภิ าพ
รอยทางเดิน 2 ขาบางรอยแคบจนเกือบเป็นเสน้ ตรง รอยทางเดนิ ของสตั ว์ที่มีมุมระหวา่ ง
น้ิวนอกสุด-ในสุดเล็กๆ ซ่ึงเป็นลักษณะท่ัวไปของเทอโรพอดขนาดเล็กก็เป็นตัวบ่งช้ีว่าเป็น
สัตวท์ กี่ ระฉับกระเฉง
มีหลกั ฐานแสดงใหเ้ ห็นว่าไดโนเสารห์ ลายสายพันธส์ุ ามารถวิ่งได้ แต่พวกมันไมค่ อ่ ยชอบ
วงิ่ ซ่ึงไม่น่าแปลกหากเทยี บกบั เสือชีตาห์สัตว์ท่ีวงิ่ ไดเ้ ร็วท่สี ดุ ในโลกก็ใช้เวลาสว่ นใหญพ่ กั ผ่อน นอน
เดนิ แต่วง่ิ น้อยมาก
รอยทางเดนิ ของไดโนเสารส์ ว่ นมากอยใู่ นทา่ ทไ่ี มร่ บี ประมาณ 2-12 กม/ชม. อยา่ งไรกต็ าม
รอยทางเดินไดโนเสาร์ 2 ขามากมายแสดงความเรว็ เกินกว่า 40 กม/ชม.

13

พบรอ่ งรอยไดโนเสาร์ได้ทไี่ หนบา้ ง

ชนั้ หนิ ในมหายคุ มโี ซโซอกิ มรี อ่ งรอยไดโนเสารอ์ ยมู่ ากมายมหาศาล และจรงิ ๆ แลว้ มากกวา่
ซากกระดกู ดว้ ยซำ�้ เพราะวา่ ไดโนเสารแ์ ตล่ ะตวั ทง้ิ ซากไวเ้ พยี งหนง่ึ ซาก แตส่ ามารถสรา้ งรอ่ งรอยได้
นบั ไม่ถว้ นตลอดชวี ติ ของมัน รอ่ งรอยไดโนเสารถ์ ูกพบมากกว่า 1,000 แหง่ ทั่วโลก
รอ่ งรอยดกึ ดำ� บรรพม์ กั ถกู พบบรเิ วณชายฝง่ั หรอื ทรี่ าบนำ�้ ขนึ้ ลงทม่ี ตี ะกอนเปยี กชน้ื แผต่ วั
กวา้ งขวาง เชน่ เดยี วกบั ในโลกปจั จบุ นั (ปจั จบุ นั คอื กญุ แจสอู่ ดตี -present is the key to the past)
ซากรอยทางเดินและรอยตีน มีกระบวนการเก็บรักษาทางธรณีวิทยาที่แตกต่างจาก
ซากกระดกู ดงั นนั้ จงึ มกั ไมพ่ บเกดิ สะสมตวั รว่ มกนั ในบางหมวดหนิ ไมพ่ บซากดกึ ดำ� บรรพไ์ ดโนเสารเ์ ลย
หรอื พบนอ้ ยมาก แตก่ ลบั พบซากรอยทางเดนิ และรอยตนี ไดโนเสารม์ ากมาย ทำ� ใหย้ นื ยนั ถงึ การดำ� รง
อยู่ของไดโนเสารใ์ นชว่ งเวลาทีช่ น้ั ตะกอนในหมวดหนิ นนั้ ๆ กำ� ลงั สะสมตัว

วิธีการศกึ ษารอยทางเดนิ ไดโนเสาร์

นานมากแล้วที่ทางเดินไดโนเสาร์ไม่ได้รับความสนใจจากนักบรรพชีวินวิทยาที่มักจะคิด
ว่าเป็นร่องรอยพวกน้ันเกิดขึ้นโดยบังเอิญเท่าน้ัน โชคดีท่ีทัศนคติน้ีเปลี่ยนไปอย่ามากมายในช่วงปี
หลังๆ ความสนใจไดโนเสาร์อย่างกว้างขวางเกิดขึ้นพร้อมกับความสนใจทางเดินของพวกมันด้วย
ทำ� ใหพ้ บแหล่งใหมๆ่ มากมายอย่างรวดเร็ว และท�ำใหก้ ารศึกษาทางเดนิ ไดโนเสารม์ คี วามละเอียด
และเปน็ ระบบขนึ้
รอยทางเดนิ และรอยตนี เปน็ แบบบนั ทกึ ทแ่ี ฝงขอ้ มลู พฤตกิ รรมของเจา้ ของรอยไวม้ ากมาย
มากเกินกว่าท่ีซากดึกด�ำบรรพ์กระดูกจะบอกได้ ร่องรอยไดโนเสาร์ท�ำให้เราสามารถสร้างฉากการ
ดำ� รงชีพของเจ้าของรอยได้ถกู ต้องมากข้นึ
การศึกษาแหล่งซากดึกด�ำบรรพ์รอยทางเดินไดโนเสาร์ ต้องท�ำการวัดทั้งรอยทางเดิน
และตัวร่องรอยอย่างละเอยี ด โดยทำ� แผนที่ท่วั ท้งั แหลง่
การวดั รอยตนี ประกอบด้วย ความยาว ความกวา้ ง และความลกึ รวมถึงทศิ ทาง ความ
ยาวของแตล่ ะนว้ิ (จากปลายน้ิวถงึ ซอกนว้ื ) และมุมระหวา่ งนิ้ว 2 (ในสุด) กับน้วิ 4 (นอกสดุ )
การวดั รอยทางเดนิ ประกอบดว้ ย
PACE คือ ระยะระหวา่ งก้าวขาซ้าย-ขวา หรือ ขวา-ซ้าย
STRIDE คอื ระยะระหว่าง 2 ก้าวติดกนั ของขาขา้ งเดยี วกัน
pace angle คือมมุ ระหว่าง pace สองอันทต่ี ิดกัน
รวมถงึ ความกวา้ งของทางเดนิ มมุ ของการบดิ เขา้ หากนั หรอื บดิ ออกจากกนั ของรอยตนี บนแนวทาง
เดนิ ดว้ ย (สำ� หรบั รอยทางเดนิ 4 ขา ตอ้ งแยกวดั ขอ้ มลู สำ� หรบั สองขาหนา้ กบั สองขาหลงั ออกเปน็ 2 ชดุ )
14

PACE

angle STRIDE

pace
PACE

N น้ิว 2 นวิ้ 3 ความยาวรอยตีน

ความยาวน้วิ นิว้ 4

มุมระหวางนว้ิ 2 และน้วิ 4

ความกวาง

การคำ� นวณกายวภิ าค และอัตราการเคลือ่ นที่ของไดโนเสาร์
ข้อมลู ส�ำหรับการค�ำนวณความสูงของสะโพก ความยาวของร่างกาย และอตั ราความเรว็
ของการเคลอื่ นทข่ี องไดโนเสาร์ ประกอบด้วย ความยาวรอยตนี และระยะ Stride ส่วนขอ้ มูลอ่ืนๆ
ใช้ส�ำหรับการเปรียบเทียบลักษณะการเคลื่อนที่ส�ำหรับการจ�ำแนกขั้นละเอียดเพ่ือหาเจ้าของรอย
ตนี ต่อไป
ความสงู ของสะโพก (H) ไดโนเสาร์เทอโรพอด ตามสมการของ Thulborn (1990) แยก
ค�ำนวณตามความยาวตีน โดยแยกกนั ที่ 25 เซนติเมตร
• รอยตนี สน้ั กว่า 25 เซนติเมตร จะมสี ะโพกสูง = 4.5 x ความยาวรอยตนี
• รอยตีนยาวกว่า 25 เซนตเิ มตร จะมีสะโพกสูง = 4.8 x ความยาวรอยตนี
ลักษณะการเคล่ือนท่ี เดิน เหยาะ หรือว่ิง อาศัยอัตราส่วนของระยะ Stride (SL) กบั
ความสงู ของสะโพก (SL/H) จะบอกถงึ ทา่ ทางการเคลอื่ นทข่ี องไดโนเสารจ์ ากรอยทางเดนิ วา่ เป็นการ
เดิน เหยาะ หรือว่ิง ค่า SL/H ต่�ำกว่า 2.0 แสดงถึงการเดิน ถ้า SL/H= 2.0 – 2.9 แสดงถงึ การ
เหยาะ และถา้ หาก SL/H มากกว่า 2.9 แสดงว่าไดโนเสารก์ ำ� ลงั วิ่ง
ส่วนความเร็วในการเดินหรือว่ิงสามารถค�ำนวณได้จากสมการท่ีค่อนข้างซับซ้อนของ
Alexander’s formula (1989) หรอื Thulborn’s formula (1990) ซง่ึ อาศยั คา่ ความโนม้ ถว่ งโลก
ความสงู ของสะโพก และระยะ Stride เป็นขอ้ มูลในการค�ำนวณ
15

เจ้าของรอยทางเดนิ ท่ีภูแฝก

หลงั จากมีการคน้ พบรอยตีนไดโนเสารท์ ภ่ี แู ฝกในปี พ.ศ. 2539 แล้ว กรมทรัพยากรธรณี
ได้ศกึ ษาเบ้ืองตน้ พรอ้ มทำ� การวจิ ัยตอ่ เนอื่ งและพบว่ามีรอยตีนท้ังหมดไมน่ ้อยกวา่ 25 รอย ปรากฏ
เป็น 7 รอยทางเดิน ส่วนใหญ่เป็นของไดโนเสาร์กินเน้ือขนาดใหญ่ หรือ carnosaurs และมีรอย
ทางเดินของไดโนเสาร์กินพืชขนาดใหญ่ หรอื sauropod จำ� นวน 1 แนว


รอยทางเดินท่ีพบทั้งหมดปรากฏชัดเจนเพียงรอยทางเดียว ซ่ึงเป็นรอยทางเดินของ
ไดโนเสารก์ นิ เน้ือขนาดใหญ่ และเป็นรอยทางเดนิ ท่คี ้นพบโดยเด็กนกั เรียนท้งั สองคน
หลักฐานที่บ่งบอกว่าเป็นรอยตีนไดโนเสาร์ประเภทกินเนื้อ
ขนาดใหญ่ คอื รูปร่าง และขนาดตลอดจนร่องรอยกรงเล็บแหลมคม
ทีป่ ลายน้ิว ซึ่งเป็นลกั ษณะเฉพาะของสตั ว์กนิ เนอื้
สำ� หรบั รอยทางเดนิ ของ sauropod ปรากฏเปน็ ลกั ษณะรอย
ทางเดนิ ของสตั วเ์ ดินสขี่ า คอื มที ้งั รอยตนี หน้าและรอยตีนหลัง คล้าย
รอยตนี ชา้ ง แต่มีรอยตนี หนา้ ท่เี ลก็ กวา่ รอยตนี หลังมาก และไม่ชดั เจน
โดยพบอยู่เพียง 2 คู่ ส่วนที่เหลือคาดว่าเป็นเฉพาะรอยตีนหน้า
ที่ไมช่ ดั เจน
ในภาคสนามคณะผู้ส�ำรวจกรมทรัพยากรธรณีได้เก็บข้อมูล
ทสี่ ำ� คญั ประกอบดว้ ย ขนาด สดั สว่ นตา่ งๆ ของรอยทางเดนิ และรอยตนี
คดั ลอกรูปรอยตีนและรอยทางเดนิ ลงบนแผ่นพลาสตกิ ถ่ายรปู และ
ท�ำการหล่อแบบจากรอยพิมพ์รอยตีน เพ่ือท�ำการศึกษารายละเอียด
ตอ่ ไปในหอ้ งปฏบิ ตั กิ าร

รอยตีนไดโนเสารก์ ินพืชหรอื่ sauropod (รูปจาก J. Le Loeuff et al. 2002)

16

ผลการศึกษารอยทางเดินไดโนเสารก์ นิ เน้อื ทภี่ ูแฝก

ผลการศกึ ษาสัดส่วนกายวิภาค และการเคลอ่ื นไหว จากขอ้ มูลท่ีไดจ้ ากภาคสนาม โดยใช้
สมการทเี่ ปน็ ทย่ี อมรบั ทวั่ โลกในการคำ� นวณหา ความสงู ถงึ สะโพกของไดโนเสาร์ ทา่ ทางทไี่ ดโนเสาร์
กำ� ลงั เคลอ่ื นทีข่ ณะพิมพร์ อยตนี และความเร็วในการเคลือ่ นที่ ปรากฏดงั นี้

205 ซม. เดินชา ๆ ประมาณ 4 กม./ชม.



ระยะ stride 221 ซม.

รอยทางเดินหลักที่ชัดเจนที่สุดประกอบด้วยรอยตีนแบบสามนิ้วของไดโนเสาร์กินเนื้อ

จำ� นวน 7 รอย มีความยาวอยู่ระหว่าง 38 ถงึ 43 เซนติเมตร กว้าง 34 ถึง 40 เซนติเมตร น้ิวกลาง
ยาวทส่ี ุดประมาณ 23 ถงึ 26 เซนติเมตร ในรอยที่ชดั ทีส่ ดุ ปรากฏรอยกรงเล็บขนาดใหญ่
นิว้ กลางถูกเรยี กวา่ น้วิ ท่ี 3 เน่อื งจาก ไดโนเสารก์ นิ เน้ือมี 4 น้ิว แตน่ ้วิ ท่ี 1 มขี นาดเลก็
และอยู่สูง ประกอบกับท่าเดินแบบ เดินปลายตีน (เดินไม่เต็มฝ่าตีน) ของไดโนเสาร์ รอยน้ิวท่ี 1
จงึ ไมป่ รากฏในรอยตีน
รอยทางเดนิ นเ้ี ปน็ รอยของไดโนเสารข์ นาดคอ่ นขา้ งใหญ่ การคำ� นวณความสงู ของสะโพก
จากความยาวรอยตนี ดว้ ยสมการของ Thulborn (1990) พบวา่ มสี ะโพกสงู 205 เซนตเิ มตร และ
เมื่อน�ำไปหาอัตราส่วนระหวา่ งระยะ Stride ตอ่ ความสูงสะโพก (SL/H) พบวา่ ต่�ำกวา่ 2.0 คอื มคี ่า
เพียง 1.08 ซ่ึงถือว่าค่อนข้างต่�ำ เทียบได้กับอัตราการเคลื่อนท่ีประมาณ 4 กิโลเมตรต่อช่ัวโมง
ซง่ึ หมายความว่าไดโนเสารก์ ำ� ลงั เดนิ อยา่ งช้าๆ

นอกจากน้ียัง สามารถค�ำนวณความยาวของร่างกายไดโนเสาร์ได้จาก
สมการของ Thulborn (1990) โดยแบ่งเปน็ สองกล่มุ
ดว้ ยความสงู สะโพกท่ี 1.8 เมตร

• หากสะโพกต่�ำกว่า 1.8 เมตร ไดโนเสาร์จะมี
รา่ งกายยาว เป็น 4 เท่าของความสงู สะโพก

• หากสะโพกสูงกว่า 1.8 เมตร ไดโนเสาร์จะมี
รา่ งกายยาว เท่ากบั 2 x ความสูงสะโพก + 3.5 เมตร

• ดังนั้นไดโนเสาร์ภูแฝกควรจะมีขนาดยาว
ประมาณ 2 x 2.05 + 3.5 = 7.6 เมตร

17

ผลการศกึ ษารอยทางเดนิ ไดโนเสาร์กนิ พืช ท่ีภูแฝก
รอยตีนรูปวงรี 2 รอย ยาว 52 เซนติเมตร กว้าง 40 เซนติเมตร ปรากฏอยู่บนชั้นหิน
ทีว่ างตวั อยเู่ หนอื ชั้นที่พบรอยตีนไดโนเสาร์กินเนือ้ เป็นรอยตีนหลังของ
ไดโนเสาร์กินพืช ด้านหน้าของรอยทั้งสองน้ีมีรอยตีนหน้า
ขนาดเลก็ ปรากฏลางๆ แตเ่ นอื่ งจากรอยตนี ชดุ นไ้ี มค่ อ่ ย
ชดั เจนจงึ ไมส่ ามารถระบุวงศ์ของไดโนเสารไ์ ด้
จากการศึกษารอยทางเดินของ
ไดโนเสาร์คอยาวพวกกินพืช อายุครีเทเชียส
ตอนปลาย ในทวปี อเมรกิ าใต้ สามารถคำ� นวณ
ความสูงถึงสะโพกได้เป็น 4.58 เทา่ ของความยาวของรอยตนี หลงั
(BERNARDO J. GONZÁLEZ RIGA, 2011)
ถา้ หากในเบ้ืองตน้ เราอนมุ าณสมการดงั กล่าวมาใชก้ ับรอยตนี ไดโนเสารก์ นิ พชื ของภแู ฝก
กค็ วรจะมคี วามสงู ของสะโพก ประมาณ 4.58 x 52 = 238 เซนตเิ มตร หรอื 2.38 เมตร

รอยทางเดนิ ไดโนเสารก์ ินพชื ถูกพบคร้ังแรกในเมืองไทย ทีภ่ ูแฝก

การต้งั ชื่อรอยตีนไดโนเสาร ์

รอ่ งรอยสตั วด์ กึ ดำ� บรรพจ์ ะถกู ตงั้ ชอื่ เพยี งสกลุ (ichnogenus) และชนดิ (ichnospecies)
เป็นภาษาละตนิ หรอื ภาษากรีก เท่านั้น และมักเติมทา้ ยด้วย “pus” หรอื “podus” ซง่ึ หมายถึง
“ตนี ” โดยจำ� แนกจากรปู รา่ งลกั ษณะของรอยตนี ไมเ่ กยี่ วกบั ชนดิ ของสตั วผ์ สู้ รา้ งรอ่ งรอยนน้ั โดยตรง
สัตว์หลายชนิด สามารถสร้างร่องรอยท่ีเหมือนกันจนอาจจ�ำแนกให้เป็นร่องรอยของ
สัตว์ดึกด�ำบรรพ์ชนิดเดียวกันได้ ถ้าสัตว์เหล่าน้ันมีพฤติกรรมที่เหมือนกัน ในภาวะแวดล้อมหนึ่งๆ
หรือสัตว์บางชนิดอาจสร้างร่องรอยซากดกึ ดำ� บรรพท์ มี่ รี ปู ทรงตา่ งกนั หลายแบบได้ หากพฤตกิ รรม
หรอื กจิ กรรมของสตั วน์ นั้ เปลย่ี นไป (กรมทรพั ยากรธรณี, 2550)

18

ผดู้ แู ลรอยประทบั ลำ�้ ค่า

เมอื่ รอ้ ยกวา่ ลา้ นปกี อ่ นเจา้ นกั ลา่ ดกึ ดำ� บรรพไ์ ดบ้ รรจงประทบั รอยตนี
เรียงรายฝากไวบ้ นช้นั ตะกอนทราย และถูกเก็บรกั ษาเปน็ เวลานานแสนนาน
โดยกระบวนการทางธรรมชาติ แลว้ วนั นรี่ อยยำ�่ ประทบั เหลา่ นนั้ ไดป้ รากฏเปน็
“มรดก - รอยประทับร้อยลา้ นป”ี อยู่บนชัน้ หนิ ทรายในหมวดหินพระวิหาร
ของกลมุ่ หนิ โคราช
หากรอยบันทึกยังถูกชั้นหินทรายปิดทับอยู่ ธรรมชาติก็จะยังคงท�ำ
หน้าท่ีดูแลรักษาต่อไป แต่เมื่อใดท่ีรอยทางเดินดึกด�ำบรรพ์ถูกเผยสู่สายตา
ของเราแลว้ ธรรมชาติจะล้มเลกิ กระบวนการเกบ็ รกั ษาทง้ั หมด และกลับมา
ท�ำหน้าท่ีท�ำลายตามธรรมชาตทิ ุกวิถีทาง
ขณะเดียวกันธรรมชาติได้ยกหน้าท่ีรับผิดชอบในการอนุรักษ์มรดก
ล้�ำค่าเหล่าน้ีให้พวกเราทุกคนท�ำแทน พร้อมกันน้ีก็ได้เปิดโอกาสให้ทุกคนได้
ศึกษาข้อมูลจากมรดกล้�ำค่าน้ี เพื่อเป็นกุญแจเผยความลับของธรรมชาติ
จากอดตี กาล ทว่ี วิ ฒั นาการสปู่ ัจจบุ ัน และจะผันผ่านตอ่ ไปสู่อนาคต

มรดกลำ้� คา่ มักมาพร้อมกบั ความรับผิดชอบทีย่ ิ่งใหญเ่ สมอ

19

เล่ม ๑๓๐ ตอนพเิ ศษ ๑๖๐ ง หนา้ ๙ ๑๙ พฤศจิกายน ๒๕๕๖
ราชกิจจานุเบกษา

ประกาศกรมทรพั ยากรธรณี

เรือ่ ง ใหแ้ หลง่ ซากดกึ ดาํ บรรพ์เป็นแหลง่ ซากดึกดําบรรพ์ที่ขน้ึ ทะเบียน

อาศัยอํานาจตามความในมาตรา ๑๔ วรรคหนึ่ง แห่งพระราชบัญญัติคุ้มครองซากดึกดําบรรพ์
พ.ศ. ๒๕๕๑ และข้อ ๒ (๓) แห่งประกาศคณะกรรมการคุ้มครองซากดึกดําบรรพ์ เรื่อง หลักเกณฑ์
การประกาศเป็นแหลง่ ซากดึกดําบรรพ์ทขี่ ึ้นทะเบยี นและเป็นซากดึกดาํ บรรพท์ ่ขี น้ึ ทะเบียน พ.ศ. ๒๕๕๒ อธิบดี
กรมทรพั ยากรธรณี โดยความเหน็ ชอบของคณะกรรมการคมุ้ ครองซากดึกดําบรรพ์ กําหนดให้แหล่งซากดึกดําบรรพ์
รหัสประจําแหล่งซากดกึ ดาํ บรรพ์ THS
ช่อื แหล่งซากดึกดาํ บรรพ์ แหลง่ รอยตนี ไดโนเสาร์ภูแฝก จังหวัดกาฬสินธ์ุ
สถานทตี่ ัง้ ภแู ฝก หมู่ที่ ๖ ตาํ บล ภูแล่นช้าง อาํ เภอ นาคู
จงั หวัด กาฬสินธุ์ จํานวนพนื้ ที่ ๒,๐๖๔ ตารางเมตร
กวา้ ง ๓๐.๐๘๕ เมตร (DMR๐๔๔-DMR๐๔๓)
๓๓.๒๗๑ เมตร (DMR๐๔๕-DMR๐๔๒)
ยาว ๖๔.๓๗๐ เมตร (DMR๐๔๓-DMR๐๔๒)
๖๘.๙๗๕ เมตร (DMR๐๔๔-DMR๐๔๕)
ลักษณะของซากดกึ ดําบรรพ์ทป่ี รากฏ เปน็ รอยทางเดนิ ของไดโนเสารก์ ินเนื้อขนาดใหญ่ พวกคาร์โนซอร์
หลายแนวทางประทบั อยู่ในช้ันหินทราย หมวดหินพระวิหาร ยคุ ครีเทเซยี สตอนต้น ประมาณ ๑๔๐ ล้านปี
สภาพทางภมู ศิ าสตรข์ องแหลง่ ซากดึกดาํ บรรพ์ ปรากฏอยู่บนลานหนิ ทรายสขี าวในหว้ ยผงึ้
ช่ือผูค้ น้ พบ เด็กหญงิ กลั ยามาศ สิงห์นาคลอง และเดก็ หญงิ พชั รี ไวแสน วันเดอื นปที พี่ บ
๑๖ พฤศจกิ ายน พ.ศ. ๒๕๓๙
ชื่อเจา้ ของ/ผูค้ รอบครอง/ผมู้ ีสิทธิในที่ดนิ โดยชอบด้วยกฎหมาย กรมปา่ ไม้
หน่วยงานท่ีใช้ประโยชน์ กรมทรัพยากรธรณี
ตามรปู ถา่ ยและแผนที่แนบท้ายประกาศนี้ เป็นแหล่งซากดึกดาํ บรรพ์ที่ข้นึ ทะเบยี น
ท้งั น้ี ต้ังแตว่ นั ถดั จากวนั ประกาศในราชกจิ จานุเบกษาเป็นต้นไป

ประกาศ ณ วนั ท่ี ๒๕ กันยายน พ.ศ. ๒๕๕๖
ปราณตี รอ้ ยบาง

อธิบดีกรมทรพั ยากรธรณี

20

21

22

เอกสารอา้ งองิ

กรมทรัพยากรธรณี, 2550, ความหลากหลายทางชีวภาพของส่ิงมีชีวิตดึกด�ำบรรพ์ในประเทศไทย
พิมพ์ครง้ั ท่ี 1 กรุงเทพฯ: อมรนิ ทร์พริน้ ติง้ แอนดพ์ ับลชิ ชงิ่
กรมทรัพยากรธรณ,ี 2550, ไดโนเสารข์ องไทย พิมพค์ ร้ังที่ 3 กรงุ เทพฯ: กรมทรัพยกรธรณี
กรมทรัพยากรธรณี, 2553, ท่องโลกธรณี อุทยานแห่งชาติเขาใหญ่ ความมหัศจรรย์แห่งมรดกโลก
พมิ พค์ รัง้ ท่ี 1 กรงุ เทพฯ: อมรนิ ทรพ์ ร้ินต้ิงแอนดพ์ บั ลชิ ชิ่ง
GONZALEZ RIGA, Bernardo J.. Speeds and stance of titanosaur sauropods: analysis of
Titanopodus tracks from the Late Cretaceous of Mendoza, Argetina. An.
Acad. Bras. Ciênc. [online]. 2011, vol.83, n.1 [cited 2017-03-16], pp.279-290.
Available from: <http://www.scielo.br/scielo.php?script=sci_arttext&pid=
S0001-37652011000100016&lng=en&nrm=iso>. Epub Feb 04, 2011. ISSN
0001-3765. http://dx.doi.org/10.1590/S0001-37652011005000002.
J. Le Loeuff et al. 2002, Dinosaur footprints from the Phra Wihan Formation (Early
Cretaceous of Thailand), C. R. Palevol 1 (2002) 287–292, Availablefrom:
<https://www.researchgate.net/publication/257671068_Dinosaur_footprints_
from_the_Phra_Wihan_Formation_Early_Cretaceous_of_Thailand> accessed
14 February 2017
Kuban, G. J. 2017, An Overview of Dinosaur Tracking: Part of Kuban’s Paluxy website,
Available from: <http://paleo.cc/paluxy/ovrdino.htm> accessed 14February 2017


Click to View FlipBook Version