ซากดึกด�ำบรคู่มือรผู้เพล่าเ์ภรื่อูเงธกรณ้าี -ภูพานค�ำ
อทุ ยาน ครเี ทเชียส
Cretaceous Parks
คู่มือผู้เล่าเร่ืองธรณี
ซากดึกด�ำบรรพ์ภูเก้า-ภูพานค�ำ: อุทยาน ครีเทเชียส
อธิบดีกรมทรพั ยากรธรณ ี นายสมหมาย เตชวาล
นายนิวัติ มณีขัติย์
รองอธิบดกี รมทรัพยากรธรณ ี
นายมนตรี เหลอื งองิ คะสุต
รองอธบิ ดีกรมทรพั ยากรธรณ ี นายนิมิตร ศรคลัง
นายประชา คุตติกุล
ผ้อู �ำนวยการกองคุ้มครองซากดึกดำ� บรรพ์
นางสาวศศอร ขันสุภา
เขียนเร่อื ง นายปรีชา สายทอง
สนับสนนุ ข้อมูล
¾ÔÁ¾ì¤ÃÑ§é ·Õè 1 ¨Ó¹Ç¹ 1,000 เลม่ à´×͹ สิงหาคม 2562
¨Ñ´¾ÔÁ¾ìâ´Â กองคุ้มครองซากดกึ ด�ำบรรพ์ ¡ÃÁ·ÃѾÂҡøóÕ
75/10 ¶¹¹พระรามที่ 6 เขตราชเทวี กรุงเทพมหานคร 10400
โทรÈѾ·ì 0 2621 9847 โทรสาร 0 2621 9841
ข้อมลู ทางºÃóҹءÃÁ
¡ÃÁ·ÃѾÂҡøóÕ, 2562,
¤ÙèÁ×ͼÙéàÅèÒàÃ×èͧ¸Ã³Õ ซากดกึ ดำ� บรรพภ์ เู กา้ -ภพู านคำ� : อทุ ยานครเี ทเชยี ส, 46 ˹éÒ
1.พิพธิ ภัณฑ์ 2.ซาก´Ö¡´ÓºÃþì 3.รอยตนี ไดโนเสาร์ 4.หอยสองฝา 5.ภูเกา้ -ภพู านค�ำ
¾ÔÁ¾ì·Õè ·Ù·ÇÔ¹¾ÃÔé¹µÔé§
10/122 หมทู่ ่ี 8 µ.ÊÓâçà˹×Í Í.เมอื งสมุทรปราการ ¨.ÊÁطûÃÒ¡Òà 10270
â·ÃÈѾ·ì 0 2185 9953 และ 09 6996 5447
E-mail: [email protected]
คัดลอก และดดั แปลงภาพถ่ายจาก https://www.google.com/maps/search/ภเู กา้
อุทยานแห่งชาติ - ดึกด�ำบรรพ์
อทุ ยานแหง่ ชาติภเู ก้า-ภูพานค�ำ นอกจากจะเปน็ อทุ ยานแหง่ ชาติท่มี คี วามพิเศษ
ด้านความอุดมสมบูรณ์ทางธรรมชาติวิทยา และความสวยงามของทิวทัศน์แล้ว ยังเป็น
อทุ ยานแห่งชาตทิ ี่ควบรวมอทุ ยานฯ 2 แห่งเข้าดว้ ยกัน เปน็ หนง่ึ เดียว
ทน่ี า่ อศั จรรยก์ วา่ นนั้ กค็ อื อทุ ยานแหง่ ชาตภิ เู กา้ -ภพู านคำ� มมี ติ ทิ ซ่ี อ้ นทบั กนั ของกาลเวลา
คือ อุทยานแห่งชาติ-ปัจจุบัน กับ อุทยานแห่งชาติ-ดึกด�ำบรรพ์ หรือ อุทยานครีเทเชียส
ท่ีผู้มาเยือนจะได้รับความรู้ ความต่นื ตา ตน่ื ใจ อย่างเป็นทวคี ูณ กับมิติทางด้านธรณวี ิทยา
จากพพิ ธิ ภัณฑ์แหลง่ ซากดึกดำ� บรรพภ์ ูเก้า และพพิ ธิ ภณั ฑ์แหล่งซากดกึ ดำ� บรรพภ์ ูพานคำ�
ทต่ี ัง้ อยภู่ ายในอุทยานแห่งชาตทิ ้ังสองพน้ื ท่นี ้ี
พร้อมกันนี้ กรมทรัพยากรธรณีได้จัดท�ำเอกสารประกอบการท่องเท่ียวเชิงธรณี
คมู่ อื ผเู้ลา่ เรอื่ งธรณี ซากดกึ ดำ� บรรพภ์ เู กา้ -ภพู านคำ� : อทุ ยานครเี ทเชยี ส (Cretaceous Parks)
เพ่ือให้ข้อมูลเบอื้ งตน้ สำ� หรบั การเยย่ี มชมอุทยานแหง่ ชาติมติ ซิ ้อนทับแหง่ น้ี
กรมทรพั ยากรธรณหี วงั เปน็ อยา่ งยงิ่ วา่ เอกสารคมู่ อื ผเู้ ลา่ เรอ่ื งธรณี ภเู กา้ -ภพู านคำ�
ท่ีได้รวบรวมข้อมูลเก่ียวกับหลักฐานความมหัศจรรย์ทางธรณีวิทยา จะเป็นประโยชน์ต่อ
เจา้ หนา้ ที่ ยวุ มคั คเุ ทศก์ และมคั คเุ ทศกช์ มุ ชน ในการศกึ ษาเพอื่ นำ� เสนอตอ่ ผมู้ าเยอื นจากทว่ั ทศิ
รวมถึงจะเป็นประโยชนต์ ่อนกั เรียน นกั ศึกษา และนักท่องเท่ียวทกุ ทา่ น
(นายสมหมาย เตชวาล)
อธบิ ดกี รมทรัพยากรธรณี
สารบัญ
อทุ ยานแห่งชาติ ภเู ก้า-ภพู านคำ� 1
ธรณวี ทิ ยาในอทุ ยาน 4
10
• ธรณวี ทิ ยาโครงสรา้ ง 12
14
บันทกึ ธรณี ในอทุ ยานฯ ครเี ทเชยี ส 16
20
• รอยตนี ไดโนเสารท์ ภ่ี เู กา้ 24
• พพิ ธิ ภณั ฑแ์ หล่งซากดกึ ดำ� บรรพ-์ ภเู กา้ 26
• หอยสองฝาน�้ำจืดทีภ่ เู กา้ 28
• กระดกู และฟันไดโนเสาร์ท่ีภเู กา้ 30
• สามสบิ โบกทภ่ี เู ก้า 32
• พิพิธภัณฑ์แหล่งซากดกึ ด�ำบรรพ์-ภพู านค�ำ 34
• ไม้กลายเป็นหิน 38
อุทยานแหง่ ชาติดกึ ด�ำบรรพ์
ข้นึ ทะเบยี นแหลง่ ซากดกึ ดำ� บรรพ์
เอกสารอ้างอิง
อุทยานแห่งชาติ ภูเก้า-ภูพานค�ำ
ภูเก้า-ภูพานค�ำ เป็นอุทยานแห่งชาติแบบ ทวิภาค หรือแบบทูอินวัน คือเป็น
อุทยานแห่งชาติที่มีอาณาเขตคลุม 2 พื้นท่ี โดยพื้นท่ีหน่ึงมีลักษณะเป็นภูเขาลูกโดด
รปู แอง่ กระทะ และอีกพนื้ ทีห่ นึ่งมีสภาพภมู ปิ ระเทศเป็นแนวเขายาว และอ่างเกบ็ น�้ำขนาดใหญ่
นเ่ี ป็นความพเิ ศษทม่ี องเห็นไดอ้ ย่างชดั เจน
หากแต่ว่ายังมีอีกนัยหนึ่งท่ีผู้คนทั่วไปยังไม่ได้สัมผัส และนัยท่ีกล่าวถึงนี้เองท่ีท�ำให้
ภเู ก้า-ภพู านค�ำ เป็นอุทยานแหง่ ชาติ ทวิภพ
อทุยานแห่งชาติภเู ก้า-ภูพานค�ำ ในภพปจั จบุ ัน ตั้งซ้อนทับอยู่บนอุทยานครเี ทเชียส
แห่งภพบรรพกาล ทมี่ มี ิติแหง่ กาลเวลาตา่ งกันกว่าร้อยลา้ นปี ปรากฏหลกั ฐานชดั เจนเปน็
ซากดกึ ด�ำบรรพ์นานาชนิดกระจายตวั อยทู่ ่วั อทุ ยานฯ อาทิ เช่น รอยตนี ไดโนเสาร์ กระดูก
และฟันไดโนเสาร์ เต่า ปลา หอยสองฝาน�้ำจืด และไมก้ ลายเปน็ หนิ
ดว้ ยเหตนุ เี้ องกรมทรพั ยากรธรณจี งึ ไดจ้ ดั สรา้ งพพิ ธิ ภณั ฑแ์ หลง่ ซากดกึ ดำ� บรรพข์ นึ้
ในอทุ ยานฯ ทงั้ สองพนื้ ท่ี เพอ่ื ใหบ้ รกิ ารขอ้ มลู ความรเู้ กยี่ วกบั มติ บิ รรพกาลของ อทุ ยานแหง่ ชาติ
ภเู กา้ -ภพู านคำ� ในวนั นี้ ทซี่ ง่ึ เมอ่ื รอ้ ยกวา่ ลา้ นปที ผี่ า่ นมาเคยเปน็
ภูเก้า-ภูพานค�ำ อุทยาน ครีเทเชียส
การเยอื นอทุ ยานฯ แหง่ นี้ จึงเปรยี บเสมือนกบั การได้เยอื นอุทยานฯ ข้ามมติ ิเวลา
ที่พิเศษยิ่ง และสามารถข้าม ไป-กลับ กาลเวลากี่ครั้งก็ได้โดยอาศัยเพียงข้อมูลพื้นฐานท่ี
จะไดร้ บั จาก คมู่ ือผเู้ ล่าเรื่องธรณี กบั พพิ ธิ ภัณฑแ์ หล่งซากดึกดำ� บรรพ์ ท้งั สอง ซ่ึงโอกาส
พเิ ศษอยา่ งนจี้ ะหาไดใ้ นอุทยานแหง่ ชาตเิ พียงไม่กีท่ ี่ในเมืองไทย
1
ภเู ก้า
2
แ ผ น ที่ แ ส ด ง อ า ณ า เ ข ต ข อ ง
อุ ท ย า น แ ห ่ ง ช า ติ ภู เ ก ้ า - ภู พ า น ค� ำ
คั ด ล อ ก - ดั ด แ ป ล ง จ า ก
ภพู านคำ� อทุ ยานแหง่ ชาติภเู ก้า-ภพู านค�ำ
ครอบคลมุ พนื้ ทบ่ี างส่วนของ 2 จงั หวดั
คอื หนองบวั ลำ� ภู และขอนแก่น
โดยในปี พ.ศ. 2526
กองอทุ ยานแหง่ ชาติ กรมป่าไม้
ได้จัดตงั้ พืน้ ที่ปา่ สงวนแห่งชาติภูเกา้
ซ่ึงมีทวิ ทศั นท์ สี่ วยงามตามธรรมชาติ
ประกอบดว้ ยพนั ธพ์ุ ชื -สตั วป์ า่ ทส่ี มบรู ณเ์ ปน็
อทุ ยานแหง่ ชาตภิ ูเกา้
ตอ่ มาไดม้ ีการผนวกพ้นื ท่เี ทอื กเขา
ภพู านคำ� และพน้ื ที่ด้านตะวนั ตกเฉียงเหนอื
ของตัวเขอ่ื นอุบลรัตน์ เขา้ ร่วมเปน็
อุทยานแหง่ ชาตภิ เู กา้ -ภูพานค�ำ
ในปี พ.ศ. 2528
เพื่อให้เกิดประโยชน์สมบรู ณ์
ในการรักษาทรัพยากรธรรมชาติ
3
โครงสร้างรปู ประทุนหงาย โครงสร้างรูปประทุน
โครงสรา้ งรปู ประทุนหงาย ปลายท่ิมลง ไปทางทศิ เห
เขาหน้าตดั รปู อีโต้
พรแี คมเบรยี น แคมเบรยี น ออรโดวิเชียน ไซลเู รยี น มหายคุ พาลโี อโซอิก คารบอนิเฟอรสั
ดโี วเนียน
4 หนวยเวลา ลานป 541.0 358.9
485.4 443.8 419.2 298.9
Kms หมวดหนิ มหาสารคาม ธรณีวิทยาในอุทยานฯ
Kkk หมวดหินโคกกรวด
Kpp หมวดหินภพู าน
Ksk หมวดหนิ เสาขัว
Kpw หมวดหนิ พระวหิ าร
Jpk หมวดหินภกู ระดงึ
Trnp หมวดหนิ นำ้ พอง
อทุ ยานแห่งชาตภิ ูเก้า-ภูพานค�ำ อยทู่ างตะวนั ออกเฉียงใตข้ องจังหวดั หนองบัวล�ำภู
น โดยมแี นวสนั เขาภพู านคำ� เปน็ เขตพรมแดนตดิ ตอ่ กบั จงั หวดั ขอนแกน่ ทำ� ใหเ้ ขตอทุ ยานแหง่ ชาติ
หนือ ภูพานค�ำด้านตะวันตกซ่ึงเป็นด้านท่ีชันกว่าอยู่ในจังหวัดหนองบัวล�ำภู และด้านที่ลาดกว่า
ทางตะวนั ออกอยู่ในเขตจังหวัดขอนแกน่
โครงสรา้ งหลักทางธรณีวิทยาวางตวั อยู่ในแนวเกือบ เหนือ-ใต้ โดยเอยี งไปทางทิศ
ตะวนั ออกเฉยี งเหนือเลก็ นอ้ ย ด้านตะวันออกเปน็ แนวเขาทเ่ี กดิ จากโครงสร้างชนั้ หินโคง้ รปู
ประทุน โดยช้นั หนิ ท่ปี รากฏเป็นแนวแกนประทุนเป็นหมวดหินพระวิหาร ทเ่ี อยี งมดุ ลงไปทาง
ด้านเหนอื ตอ่ เนื่องเข้าไปทางตอนใต้ของจวั หวัดอดุ รธานี
บริเวณอทุ ยานแหง่ ชาติภเู กา้ มลี ักษณะเปน็ ภูเขาลูกอสิ ระรูปวงรี ซ่ึงมีโครงสร้างเปน็
ชั้นหินโ้ค้งรูปประทุนหงาย ท่ีมีแนวแกนอยู่บริเวณแกนยาวของวงรี เลยลงไปทางตะวันตก
เฉียงใต้เป็นอุทยานแห่งชาติภูเวียงที่มีรูปร่าง และโครงสร้างทางธรณีวิทยาคล้ายกันแต่มี
ขนาดใหญ่กวา่ เปน็ สองเท่า
พนื้ ท่รี ะหว่างภูเกา้ กับ ภูพานคำ� เปน็ พื้นทลี่ าดต�่ำลงมา รองรับดว้ ยหมวดหนิ
ภกู ระดงึ แหง่ ยคุ จแู รสซกิ ตอนปลายซ่งึ ส่วนใหญถ่ กู ปกคลมุ ดว้ ยชั้นดนิ เปน็ พื้นที่กสกิ รรม
และทอ่ี ยู่อาศัย มโี ครงสรา้ งทางธรณวี ทิ ยาเปน็ ช้นหินโค้งรูปประทุนขนาดใหญ่ วางตวั ขนาน
กับโครงสรา้ งรปู ประทนุ หงายของภเู ก้า แต่ถกู กดั เซาะออกไปหมดสิ้น เหลอื ไวเ้ พยี งขอบด้าน
ตะวนั ออกเป็นแนวยาวบรเิ วณอทุ ยานแห่งชาตภิ พู านคำ� โดยมีหน้าตัดเขาเปน็ รปู อีโต้ ทมี่ ี
ด้านหน้าชัน สว่ นดา้ นหลังลาดลงตามแนวการวางตวั ของชัน้ หนิ ไปทางจังหวดั ขอนแกน่
มหายุค มีโซโซอกิ มหายคุ ซีโนโซอกิ
เพอรเมยี น ไทรแอสซกิ จแู รสซกิ ครเี ทเชียส พาลีโอจีน นีโอจีน ควอเทอรนารี
ปจจบุ นั 5
251.9 201.3 145.0 66.0 23.03 2.58
วิทยาหินในอุทยานฯ ¡Å‹ÁØ ËÔ¹ ËÁǴ˹Ô
กล่มุ หินโคราชแผ่กระจายตัวปกคลมุ พืน้ ทีเ่ กอื บทง้ั หมดของ ¡ÅØ‹ÁËÔ¹â¤ÃÒª ⤡¡ÃÇ´
ท่ีราบสูงโคราช ประกอบด้วยหินตะกอนท่ีสะสมตัวบนบกตั้งแต่ยุค À¾Ù Ò¹
ไทรแอสซกิ จแู รสซกิ ถึงยุคครีเทเชียส แบง่ ออกเปน็ 9 หมวดหนิ àÊÒ¢ÇÑ
อุทยานแห่งชาติภเู ก้า-ภพู านคำ� รองรับด้วยกลุม่ หนิ โคราช ¾ÃÐÇËÔ ÒÃ
รวม 5 หมวดหินประกอบด้วย หมวดหินภูกระดึงแห่งยุคจูแรสซิก ÀÙ¡Ãд§Ö
ตอนปลาย และอีก 4 หมวดหนิ ยุคครเี ทเชยี สตอนตน้ ประกอบด้วย
พระวิหาร เสาขวั ภพู าน และโคกกรวด
หมวดหินภูกระดึงมีความหนา และระยะเวลาในการสะสมตะกอน
มากทสี่ ุด ในสภาพภมู ิอากาศแบบก่งึ แห้งแล้ง บนทร่ี าบลุ่มท่ีมีแม่น�้ำสาย
ใหญไ่ หลผ่าน และมบี ึงอยูท่ วั่ ไป
ตอ่ มาสภาพภูมิอากาศเปลี่ยนจากกงึ่ แห้งแลง้ เป็นแบบร้อนช้นื
และมีปรมิ าณฝนมากข้นึ กระแสน้� ำทแ่ี รงขน้ึ ทำ� ใหท้ างน้� ำเปลี่ยนไปเปน็ แบบ
ประสานสาย พดั พาเอาตะกอนทราย และกรวดจำ� นวนมากมาสะสมตัว
เกิดเปน็ หมวดหนิ พระวิหาร
จากน้ันสภาพอากาศเปล่ยี นแปลงกลับไปเป็นแบบถึงกง่ึ แหง้ แลง้
อีกครั้ง ท�ำให้มีการสะสมตัวของหินทรายสีแดงของหมวดหินเสาขัว
จากทางน�้ำโค้งตวัดต่อเน่ืองขึ้นมาจากหมวดหินพระวิหาร
หลงั จากนั้นสภาพภูมอิ ากาศเปลีย่ นแปลงไปเปน็ แบบร้อนช้นื
ถงึ ก่ึงแหง้ แลง้ ทางน�้ำเปล่ยี นไปเปน็ แบบประสานสาย ทีม่ ปี ริมาณน้� ำและ
ความแรงของน้� ำสงู ข้ึน กอ่ นท่ีจะกลับมาเปน็ ทางน�้ำแบบโค้งตวัดภายใต้
ภมู อิ ากาศแบบกงึ่ แหง้ แลง้ อกี ครงั้ ทำ� ใหเ้ กดิ การสะสมตวั ของหมวดหนิ ภพู าน
และหมวดหนิ โคกกรวด ตอ่ เน่อื งข้นึ มาตลอดชว่ งปลายของยุคครีเทเชยี ส
ตอนตน้ และหลงั จากนั้นสภาพภมู ิอากาศก็แหง้ แล้งมากย่ิงขนึ้ จนถงึ ปลาย
มหายคุ มโี ซโซอกิ เมอื่ 66 ลา้ นปีกอ่ น
ตารางแสดงล�ำดับวทิ ยาหนิ ของกล่มุ หินโคราชในอทุ ยานแห่งชาติภูเกา้
คดั ลอก-ดดั แปลงจาก Meesook, 2014
6
Ë¹Ô â¤Å¹
Ë¹Ô ·ÃÒÂá»§é
¤ÇÒÁË¹Ò Ë¹Ô ·ÃÒÂà¹Íé× ÅÐàÍÂÕ ´ ¿ÍÊ«ÅÔ ¤Ó͸ԺÒÂ
(àÁµÃ) Ë¹Ô ·ÃÒÂà¹Íé× »Ò¹¡ÅÒ§
Ë¹Ô ·ÃÒÂà¹Íé× ËÂÒº
250 หินทรายสีน�้ำตาล และน�้ำตาลแดง เนื้อละเอยี ด
ถึงปานกลาง การค้ดขนาดไม่ดีแสดง
ชั้นเฉียงระดับ หินทรายแป้ง และหินโคลน
สีน�้ำตาลแดง เนื้อปนไมก้า และเฟลดสปาร์
มีช้นเม็ดปูน พบซากฟอสซิลกระดูกและฟัน
ไดโนเสาร์ และหอยสองฝาน�้ำจืด
100 หนิ ทรายเนอื้ ปนกรวด หนิ ทราย และหนิ กรวดมน
สขี าวเทา เนอื้ ปานกลายถงึ หยาบ การคดั ขนาด
100 ไมด่ ี เ มด็ ตะกอนกง่ี เหลย่ี มกง่ึ มน แ สดงชนั้ เฉยี งระดบั
70 เม็ดกรวดเปน็ หนิ เชิร์ต หินควอร์ตไซต์ หนิ โคลน
และแรค่ วอตซ์
หนิ ทรายอาร์โคสสีน�้ำตาลแดง เนอ้ื ละเอยี ด
ถึงปานกลาง การคัดขนาดปานกลาง แสดง
ชนั้ เฉียงระดับขนาดเล็ก แทรกดว้ ยหนิ ทรายแป้ง
และหินเคยล์ มีชั้นเม็ดปูน และซีลครีตซ่ึงเป็น
ก้อนกรวด-ทรายท่เี ช่ือมประสานดว้ ยซลิ ิกา และ
หนิ กรวดมน พบฟอสซลิ เศษกระดกู และ
รอยตีนไดโนเสาร์ และหอยสองฝาน้� ำจดื
หนิ ทรายเนอื้ ควอตซส์ ขี าวเทา เนอื้ ละเอยี ดถงึ หยาบ
การคัดขนาดปานกลาง ความกลมดีแสดง
ช้นั เฉียงระดบั หินทรายปนกรวด หินทรายแปง้
และหนิ เคลย์แทรกช้นั บาง ๆ
300 หนิ ทราย หินทรายแป้ง และหนิ เคลย์ สีน้� ำตาล
และน�้ำตาลแดง สลบั ดว้ ยหินทรายสีเทาเขยี ว
เนือ้ ปานกลาง การคัดขนาดปานกลาง เน้ือปน
ไมกา้ พบฟอสซลิ สตั วม์ กี ระดกู สนั หลงั หอยสองฝา
และไมก้ ลายเปน็ หนิ
7
พพิ ิธภณั ฑ์ ภูรวก ภเู มย
กแหล่งซากดกึ ดำ� บรรพ์ ภูเกา้ บ้านดงบาก
ภหู ามตา่ ง
รอยตีนไดโนเสาร์
หอยสองฝาน้� ำจืด
บ้านวงั มน
หมวดหนิ หลกั 4 หมวดหินทรี่ องรับอทุ ยานแห่งชาตภิ ูเกา้ -ภูพานค�ำ สะสมตัว
ในสง่ิ แวดลอ้ มของยคุ ครเี ทเชยี สตอนตน้ แบบกง่ึ แหง้ แลง้ ในทางน�้ำ 2 แบบ สลบั กนั คอื
• หมวดหนิ เสาขัว (Ksk) และโคกกรวด (Kkk) สะสมตัวจากทางน�้ำโคง้ ตวัด
(meandering rivers) ซ่งึ เป็นทางน�้ำไหลชา้ คดโคง้ ไปมา ไมม่ กี ารกดั เซาะทางลึก
แต่กดั เซาะตลิ่งดา้ นที่กระแสน้� ำเขา้ ปะทะ มักพบอยู่ในพื้นท่ีค่อนข้างราบ
• หมวดหินพระวิหาร (Kpw) และภพู าน (Kpp) สะสมตัวจากทางน�้ำประสานสาย
(braided rivers) ซ่ึงเป็นทางน้� ำที่แยกออกเปน็ หลายรอ่ ง ไหลประสานกนั ไปมา
เน่ืองจากทอ้ งน้� ำตนื้ เขนิ เนอื่ งจากมีตะกอนกรวด-ทราย มาทับถมกนั มาก
เมตร แหลงพซาิพกธิ ดภกึ ณั ดฑำบ รรพ บานดงบาก วัดพระบาทภูเกา
600
500
400
300
200
8 ก100
0
โคแรนงสวรภา้างคทตาดั งขธวราณงแีวสทิ ดยงา
ข
พพิ ธิ ภณั ฑ์
แหลง่ ซากดึกดำ� บรรพ์ ภูพานค�ำ
ภพู าน เมตร
600
อำเภอโนนสัง 500
400
300 9
200
100
ข0
ธรณีวิทยาโครงสร้าง
ธรรมชาติของการสะสมตะกอนมักจะวางตัวในแนวระดับ เหมือนกบั การตกตะกอน
ที่พบเหน็ กนั ท่ัวไป แตเ่ รามกั จะเห็นชน้ั หนิ โค้งงอ หรือเอียงตวั ซง่ึ เกดิ จากการท่มี ีแรงมากระท�ำ
แรงทว่ี า่ นี้ คือแรงจากการเคลื่อนตัวของเปลอื กโลก ทถ่ี ูกสง่ ผา่ นมาจากพลงั ความร้อน
มหาศาลท่ียังพลงุ่ พล่านภายใต้ผวิ โลก
รปู จ�ำลองขา้ งลา่ งแสดงให้เห็นถึงผลจากกระบวนการทางธรณวี ทิ ยาหลายแบบ
เชน่ การเคล่อื นทข่ี องเปลอื กโลก (tectonics) และการกัดเซาะ (erosions) ท่ีท�ำให้ชัน้ หิน
เกิดการเปลยี่ นแปลงจนแทบจะจิตนาการถึงสภาพเดิมไมไ่ ด้
ภาพจ�ำลองการทับถมของตะกอนหมวดหนิ ต่าง ๆ ของกลมุ่ หินโคราช
กลุ่มหินโคราชถูกแรงกระทำ� ตอนถูกยกตัวขึน้ จากแอ่งสะสมตวั
เมื่อคราวสิ้นสุดมหายุคมโี ซโซอิก
ภายหลังถูกกระบวนการกัดเซาะทำ� ลายตามธรรมชาติ
ท�ำใหเ้ กดิ สภาพภูมปิ ระเทศดงั ท่ีปรากฏอยใู่ นปจั จบุ ัน
ÀàÙ ¡ŒÒ
ÀÙ¡Ãд֧ àÊÒ¢ÑÇ â¤¡¡ÃÇÀ´Ù¾Ò¹ ¾ÃÐÇÔËÒà À¡Ù Ãд֧
10
พ้ืนท่ีบริเวณอุทยานแห่งชาติภูเก้า-ภูพานค�ำ ถูกรองรับด้วยกลุ่มหินโคราช
ซ่งึ ประกอบดว้ ย 9 หมวดหนิ เรียงล�ำดบั จากล่าง-ขน้ึ บน ดังนค้ี อื ห้วยหนิ ลาด น�้ำพอง
ภูกระดึง พระวหิ าร เสาขัว ภูพาน โคกกรวด มหาสารคาม และภทู อก แต่ทีป่ รากฏท่วั ไปมี
เพียง 7 หมวดหนิ ขาดหมวดหนิ ลา่ งสุด และบนสดุ
ภูเกา้ อาจจะมองเหน็ เปน็ แนวเทอื กเขาจากระยะใกล้ และไกล แต่หากมองจากทาง
อากาศ หรือจากแผนที่แล้ว จะเห็นภูเก้ามีลักษณะเป็นภูเขาลูกโดด แยกเป็นอิสระโดดเด่น
มโี ครงสรา้ งเปน็ ช้นั หนิ รูปประทนุ หงาย มแี กนอย่ใู นแนวเหนือ-ใต้ ประกอบดว้ ย 4 หมวดหนิ
แห่งยุคครีเทเชียสตอนต้น โดยปิดทับบนสุดด้วยหมวดหินโคกกรวดซ่ึงถูกกัดเซาะออกจนมี
พ้ืนที่เล็กกว่าฐานภูมาก และรองรับชั้นล่างสุดด้วยหมวดหินภูกระดึงแห่งยุคจูแรสซิก
ภูพานคำ� เป็นแนวเขายาววางตวั ในแนวเหนอื -ใต้ มีลักษณะหน้าตดั เปน็ รูปอโี ต้
หรอื เควสตา (cuesta) โดยมีหน้าเขาด้านตะวันตกชนั สว่ นด้านตะวันออกลาดเอยี งลงตาม
มุมเทของชัน้ หิน เป็นสว่ นปีกด้านตะวนั ออก ของโครงสร้างช้ันหินรูปประทนุ ขนาดใหญ่ที่มี
แกนกลางอยู่บริเวณอำ� เภอโนนสงั แตไ่ ด้ถูกกัดเซาะออกไปจนหมดส้ิน เหลอื เพียงหมวดหิน
ภกู ระดงึ ที่มีสภาพเป็นที่ราบรองรับดว้ ยหมวดหินน้� ำพองยุคไทรแอสซิก
โครงสรา้ งธรณวี ทิ ยาบรเิ วณนมี้ ลี กั ษณะตรงขา้ มกบั โครงสรา้ งประทนุ หงายของภเู กา้
เสน้ ประ แสดงแนวชั้นของหมวดหนิ ต่าง ๆ
ก่อนถกู กดั เซาะออกไปจนเหลอื เทา่ ทเ่ี ห็นในปจั จุบัน
À¾Ù Ò¹¤Ó
Í.â¹¹Ê§Ñ ¾ÃÐÇÔËÒÃ
¹éӾͧ
11
ภเู มย
ภรู วก บ้านดงบาก
บ้านวงั มน
ภหู ามตา่ ง
รอยตนี ไดโนเสาร์
พิพธิ ภณั ฑ์
เบอ้ื งหน้าไกลลบิ ขา้ มแหล่งน้� ำพองไปเป็นแนวเขาทีเ่ ห็นเพียงลาง ๆ ของภูเก้า แต่กลับมีเรื่อง
จากมหายุคมโี ซโซอิกจนถงึ ปัจจุบนั ชวนให้ติดตามศกึ ษาหลกั ฐานตา่ ง ๆ ท่ีเฝ้ารอให้ผู้คนทัว่ แผ่นดนิ ได้
12
บันทึกธรณี ในอุทยาน ครีเทเชียส
อุทยานแห่งชาตภิ ูเก้า-ภพู านคำ� ร่มรื่น อดุ มสมบูรณ์ ด้วยความหลากหลายทาง
ชวี ภาพทงั้ พชื และสัตว์นานาพรรณ เปน็ ทป่ี ระจกั ษช์ ัดแจ้งในมติ ิของกาลปัจจุบนั แมน้ เพยี ง
สัมผสั ดว้ ยสายตาจากระยะไกล หรือจากรปู ภาพ
ณ ตำ� แหนง่ เดียวกัน... กลบั ปรากฏมหี ลักฐานของมติ บิ รรพกาลมากมาย แตท่ วา่
ไม่เป็นท่ีประจักษ์แก่ผู้คนทั่วไป ไม่ใช่ด้วยญาณวิเศษใด ๆ แต่เพียงด้วยความรู้พื้นฐานทาง
ด้านธรณีวิทยาก็พอแล้วส�ำหรับทุกคน ท่ีจะได้พากันก้าวข้ามมิติแห่งกาลเวลา ย้อนกล้บไป
กว่าร้อยล้านปี สู่มหายุคมีโซโซอิก เมื่อครั้งที่ดาวเคราะห์โลกใบนี้ไร้ผู้คน แต่กลับปรากฏ
หลักฐานความรุ่งเรืองของชีวิตอื่น ๆ มากมาย
ไล่เรยี งหลกั ฐานทางธรณวี ทิ ยายคุ ครเี ทเชียส ในอทุ ยานแหง่ ชาตภิ เู ก้า-ภูพานคำ� ท่ี
ปรากฏใหเ้ หน็ ในหมวดหนิ ตา่ ง ๆ ทงั้ ทเ่ี ปน็ สงิ่ มชี วี ติ และเปน็ แคห่ ลกั ฐานทางธรณวี ทิ ยา
• รอยตนี ไดโนเสาร์
• ซากดกึ ด�ำบรรพห์ อยสองฝาน้� ำจดื
• ซากดกึ ด�ำบรรพก์ ระดูก และฟันไดโนเสาร์
• กมุ ภลกั ษณ์
• ไมก้ ลายเป็นหนิ
ราวผกู พันขา้ มน�้ำพองมาถึงฝงั่ ภพู านค�ำ ความสมั พันธท์ ่ีมีต่อเนอื่ งกันมาแตค่ ร้ังบรรพกาล
ไปเยอื น เพยี งเพือ่ ให้ไดร้ บั รูว้ า่ โลกใบน้ยี งั มีสิ่งท่นี ่าสนใจเรยี นรูอ้ กี มากมาย
13
รอยตีนไดโนเสารอ์ ยา่ งนอ้ ย 11 รอย ใน 6 แนวทางเดนิ ในอุทยานแหง่ ชาติภเู กา้
ถกู คน้ พบในปี พ.ศ. 2543 โดยคณะสำ� รวจไทย-ฝรงั่ เศส บรเิ วณพลาญหนิ ทรายหมวดหนิ
เสาขัวยุคครีเทเชียสตอนตน้ อายุประมาณ 130 ล้านปี ในลำ� ห้วยริมถนนลกู รงั มุง่ หนา้ สู่
พิพิธภัณฑ์แหล่งซากดึกด�ำบรรพ์-ภูเก้า การส�ำรวจภายหลังพบรอยตีนเพิ่มอีก 5 รอย
บรเิ วณฝัง่ ตรงข้ามของศาลาแสดงนทิ รรศการรอยตีนไดโนเสาร์
ลกั ษณะรอยตีน ไดโนเสารภ์ เู กา้ มี 3 นว้ิ เหน็ รอยจกิ ของกรงเล็บลึก และชัดเจน
บนหนา้ ชนั้ หนิ ทราย รอยตนี มขี นาดตงั้ แต่ 19-33 ซม. คาดวา่ เปน็ รอยตนี ไดโนเสารก์ นิ เนอื้
พวกคาร์โนซอร์ขนาดย่อม ๆ หลายขนาด ท่มี ีความสูงถงึ สะโพกประมาณ 85-165 ซม
รอยตนี ไดโนเสารป์ รากฏชดั เจนมากขน้ึ เมอ่ื เปยี กน้� ำ
รอยจกิ ของกรงเลบ็ น้วิ กลาง ลึกและชดั เจน
ลำ� หว้ ยที่ปรากฏรอยทางเดนิ ไดโนเสาร์ อย่ดู ้านหลังศาลาแสดงนทิ รรศการ ในฤดแู ลง้ จะไมม่ ีน้� ำ
หว้ ยไหล เปน็ ชว่ งทีส่ ามารถเดินติดตามรอยตนี ไปตามล�ำห้วยได้สะดวก
14
รอยตีนไดโนเสาร์ภูเก้า
ซากดกึ ดำ� บรรพ์ไดโนเสารป์ รากฏจารึกอยบู่ นหนา้ หนิ ทรายไดอ้ ยา่ งไร? คงเปน็
ปญั หาทหี่ ลายคนตอบได้ แต่อาจยงั เปน็ ท่สี งสัยส�ำหรบั หลายคน
ไดโนเสาร์หนึ่งตัว สามารถให้ซากดึกด�ำบรรพ์ไดโนเสารไ์ ดไ้ มเ่ กินหนึ่งซาก แต่
ไดโนเสารต์ ัวเดยี วกนั น้ี สามารถทำ� ใหเ้ กิดรอยตีนไดน้ ับไม่ถ้วน แลว้ รอยเหล่านนั้ หายไปไหน
ทำ� ไมเราถงึ คน้ พบซากดึกดำ� บรรพร์ อยตนี ไดโนเสาร์ได้นอ้ ยกวา่ ซากกระดูก?
ค�ำตอบอยทู่ ี่ กระบวนการเกบ็ รักษาวัตถุตน้ ก�ำเนดิ กอ่ นท่จี ะกลายเปน็ ฟอสซิล
โครงกระดูกเปน็ ส่วนทแี่ ขง็ ในขณะท่รี อยตีนเป็นเพียงร่องรอยที่ยบุ ลงไปบนผืนทรายชื้น หรือ
โคลนหมาด และมกั จะถูกกลบ ลบ ท�ำลายไปก่อนทจี่ ะเร่ิมกระบวนการเกดิ ซากดกึ ดำ� บรรพ์
แตห่ ากรอยตีนรอดจากการถกู ทำ� ลาย และแขง็ ตวั คงรูปเมอ่ื ความชนื้ ระเหยออก
ไปจากชนั้ ตะกอนแลว้ การถูกปดิ ทับอยา่ งนมุ่ นวล ด้วยชนั้ ตะกอนใหมจ่ ะเป็นการ
เริ่มของกระบวนการเกิดฟอสซิลรอยตนี ซงึ่ ยังคงตอ้ ง อาศยั การปิดทบั
ตอ่ ไปอีกมากมาย รวมถึงต้องมีการแข็งตวั เป็นหิน
ของชนั้ ตะกอนทัง้ หมด ซง่ึ กนิ เวลายาวนานตาม
ธรณีกาล กอ่ นท่ีจะถกู ยกตวั กลับขึน้ มาสู่ผวิ โลก
ใหค้ นยุคปจั จบุ ันได้สงสยั และศกึ ษา
การเกดิ ซากดกึ ดำ� บรรพร์ อยตีนไดโนเสาร์ คดั ลอก-ดัดแปลงกจาก
กรมทรพั ยากรธรณ,ี 2553, ทอ่ งโลกธรณี อทุ ยานแหง่ ชาตเิ ขาใหญ่
15
พิพิธภัณฑ์แหล่งซากด�ึำด�ำบรรพ์ ภูเก้า
พพิ ธิ ภณั ฑแ์ หลง่ ซากดกึ ดำ� บรรพ์ บรเิ วณภเู กา้ จงั หวดั หนองบวั ลำ� ภู เปน็ พพิ ธิ ภณั ฑ์
ธรณวี ทิ ยาทตี่ งั้ อยใู่ นบรเิ วณทพ่ี บซากดกึ ดำ� บรรพ์ ผชู้ มสามารถเกบ็ เกย่ี วขอ้ มลู ความรไู้ ดท้ งั้ จาก
สอื่ หลากหลายประเภททจี่ ดั แสดงทงั้ ภายใน และภายนอกอาคาร และจากซากดกึ ดำ� บรรพข์ องจรงิ
ท่พี บอยูใ่ นพื้นทีโ่ ดยรอบพพิ ิธภณั ฑ์
เสน้ ทางศึกษาธรรมชาติ และสัมผัสหลักฐานยคุ ครีเทเชยี ส
16
ภายในพพิ ธิ ภณั ฑแ์ หลง่ ซากดกึ ดำ� บรรพ์ บรเิ วณภเู กา้ จดั แสดงขอ้ มลู ความรทู้ างดา้ น
ธรณีวทิ ยาพ้นื ฐาน เริม่ จากก�ำเนดิ และความเป็นมาของโลกเรา รวมถงึ ความเปล่ียนแปลง
ของโลกอยา่ งต่อเนอ่ื งตามธรณีกาล ซึ่งส่งผลโดยตรงต่อส่งิ มชี ีวิตทอี่ าศยั อยูใ่ นแตล่ ะช่วง
ตั้งแตบ่ รรพกาลเรื่อยมาจนถึงปัจจุบัน
สง่ิ พเิ ศษทจ่ี ะพบไดใ้ นพพิ ธิ ภณั ธธ์ รณวี ทิ ยาแหง่ นคี้ อื มติ ซิ อ้ นทบั ของกาลเวลา ณ ภเู กา้
กวา่ รอ้ ยลา้ นปี ตงั้ แตค่ รงั้ มหายคุ มโี ซโซอกิ โดยสมั ผสั ไดจ้ ากหลกั ฐานทางธรณวี ทิ ยา และ
บรรพชวี นิ วิทยาของจรงิ ในพ้ืนทีจ่ ริง
การจดั แสดงภายในพพิ ธิ ภัณฑ์
ตวั อย่างหินท่อี ดั แนน่ ไปดว้ ยซากดึกด�ำบรรพ์ นานาชนดิ
17
ทเี ร็กซ์ใหญ่คอยต้อนรับอยดู่ ้านหนา้ พิพิธภัณฑ์
ทีเรก็ ซน์ อ้ ย รอคอยผมู้ าเยอื น
ณ รมิ ฝัง่ น้� ำล�ำห้วยบอง
เสน้ ทางเดินศกึ ษาธรรมชาติแหล่ง ฟอสซิลหอยสองฝาในชัน้ หนิ กรวดมน
ซากดกึ ด�ำบรรพ์หอยสองฝาน�้ำจืด
จากดา้ นหลงั ของพิพธิ ภณั ฑ์
ลอดซมุ้ อุโมงค์ไผท่ ร่ี ่มรนื่
18 ทกั ทายกบั ไดโนเสารห์ ลายสายพนั ธุ์
ไทรเซราทอปส์ กับ ซติ ตะโกซอรัส
รอคอยผมู้ าเยอื นอยู่ด้านหลงั พิพิธภัณฑ์
กมุ ลกั ษณ์ สุดทางเดินทส่ี ามสิบโบก
กมุ ลักษณ์ หลกั ฐานพลงั งานของทางน้� ำ แวะเกบ็ ความรู้ด้านธรณีวทิ ยาจาก
ทีป่ รากฏบนท้องน้� ำ ลำ� ห้วยบอง ป้ายข้อมลู ท่จี ดั แสดงเปน็ ระยะ
แล้วไปสุดทางเดินทอ่ งธรณี
ที่สามสิบโบก แหล่งกมุ ภลักษณ์
ดึกดำ� บรรพ์ในหมวดหินโคกกรวด 19
จากการส�ำรวจศึกษาโดยอศั นี มสี ุข (2014) ทีภ่ เู กา้ พบหนิ ทรายเนื้อละเอียด
หินทรายแปง้ และหินโคลนสีน�้ำตาลแดง ในหมวดหนิ เสาขัว บรเิ วณภูเมย ภรู วก ภหู ามตา่ ง
และบา้ นดงบาก โดยพบเศษกระดกู ไดโนเสาร์ และรอยตนี ไดโนเสาร์ ในหมวดหนิ นีท้ บ่ี า้ นดงบาก
รวมท้งั พบหอยสองฝาน้� ำจืด ยคุ ครเี ทเชยี สตอนต้น สองชนิด สองสกลุ คือ ไทรโกนิออยเดส
โกบายาชิ และ พลิคาโตยนู โิ อ ซูซกู ิ (Trigonioides (Trigonioides) kobayashii and
Plicatounio (Guanxiconcha) suzukii)
จากแผนที่ธรณีวิทยาจะเหน็ ชดั เจนวา่ จดุ ท่ีพบซากดกึ ดำ� บรรพเ์ กอื บท้งั หมดอยู่ใน
หมวดหนิ เสาขวั ยกเวน้ ทบี่ า้ นวงั มนซงึ่ อยกู่ ลางภเู กา้ พบอยใู่ นหนิ กรวดมนของหมวดหนิ โคกกรวด
ที่สะสมตวั ในร่องน�้ำ มลี ักษณะเปน็ ชั้น และเป็นเลนส์ ซง่ึ คล้ายกับในหมวดหินเสาขวั
ทบ่ี า้ นวงั มนซง่ึ เปน็ ทต่ี งั้ พพิ ธิ ภณั ฑแ์ หลง่ ซากดกึ ดำ� บรรพ์ บรเิ วณภเู กา้ หากเดนิ ตาม
เส้นทางศึกษาแหล่งซากดึกด�ำบรรพ์ด้านหลังพิพิธภัณฑ์ฯ เม่ือลอดซุ้มอุโมงค์ไผ่ที่ร่มรื่น
ออกไปทักทายกบั ไดโนเสารห์ ลายสายพนั ธุ์ แล้วจะพบกับชนั้ หนิ กรวดมนหมวดหนิ โคกกรวด
อยู่เกิอบปลายทางเดิน ที่ปรากฏซากดึกด�ำบรรพ์หอยสองฝาน�้ำจืดตัวโตเกือบเท่าก�ำปั้น
มากมาย เชน่ เดยี วกบั ตวั อย่างทน่ี ำ� มาจัดแสดงบริเวณด้านหนา้ พพิ ิธภณั ฑ์
ชน้ั หนิ กรวดมนในหมวดหนิ เสาขัว ท่ภี รู วก ชน้ั หินทรายปนกรวดในหมวดหนิ ภูพาน ปดิ ทับ
ประกอบด้วยเมด็ กรวด และหอยสองฝาน�้ำจดื ชั้นหอยสองฝาน้� ำจืดในหมวดหินเสาขัว ท่ีภูหามตา่ ง
20
หอยสองฝาน�้ำจืด ที่ภูเก้า
“เศษกระดูก ฟัน กับรอยตีนไดโนเสาร์ และหอยสองฝาน�้ำจืด 2 ชนิด คือ
ไทรโกนิออยเดส และ พลิคาโตยูนิโอ (Trigonioides sp. and Plicatounio sp.)
มักถูกพบอยู่ในหมวดหินเสาขัว และหมวดหินโคกกรวด ในกลุ่มหินโคราช รวมถึงที่
หนองบัวล�ำภู โดยเฉพาะที่ภูเก้า” (อัศนี มีสุข-Meesook, 2014)
หอยสองฝาน�้ำจดื ยคุ ครเี ทเชยี สตอนตน้ ทพี่ บทภ่ี เู กา้ และทอ่ี นื่ ๆ ในเมอื งไทย รวมถงึ
ในภมู ภิ าครอบ ๆ บ้านเรา มกั พบอยู่ในช้นั หนิ ทรายท่สี ะสมตวั ในสภาวะแวดล้อมแบบทางน�้ำ
โค้งตวดั อยใู่ นทีร่ าบลุ่ม ซึ่งมกั มแี อง่ น�้ำ และรอ่ งน�้ำตามแนวทางน�้ำซึ่งมีสภาพส่งิ แวดลอ้ ม
ทเ่ี หมาะสมสำ� หรับการอยู่อาศยั หากินของหอยสองฝาน้� ำจืดหลายสายพนั ธ์ุ
หมวดหนิ พระวหิ าร และหมวดหนิ ภพู าน สะสมตวั ในสถาวะแวดลอ้ มของทางน�้ำแบบ
ประสานสาย ท่ไี มเ่ หมาะสมส�ำหรับการเจริญเตมิ โตของหอยสองฝา จงึ ไม่พบซากดกึ ดำ� บรรพ์
ใน 2 หมวดหินดงั กลา่ ว
ช้นั หินทรายในหมวดหินเสาขวั ทีภ่ เู มย ช้ันหินกรวดมนในหมวดหินเสาขัว ทบี่ า้ นวงั มน
ปดิ ทบั ชน้ั หอยสองฝาน้� ำจืดทห่ี นาประมาณครึ่งเมตร มหี อยสองฝาน้� ำจืด เศษกระดกู และฟนั ไดโนเสาร์
ภาพแหล่งซากดกึ ดำ� บรรพใ์ นอทุ ยานแหง่ ชาติภูเกา้ คดั ลอกจาก Meesook, 2014 21
บน ไทรโกนิออยเดส โกบายาชิ
หลัง ฝาขวา (Trigonioides (Trigonioides) kobayashii)
ลา่ ง หน้า • มลี กั ษณะกลม ปอ้ ม คลา้ ยหอยตลับ
ขวา • พบมากกวา่ พลิคาโตยนู ิโอ ซซู ูกิ
ซ้าย เปลือกของหอยสองฝามรี ูปรา่ งสัณฐาน
หลายลกั ษณะ เชน่ เปน็ รปู สเี่ หลยี่ มดา้ นไมเ่ ทา่ รปู ไข่
ซา้ ย รปู สามเหลยี่ ม รูปกลม และรปู รี เป็นสง่ิ สำ� คญั
ส�ำหรับใช้ในการจ�ำแนกสายพันธุ์หอยสองฝา
โดยเฉพาะลักษณะของวงศ ์ (family) และสกลุ
(genus)
ผิวดา้ นนอกของเปลือกหอยบางพวก
เรยี บเปน็ มนั บางพวกมหี นาม สนั และร่อง ซง่ึ มี
ขวา ลักษณะเปน็ แนวรัศมีหรอื แนวขนานกับขอบเปลือก
นอกจากการดูรปู ร่างของเปลือกภายนอกแลว้
ลักษณะของฟันหอยก็สามารถใชป้ ระกอบในการ
จำ� แนกชนิดเช่นกัน
หอยสองฝาน้�ำจืดในช้นั หินกรวดมน หอยสองฝาน�้ำจดื ไทรโกนอิ อยเดส
หมวดหนิ เสาขวั ทภ่ี รู วก ในชน้ั หินกรวดมน หมวดหนิ เสาขัว ทีภ่ ูหามต่าง
22
พลคิ าโตยูนิโอ ซูซกู ิ บน หน้า
(Plicatounio (Guanxiconcha) suzukii) ฝาขวา
• มลี กั ษณะแบนยาว คลา้ ยหอยลายแตอ่ ว้ นกวา่ หลงั
• พบน้อยกว่า ไทรโกนอิ อยเดส โกบายาชิ
ซากดึกดำ� บรรพห์ อยสองฝาทีพ่ บใน ล่าง
หนิ กรวดมน มกั มลี กั ษณะแตกผา่ กลางตวั หอย ทำ� ให้ ขวา ซา้ ย
เหน็ ลกั ษณะทแี่ ตกตา่ งกนั ของเปลอื กหอย กบั เนอื้ หอย
โดยเปลือกหอยสว่ นใหญ่ยังคงสภาพเป็นเนอื้ ปนู ซ้าย ขวา
ส่วนเนือ้ หอยซ่งึ เป็นส่วนท่ีย่อยสลายง่ายมกั ถกู
แทนทด่ี ว้ ยผลกึ ของสารแคลเซยี มคาร์บอเนต
ทีต่ กผลึกจากน้� ำปนู ทอี่ ย่ใู นชัน้ ตะกอน
การกำ� หนดเปลอื กซา้ ย-ขวาของหอยสองฝา
ทำ� ไดโ้ ดยถอื เปลอื กหอยใหด้ า้ นบานพบั ตงั้ ขนึ้ โดยให้
ปลายจะงอยแหลมของเปลอื กหอยจะชอี้ อกจากตวั
ผสู้ งั เกตไปทางดา้ นหนา้ ของหอย และเปลอื กหอยทงั้
สองฝาจะอยตู่ ามตำ� แหนง่ ซา้ ย-ขวา ของผสู้ งั เกต
ภาพซากดกึ ด�ำบรรพใ์ นอุทยานแหง่ ชาติภูเกา้ คดั ลอกจาก Meesook, 2014
ช้ันหอยสองฝาน�้ำจดื ในชนั้ หนิ กรวดมน หอยสองฝาน�้ำจดื ในช้นั หนิ กรวดมน
(หนาครง่ึ เมตร) ในหมวดหินเสาขัว ทภี่ เู มย หมวดหนิ โคกกรวด ทบ่ี ้านวงั มน
23
จากการส�ำรวจศึกษาโดยอัศนี มีสุข (2014) ท่ีภูเก้า พบหินทรายเนื้อละเอียด
หนิ ทรายแป้ง และหินโคลนสีน�้ำตาลแดง ในหมวดหนิ เสาขัว บรเิ วณภเู มย ภูรวก ภหู ามตา่ ง
และบา้ นดงบาก โดยพบเศษกระดกู ไดโนเสาร์ และรอยตนี ไดโนเสาร์ ในหมวดหนิ นที้ บ่ี า้ นดงบาก
รวมท้งั พบหอยสองฝาน้� ำจดื ยคุ ครีเทเชียสตอนตน้ สองชนิด สองสกุล
ในชน้ั หนิ กรวดมนที่พบซากดึกดำ� บรรพห์ อยสองฝาน้� ำจดื จ�ำนวนมากปะปนอยกู่ ับ
เม็ดกรวด ยังพบเศษซากดึกดำ� บรรพ์ของกระดกู และฟันของไดโนเสารอ์ ยู่ประปรายด้วย
เศษกระดกู ทพ่ี บ มลี กั ษณะทวั่ ไปคลา้ ยกบั เศษไมก้ ลายเปน็ หนิ แตม่ ลี กั ษณะแตกตา่ งกนั
ทรี่ พู รนุ บรเิ วณหนา้ ตดั กระดกู จะมลี กั ษณะคลา้ ยกบั รใู นฟองน�้ำ ซ่ึงมขี นาดรูหลายขนาด และ
กระจายตวั อยา่ งไมเ่ ปน็ ระบบ
ไม้เนอื้ แข็ง กลายเป็นหิน สำ� หรบั ไมก้ ลายเปน็
หนิ บริเวณหนา้ ตดั เน้อื ไม้
กลายเป็นหนิ มักจะพบจุดกลม ไมเ้ นอื้ อ่อน กลายเปน็ หิน
เล็ก ๆ สำ� หรบั ไม้เนอ้ื แข็ง และ
ชอ่ งสเี่ หลย่ี มตดิ ๆ กันส�ำหรบั
ไม้เนื้อออ่ น ซึ่งเป็นหนา้ ตัด
ของทอ่ ส่งน�้ำเล็ก ๆ ท่ีเรียงตัว
กนั เป็นวง ๆ เรยี กว่า วงปี
เศษกระดกู ไดโนเสาร์
24
กระดูกและฟันไดโนเสาร์ ที่ภูเก้า
“เศษกระดูก ฟัน กับรอยตีนไดโนเสาร์ และหอยสองฝาน�้ำจืด 2 ชนิด คือ
ไทรโกนิออยเดส และ พลิคาโตยูนิโอ (Trigonioides sp. and Plicatounio sp.)
มักถูกพบอยู่ในหมวดหินเสาขัว และหมวดหินโคกกรวด ในกลุ่มหินโคราช รวมถึงท่ี
หนองบัวล�ำภู โดยเฉพาะที่ภูเก้า” (อัศนี มีสุข-Meesook, 2014)
ฟนั ไดโนเสารห์ ลายซท่ี พ่ี บมลี กั ษณะรปู กรวย ปลายแหลม พบสนั เลก็ ๆ อยโู่ ดยรอบ
ฟนั ในแนวยาว ซ่ึงเป็นตวั ช่วยให้กัดเหยอ่ื ทมี่ เี มือกลื่น เชน่ พวกปลาได้มน่ั คง คล้ายกบั ฟนั
ของจระเข้
สภาพของฟันไดโนเสารท์ ี่พบบางซ่มี สี ภาพดี บางซี่บน่ิ แตกเนื่องจากการถูกกระทบ
ซง่ึ น่าจะเกดิ ข้ึนในภายหลงั จากการสะสมตวั
นอกจากเศษกระดูก และฟันไดโนเสารแ์ ลว้ ยังมีรายงานการสำ� รวจพบกระดกู
ไดโนเสาร์หลายชิ้นในหมวดหนิ เสาขัวในอทุ ยานแหง่ ชาติภูเก้า ซึ่งอยู่ระหวา่ งการศกึ ษาวิจัย
เพื่อระบสุ ายพันธท์ุ ีถ่ กู ตอ้ ง
ฟนั ไดโนเสาร์
ภาพซากดกึ ด�ำบรรพ์ฟนั ไดโนเสาร์ในอทุ ยานแหง่ ชาตภิ ูเก้า คดั ลอกจาก Meesook, 2014 25
ปลายสดุ ทางเดนิ ศกึ ษาแหลง่ ซากดกึ ดำ� บรรพ์ หลงั พพิ ธิ ภณั ฑแ์ หลง่ ซากดกึ ดำ� บรรพ์
บรเิ วณภเู กา้ คอื หว้ ยบอง ลำ� หว้ ยทก่ี วา้ งขวางแตไ่ มล่ กึ นกั มนี �้ำไหลเฉพาะในหนา้ น�้ำ
ในหนา้ แลง้ ไมม่ นี �้ำไหล แตก่ ลบั ปรากฏหลมุ กลมบา้ ง รบี า้ ง หลายขนาดกระจายตวั อยู่
บนพลาญหนิ ทวั่ ทอ้ งลำ� หว้ ย จนมลี กั ษณะคลา้ ยกบั สามพนั โบกทม่ี ชี อื่ เสยี ง บรเิ วณรมิ แมน่ �้ำโขง
จงั หวดั อบุ ลราชธานี
สามสบิ โบก แหง่ ภเู กา้ เกดิ อยบู่ นพลาญหนิ ทรายของหมวดหินโคกกรวด แหง่ ยคุ
ครเี ทเชียสตอนต้น แต่กุมภลกั ษณไ์ มไ่ ดเ้ กิดขนึ้ พร้อมกับการสะสมตัวของกล่มุ หนิ โคราช
กมุ ภลกั ษณ์ เกดิ จากการทม่ี ที างน�้ำทไี่ หลแรงผา่ นทอ้ งน�้ำทเ่ี ปน็ หนิ แขง็ จงึ เกดิ ขนึ้ ได้
เม่ือชั้นหินน้ันถกู ยกตวั ข้นึ สผู่ วิ โลกแลว้ เทา่ นนั้ ส�ำหรับท่สี ามสบิ โบกแห่งนี้ ประกอบดว้ ยหลมุ
กมุ ภลกั ษณ์มากมายทย่ี ังคงมกี ารเพมิ่ ขนาดขึ้นทกุ หน้าน้� ำ เสมอื นหนึง่ ว่ายงั มชี วี ติ อยู่
ดงั นั้นหากจะพิจารณาถงึ อายุของกมุ ภลักษณ์ก็คงกล่าวไดว้ า่ สามสิบโบกยังไมต่ าย
และเร่ิมเกิดข้ึนหลงั จากทห่ี ้วยบองเริ่มไหลผ่านบรเิ วณน้ี เพยี งแตไ่ มท่ ราบเริ่มเกิดข้ึนเม่ือใด
26
สามสิบโบก ท่ีภูเก้า
กมุ ภลกั ษณ์ (pothole) หรือหลมุ รูปหมอ้
หลมุ ในหนิ แข็ง ปากแคบ ก้นปอ่ ง มักมี
ปากหลมุ เปน็ รปู วงกลม รูปทรงภายในเหมอื น
หม้อดิน หลายขนาด บางคร้ังพบเกดิ อยตู่ ิดกนั
จนทะลุถึงกนั บางครั้งก็เกดิ ซอ้ นทบั กัน ทำ� ให้
เกิดเป็นภาพรวมท่ดี แู ปลกตา
ภาพจำ� ลองล�ำดับการเกิดกมุ ภลกั ษณ์
ซึ่งเปน็ ผลมาจาก การกดั เซาะ ขดั สีของกอ้ น
กรวดใหญ่-น้อย และทราย ทถ่ี ูกขบั เคล่อื นด้วย
กระแสน้� ำทำ� ใหเ้ กดิ การไหลวนอยภู่ ายในหลมุ เลก็ ๆ
ซงึ่ จะมขี นาดใหญข่ นึ้ ทกุ หนา้ น�้ำ
มกั พบกอ้ นกรวด หลายขนาด อยทู่ ก่ี ้น
กมุ ภลกั ษณท์ ีย่ งั มีชวี ิตอยู่ ส่วนกุมภลกั ษณท์ ไ่ี ม่มี
ทางน้� ำไหลผ่านแล้วมกั ถูกเติมเตม็ ดว้ ยตะกอนดนิ
ภาพจ�ำลองการเกดิ กมุ ภลกั ษณ์ ทราย และถกู ฝงั กลบจนมองไม่เห็นหลักฐานใด ๆ
คัดลอก-ดัดแปลงกจาก กรมทรพั ยากรธรณ,ี 2553
27
28
พิพิธภัณฑ์แหล่งซากดึกด�ำบรรพ์ ภูพานค�ำ
ภายในพพิ ิธภณั ฑ์แห่งน้ี จัดแสดงสือ่ ข้อมลู ความรูพ้ น้ื ฐานเกยี่ วกบั จกั รวาล โลก
การเปลยี่ นแปลงของโลก และหลกั ฐานทางบรรพชวี นิ จากจดุ แรกเรม่ิ ของกำ� เนดิ ชวี ติ เรอ่ื ยมา
ตามธรณกี าล ผ่าน 3 มหายุค คอื พาลโี อโซอกิ มโี ซโซอกิ
และซโี นโซอกิ รวมถงึ กระบวนการ
เกดิ ซากดกึ ดำ� บรรพ์ แบบตา่ ง ๆ
และซากดกึ ด�ำบรรพ์
รอยตนี ไดโนเสาร์
ซ่ึงพบไดบ้ นภเู ก้า
29
ไม้กลายเป็นหินในอุทยานฯ
ผลงานแสนประณตี บรรจงของธรรมชาติ ที่ได้รงั สรรค์ปา่ ไม้นานาพรรณ ให้ยนื ยง
กบั หนา้ ทฟี่ อกอากาศใหด้ าวเคราะหโ์ ลก เมอื่ ถงึ คราวสิน้ สดุ หนา้ ท่ี และชวี ติ ตอ้ งถกู ยอ่ ยสลาย
กลับคืนสสู่ ภาวะพนื้ ฐานแห่งวฏั จกั ร แต่กลบั ถูกกระบวนการทไี่ ม่สามารถพบเหน็ ได้ท่วั ไปทำ� ให้
คงสภาพอยอู่ ยา่ งแขง็ แกรง่ ย่ิงกว่าท่ียังเคยยืนต้นอยู่กอ่ นหน้า
ไม้กลายเป็นหินเป็นซากดกึ ดำ� บรรพช์ นิดหนงึ่ ทสี่ ร้างความอศั จรรย์ใจให้กบั ผคู้ น
ท่วั โลก และน�ำไปสู่การศึกษามากมาย เพ่ือไขปริศนาเก่ียวกับทม่ี าของมนั
ไมก้ ลายเปน็ หนิ (petrified wood) มคี วามหมายตามพจนานกุ รมศพั ทธ์ รณวี ทิ ยา
ฉบบั ราชบณั ฑติ ยสถาน พ.ศ. 2544 วา่ “เนื้อไม้ทีก่ ลายสภาพเปน็ หนิ เนื่องจากสารละลาย
ซิลิกาเข้าไปแทนท่ีเนื้อไม้อย่างช้า ๆ คือแทนที่โมเลกุลต่อโมเลกุล จนกระท่ังแทนท่ีทั้งหมด
โดยไม่มีการเปล่ียนแปลงรูปร่างและโครงสร้าง ปรกติซิลิกาในเนื้อไม้นี้อยู่ในรูปของโอพอล
หรอื คาลซิโดน”ี
áหÅง‹ µŒนกÓàนดิ กรวด ·ราย áÅЫิÅกิ า
áม‹น้Ó¾«ัดÅิ ¾กิ าาä¶มกÙ Œ«ÅงØ ÐÅäา»ย·äัºหน¶ÅÓ้ ม仺¾การดºั อŒาáมÅมãน‹กนÓ้ัºÅกม‹Ø รนวÓ้ ด໚น·µราวั ยกÅางส«Ó¤ÅÔ ¡ÔÞั ÒãÅนÐกÅาÒร¾ä´าŒ´สãÕ า¹รÊÅÀÐÒÅÇาÐย໫š¹Åิ ิก´า‹Ò§
30
ไม้กลายเป็นหิน ได้อย่างไร !?
หากแปลตามค�ำนยิ ามข้างต้น แสดงว่าตอ้ งมี “ไม”้ เป็นวัตถตุ งั้ ตน้ ภายหลงั จงึ มี
สารเคมชี นดิ หนงึ่ เรยี กวา่ “ซลิ กิ า” เขา้ มาทำ� ปฎกิ ริ ยิ ากบั เนอื้ ไม้ โดยทไ่ี มย้ งั คงรปู ลกั ษณเ์ ดมิ อยู่
และสารเคมีนัน้ เขา้ ไปอยูใ่ นเนือ้ ไมใ้ นรูปของแร่ “โอพอล หรอื คาลซโิ อนี”
การเกิดซากดึกด�ำบรรพ์ไม้กลายเป็นหิน ต้องเร่ิมจากการมีไม้ที่ยังไม่ถูกท�ำลาย
อาจเกิดอยู่กับที่ในแหล่ง หรือถูกพัดพามาทับถมพร้อมกับกรวดทรายก็ได้ และขั้นตอน
ตอ่ ไป คอื
1. มกี ารซมึ ของน้� ำบาดาลท่ีมสี ารละลายซลิ ิกา เข้าไปในเนอ้ื ไม้
2. สารละลายเริ่มเกาะผนังเซลล์ ท�ำใหไ้ ดแ้ บบพมิ พ์ของเซลลเ์ นอ้ื ไม้
3. ซลิ ิกาตกผลกึ แบบแทนทโี่ ครงสรา้ งเนอ้ื ไม้ในอัตราทเี่ รว็ กวา่
การสลายตวั ของเนื้อไม้เนื่องจากการทำ� ลายของแบคทีเรีย และสารเคมี
4. ต่อมาจงึ มกี ารตกผลึกของซิลกิ าแบบเติม
ในชอ่ งว่างของเซลล์ต่าง ๆ เชน่ ท่อส่งน�้ำ และไฟเบอร์
5. การกลายเปน็ หนิ เกดิ ร่วมกับการสูญเสียน้� ำจาก
โอพอล ซ่งึ เปน็ ซิลกิ าท่ีมนี ้� ำเปน็ องค์ประกอบ และอาจมกี าร
เปล่ียนสภาพของแรซ่ ิลิกาชนิดหนงึ่ ไปเปน็ แร่ซลิ ิกาอีกชนดิ หนึ่ง
ทมี่ คี วามเสถยี รมากข้ึน
นÓ้ à»นš µัวการสÓ¤ัÞãนกรкวนการàกดิ äมกŒ Åายà»นš หนิ µŒ¹äÁŒ´´Ù ¡Ã´«ÅÔ Ô«¡Ô âÁàÅ¡ØÅà´èÕÂÇà¾èÍ×
¹Óä»ãªŒàÊÃÁÔ ¤ÇÒÁá¢ç§áç¢Í§à«ÅÅ
µÐ¡Í¹¡ÃÇ´ ·ÃÒ»´ ·ÑºäÁ«Œ ا ãËÍŒ µً èÓ¡ÇÒ‹ ÃдºÑ ¹éÓºÒ´ÒÅ
ÊÒÃÅÐÅÒ«ÅÔ ¡Ô ÒÁÊÕ ÀҾ໹š นÓ้ ¾าสารÅÐÅาย«ิÅิกาࢌาส‹Ùàนอื้ äมŒ áÅÐ 31
¡Ã´«ÅÔ «Ô ¡Ô âÁàšŨ à´ÕèÂÇ ¹ÓÊÒÃÍÔ¹·ÃÕ·èÕÊÅÒµÑÇÍÍ¡¨Ò¡à«ÅÅäÁŒ
อุทยานแห่งชาติดึกด�ำบรรพ์
นอกจากไมน้ านาพรรณทค่ี ลุมอุทยานแห่งชาตภิ ูเกา้ -ภพู านค�ำ พรอ้ มกับเผา่ พนั ธุ์
สงิ สาราสตั วน์ อ้ ยใหญ่ รนุ่ แลว้ รนุ่ เลา่ ทเ่ี วยี นมาทดแทนตามวฏั จกั รของธรรมชาตทิ ง่ี ดงามแลว้
ลึกลงไปผ่านชน้ั ดนิ ท่ีผุพงั มาจากชนั้ หินเบือ้ งล่างผสมกับซากพชื สัตว์รุ่นทผ่ี ่านไป กลับยังมี
ซากพชื สตั ว์เผ่าพันธร์ุ ู่นที่ยอ้ นสูม่ ติ ิบรรพกาลฝังตัวอยู่ดว้ ยสภาพท่ียงั ทนทานต่อการผพุ งั
ดว้ ยกระบวนการทางธรรมชาตทิ ่วั ไป
ซากดกึ ดำ� บรรพห์ อยสองฝาน�้ำจดื และชนิ้ สว่ นแขง็ ของไดโนเสาร์ รวมถงึ ไมก้ ลายเปน็ หนิ
ทถ่ี กู พบแทรกอยรู่ ว่ มกบั ชน้ั ตะกอนแหง่ มหายคุ มโี ซโซอกิ ในอทุ ยานแหง่ ชาตแิ หง่ นี้ นอกจากจะเปน็
สง่ิ ยนื ยนั ความมอี ยใู่ นอดตี ของสง่ิ มชี วี ติ บรรพกาลแลว้ ยงั เปน็ หลกั ฐานยนื ยนั สภาวะแวดลอ้ ม
โบราณในยุคต่าง ๆ ท่ีผ่านมา รวมถึงเป็นข้อมูลส�ำคัญส�ำหรับการศึกษาวิวัฒนาการ
และการกระจายตัวของสายพนั ธุ์พืชสตั ว์หลากหลายชนดิ
32
มติ ซิ อ้ นทบั ของอทุ ยานแหง่ ชาตใิ นกาลปจั จบุ นั กบั อทุ ยานแหง่ ชาตบิ รรพกาล ทำ� ให้
ภูเกา้ -ภูพานค�ำ เป็น “อทุ ยานแหง่ ชาติทวิภพ” ท่พี เิ ศษอย่างยงิ่
ด้วยความพิเศษย่ิงนี้เองท่ีท�ำให้ อุทยานแห่งชาติแห่งนี้ได้รับการคุ้มครองโดย
พระราชบัญญัติ อุทยานแห่งชาติ พ.ศ. 2562 และพร้อมกันนี้ กรมทรัพยากรธรณี
โดยอาศยั อำ� นาจตามพระราชบญั ญตั คิ ุ้มครองซากดึกดำ� บรรพ์ พ.ศ. 2551 ไดป้ ระกาศให้
แหลง่ รอยตนี ไดโนเสารภ์ เู กา้ (บา้ นดงบาก) และแหล่งซากหอยภูเกา้ (บ้านว้งมน) เปน็ แหลง่
ซากดึกดำ� บรรพ์ขีน้ ทะเบยี น
อทุ ยานแห่งชาติท้ังสองภพได้รับการค้มุ ครองทางกฎหมายแลว้ เป็นอยา่ งดดี ้วย
พระราชบญั ญตั ทิ ้งั สองฉบบั แตก่ ารค้มุ ครองจะบรรลผุ ลดที สี่ ดุ ได้ก็ตอ้ งอาศยั ไทยทุกคน
34
รปู ถายแสดงแหลง รอยตีนไดโนเสารภูเกา (มองทางทิศตะวันออกเฉยี งใต)
รปู ถายแสดงรอยตนี ไดโนเสารภเู กา จงั หวดั หนองบวั ลําภู
ผตู รวจ ผอู นุมัติ
....................................................................... .......................................................................
(นายนมิ ติ ร ศรคลัง) (นายสมหมาย เตชวาล)
อธิบดกี รมทรัพยากรธรณี
ผูอํานวยการกองคุมครองซากดกึ ดําบรรพ
35
36
รปู ถายแสดงแหลงหอยภเู กา (มองทางทศิ ตะวันออกเฉียงใต)
รูปถายแสดงซากดกึ ดาํ บรรพห อย รปู ถายแสดงซากดึกดาํ บรรพฟ นไดโนเสาร
ผตู รวจ ผอู นมุ ัติ
....................................................................... .......................................................................
(นายนิมติ ร ศรคลัง) (นายสมหมาย เตชวาล)
ผูอ าํ นวยการกองคุมครองซากดึกดําบรรพ อธบิ ดีกรมทรพั ยากรธรณี
37
เอกสารอ้างอิง
กรมทรพั ยากรธรณ,ี 2550, ธรณวี ทิ ยาประเทศไทย, พมิ พค์ ร้ังที่ 2 ส�ำนักธรณีวิทยา,
กรุงเทพฯ: โรงพมิ พด์ อกเบยี้
กรมทรพั ยากรธรณ,ี 2553, ทอ่ งโลกธรณี อทุ ยานแหง่ ชาตเิ ขาใหญ่ ความมหศั จรรยแ์ หง่ มรดกโลก
พมิ พค์ รงั้ ที่ 1 กรงุ เทพฯ: อมรนิ ทรพ์ รนิ้ ตง้ิ แอนดพ์ บั ลชิ ชงิ่
กรมทรพั ยากรธรณ,ี 2560, คมู่ อื ผเู้ ลา่ เรอื่ งธรณี อทุ ยานแหง่ ชาตไิ มก้ ลายเปน็ หนิ จงั หวดั ตาก
พมิ พค์ รงั้ ที่ 1 กรงุ เทพฯ: เทมมา กรปุ๊ จำ� กดั
กรมทรพั ยากรธรณ,ี 2561, คมู่ อื ผเู้ ลา่ เรอื่ งธรณี บนั ทกึ แหง่ บรรพกาล: รอยยำ่� และทางเดนิ
พมิ พค์ รงั้ ที่ 1 กรงุ เทพฯ: ททู วนิ พรนิ้ ตง้ิ
ราชบณั ฑติ ยสถาน, 2544, พจนานกุ รมศพั ทธ์ รณวี ทิ ยา ฉบบั ราชบณั ฑติ ยสถาน, พมิ พค์ รงั้ ที่ 1
กรุงเทพฯ: 384 หน้า, กรุงเทพฯ: อรณุ การพมิ พ์
38
Meesook, A., 2014, Lithostratigraphy and faunal assemblage of the non-marine
Cretaceous bivalves Trigonioides and Plicatounio from the Khok Kruat
Formation in the Phu Kao Area, Non Sang and Si Bun Rueang
Districts, Nong Bua Lam Phu Province, Northeastern Thailand,
Technical Report No. BFP 4/2013, Division of Fossil Protection,
Department of Mineral Resources.
http://park.dnp.go.th/visitor/nationparkshow.php?PTA_CODE=1050
https://www.google.com/maps/search/ภูเก้า
39
ภาพปก คัดลอก และดัดแปลง จาก https://www.google.com/maps/search/ภเู กา้