The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

แหล่งข้อมูล ความรู้ และซากดึกดำบรรพ์หอยสองฝาน้ำจืด และไดโนเสาร์คอยาว รุ่นยุคครีเทเชียสตอนต้น อายุกว่าร้อยล้านปี ที่หนองบัวลำภู

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by kkpracha, 2019-07-22 12:24:52

แหล่งหอยหิน ที่หนองบัวลำภู

แหล่งข้อมูล ความรู้ และซากดึกดำบรรพ์หอยสองฝาน้ำจืด และไดโนเสาร์คอยาว รุ่นยุคครีเทเชียสตอนต้น อายุกว่าร้อยล้านปี ที่หนองบัวลำภู

Keywords: พิพิธภัณฑ์หอยหิน,ซากดึกดำบรรพ์,ธรณีวิทยา,โนนทัน,หนองบัวลำภู

คู ่ มื อ ผู ้ เ ล ่ าเ ร่ื อ ง ธร ณี

แหลง่ หอยหนิ
ที่ ห น อ ง บั ว ล� ำ ภู

คู่มือผู้เล่าเรื่องธรณี

แ ห ล ่ ง ห อ ย หิ น ที่หนองบัวล�ำภู

อธบิ ดีกรมทรัพยากรธรณ ี นายสมหมาย เตชวาล
รองอธิบดีกรมทรัพยากรธรณ ี นายนิวัติ มณีขัติย์
รองอธิบดีกรมทรัพยากรธรณ ี นายมนตรี เหลอื งอิงคะสุต
ผู้อ�ำนวยการกองธรณวี ทิ ยา นายสรุ ชยั ศริ ิพงษเ์ สถียร
ผู้อ�ำนวยการส�ำนักงานทรพั ยากรธรณี เขต 2 นายทินกร ทาทอง
เขียนเร่อื ง นายประชา คุตติกุล
สนบั สนนุ ข้อมลู นางสาวโชติมา ยามี
นายประดษิ ฐ์ นเู ล
นายปรชี า สายทอง

¾ÔÁ¾ì¤ÃÑ§é ·Õè 1 ¨Ó¹Ç¹ เล่ม เดือน
¨Ñ´¾ÔÁ¾ìâ´Â ส�ำนักงานทรพั ยากรธรณี เขต 2 ¡ÃÁ·ÃѾÂҡøóÕ
ภายใน สำ� นักงานทรัพยากรน้� ำบาดาล เขต 4
178 ม.27 ถ.มติ รภาพ ต.ศลิ า อ.เมือง จ.ขอนแก่น 40000
โทรÈѾ·ì 0 4324 3960 โทรสาร 0 4324 3961

ข้อมลู ทางºÃóҹءÃÁ
¡ÃÁ·ÃѾÂҡøóÕ, 2562,
¤ÙèÁ×ͼÙéàÅèÒàÃ×èͧ¸Ã³Õ แหลง่ หอยหนิ ทห่ี นองบวั ลำ� ภ,ู 42 ˹éÒ
1.¸Ã³ÕÇÔ·ÂÒ 2.ซาก´¡Ö ´ÓºÃþì 3.ไดโนเสาร์ 4.หอยสองฝา 5.หอยหิน

หอยหินห้วยเดื่อ

กรมทรพั ยากรธรณเี ปน็ องคก์ รทมี่ หี นา้ ทร่ี บั ผดิ ชอบโดยตรงในดา้ นซากดกึ ดำ� บรรพ์
ทว่ั ประเทศไทย ตามทกี่ ำ� หนดไวใ้ น พรบ. คมุ้ ครองซากดกึ ดำ� บรรพ์ พ.ศ. 2551 โดยมอี งคก์ ร
ปกครองสว่ นทอ้ งถน่ิ ทกุ แหง่ เปน็ “เจา้ พนกั งานทอ้ งถน่ิ ” รว่ มปฏบิ ตั หิ นา้ ทตี่ าม พรบ. ดงั กลา่ ว
แต่พิพธิ ภณั ฑห์ อยหนิ ทบี่ ้านเด่อื ต.โนนทนั อ.เมือง จ.หนองบัวลำ� ภู เกิดขนึ้ กอ่ นที่
จะมกี ารประกาศใช้ พรบ. คมุ้ ครองซากดกึ ด�ำบรรพ์ พ.ศ. 2551 พิพิธภณั ฑ์หอยหินแหง่ น้ี
เกดิ จากสำ� นกึ อนรุ กั ษท์ นี่ า่ ยกยอ่ ง และควรถอื เปน็ แบบอยา่ งของทอ้ งถนิ่ หากวนั นนั้ เจา้ หนา้ ท่ี
ทเี่ กยี่ วขอ้ งจากตำ� บลโนนทนั จากอำ� เภอเมอื ง และจงั หวดั หนองบวั ลำ� ภไู มไ่ ดด้ ำ� เนนิ การควบคมุ
จัดการบริหารพื้นท่ีได้ทันท่วงที ซากดึกด�ำบรรพ์หอยสองฝาตัวโตเหล่านี้คงกระจัดกระจาย
สูญหายไปคนละทิศคนละทาง และเหลอื ไวแ้ ตเ่ พียงความเสยี ดายสำ� หรับทุกฝา่ ย
ความรว่ มมอื ในการจัดการแหลง่ ซากดกึ ดำ� บรรพ์ ระหวา่ งองคก์ ารบริหารสว่ นตำ� บล
โนนทนั กบั กรมทรพั ยากรธรณี และทุกองค์กรท่เี กี่ยวขอ้ งปรากฏใหเ้ หน็ เปน็ รูปธรรม และ
ยังประโยชน์ให้กบั สังคมทกุ ระดับอยา่ งกว้างขวาง วันนี้จึงเป็นโอกาสของทกุ คนทจ่ี ะได้ชว่ ยกนั
คนละไมค้ นละมอื ในการสง่ เสรมิ ใหพ้ พิ ธิ ภณั ฑ์ และแหลง่ ซากดกึ ดำ� บรรพแ์ หง่ นไี้ ดอ้ ยคู่ กู่ บั ทอ้ งถนิ่
เพื่ออ�ำนวยประโยชน์ด้านบรรพชีวนิ วิทยา ดา้ นการทอ่ งเทยี่ ว และการอนรุ กั ษ์ ใหก้ บั ชาวไทย
และมนษุ ยชาตโิ ดยรวม
กรมทรพั ยากรธรณหี วังว่า คู่มอื ผ้เู ล่าเรื่องธรณี “แหล่งหอยหิน ที่หนองบัวลำ� ภู”
ทไี่ ดร้ วบรวมขอ้ มลู เกย่ี วกบั ซากดกึ ดำ� บรรพห์ อยสองฝาน�้ำจดื กบั ไดโนเสารแ์ หง่ บา้ นหว้ ยเดอ่ื ไว้
จะเป็นส่วนหนึ่งของการต่อยอด และเป็นประโยชนส์ �ำหรบั เจ้าหน้าทมี่ ัคคุเทศกท์ ้องถ่นิ ในการ
ศึกษาเพอ่ื น�ำเสนอตอ่ ผมู้ าเยอื นจากทว่ั ทศิ รวมถึงจะเป็นประโยชนต์ อ่ นักเรยี น นักศึกษา
และนกั ท่องเท่ียวทกุ ท่าน

(นายสมหมาย เตชวาล)
อธิบดีกรมทรพั ยากรธรณี

สารบัญ

พบหอยในแหล่งหนิ 1
กำ� เนดิ พิพิธภัณฑห์ อยหนิ 2
ธรณีวิทยาหนองบัวลำ� ภ ู
ธรณวี ิทยาโนนทนั 4
เรอ่ื งของหอย 6
หอยหนิ ทีห่ ว้ ยเดอ่ื 8
หอยหินท่วั ไทย 14
หอยหนิ ทัว่ เอเชยี 18
เรื่องของไดโนเสาร์ 20
ไดโนเสารค์ อยาวท่หี ้วยเดื่อ 22
ผงั พพิ ธิ ภัณฑห์ อยหนิ 26
ผงั แหลง่ ซากดกึ ด�ำบรรพบ์ ้านหว้ ยเดอ่ื 30
พพิ ธิ ภณั ฑห์ อยหนิ 32
เอกสารอา้ งอิง 34
38

พบหอยในแหล่งหิน

ในอดตี เมือ่ ครั้งทต่ี �ำบลโนนทันยงั ข้ึนอย่กู บั อ�ำเภอหนองบวั ล�ำภ ู จงั หวดั อดุ รธานี
มกี ารท�ำเหมอื งหนิ ทรายจากเนนิ เขา บริเวณบา้ นห้วยเดื่อ ซึง่ ภายหลงั ไดเ้ ลกิ กจิ การไปและ
ถูกทง้ิ ให้เปน็ เหมอื งรา้ งแห้งแลง้ เร่ือยมา
เศษหินท่ีหลงเหลอื จากการท�ำเหมอื งถกู ปล่อยให้ผพุ งั ไปตามกาลเวลา เมื่อเนือ้ หนิ
สลายตวั ลง เมด็ กรวด-ทรายในเน้อื หนิ กห็ ลดุ รว่ ง และถูกพัดพาลงสูล่ ำ� ห้วยเดอื่ ที่อยใู่ นทตี่ ่ำ�
วันแลว้ วนั เล่า ในกลุม่ เม็ดกรวดเหลา่ นน้ั มีกอ้ นหินรูปร่างแปลกตา คล้ายๆ กบั หอยตัวโต 
ขนาดพอๆ กับก�ำปัน้ เดก็ ปะปนอยทู่ ั่วไป
วันเวลาล่วงเลยไปเน่ินนาน อ�ำเภอหนองบัวล�ำภูก็วัฒนาเจริญรุ่งเรืองต่อเน่ือง
จนได้รบั การยกฐานะขนึ้ เป็น จงั หวดั หนองบัวล�ำภู เช่นเดยี วกนั กับพน้ื ทเ่ี หมอื งรา้ งที่กลับฟ้ืน
คนื สภาพธรรมชาติสมบูรณด์ งั่ เดิม กลายเปน็ แหลง่ อาหาร และแหล่งวสั ดุสำ� หรบั ใชใ้ นชวี ติ
ประจำ� วันของชาวบา้ นหว้ ยเดอ่ื อกี ครงั้ และกอ้ นหินรูปร่างแปลกๆ เหล่าน้ีกไ็ มไ่ ด้หลุดรอด
สายตาของชาวบ้านห้วยเดือ่ ซ่งึ ตา่ งพากันเรียกขานว่า หอยหนิ

1

หอยหิน ท่ี ต.โนนทัน ถูกค้นพบคร้ังแรกในราวปี พ.ศ. 2537 โดยชาวบ้าน
ทเ่ี ขา้ ไปหาของปา่ บรเิ วณเหมอื งหนิ รา้ งหา่ งจากหมบู่ า้ นหว้ ยเดอ่ื ไปประมาณ 1.5 กม. พบกอ้ นหนิ
แปลกตาทมี่ ีลกั ษณะคล้ายหอยสองฝามากมาย จึงเก็บมาวางขายตามริมถนน กก. ละ  2 บาท
เม่ือมีผู้สนใจซื้อมากขนึ้ และคน้ หาหอยหินได้ยากข้ึนราคาก็พ่งุ สงู ขน้ึ ไปถงึ กก. ละ 20 บาท
สำ� หรบั ตวั ทมี่ ลี กั ษณะชดั เจนสวยงามราคากระโดดสงู ขน้ึ ไปถงึ ตวั ละพนั กวา่ บาท และเปน็ เหตใุ ห้
การค้นหาหอยหนิ มคี วามเขม้ ข้นขนึ้ ถงึ ขัน้ ต้องขดุ คน้ จากหน้าผาช้นั หนิ ทราย
เวลานนั้ นคิ มสรา้ งตนเองเชียงพิณผถู้ ือกรรมสทิ ธใ์ิ นพนื้ ที่บริเวณบา้ นหว้ ยเดอ่ื และ
อำ� เภอเมืองหนองบวั ล�ำภู เกรงวา่ จะมีการทำ� ลายธรรมชาติ และอาจเกิดอันตรายแก่ชาวบา้ น
ที่พากนั หลงั่ ไหลเข้าไปขดุ เจาะหาหอยหินกันอย่างล้นหลาม จึงได้สง่ั หา้ มไม่ใหผ้ ใู้ ดเขา้ ไปขดุ หา

ซากหอยหนิ แต.่ .กย็ งั มผี ลู้ กั ลอบเขา้ ไปขดุ คน้ จนกระทง่ั เกดิ เหตหุ นิ ถลม่ ทบั คนบาดเจบ็ ลม้ ตาย

ในที่สุดผู้ว่าราชการจังหวัดหนองบัวล�ำภูจึงได้มีค�ำส่ังห้ามมิให้ผู้ใดเข้าไปขุดหาซากหอยหิน
ในพ้นื ทบี่ า้ นห้วยเดื่อโดยเดด็ ขาด
และปีต่อมาจังหวัดหนองบัวล�ำภูก็ได้ท�ำการพัฒนาบริเวณท่ีค้นพบซากดึกด�ำบรรพ์
หอยหินให้เป็นแหล่งท่องเท่ียว โดยอนุมัติงบประมาณก่อสร้างพิพิธภัณฑ์หอยหินโบราณ
ผา่ นองค์การบริหารสว่ นตำ� บลโนนทัน
2

ก�ำเนิดพิพิธภัณฑ์หอยหิน

ในชว่ งปี พ.ศ. 2543-2544 มกี ารขุดคน้ สำ� รวจซากดึกดำ� บรรพบ์ ริเวนด้านเหนือ
ของอาคารพิพิธภัณฑ์หอยหินโบราณ โดยเจ้าหน้าที่ท้องถิ่น ร่วมกับนักธรณีวิทยาจาก
กรมทรพั ยากรธรณี ทำ� ใหพ้ บซากดกึ ดำ� บรรพส์ ตั วอ์ นื่ ๆ อกี หลายชนดิ รวมถงึ กระดกู ไดโนเสาร์
และในปตี อ่ มาจงั หวดั หนองบวั ลำ� ภพู จิ ารณาเหน็ วา่ พนื้ ทบ่ี รเิ วณนเี้ ปน็ มรดกล�้ำคา่ ทางธรรมชาติ
ท่มี คี วามหลากหลายของสัตวด์ กึ ดำ� บรรพ์ รวมถึงพืชพันธุ์ไมก้ วา่ 30 ชนิด สามารถพฒั นา
เปน็ สถานทที่ อ่ งเทยี่ วทางธรรมชาติ ตามแผนยทุ ธศาสตรก์ ารทอ่ งเทยี่ วของจงั หวดั หนองบวั ลำ� ภู
จึงไดอ้ นมุ ตั ิงบประมาณผา่ นองค์การบริหารส่วนตำ� บลโนนทันอีกกอ้ นหนึง่ เพือ่ สรา้ งอาคาร
แสดงซากดึกด�ำบรรพ์ไดโนเสาร์ ซึ่งปัจจุบันได้มีการพัฒนาเป็นพิพิธภัณฑ์ทางธรรมชาติ
และธรณีวิทยาที่ทันสมัยแห่งหน่ึงของเมืองไทย

3

ธรณีวิทยาหนองบัวล�ำภู

แผนท่ธี รณีวทิ ยาจังหวัดหนองบวั ลำ� ภู (ภายในกรอบสีขาว) ดดั แปลงจากแผนท่ี
ธรณวี ิทยาประเทศไทย มาตราสว่ น 1:1,000,000 กรมทรัพยากรธรณี พ.ศ. 2556

Kms หมวดหินมหาสารคาม
Kkk หมวดหนิ โคกกรวด
Kpp หมวดหินภพู าน
Ksk หมวดหนิ เสาขัว
Kpw หมวดหินพระวิหาร
Jpk หมวดหนิ ภกู ระดึง
Trnp หมวดหินนำ้ พอง

4

ภาพรวมโครงสรา้ งหลกั ทางธรณวี ทิ ยาวางตวั อยใู่ นแนวเกอื บ เหนอื -ใต้ เอยี งไปทาง
ตะวนั ตกเล็กนอ้ ย
บริเวณปลายด้านตะวันตกเฉียงเหนือเนื้อที่ประมาณ 1/4 ของจังหวัดรองรับด้วย
“กลุ่มแนวชั้นหินคดโค้งเลย” ซ่ึงประกอบด้วยหินตะกอนท่ีสะสมตัวในทะเล ในช่วงมหายุค
พาลโิ อโซอกิ กอ่ นเกดิ กลมุ่ หนิ โคราชทส่ี ะสมตวั ในแอง่ น�้ำจดื บนภาคพน้ื ทวปี ในมหายคุ มโี ซโซอกิ
ซึง่ ประกอบดว้ ยหมวดหนิ หว้ ยหนิ ลาด น�้ำพอง ภกู ระดงึ พระวหิ าร เสาขวั ภพู าน โคกกรวด
มหาสารคาม และภูทอก รวม 9 หมวดหิน เรยี งลำ� ดบั จากล่างข้ึนบน
พน้ื ทส่ี ว่ นทเี่ หลอื ทงั้ หมดรองรบั ดว้ ยกลมุ่ หนิ โคราช ตงั้ แตห่ มวดหนิ น้� ำพองซงึ่ อยลู่ า่ งสดุ
จนถงึ หมวดหนิ มหาสารคามซ่งึ อยูเ่ กือบบนสุด โดยพน้ื ท่ีสว่ นใหญ่ตอนกลางของจงั หวัดรองรบั
ดว้ ยหมวดหนิ น�้ำพอง (สมี ว่ ง) สว่ นตวั อำ� เภอเมอื งตงั้ อยคู่ อ่ นไปทางขอบดา้ นตะวนั ออก ตวั จงั หวดั
ตั้งอยู่บนหมวดหินภูกระดึง เลยออกไปทางตะวันออกสุดเป็นต�ำบลโนนทันซ่ึงอยู่ติดกับ
เขตจังหวัดอุดรธานี
โครงสรา้ งทางธรณวี ทิ ยาทพ่ี บไดม้ ากทสี่ ดุ คอื แนวชนั้ หนิ ทถ่ี กู บบี อดั จนเกดิ การคดโคง้
เปน็ รปู คลน่ื เหมอื นรอยยน่ ของผา้ มลี กั ษณะคลา้ ยกบั ประทนุ ของเรอื ซง่ึ มที ง้ั แบบทว่ี างควำ�่ ปกติ
เรียกว่า ชั้นหินรูปประทุน-ในแผนท่ีใช้สัญลักษณ์ลูกศรช้ีออกจากกัน กับแบบท่ีหงายขึ้น
เรียกวา่ ชั้นหนิ รูปประทุนหงาย-ใช้สญั ลักษณ์ลกู ศรช้ีเข้าหากัน ซง่ึ ปลายลูกศรเปรียบเทยี บ
ได้กบั ทิศทางท่ชี ัน้ หินเอียงลงไป
ภูเขาทีอ่ ยู่ทางตอนใต้สุดของจงั หวดั หนองบัวล�ำภคู อื ภเู ก้า ทม่ี โี ครงสร้างเปน็ ช้ันหนิ
รปู ประทนุ หงายทถี่ กู กดั เซาะจนมลี กั ษณะแยกเปน็ อสิ ระ โดยวางตัวอยูบ่ นหมวดหนิ ภูกระดึง
เปน็ ภเู ขาทม่ี ดี า้ นขา้ งชนั และมชี นั้ หนิ เอยี งตวั เขา้ สบู่ รเิ วณกลางภู ปรากฏใหเ้ หน็ การซอ้ นทบั กนั
ของหมวดหนิ พระวหิ าร เสาขวั ภพู าน และปดิ ทบั ดา้ นบนสดุ ดว้ ยหมวดหนิ โคกกรวด สว่ นหมวดหนิ
ทอ่ี ย่เู หนอื ขึ้นไปถกู กดั เซาะทำ� ลาย กลายเป็นตะกอน และถกู พัดพาลงสูท่ ่ตี ำ่� กวา่ แลว้
หินตะกอนหมวดหนิ เสาขัว วางตวั ในแนวคอ่ นข้างราบ ทางฝ่ังทิศใต้ของทางหลวงสาย 210 บริเวณช่วงหลักกิโลเมตรท ่ี 86 5

ธรณีวิทยาโนนทัน

พน้ื ทตี่ ำ� บลโนนทนั ตง้ั อยบู่ รเิ วณรอยตอ่ จงั หวดั อดุ รธานี ซง่ึ เปน็ ขอบดา้ นตะวนั ตก
ของโครงสรา้ งรูปประทนุ หงายทม่ี แี นวแกนอย่ใู นแนว เหนือ-ใต้ และเอียงลงทางทศิ เหนือ
รองรบั ดว้ ยหมวดหิน พระวหิ าร เสาขวั ภูพาน โคกกรวด และมหาสารคาม เรียงล�ำดบั ไป
ทางทศิ ตะวนั ออก เข้าส่โู ครงสร้างรูปประทุนอันถัดไปที่มขี นาดใหญก่ ว่า โดยมแี นวแกนชั้นหิน
รูปประทนุ อย่บู นภูฝอยลม

ตะวนั ตก ตะวนั ออก

รูปจำ� ลองแสดงการเรยี งซอ้ นกันของหมวดหินทงั้ 5 ที่รองรบั ตำ� บลโนนทนั ซงึ่ ถกู
แรงบีบจากดา้ นข้างท�ำให้เกดิ การงอโกง่ โค้งตัวเปน็ รปู ประทุนหงาย และประทุนคว�ำ่ ต่อเน่อื ง
กันไปในดา้ นข้าง
ภายหลงั การยกตวั และถกู บบี อดั แลว้ ดว้ ยแรงภายในโลกแลว้ กระบวนการกดั เซาะทำ� ลาย
ไดท้ ำ� หน้าทปี่ รบั ภูมปิ ระเทศลดลงเรอ่ื ยๆ จนปรากฏเป็นพ้ืนที่สงู ต่ำ� ต่างกันตามความคงทน
ของหมวดหนิ ตา่ งๆ ทเี่ กดิ จากการทบั ถมของตะกอนตา่ งชนดิ กนั ในสภาวะแวดลอ้ มทต่ี า่ งกนั

พพิ ธิ ภณั ฑห์ อยหนิ ภฝู อยลม

6 พพิ ธิ ภณั ฑห์ อยหนิ ภฝู อยลม

สธุ ี จงอจั ฉรยิ กลุ (2545) สำ� รวจธรณวี ทิ ยาบรเิ วณพพิ ธิ ภณั ฑห์ อยหนิ พบวา่ รองรบั ดว้ ย
ชน้ั หนิ ตะกอนหมวดหนิ เสาขวั หนาประมาณ 17 เมตรเศษ ประกอบดว้ ยหนิ ทรายเปน็ สว่ นใหญ่
สลับกับหินทรายแป้ง และแทรกด้วยหินกรวดมนเล็กน้อย โดยช่วงบนของล�ำดับชั้นหิน
พบชั้นซากดึกด�ำบรรพ์หอยสองฝาน�้ำจืดตัวโตมากมาย และช้ันบนสุดพบซากดึกด�ำบรรพ์
กระดูกไดโนเสาร์กินพืชคอยาว หรือ ซอโรพอด

เมตร ชั้นซากดึกดำบรรพ กระดกู ไดโนเสาร

17

15 ชั้นซากดึกดำบรรพ หอยหิน

10

หนิ กรวดมน
มหีินชทั้นรเาฉยียงระดับ
5 ไหมินมที รชาน้ั ยเฉียงระดับ
ชน้ั ซากดกึ ดำบรรพ

หนิ ทรายแปง

0 7

ชน้ั หนิ ในพน้ื ทโี่ ดยรวมสามารถแบง่ ไดเ้ ปน็ 3 วฏั จกั ร ซ�้ำๆ กนั ในแตล่ ะวฏั จกั ร
ประกอบดว้ ยหนิ ทรายทไ่ี มแ่ สดงชนั้ เฉยี งระดบั ในสว่ นลา่ ง และมชี น้ั เฉยี งระดบั ในสว่ นบน

เร่ืองของหอย

หอยเปน็ สตั วไ์ มม่ กี ระดกู สนั หลงั ลำ� ตวั นม่ิ ไมแ่ บง่ เปน็ ขอ้ ปลอ้ ง ทว่ั ไปมกั พบวา่ เปน็ แบบ
ฝาเดียว กับสองฝา จัดตามอนุกรมวิธานอยู่ในไฟลัม มอลลัสกา (Mollusca) ท่ีหมายถึง
ผมู้ เี นอื้ ออ่ นนมุ่ มอลลสั ก์ (สตั วใ์ นไฟลมั มอลลสั กา) ทพี่ บในปจั จบุ นั มอี ยปู่ ระมาณ 85,000 ชนดิ
สว่ นมอลลสั ก์ท่พี บเปน็ ซากดกึ ดำ� บรรพ์ คาดวา่ มีมากถึง 60,000-100,000 ชนดิ
มอลลสั กท์ ว่ั ไปมกั มเี ปลอื กแขง็ หมุ้ เนอ้ื ทอ่ี อ่ นนมุ่ แตบ่ างกลมุ่ มแี กนแขง็ ภายในชว่ ยพยงุ
รา่ งกาย มอลลสั ก์ท่ีผคู้ นทวั่ ไปรู้จกั คุ้นเคยพบไดใ้ นแหล่งน�้ำทั่วไป และตลาดสด คือ พวกหมกึ
ในชนั้ (class) เซฟาโรโพดา กับหอยอกี 2 ช้ัน คือ หอยฝาเดยี ว ในชัน้ แกสโทรโพดา กับ
หอยสองฝา ในชน้ั ไบวาลเวีย มอลลสั กถ์ ูกจ�ำแนกเป็น 7 ช้นั ดงั นี้

(1) Monoplacophora ช้ันโมโนพลาโคฟอรา
เป็นมอลลสั กท์ ่ีมีเปลอื กเพยี งช้นิ เดยี ว รูปรา่ งคล้ายฝาชี
แตป่ ลายยอดเอนมาดา้ นหนา้ เทา้ เปน็ แผ่นกลมแบนอยู่ทที่ อ้ ง
ไม่มีหนวด ไมม่ ีตา เชน่ หอยฝาละมีโบราณ

(2) Polyplacophora ชัน้ พอลพิ ลาโคฟอรา
จดั เปน็ มอลลสั กจ์ ำ� พวกหนง่ึ ทมี่ ลี ักษณะแตกต่างไปจาก
มอลลสั กช์ น้ั อ่นื ๆ กลา่ วคอื แทนที่จะเปลอื กหรือฝาเดียว
หรือสองฝา แต่กลบั มีมากถงึ 7-8 ชิ้นทีแ่ ยกออกจากกัน
แตก่ ย็ ดึ เข้าไวด้ ้วยกนั ทางด้านบนลำ� ตวั เหมือนชุดเกราะ
เชน่ ลิ่นทะเล หรือหอยแปดเกล็ด

(3) Aplacophora ชัน้ อะพลาโคฟอรา เปน็ มอลลสั ก์
ทโี่ บราณ ตวั คล้ายหนอน ไม่มเี ปลอื ก อาศยั อยูต่ ามโคลนใต้ทะเล
หรือตามผวิ ของฟองน�้ำ ตัวยาวประมาณ 1-40 มลิ ลิเมตร
ไมม่ ีเทา้ หรือถา้ มจี ะมขี นาดเลก็ มาก เชน่ หอยหนอน
8

(4) Gastropoda หอยฝาเดยี ว
ชน้ั แกสโทรโปดา อยไู่ ด้ทั้งในน�้ำจดื และทะเลรวมถึงบนบก
บนตน้ ไม้ หรอื แม้กระท่ังในทะเลทรายอกี ดว้ ย
มกี ล้ามเนื้อบริเวณเทา้ แข็งแรงและหนาแน่น พบกระจาย
พนั ธุ์อยทู่ วั่ โลก มีเปลอื กเปน็ หนิ ปูน ลกั ษณะตอนท้าย วนเปน็ เกลยี ว
เชน่ หอยทาก หอยโขง่ หอยเชอรี่
(5) Bivalvia หอยสองฝา ชน้ั ไบวาลเวยี มอลลสั กท์ เี่ ปน็ ทร่ี จู้ กั กนั ดี และมรี สชาดอรอ่ ย
อาศัยอยู่ได้ทั้งในน้� ำทะเล น�้ำกร่อย และน�้ำจืด ได้แก่ หอยนางรม หอยแมลงภู่ หอยลาย
หอยมือเสือ หอยคราง หอยหลอด และหอยตลบั เปน็ ตน้

(6) Scaphopoda ชน้ั สแคปโฟโปดา ทกุ ชนดิ จะอาศยั อยภู่ ายใตพ้ น้ื ทรายใตท้ ะเล
มลี กั ษณะเรยี วยาว โคง้ ตรงกลางเลก็ นอ้ ย หนา้ ตดั เปน็ ทรงคอ่ นขา้ งกลม มชี อ่ งเปดิ
ทป่ี ลายสดุ ของทงั้ สองดา้ นซงึ่ ดา้ นหนงึ่ จะใหญก่ วา่ อกี ดา้ นเสมอ พบหลกั ฐาน
ซากดกึ ดำ� บรรพอ์ ายกุ วา่ 240 ลา้ นปี ปจั จบุ นั พบแลว้ กวา่ 1,000 ชนดิ
เรยี กกนั ทว่ั ไปวา่ หอยงาชา้ ง หรอื หอยฟนั ชา้ ง
(7) Cephalopoda ชน้ั เซฟาโลโปดา มลี กั ษณะเดน่ ตรงทร่ี า่ งกายสมมาตรซา้ ย-ขวา
มสี ว่ นหวั โดดเดน่ และมกี ารดดั แปลงสว่ นเทา้ ของมอลลสั กาไปเปน็ แขนหรอื หนวด เชน่ หอยงวงชา้ ง
และหมกึ สายพนั ธุ์ตา่ งๆ

9

สมาชิกทง้ั หมดของมอลลสั ก์ชน้ั ไบวาลเวยี (Bivalvia) เป็นสตั วน์ ้� ำ สืบทอดเผ่าพนั ธุ์
จากยุคแคมเบรียนเมอ่ื กวา่ 500 ลา้ นปีกอ่ น ต่อมาในยคุ ดีโวเนียนพบหลักฐานววิ ฒั นาการให้
สามารถอยู่ไดใ้ นน้� ำกร่อย และในน�้ำจืด ต่อเน่ืองมาจนถึงปัจจุบัน
หอยสองฝาสว่ นใหญอ่ าศยั ตามพน้ื ทะเล แตบ่ างชนดิ วา่ ยน�้ำ บางชนดิ เกาะตดิ บางชนดิ ขดุ รู
บางชนดิ ยดึ ตดิ เปลอื กขา้ งหนง่ึ ไวก้ บั พนื้ ผวิ ทแ่ี ขง็ เชน่ หอยนางรม

หอยสองฝาโดยทวั่ ไปใชแ้ ผน่ เนอื้ เยอื่ ทมี่ ี กลามเน้ือยึดฝา กลา มเนอ้ื ยดึ ตีน

รปู รา่ งคลา้ ยใบขวานขดุ แซะเพอื่ แทรกตัวลงไป โบรกะยอาางหคา ร ปาก
ใต้พื้นทราย บางชนิดฝังตัวใต้ซากไมท้ ี่ผพุ งั
และบางชนิดก็ซมุ่ ซ่อนตวั เพอ่ื ล่าเหย่ือ ขณะ
ท่บี างกลุ่มสามารถเปดิ -ปิดฝาเปน็ จงั หวะ
เพ่ือพ่นขับแรงดนั น้� ำจนเสมือนกับว่าได้
ว่ายน�้ำได้ กระเพาะ
ตีน

ลำไส
อวัยวะเพศ
หอยสองฝามลี �ำตัวสนั้ ด้าน เนอื้ หอย ไต หัวใจ
หนา้ เป็นสว่ นหวั ทไี่ ม่แสดงววิ ฒั นาการ
หอยสองฝาไม่มตี า ไมม่ หี นวด แต่ม ี
ระยางค์สว่ นปาก 2 คู่ ส�ำหรับพัดอาหาร
เข้าปาก มีแผน่ เนือ้ เยือ่ ส�ำหรบั เคลื่อนที่ เหงอื ก

และวา่ ยน�้ำ มเี น้อื แมนเทลิ ท่ที ำ� หนา้ ท่สี ร้าง
เปลอื กแขง็
หอยสองฝามรี ะบบอวยั วะภายในท่ซี บั ซ้อน ทวาร
ทอน้ำเขา และ ออก

มรี ะบบหมุนเวียนเลือดประกอบดว้ ยหวั ใจและเสน้ เลอื ด และระบบหายใจด้วยเหงือก
ซงึ่ เหงอื กของหอยสองฝานนี้ อกจากทำ� หนา้ ทหี่ ายใจแลว้ ยงั ทำ� หนา้ ทกี่ รองอาหารจากน�้ำทด่ี ดู ผา่ น
ทอ่ น�้ำเขา้ ดว้ ย ซงึ่ อาหารของหอยสองฝา คอื จลุ นิ ทรยี ์ พชื ขนาดเลก็ เชน่ สาหรา่ ยเซลลเ์ ดยี ว
สตั วข์ นาดเล็ก และสารอินทรยี ท์ ลี่ อยตวั อย่ใู นน�้ำ

10

หอยสองฝา

ปจั จบุ ันพบว่า หอยฝาเดยี วมีมากชนิด (species) กว่าหอยสองฝา ถึง 3 เทา่
ถึงจะมีจ�ำนวนชนิดเป็นรองแต่ปริมาณมวลรวม (biomass)
ของหอยสองฝา กลับมีสงู กวา่ ของหอยฝาเดียวหลายเทา่

ดานหนา หอยสองฝา มีฝาหอยเป็นแคลเซยี มคาร์บอเนต
สามารถเปดิ -ปิดได้ มคี วามสมมาตรกนั
คอื ฝาหอยทงั้ สองฝาจะมรี ปู รา่ งเหมอื นกนั
ขนาดใกล้เคยี งกนั แตก่ ลบั ซ้าย-ขวา
ฟนและรอ ง สว่ นภายในแตล่ ะฝาไม่มสี มมาตร
หน้า-หลงั ขนาดของหอยสองฝา
จะงอย ดา นลา ง มตี ้งั แตเ่ ทา่ หัวเขม็ หมุด จนถึง 2 ม.
ดา นบน
ฝาหอยสองฝายึดตดิ กนั ด้วย
ฝาซายเอ็นยดึ ฝา กลา้ มเนอื้ ยดึ ฝา (adductor muscle)

กลยรา ดึ อมฝยเานด้อื า นหลงั และเอน็ ยดึ ฝา หรือบานพบั (hinge
ligament) ซ่ึงบานพบั จะยึดเปลือกทาง
ดา้ นหลังบริเวณใตบ้ านพับ ประกอบด้วย
ฟนั เรยี กว่า hinge teeth ซงึ่ ส่วนมากเป็น
ลกั ษณะฟนั -รอ่ ง รบั กันเพือ่ ชว่ ยยึดเปลอื กไว้ด้วยกัน
และปอ้ งกนั การเลื่อนบิดไปจากแนว

ส�ำหรับการปิดและเปดิ ของฝา เมอื่ กลา้ มเน้อื ยึดฝาหดตัวลงจะท�ำให้
ฝาหอยปดิ โดยเอ็นยึดฝาทบี่ านพับจะถูกกดเหมือนสปริง และเม่ือกลา้ มเนอื้ ยึดฝาคลายตวั ลง
เอน็ ยดึ ฝาจะเป็นตัวสปรงิ ดนั ใหฝ้ าเปดิ โดยอตั โนมตั ิ

11

เปลือกของหอยสองฝามีรูปร่างสัณฐานหลายลกั ษณะ เชน่ เป็น รูปสามเหลย่ี ม
รูปสี่เหลยี่ มดา้ นไมเ่ ทา่ รปู กลม รปู ไข่ และรปู รี เปน็ สิ่งสำ� คญั สำ� หรบั ใชใ้ นการจำ� แนก
สายพันธุห์ อยสองฝาโดยเฉพาะลกั ษณะของวงศ์  (family) และสกลุ   (genus)

ผวิ ด้านนอกของเปลือกหอยบางพวกเรยี บเปน็ มัน
บางพวกมีหนาม สนั และร่อง ซึง่ มีลกั ษณะเป็นแนว
รศั มีหรือแนวขนานกบั ขอบเปลือก นอกจากการดู
รปู ร่างของเปลือกภายนอกแลว้ ลักษณะของฟัน ดา นหนา
หอยกส็ ามารถใชป้ ระกอบในการจ�ำแนกชนิด
เช่นกัน หอยสองฝาบางชนิดอาจมรี ูปร่าง เสนการเจริญเตบิ โต
ภายนอกคลา้ ยกนั แตล่ ักษณะฟันของ
หอยตา่ งกัน ยอ่ มตา่ งชนดิ กัน
ส่วนทีถ่ กู สรา้ งขึน้ กอ่ นและแก่ ฝาซายดา นลา งดา นบ(uอนmัมโbบo)
ทส่ี ุดเรียกวา่ อมั โบ การเพิม่ ขนาดของ
เปลอื กท�ำโดยการสร้างเปลอื กใหมร่ อบ
อัมโบเป็นวงๆ ซอ้ นขยายออกไปเรือ่ ยๆ
ทำ� ให้เกิดเสน้ ลายบนเปลือกรอบอมั โบ
ออกเปน็ ช้นั ๆ เรยี กว่าเส้นการเจรญิ เตบิ โต
(growth line) ดานหลงั

การกำ� หนดเปลอื กซา้ ยหรอื ขวาของหอยสองฝา
ทำ� ได้โดยถอื เปลอื กหอยใหด้ า้ นอมั โบ ตั้งขนึ้ และให้ด้าน
บานพับของเปลือกหันเข้าหาตวั ผูส้ งั เกต โดยปลายจะงอยแหลม
จะช้อี อกจากตวั ผูส้ ังเกตไปทางด้านหนา้ ของหอย และเปลอื กหอยทั้งสองฝาจะอยู่ตามตำ� แหนง่
ซา้ ย-ขวา ของผสู้ ังเกต สำ� หรบั จะงอยเปลือกของหอยเสียบ จะตา่ งจากหอยสองฝาทว่ั ไปคอื
ชก้ี ลับไปด้านหลัง

12

หอยสองฝา

หอยสองฝาเป็นสัตว์แยกเพศ ไข่มีขนาดเล็กและไม่ค่อยมีไข่แดง ส่วนใหญ่มีการ
ผสมพันธุ์แบบภายนอกโดยการปล่อยไข่และสเปิร์มออกไปผสมกันในน�้ำ บางส่วนท่ีมีการ
ผสมพันธุ์ภายใน ซึ่ีงจะเกิดข้ึนบริเวณช่องว่างในเนื้อแมนเทิล โดยตัวเมียดูดสเปิร์มท่ีตัวผู้
ปล่อยออกมาในน�้ำเข้าไปทางท่อดูดน�้ำเข้า แล้วเจริญเติมโตภายในตัวแม่ก่อนปล่อยออก
เมื่อเป็นตัวอ่อนหรือเมื่อเจริญสมบูรณ์
ส�ำหรับหอยสองฝาน�้ำจืด ในอันดับ Unionoida จะปล่อยตัวอ่อนท่ีมีอวัยวะ
เป็นรูปตะขอ หรือเป็นรูปหัวขวาน ออกไปเกาะติดเป็นปรสิตปลา เพื่อการกระจายพันธุ์
จนกระทั่งเติบโตสมบูรณ์แล้วจึงหลุดออกจากตัวปลา ตกลงสู่พื้นแหล่งน�้ำเพ่ืออาศัยหากิน
อิสระตามปกติต่อไป

ปลาน้ำจืด ปลาน้ำจืดเปน ผพู าหอยตวั ออ น
กระจายพันธุอ อกไปไดไ กลๆ

เมอ่ื หอยตัวออ นเติบโต
เปน หอยวยั เยาวจะหลดุ ออก

จากปลาเหพอ่ือหยาวกยั นิ เอยิสารวะตอไป

หอยตวั ออน เขหเาอหขไยปงอือตงเกกปัวาอลหะอาตรนนือดิ ำ้ถคอจูกรยืดดบีูกูดบั

หอยตัวออน หอยอตอวั กผสูปูแลหอ ลยงสนเำ้ปร ม หอยวยั เยาวเ จริญ
ไปเปน หอยโตเตม็ วัย

หอยตวั ออนมีอวัยวะรูปตะขอ หอยตวั เมียปลอ ย สเปรม
หรือหวั ขวาน ทำหนาทีเ่ กาะ หอยตัวออ น
ออกสูแ หลง น้ำ หอยตวั เมียดูดสเปรม
ติดกบั ตวั ปลานำ้ จืด เขา ทางทอดดู น้ำเขา

สแเลปะร เจมรเขญิ า ภเผตาสิบยมใโกนตับเเปนไขนอ้ื ภแตมาัวยอนใอเนทนหิลใอนยชตอ วังเวมายีงหอยตวั เมยี หอยตัวผู

วงจรการขยายพันธขุ์ องหอยสองฝาน�้ำจดื ในอันดบั Unionoida 13

คดั ลอก และดัดแปลงจาก https://en.wikipedia.org/wiki/Unionida

หอยหินที่ห้วยเดื่อ

หอยหินท่ีหว้ ยเดื่อ ถูกจดั อยใู่ น
• อาณาจักร สตั ว์ (Kingdom: Animalia)
• ไฟลมั มอลลัสกา (Phylum: Mollusca)
• ชนั้ ไบวาลเวยี (Class: Bivalvia) ท่ีถูกแบง่ ออกได้เปน็ 6 ชนั้ ยอ่ ย
• ช้ันยอ่ ย พาลีโอเฮเตอโรดอนตา (Subclass: Palaeoheterodonta) ทถี่ กู แยก

ออกเปน็ 2 อนั ดบั คอื ไทรโกนโิ อไอดา (Trigonioida) ซงึ่ ลว้ นอาศยั อยใู่ นน�้ำทะเล และ
อนั ดบั ยนู อิ อนโอไอดา (Unionoida) ซ่ึงเปน็ หอยน้� ำจดื ท้งั หมด

• อันดบั ยนู อิ อนโอไอดา (Order: Unionoida) ทถ่ี กู แบ่งออกได้เป็น 5 เหนอื วงศ์
• เหนอื วงศ์ ไทรโกนอิ อยดโ์ อไอดิ (Superfamily: Trigonioidoidea) ทแี่ บง่ ออกเปน็
6 วงศ์ โดยพบเปน็ ซากดกึ ดำ� บรรพอ์ ยใู่ นหมวดหนิ เสาขวั และหมวดหนิ โคกกรวด รวม 4 วงศ์
1. วงศ์ นากามรู ะไนอิดิ (Family: Nakamuranaiidae)

2. วงศ์ ไทรโกนิออยด์อดิ ิ (Family: Trigonioididae) 2 ซม. มาตราสว่ น

3. วงศ์ พลคิ าโตยูนโิ อนดิ ิ (Family: Plicatounionidae)

4. วงศ์ ซูโดไฮริดิ (Family: Pseudohyriidae)
14 หอยหิน 4 วงศ์ คัดลอก และดดั แปลงจาก Sha Jin-geng, 2010

จากการศกึ ษาของอัศนี มสี ุข (Meesook et al., 1995) พบว่าซากดึกด�ำบรรพ์
หอยสองฝาน�้ำจืดหลายชนิดที่พบในชั้นหินยุคครีเทเชียส สามารถจัดจ�ำแนกออกได้เป็น
สองกลมุ่ ชวี นิ (assemblage) ตามชว่ งอายซุ ึ่งสอดคลอ้ งกับ
ล6า6น.0ป อายุของหมวดหนิ โคกกรวด และหมวดหนิ เสาขัว ดังนี้ คือ
Maastrichtian 72.1
Campanian
ตอนปลาย 83.6 กล่มุ ชวี ินท่ี 1 สมยั Albian (เริม่ มาจากสมยั Aptian)
Santonian 86.3 • Trigonioides (Diversitrigonioides) diversicostatus
ครีเทเ ีชยส Coniacian 89.8 • Pseudohyria subovalis
Turonian
Cenomanian 93.9

100.5

Albian 113.0

ตอน ตน Aptian 125.0 กลุ่มชวี ินท่ี 2 สมยั Aptian (ขยายถึงสมยั Albian)
129.4 • Plicatounio (Guanxiconcha) suzukii
Barremian 132.9 • Trigonioides (Trigonioides) kobayashii
Hauterivian
Valanginian 139.8
Berriasian
145.0

Trigonioides (Trigonioides) kobayashii Plicatounio (Guanxiconcha) suzukii

หอยหิน 2 สาุล 2 ชนดิ คดั ลอกจาก Meesook, 2014 15

หอยหินที่ห้วยเด่ือ

หอยหนิ ทห่ี ว้ ยเด่อื ถกู ค้นพบโดยชาวบ้านมาชา้ นานแล้ว จากการส�ำรวจธรณีวิทยา
ในภายหลังปรากฏเปน็ ท่ีแน่ชดั วา่ หอยหินเหลา่ นเี้ ปน็ ซากดกึ ด�ำบรรพห์ อยสองฝาน้� ำจดื
สะสมตัวในยุคครเี ทเชียสตอนต้น อยใู่ นชน้ั หินทรายแปง้ สีน�้ำตาลแดง ซ่งึ เป็นส่วนหน่งึ ของ
หมวดหินเสาขวั
หอยหินทีพ่ บทั้งหมดมหี ลายสายพนั ธ์ุ เท่าท่ไี ดม้ ีการศึกษาทราบวา่ มีอยู่อยา่ งน้อย
2 สกลุ 4 ชนดิ ประกอบดว้ ย

• Trigonioides (Trigonioides) kobayashii
• Plicatounio (Guanxiconcha) suzukii
• Trigoniodes (s.s.) Trigonus และ
• Trigoniodes cf. guangxiensis
จากหลกั ฐานทางดา้ นธรณวี ทิ ยา และตะกอนวทิ ยา ทำ� ใหส้ ามารถระบไุ ดว้ า่ หอยสองฝา
เหล่านี้มีชีวิตอยู่ในสภาวะแวดล้อมท่ีเป็น หนองน้� ำตื้น กระจายตัวอยู่ในที่ราบน�้ำท่วมถึง
สองฟากฝั่งของล�ำน�้ำโค้งตวัด

16

ตัวอย่างหอยหินสองชนิด คือ Plicatounio (Guanxiconcha) suzukii และ
Trigonioides (Trigonioides) kobayashii พบในหมวดหินเสาขัว บริเวณภูเก้า อ�ำเภอ
โนนสัง จังหวัดหนองบัวล�ำภู ซึ่งอยู่ไม่ไกลจากพิพิธภัณฑ์หอยหินแห่งบ้านห้วยเดื่อ

Plicatounio (Guanxiconcha) suzukii Trigonioides (Trigonioides) kobayashii

17

การกระจายตัวของหมวดหินเสาขวั และโคกกรวด (เนน้ ด้วยสฟี ้า และเขียวออ่ น)
บนทรี่ าบสูงโคราช ดดั แปลงจาก แผนทธ่ี รณีวทิ ยาประเทศไทย กรมทรัพยากรธรณ,ี 2556
มาตราส่วน 1 : 1,000,000
และ เปน็ สญั ลกั ษณ์แสดงตำ� แหน่งที่พบหอยหินในหมวดหนิ เสาขวั และ
โคกกรวด ในจังหวัดหนองบวั ลำ� ภู ขอนแก่น ชัยภมู ิ กาฬสินธ์ุ และร้อยเอ็ด
กลุ่มหนิ โคราชเกิดจากการสะสมของตะกอนจากแหลง่ น้� ำจดื ตงั้ แต่ชว่ งปลายยคุ
ไทรแอสซิก เร่ือยมาจนถึงปลายยคุ ครเี ทเชียส จ�ำแนกไดเ้ ป็น 9 หมวดหิน เรยี งลำ� ดบั จาก
ลา่ งข้นึ บน ดังนีค้ ือ ห้วยหนิ ลาด น�้ำพอง ภูกระดึง พระวิหาร เสาขัว ภูพาน โคกกรวด
มหาสารคาม และปิดทบั บนสุดด้วยหมวดหินภทู อก
18

หอยหินท่ัวไทย

หินตะกอนในหมวดหนิ พระวหิ ารข้นึ มามีการสะสมตัวในช่วงยุคครีเทเชียสซ่ึงเปน็ ยุค
ท่หี อยน้� ำจดื ใน ระดับเหนือวงศ์ ไทรโกนิออยโดอเิ ดยี (Superfamily Trigonioidoidea) มี
ความสมบรู ณ์ และมีการแพรพ่ นั ธ์อุ ยา่ งกว้างขวาง รวมถงึ ในประเทศไทย โดยเฉพาะอยา่ งยงิ่
ในหมวดหนิ เสาขวั และหมวดหนิ โคกกรวด ซงึ่ จากการศกึ ษาของอศั นี มสี ขุ (Meesook, A.,
2013) พบวา่ มกี ารสะสมตวั ในสภาวะแวดลอ้ มของทางน�้ำแบบโคง้ ตวดั ในสภาพภมู อิ ากาศทร่ี อ้ น
และค่อนขา้ งแห้งแล้ง
หมวดหนิ เสาขวั และโคกกรวด มีการกระจายตวั เปน็ วงรอบแอง่ โคราช และเชิงเขา
ด้านเหนือของ เทอื กเขาภูพาน รวมถงึ บรเิ วณแอ่งนครไทย จังหวดั พิษณโุ ลก

นอกจากบริเวณภาคอีสานแล้วยังพบหินตะกอนท่ีมี
การสะสมตวั ในยคุ ครเี ทเชยี สพรอ้ มซากดกึ ดำ� บรรพห์ อยหนิ ในภาคใต้

บรเิ วณจงั หวดั กระบ่ี ในหมวดหนิ ลำ� ทบั ซงึ่ มลี กั ษณะของตะกอน
เทียบได้กบั หมวดหินเสาขัว ของกลุม่ หนิ โคราช


แผนทแ่ี สดงการกระจายตวั ของหินตะกอน
มหายคุ มีโซโซอกิ ในภาคใตข้ องไทย คัดลอก และ
ดดั แปลงจาก Teerarungsigul et al., 1999

19

หอยหินทั่วเอเชีย Maastrichtian ล6า6น.0ป

หอยหินท่หี ว้ ยเดื่อ เปน็ หอยน�้ำจดื สองฝา ตอนปลาย Campanian 72.1
ทม่ี ีชวี ติ อย่ใู นยุคครเี ทเชียส ข้อมูลจากการ Santonian
ศกึ ษาทางดา้ นบรรพชวี นิ วิทยาทัว่ โลก ค ีรเทเ ีชยส Coniacian 83.6
ซึ่งไดร้ วบรวมโดย Sha Jin-geng และ Turonian 86.3
สรปุ เปน็ แผนท่ีแสดงรูปแบบการกระจาย ตอนตน Cenomanian 89.8
ตัวของหอยหิน Trigonioidae 93.9
ในภมู ิภาคเอเชยี (แสดงดว้ ยจดุ สดี �ำ) ูจแรส ิซก Albian 100.5
ที่เปลี่ยนแปลงไปตามธรณกี าล
และสามารถจัดแบง่ ได้เป็น 5 ช่วงเวลา ตอน ตน ตอนกลาง ตอนปลาย Aptian 113.0
แผนทีโ่ ลกในหนา้ ขวา แสดงต�ำแหน่งของ Barremian
ทวีปต่างๆ ทวั่ โลกในชว่ งยุคครเี ทเชียส ไทรแอส ิซก Hauterivian 125.0
บริเวณทรี่ ะบายสีแดงคอื ตำ� แหนง่ ของ Valanginian 129.4
ประเทศไทย ตอนปลาย Berriasian 132.9
พบหอยหินกระจายตัวเขา้ มาในภูมิภาค ตอนกลาง Tithonian 139.8
ของประเทศไทย เกือบตลอดช่วง ตอนตน Kimmeridgian 145.0
ยคุ ครีเทเชยี สตอนตน้ หรอื ประมาณ Oxfordian 152.1
135-100 ลา้ นปีทีผ่ ่านมา BCABaaaatlhjlloeoocnvniiiaaaiannnn 157.3
สมยั Aptian หอยหินแพร่หลายมาก Toarcian 163.5
ในภาคใต้ของจีนตลอดเร่ือยไป Pliensbachian 166.1
จนถึงเกาหลี และญี่ปนุ่ Sinemurian 168.3
หลงั จากสมยั Albian ไมพ่ บหอยหิน Hettangian 170.3
ในภูมภิ าคเอเชยี ตะวนั ออกเฉียงใตเ้ ลย Rhaetian 174.1
แตก่ ลบั มกี ารแพรก่ ระจายมากขึ้นไปทาง 182.7
ทศิ เหนอื ข้ึนไปทางจนี มองโกลเลีย Norian
และเลยขึ้นไปถึงธเิ บต และรสั เซยี 190.8
20 Carnian 199.3
Ladinian 201.3
OAIlnendnisueikaainnan 208.2

237.0
237.0
242.0
247.2
251.2
251.9

หลงั จาก 93.9 ลา้ นปี

100.5-93.9 ลา้ นปี
113-100.5 ลา้ นปี
125-113 ลา้ นปี
135-125 ลา้ นปี

คดั ลอก และ ดดั แปลง จาก Sha Jin-geng, 2010

21

ก่อนจะไปต่อกันที่เร่ืองของซากดึกด�ำบรรพ์ “ไดโนเสาร์คอยาว ที่บ้านห้วยเด่ือ”
เรามาทำ� ความรู้จกั ไดโนเสารต์ ามแบบฉบบั ของนักบรรพชวี นิ วทิ ยากนั กอ่ น
นกั บรรพชวี นิ วทิ ยาจดั แบง่ ไดโนเสารเ์ ปน็ 2 กลมุ่ ใหญต่ ามลกั ษณะของกระดกู สะโพก

• ซอริสเชยี (Saurischia) มสี ะโพกเหมือนของสตั ว์เลือ้ ยคลาน จะมกี ระดกู หวั หนา่ ว
กับกระดูกกน้ อยแู่ ยกจากกัน โดยกระดูกหวั หนา่ วช้ีไปด้านหน้า

ไดโนเสารซ์ อรสิ เชยี น (Saurischians) แบง่ เปน็  2   ก  ลมุ่ คอื  พวกกนิ เนอื้  ก  บั พวกกนิ พชื
1. เทอโรพอดส์ (Theropods) เป็นไดโนเสาร์ พวกกนิ เน้ือ เดินสองขา
แบ่งดว้ ยขนาด เป็น 2 กลมุ่ ยอ่ ย คอื

• คารโ์ นซอร์ (Carnosaurs) มีขนาดใหญ่
• ซลี ูโรซอร์ (Coelurosaurs) มีขนาดเลก็
2. ไดโนเสารค์ อยาว พวกกินพชื ขนาดใหญ่ เดนิ สข่ี า 2 กลุม่ ใหญ่ คอื
• โปรซอโรพอดส์ (Prosauropods) เช่ือว่ากินเน้ือไดด้ ว้ ย สูญพันธุ์ไปกอ่ น

ตง้ั แต่ยุคจูแรสซกิ ตอนตน้
• ซอโรพอดส ์(Sauropods) มกี ารพฒั นาขนาดใหญข่ น้ึ กวา่ ญาตใิ นยคุ ตน้ ๆ มาก

Kinnareemimus Argentinosaurus

โคกกรวด Siamosaurus Siamotyrannus Compsognathus Phuwiangos
เสาขัว
ภูกระดงึ Euhelopod
Brachiosaurus
Carnosaurs
Coelurosaurs
Sauropods
Prosauropods
น้ำพอง Isanosaurus

กระดกู กน THEROPODS

กระดูกหัวหนา ว SAURISCHIANS

สะโพกแบบสัตวเลือ้ ยคลาน DINO

22 การจัดกลุม ไดโนเสาร ตามลกั ษณะของกระดกู สะโพก พรอ มตวั อยา ง

เร่ืองของไดโนเสาร์

• ออรน์ ธิ สิ เชีย (Ornithischia) มสี ะโพกเหมอื นของนก จะมีกระดูกหัวหน่าวอย่ตู ดิ
กบั กระดกู ก้น โดยชไ้ี ปด้านหลงั ทั้งคู่

ไดโนเสารอ์ อรน์ ธิ สิ เชยี น (Ornithischians) เปน็ ไดโนเสาร์พวกกินพืชทัง้ หมด
แบง่ เปน็ 5 กลุม่ ย่อย คือ

1. สเตโกซอร์ (Stegosaurs) เปน็ ไดโนเสาร์ มคี รีบหลงั เดินส่ขี า
2. ออนโิ ธพอดส์ (Ornithopods) เปน็ ไดโนเสาร์ ปากเป็ด เดินสองขา
3. เซอราทอปเชียน (Ceratopsians) เป็นไดโนเสาร์ มเี ขา เดนิ ส่ีขา
4. แองคีโลซอร์ (Ankylosaurs) เปน็ ไดโนเสาร์ หุ้มเกราะ เดนิ สี่ขา
5. พาคเี ซปฟาโลซอร์ (Pachycephalosaurs) เปน็ ไดโนเสาร์ หวั แขง็ เดนิ สองขา

* แองกโิ ลซอร์ และ พาคีเซปฟาโลซอร์ เป็นไดโนเสาร์ 2 กลุ่มทย่ี งั ไมพ่ บในประเทศไทย

Ratchasimasaurus Psittacosaurus ลานป ครีเทเชียส
Siamodon 66.0
145.0
Hypsilophodontid 201.3
saurus Stegosaurs
did Ornithopods จูแรสซิก
มหายุค ีมโซโซอิก
CeratopsiansStegosaur

ไทรแอส ิซก

ORNITHISCHIANS กระดกู กน กระดูกหัวหนา ว 251.9

SAURS สะโพกแบบนก

ไดโนเสารข องไทย ท่ีพบในหมวดหินอายตุ า งๆ กันของกลุมหินโคราช 23

ไดโนเสาร์คอยาว

ไดโนเสาร์ทงั้ หมด ถกู จัดอยใู่ น
• อาณาจักร สตั ว์ (Kingdom: Animalia)
• ไฟลัม คอรด์ าต้า (Phylum: Chordata)
• ช้นั ซอรอปซิดา (Class: Sauropsida)
• อนั ดบั ใหญ่ ไดโนซอเรยี (Superorder: Dinosauria)

ซงึ่ ถกู แยกออกเปน็ อนั ดบั ซอรสิ เชยี (Saurischia) ทม่ี สี ะโพกคลา้ ยสตั วเ์ ลอื้ ยคลาน และ
ออรน์ ธิ สิ เชยี (Ornithischia) ทมี่ สี ะโพกคลา้ ยนกโบราณ สำ� หรบั ไดโนเสารค์ อยาว จดั อยใู่ น

• อนั ดับ ซอริสเชีย (Order: Saurischia)
ซง่ึ แยกออกเป็น 2 อันดบั ยอ่ ยคือพวกกินเนอื้ และพวกกินพืช สำ� หรับเจา้ คอยาว
เป็นพวกกินพืช จัดอยูใ่ น

• อนั ดับย่อย ซอโรโพโดโมฟา (Suborder: Sauropodomorpha)
ซงึ่ แยกออกเปน็ 2 อนั ดบั ฐาน (Infraorder) ประกอบดว้ ย โปรซอโรโพดา้
(Prosauropoda) และซอโรโพด้า (Sauropoda)
โปรซอโรโพด้า เปน็ ไดโนเสารร์ ุ่นแรกๆ ทเ่ี ชือ่ วา่ เป็นไดโนเสารค์ อยาวทก่ี ินท้ังพชื
และกินทั้งเนอื้ ซง่ึ สูญพนั ธ์ไุ ปตงั้ แต่ช่วงปลายของยุค จแู รสซกิ ตอนต้นแลว้
สว่ นซอโรโพดา้ เป็นกลุ่มไดโนเสารก์ ินพชื ท่มี วี ิวัฒนาการทง้ั รูปรา่ ง และขนาด
ตอ่ เน่ืองไปจนสนิ้ สดุ ยุคไดโนเสาร์
ซอโรโพดา้ มีววิ ัฒนาการแยกเป็นหลายสาขา (Clade) เชน่ Eusauropoda,
Neosauropoda, Macronaria และ Titanosauriforms ฯลฯ
ในแตล่ ะสาขาของเหลา่ ไดโนเสารค์ อยาว มกี ารแตกแขนงสายพันธลุ์ งไปส่รู ะดับ
วงศ์ (Famiy), สกุล (Genus) และชนิด (Species) ตา่ งๆ มากมาย จากชว่ งปลายยคุ
ไทรแอสซกิ จนถึงปลายยุคครีเทเชยี ส

24

แผนผังแสดงสรุปอนกุ รมวธิ านอย่างย่อ ของไดโนเสารค์ อยาว สกลุ ตา่ งๆ ที่พบใน
พ้นื ที่ต่างๆ ทั่วโลก โดยสัญลักษณส์ บี ง่ บอกทวปี ท่ีพบ ต�ำแหนง่ และความยาวของแถบสีแสดง
ชว่ งอายทุ ่ีเจา้ คอยาวแต่ละสกุลมีชวี ติ อยู่ โดยไดโนเสาร์สกุลภูเวียงโกซอรัสมีชวี ิตร่วมสมยั กับ
หอยหินบ้านห้วยเดอื่ ซ่งึ เป็นชว่ งการสะสมตะกอนของหมวดหินเสาขวั และโคกกรวด

จแู รสซิก ครีเทเชียส ยุค

ตอนตน ตอนกลาง ตอนปลาย ตอนตน ตอนปลาย

Hettangian สมยั
Sinemurian
Pliensbachian
Toarcian
BCABaaatalljlheooocniviniiaaaannnn
Oxfordian
Kimmeridgian
Tithonian
Berriasian
Valanginian
Hauterivian
Barremian

Aptian
Albian
Cenomanian
Turonian
Coniacian
Santonian
Campanian
Maastrichtian

219019..33 อายุ (ลานป)
190.8
182.7
174.1
117680..33
166.1
163.5
157.3
152.1
145.0
139.8
132.9
129.4
125.0
113.0
100.5
93.9
89.8
86.3
83.6
72.1
66.0

เสาขวั
ภพู าน
โคกกรวด แสหกลลุ ง ทตีพ่างบๆไดทโน่ัวโเสลากร
Shunosaurus
MOmameiesanuchruissaurus แอฟริกา
Diplodocus เอเชยี
Apatosaurus ออสเตรเลยี
Camarasaurus Euhelopus ยุโรป
Europasaurus อินเดยี
Giraffititan Cedarosaurus มาดากัสการ
Brachiosaurus Venenosaurus อเมริกาเหนือ
อเมรกิ าใต
Chubutisaurus
Wintonotitan
Ligabuesaurus
PhuwianAgnodseasuaururuss สกลุ ภเู วยี งโกซอรัส
Argentinosaurus
Epachthosaurus
Malawisaurus
Dreadnoughtus
Notocolossus
Tapuiasaurus
Futalognkosaurus
Mendozasaurus
Isisaurus
Diamantinasaurus Rapitosaurus
Alamosaurus

Opisthocoelicaudia
Trigonosaurus
ดดั แปลงจาก Bernardo et al. (2016) Saltasaurus
Neuquensaurus 25

ไดโนเสาร์คอยาวที่ห้วยเด่ือ

เมตร ชน้ั ซากดึกดำบ

17

15 ชั้นซากดึกดำบ

10

5

0

แทง่ ลำ� ดบั ชนั้ หนิ ดดั แปลงจาก

26

จากการส�ำรวจธรณวี ทิ ยาบริเวณพพิ ธิ ภณั ฑ์หอยหนิ บา้ นห้วยเด่อื ทำ� ให้ทราบ
ได้วา่ ซากดกึ ดำ� บรรพห์ อยหนิ สะสมตัวอยู่ในชน้ั หินทรายแปง้ และนอกจากนีย้ ังพบ
กระดกู ไดโนเสารใ์ นช้นั หินเหนอื ขึน้ ไปประมาณสองเมตรเศษ
ซากดกึ ดำ� บรรพก์ ระดูกไดโนเสาร์ที่พบสว่ นใหญ่เปน็ เศษกระดกู ขนาดเลก็
ทเี่ ป็นส่วนประกอบของกระดูกซโ่ี ครง กระดกู หาง และกระดกู นิว้ ขาหน้า สว่ นท่เี ปน็
ชน้ิ ใหญค่ อ่ นขา้ งสมบรู ณเ์ ปน็ กระดกู ขาหนา้ ทอ่ นบนทงั้ สองขา้ ง และกระดกู แขง้ หลงั ซา้ ย
บรรพ กระดกู ไดโนเส าร
จากการศึกษาของนักบรรพชีวนิ วิทยาทำ� ให้ทราบในเบ้ืองตน้ วา่ กระดกู เหล่าน้ี
เป็นของไดโนเสาร์คอยาว หรอื ซอโรพอด (sauropod) ซึ่งคาดว่าเป็นไดโนเสารส์ กุล
บรรพ หอยหิน “ภูเวียงโกซอรสั ” ซ่งึ มคี วามสอดคลอ้ งกันท้งั ลกั ษณะของกระดกู เทา่ ทีค่ น้ พบ และ
หมวดหนิ เสาขวั ทีเ่ กบ็ รักษาซากดกึ ดำ� บรรพ์กระดกู เหล่านี้ แตย่ ังไมม่ รี ายงานการวิจัย
ยนื ยันอย่างชัดเจน

หินกรวดมน
หมีินชท้นั รเาฉยียงระดับ
หไมินม ที รชาั้นยเฉยี งระดบั
ชนั้ ซากดึกดำบรรพ
หินทรายแปง

สธุ ี จงอจั ฉรยิ กลุ , 2545

27

โครงเจ้าคอยาวบ้านห้วยเด่ือ

กะโหลก รวมถงึ ขากรรไกรบน

กระดูกสันหลังสว่ นคอ

กระดูกสนั หลงั สว่ นล�ำตวั

ขากรรไกรล่าง

กระดกู ซ่ีโครงส่วนคอ

กระดูกปกี สะโพก กระดกู สะบกั ไหล่
กระดกู แผ่นรอง-อก
กระดูกหัวหน่าว กระดกู เชิงกราน กระดกู ขาหน้าทอ่ นบน
กระดูกปลายขาหนา้ ท่อนนอก
เจา้ คอยาวเป็นไดโนเสาร์กนิ พืช กระดูกปลายขาหน้าทอ่ นใน
ท่ีถูกจัดอยใู่ นกลมุ่ ซอริสเชีย (Saurischia)
กระดกู แกนเล็บ
เป็นพวกทมี่ ีสะโพกเหมือนกบั ของสตั ว์
เลื้อยคลาน คอื มกี ระดกู หวั หน่าว
กับกระดูกกน้ หรอื กระดกู เชิงกราน
แยกออกจากกนั โดยกระดูกหัวหนา่ ว
ชไ้ี ปดา้ นหนา้ ส่วนกระดูก
เชิงกรานชี้ไปดา้ นหลงั

28

โครงกระดูกไดโนเสาร์คอยาวซอโรพอด แสดงช้ินสว่ นหลักๆ พร้อมกบั ช้ินส่วน
ที่ขุดค้นพบ (ชิ้นที่ระบายสีเหลือง) จากชั้นหินตะกอนหมวดหินเสาขัว บริเวณแหล่ง
ซากดกึ ดำ� บรรพ์บ้านห้วยเดื่อ

กระดกู ซ่ีโครง
กระดูกสนั หลังสว่ นกระเบนเหน็บ
กระดกู ปีกสะโพก
กระดกู เชงิ กราน

กระดกู สันหลงั ส่วนหาง

กระดูกหัวหน่าว กระดูกขาหลังท่อนบน
กระดูกแขง้
กระดกู น่อง กระดกู เชฟรอน
ท�ำหนา้ ท่ีรับน�้ำหนักหาง

กระดกู นว้ิ ขาหน้า

29

ผังพิพิธภัณฑ์หอยหิน
พพิ ธิ ภัณฑห์ อยหิน 150 ล้านปี

ทางแยกไปชมแหลง่ หอยหนิ สมอเดาค็จาพรรปะนระเวรศตั วิ ร

ชุมนุมปา้ ยชีท้ าง

ทางเดนิ สู่แหล่งหอยหนิ

ทางย้อนเวลาสบู่ รรพกาล ห(ดนูร้าาผยาลหะินเอทียรดาหยในน้าตถำ� ดั นไปาน)

30

จังหวัดหนองบัวล�ำภู
ร้านคา้ ชมุ ชน
สะพพิพานิธภทณัางฑเข์ า้

อา1ค5า0รหลอา้ ยนหปินี บจัตำ� รหเขนา้ า่ ชยม

ลานจอดรถ

เจ้าคอยาวเจ้าและไทรเซอราทอปส์ ท-ี เรก็ ซ์ จอมโหด

31

ล�ำดับชั้นหินที่หน้าผา


ซากดกึ ดำ� บรรพ์บรเิ วณบา้ นหว้ ยเด่อื ถูกค้นพบในชั้นหนิ ทรายแป้งหมวดหนิ เสาขวั
ชว่ งบนของหนา้ ผาหนิ ทรายทมี่ คี วามสงู ประมาณ 13 เมตรเศษ โดยพบชนั้ หอยหนิ น�้ำจดื ตวั โต
อยทู่ ร่ี ะดับประมาณ 9 เมตร บรเิ วณส่วนบนของชัน้ หินชนั้ ท่ี 14 นับจากฐานหนา้ ผา

¤ÊÑÅÇÓÞÒÑ´ ÑÅÁº¡ËªÑéɹ¹ÒËÔ³ª(¹Á¹Ô.)´ËÔ¹ Êѹ´Í¹·ÃÒ ¢Í§¡ÊÒÀÃҵǡÐáµÇд¡ÍŒÅ͹Á
¤Ó͸ºÔ ÒÂÅ¡Ñ É³Ðà¹×éÍ˹Ô
13 19 áàËÁÊ¹Ô ç´´·µ§ÃЪҡÑé¹ÂÍàÊ©¹¹ÕÂÕࡧéÓÍ×õºÐÒ´ÁÅºÑ ¹á´Ê§¡-ÐÒʹÃÁ¤Óé µµÑ´¢ÒÇÑ Åã¹¹ÍÒÊ´‹Í´¹¹Ñ Õ»´àÒ͹¹¹é×Í¡·ÅÅÃÐÒÒà§ÍÂÂÕ¢´Í¶§·Ö§»Ò§Ò¹¹Óé ¡âŤҧŒ §µÇ´Ñ
12
11 18 Ë¹Ô â¤Å¹ÊÁÕ ‹Ç§á´§ ÊÐÊÁµÑÇã¹áͧ‹ ¹Óé ËÃÍ× ã¹·ÕÃè Òº¹Óé ·‹ÇÁ¶§Ö

10 è·ÕÃÒº é¹Ó·‹ÇÁ¶Ö§
17 ¢ËÊÍÅÔ¹§Ñº·Ë´ÃԹҌǷÂÂÃà˹ÒÔ¹Âé×Í·»á»Ã¹Ù Ò§‡ ʪÁÕáÑé¹»‹Ç˧‡§Áá´Ò¾Â§ºàÅà«Á¢Ò´ç ¡µ1´4ÐÖ¡¡´ÍÓ¹ºÅÃÐÃà¾ÍÂՏ˴ͶÂÖ§ÊÅÍЧà½ÍÕÂÒÁ´ÒÁ¡Òª¡‹Ç§º¹
Ë¹Ô ·ÃÒÂà¹Íé× ÅÐàÍÕ´ÊÕ¹Óé µÒÅá´§ ÊÐÊÁµÇÑ ã¹áͧ‹ ¹éÓ ËÃÍ× ã¹·èÕÃÒº¹Óé ·‹ÇÁ¶Ö§ ·Ò§ é¹Ó⤌§µÇÑ´
9 13
11 ª´Ø ¢Í§ªéÑ¹Ë¹Ô ·ÃÒÂÊÕà·Ò-à·Òá´§ áÊ´§ªé¹Ñ à©ÂÕ §ÃдѺ ÃÇÁ 10 ª¹Ñé
ÁÊÕ¡‹Ç¹ÒÃŤҋ Ñ´§¢¢¹Í§Òá´µ´Å‹Õ ÐÁªàÕ ÈÑé¹ÉàËÁԹ紷µÃСÒÂÍá¹»Á§‡ բʹáÕ Ò´´§ËÂáÒźÐËàÔ¹¡â×ͤºÅÁ¹¹»Ð»¹
8 ʋǹº¹àÁ紵С͹ÅÐàÍÕ´¢é¹Ö à¡×ͺÁ¹ Á¡Õ Òä´Ñ ¢¹Ò´´»Õ Ò¹¡ÅÒ§
10

7
9

6

58

47

36 ÊÁ¢ÍàÕ‹Çȧ¹ÉàÈ¢ËÍɧԹËË·¹Ô ¹Ô ÷¡ÒàèÕÂêÇáÍè× ´»ÁÁ§‡»¹Ãá»ÐÅÊÃÐÐÒË¡¹Ô¹Í´âºŒÇ¤Â´Å¹ÇŒ ¹ÂÓé à»Åáç¡Ù¹¤¹àÅ»ŒÍ¤š¹ÂÃÊµÕ ‹Ç¹(cãËaÞlc‹rete) «Ö§è ໚¹ªÑé¹

5 Ë¹Ô â¤Å¹
24 Ë¹Ô ·ÃÒÂệ§
ËÔ¹·ÃÒÂ
13 หินกรวดมน
2
1

(ล�ำดับชัน้ หนิ ดดั แปลงจากต้นฉบับของ ดร.ประดิษฐ์ นเู ล, 2562 สนง. ทรัพยากรธรณีเขต 2 ขอนแกน่ )

ลำ� ดบั ชนั้ หนิ หมวดหนิ เสาขวั บรเิ วณนสี้ ว่ นลา่ งประกอบดว้ ย ชดุ ของชนั้ หนิ ทรายทแี่ สดง
ชั้นเฉียงระดับ บง่ บอกทิศทางการไหลของทางน้� ำโคง้ ตวัดโบราณ รวม 10 ชั้นตอ่ เน่ืองกัน
32

ผังซากกระดูกไดโนเสาร์

ซากดกึ ดำ� บรรพ์
กระดกู ไดโนเสารบ์ รเิ วณ
บ้านห้วยเด่อื ถกู ค้นพบใน
ช้ันหนิ ทรายหมวดหนิ เสาขวั
ช่วงบนสุดของหนา้ ผาหินทราย
ทม่ี ีความหนาประมาณ 17 เมตร
โดยมกี าร กระจายตัวเป็นแถบกวา้ ง
ประมาณ 7.5 เมตร ยาวประมาณ
14.5 เมตร อยใู่ นแนวเกอื บเหนอื -ใต้
เอียงไปทางตะวนั ออกเล็กนอ้ ย
ซากดกึ ดำ� บรรพ์กระดูกไดโนเสารค์ อยาว
ทีพ่ บส่วนใหญเ่ ปน็ เศษกระดูกขนาดเล็ก
ท่เี ปน็ ส่วนประกอบของกระดูกซ่ีโครง
กระดูกหาง และกระดูกน้วิ ขาหน้า
ส่วนทเี่ ปน็ ชิน้ ใหญ่ค่อนข้างสมบูรณ์
เปน็ กระดกู ขาหนา้ ท่อนบน
ท้ังสองขา้ ง และกระดกู

แข้งหลงั ซา้ ย

0 1.0 2.5 เมตร

33

พิพิธภัณฑ์หอยหิน

ภายในพพิ ิธภัณฑแ์ บ่งการจัดแสดงออกเปน็ 5 โซน
เริ่มจากจุดที่ไกลโพนในจักรวาล น�ำเข้าสู่โลกของเราที่เป็น
แหล่งก�ำเนิดชีวิต และเรื่องราวพื้นฐาน รวมถึงวิธีการส�ำรวจ
ศกึ ษาทางดา้ นธรณวี ทิ ยา และบรรพชวี นิ วทิ ยา ทท่ี ำ� ใหม้ นษุ ยเ์ รา
รจู้ ักโลกใบนด้ี ยี ง่ิ ขึ้น ซึ่งจะทำ� ใหผ้ ชู้ มฉงน แต่กลบั เปน็ การเปดิ
โลกทัศน์ไดก้ วา้ งขวาง ชดั เจน
ต่ืนตากบั มหัศจรรยแ์ ห่งการค้นพบ ท่ีบ้านห้วยเด่อื
ซึงี่ เป็นหลักฐานน�ำไปสู่พฒั นาการศกึ ษาดา้ นธรณวี ิทยาของไทย
ท่ใี ชอ้ า้ งองิ ไดท้ ่วั โลก

34

35

พิพิธภัณฑ์หอยหิน

นอกจากการถ่ายทอดเร่อื งราวเกี่ยวกบั ความเปน็ มา
ธรณีวิทยา ซากฟอสซลิ หอยหนิ และกระดูกไดโนเสารท์ ีค่ น้ พบ
รวมถึงผลการศึกษาวิจัยแลว้ เรือ่ งราวเบอ้ื งหลังของความสำ� เร็จ
ยงั ถูกนำ� เสนออยา่ งเปน็ ระบบ ตงั้ แตพ่ น้ื ฐานการส�ำรวจ ศึกษา
ด้านธรณวี ิทยา และโบราณชวี วทิ ยา รวมถงึ เครือ่ งมอื อปุ กรณ์
แผนที่ เขม็ ทศิ ขน้ั ตอนการท�ำงาน ตลอดจนถึงเครื่องมอื ดา้ น
กฏหมายที่เปน็ ตวั ชว่ ยในการอนุรักษ์ซากดกึ ด�ำบรรพ์ และแหลง่
ซากดกึ ดำ� บรรพ์ ให้อยอู่ ย่างยั่งยืน และยงั ประโยชน์สงู สุดให้กบั
ท้องถิ่น และสงั คมโดยรวม

36

37

เอกสารอ้างอิง

กรมทรพั ยากรธรณ,ี 2550, ธรณวี ทิ ยาประเทศไทย, พิมพ์ครงั้ ท่ี 2 สำ� นกั ธรณวี ิทยา,
กรุงเทพฯ: โรงพมิ พด์ อกเบยี้
จฑุ ามาศ จวิ าลกั ษณ,์ พชิ ติ พรหมประศร,ี อรภา นาคจนิ ดา, 2550, หอยกาบน�้ำจดื ของไทย,
กลมุ่ งานวจิ ยั ความหลากหลายทางชวี ภาพสตั วน์ �้ำจดื , สถาบนั วจิ ยั และพฒั นาทรพั ยากร
ประมงน้� ำจดื , สำ� นกั วจิ ยั และพฒั นาประมงน้� ำจดื , กรมประมง: โรงพมิ พช์ มุ นมุ สหกรณ์
การเกษตรแหง่ ประเทศไทย จำ� กดั
ราชบณั ฑติ ยสถาน, 2544, พจนานกุ รมศพั ทธ์ รณวี ทิ ยา ฉบบั ราชบณั ฑติ ยสถาน, พมิ พค์ รงั้ ท่ี 1
กรงุ เทพฯ: 384 หนา้ , กรงุ เทพฯ: อรณุ การพมิ พ์
สมศักดิ์ ปญั หา, หอยน้� ำจืดของไทย คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณม์ หาวิทยาลัย จาก
https://www.mwa.co.th/ewt_dl_link.php?nid=515
สธุ ี จงอจั ฉรยิ กลุ , 2545, รายงานผลการสำ� รวจ ฉบบั ที่ 1 สสุ านหอยหนิ ลา้ นปบี า้ นหว้ ยเดอื่
ตำ� บลโนนทนั จงั หวดั หนองบวั ลำ� ภ,ู ฝา่ ยโบราณชวี วทิ ยา กองธรณวี ทิ ยา กรมทรพั ยากรธรณี
https://en.wikipedia.org/wiki/มอลลสั กา
https://en.wikipedia.org/wiki/Unionida

38

Bernardo J. González Riga, Matthew C. Lamanna, Leonardo D. Ortiz David, Jorge
O. Calvoand Juan P. Coria, 2016, A gigantic new dinosaur from Argentina and
the evolution of the sauropod hind foot, Scientific Reports 6, Article number 19165.
Fang Zong-jie, Chen Jin-hua, Chen Chu-zhen, Sha Jin-geng, Lan Xiu, and Wen
Shi-xuan, 2009, Supraspecific Taxa of the Bivalvia First Named,
Described, and Published in China (1927–2007), Paleontological
Contributions, NEW SERIES Number 17, The University of Kansas
Paleontological Institute.
Meesook, A. 2014, Lithostratigraphy and faunal assemblage of the non-marine
Cretaceous bivalves Trigonioides and Plicatounio from the Khok Kruat
Formation in the Phu Kao A  rea, Non Sang and Si Bun Rueang Districts,
Nong Bua Lam Phu Province, Northeastern Thailand, Technical Report No.
BFP 4  /2013, Division of Fossil Protection, Department of Mineral Resources.
Sha Jin-geng, 2010, Historical distribution patterns of trigonioidids (non-marine
Cretaceopus bivalves) in Asia and their palaeogeographic significance.
Proceedings of the Royal Society B, 277: 277-283
Teerarungsigul N, Raksaskulwong L & Khantaprab C. 1999., Reconsideration of the
lithostratigraphy of non-marine Mesozoic rocks in Thung Yai-Khlong Thom
area, southern Thailand. Proceedings of Symposium on Mineral, Energy,
and Water resources of Thailand: Towards the year 2000, October
28-29, 1999, Bangkok, Thailand. 98-114


Click to View FlipBook Version