The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

บันทึกรอยตีน และรอยทางเดินของไดโนเสาร์น้อยใหญ่ ทั่วเมืองไทย

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by kkpracha, 2019-04-17 02:11:48

บันทึกแห่งบรรพกาล: รอยย่ำ และทางเดิน

บันทึกรอยตีน และรอยทางเดินของไดโนเสาร์น้อยใหญ่ ทั่วเมืองไทย

Keywords: รอยตีนไดโนเสาร์,ซากดึกดำบรรพ์

ค่มู อื ผู้เล่าเรอ่ื งธรณี

บันทกึ แห่งบรรพกาล:รอยย่ำ�  และทางเดนิ

คมู่ อื ผเู้ ลา่ เรื่องธรณี
บันทกึ แห่งบรรพกาล: รอยย�่ำ และทางเดิน

อธิบดีกรมทรัพยากรธรณ ี นายทศพร นชุ อนงค์
รองอธบิ ดีกรมทรพั ยากรธรณี นายสมหมาย เตชวาล
รองอธบิ ดีกรมทรพั ยากรธรณี นายนิวัติ มณีขตั ยิ ์
ผู้อ�ำนวยการกองคมุ้ ครองซากดกึ ด�ำบรรพ์ นายนมิ ติ ร ศรคลัง
เขยี นเรอ่ื ง นายประชา คุตตกิ ุล
สนบั สนุนขอ้ มลู นางธดิ า ลิอาร์ด
นายปรีชา สายทอง

พมิ พ์คร้งั ที่ 1 จำ� นวน 2,500 เลม่ เดือน กรกฎาคม 2561♥♥♥♥♥
จดั พิมพ์โดย กองคุ้มครองซากดกึ ด�ำบรรพ์ กรมทรัพยากรธรณี
75/10 ถนนพระรามท่ี 6 เขตราชเทวี กรุงเทพมหานคร 10400
โทรศพั ท์ 0 2621 9847 โทรสาร 0 2621 9841

ขอ้ มลู ทางบรรณานกุ รม
กรมทรพั ยากรธรณี, 2561,
คมู่ ือผู้เลา่ เร่ืองธรณี บันทกึ แหง่ บรรพกาล: รอยย่�ำ และทางเดนิ , 42 หน้า
1.ธรณีวิทยา 2.ซากดกึ ด�ำบรรพ์ 3.รอยตนี ไดโนเสาร์ 4.รอยชีวินวทิ ยา

พิมพท์ ่ี ททู วินพริน้ ต้ิง
10/122 หมูท่ ี่ 8 ต.ส�ำโรงเหนือ อ.เมอื งสมุทรปราการ จ.สมุทรปราการ 10270
โทรศพั ท์ 0 2185 9953 และ 09 6996 5447
E-mail: [email protected]

รอยประทบั ของไดโนเสารท์ ั่วเมืองไทย

มีหลักฐานทางธรณีวิทยาบ่งช้ีชัดเจนว่า เป็นระยะเวลากว่าร้อยล้านปีท่ี
ไดโนเสารห์ ลากหลายสายพนั ธไ์ุ ดค้ รอบครองดาวเคราะหโ์ ลก กอ่ นทจ่ี ะถกู แทนทโี่ ดย
สตั วเ์ ลย้ี งลกู ดว้ ยนำ�้ นมทมี่ วี วิ ฒั นาการกา้ วหนา้ มาจนถงึ ปจั จบุ นั
นอกจากซากดกึ ดำ� บรรพข์ องอวยั วะสว่ นทแี่ ขง็ ของไดโนเสาร์ เชน่ โครงกระดกู
ฟนั กรงเลบ็ รวมถงึ กอ้ นกรวดทใี่ ชช้ ว่ ยในการยอ่ ยอาหาร เหมอื นทพี่ บในกน๋ึ ของสตั ว์
จ�ำพวกเป็ด ไก่แล้ว ยังมีซากดึกด�ำบรรพ์อีกประเภทหน่ึงที่ไม่ได้เป็นส่วนใดๆ ของ
ไดโนเสารเ์ ลย แตก่ ลบั เปน็ สง่ิ พเิ ศษทส่ี ามารถใชส้ นบั สนนุ ในการไขขอ้ ปรศิ นาพฤตกิ รรม
ของไดโนเสาร์ไดอ้ ยา่ งมหศั จรรย์ สง่ิ ทีว่ ่าน้ีคือ “รอยตนี และรอยทางเดินไดโนเสาร”์
ทสี่ �ำรวจพบมากมายโดยเฉพาะในภาคอีสานของไทย

คู่มือผู้เล่าเร่ืองธรณี บันทึกแห่งบรรพกาล: รอยย�่ำ และทางเดิน

ได้รวบรวมเร่ืองราว ของแหล่งรอยประทับพิเศษเหล่านี้ พร้อมทั้งประโยชน์ต่างๆ
ท่ีร่องรอยเหลา่ นีไ้ ดส้ ่งมอบให้ทกุ คน อยา่ งที่ไม่นึกวา่ จะเปน็ ไปได้
กรมทรัพยากรธรณี หวังเป็นอย่างยิ่งว่า ข้อมูล และเกร็ดความรู้ที่ได้
รวบรวมไว้ในคู่มือเล่มเล็กๆ น้ีจะเป็นสื่อท�ำให้ผู้อ่านได้เห็นถึงความยิ่งใหญ่ และ
ประโยชน์ของสิ่งต่างๆ ท่ีอาจถูกมองว่า “ไม่มีอะไร” ซึ่งมักจะน�ำไปสู่การละเลยอย่าง
น่าเสียดายกับส่ิงท่ีอาจสูญเสียไปอย่างที่ไม่สามารถน�ำกลับมา หรือสร้างทดแทนได้
อย่างเช่นหลักฐานส�ำคัญๆ ทางธรณีวิทยา ซ่ึงเป็นสมบัติของโลกที่ทุกคนมีหน้าท่ี
ช่วยกันรักษาและคุ้มครอง

(นายทศพร นุชอนงค)์

อธิบดีกรมทรพั ยากรธรณี

สารบญั

รอยตีนโบราณ ............................................................................... 1
ผ้สู รา้ งตำ� นานรอยประทับ ............................................................... 2

รอยประทับดกึ ด�ำบรรพ์ ................................................................... 4

ขอ้ มูลแฝงในรอยทางเดิน.................................................................. 6

บนั ทึกรอยย่ำ� โบราณทว่ั ไทย............................................................. 8

ภูหลวง 12 ภเู กา้ 16 หว้ ยดา่ นชุม 10
ภูหินรอ่ งกล้า 14
ภูแฝก 26
หว้ ยน้�ำดุก 20 18 ท่าสองคอน หนองสงู 28
ตาดห้วยน�ำ้ ใหญ่ 22
24 หนิ ลาดปา่ ชาด

โนนตมู 30

เขาใหญ่ 32

รจู้ กั ตวั ตนจากรอยตนี ........................................................................ 34
มมี ากกว่า แต่เหลอื นอ้ ยกวา่ ............................................................ 36
ตอนแรก..กน็ ึกว่าไมม่ อี ะไร.................................................................37

รอยตีนโบราณ

หลงั จากที่ กเิ ดยี น แมนเทล (Gideon Mantell) นกั ธรณวี ทิ ยาชาวองั กฤษ ไดค้ น้ พบ
ซากดกึ ดำ� บรรพข์ องสตั วโ์ บราณขนาดใหญย่ กั ษเ์ ปน็ ครงั้ แรกในปี ค.ศ. 1822 ทำ� ใหม้ กี ารศกึ ษา
และคน้ พบซากดกึ ดำ� บรรพอ์ นื่ ๆ อกี มากมาย จากนน้ั อกี 20 ปี รชิ ารด์ โอเวน (Richard Owen)
นกั บรรพชวี นิ วทิ ยา ชาวองั กฤษ เหน็ วา่ ซากดกึ ดำ� บรรพข์ นาดใหญท่ ถี่ กู คน้ พบมลี กั ษณะหลาย
อยา่ งรว่ มกนั จงึ ไดบ้ ญั ญตั คิ ำ� วา่ “ไดโนเสาร”์ ขนึ้ เพอ่ื จดั ใหส้ ตั วเ์ หลา่ นอ้ี ยใู่ นกลมุ่ อนกุ รมวธิ าน
เดยี วกนั โดยเปน็ การผสมของคำ� ในภาษากรกี สองคำ� คอื คำ� วา่ deinos (นา่ กลวั ) และคำ� วา่
sauros (สตั วเ์ ลอ้ื ยคลาน)
ส่วนซากดึกด�ำบรรพ์รอยตีนไดโนเสาร์นั้นถูกค้นพบ และศึกษาเชิงวิทยาศาสตร์
ครง้ั แรกในชว่ งระยะเวลาใกลเ้ คยี งกบั การคน้ พบซากดกึ ดำ� บรรพไ์ ดโนเสารค์ รง้ั แรก แตใ่ นเวลานน้ั
ยงั ไม่มคี �ำว่าไดโนเสาร์ โดยทเี่ อด็ เวิรด์ ฮทิ ช์ค็อค (Edward Hitchcock) ผูค้ น้ พบ และศกึ ษา
ซากดึกดำ� บรรพร์ อยตนี บนช้ันหินทรายยงั คดิ วา่ เป็นรอยตีนนก จนกระทั่งปี ค.ศ. 1850

นักบรรพชีวินวิทยาหลายคนจึงได้เข้าใจว่ารอยตีนท่ีเอ็ดเวิร์ด ฮิทช์ค็อค ค้นพบนั้นเป็น
รอยตีนไดโนเสาร์
ระยะแรกท่ีเร่ิมเกิดค�ำว่า “ไดโนเสาร์“ นักบรรพชีวินวิทยา
ทว่ั โลกตา่ งก็ท่มุ เทกำ� ลังศกึ ษา และออกคน้ หาแหล่งซากดกึ ดำ� บรรพ์
ไดโนเสาร์อย่างต่อเนื่อง ส่วนรอยประทับทางเดิน และรอยตีน
ดึกด�ำบรรพ์ยังไม่ได้รับความสนใจ เน่ืองจากนักส�ำรวจส่วนใหญ่
มงุ่ ไปสซู่ ากดกึ ดำ� บรรพโ์ ครงกระดกู ซงึ่ ทำ� ใหว้ งการบรรพชวี นิ วทิ ยา
พฒั นากา้ วหนา้ ไปอยา่ งรวดเรว็ แตพ่ รอ้ มกนั นน้ั ปรศิ นาทร่ี อการไข

สำ� หรบั ยกั ษใ์ หญโ่ บราณเหลา่ นน้ั กลบั ทบั ถม มากขน้ึ เรอ่ื ยๆ
ขอ้ มลู ดา้ น สรรี ะวทิ ยา กายวภิ าค และววิ ฒั นาการของไดโนเสารส์ ายพนั ธ์ุ
ตา่ งๆ จากงานวจิ ยั ทว่ั โลกทำ� ใหส้ ามารถพฒั นาเรอ่ื งอนกุ รมวธิ านไดอ้ ยา่ งตอ่ เนอื่ ง
จนกระทง่ั นำ� ไปสสู่ งิ่ ที่ละเอียดอ่อน และลึกลบั ยง่ิ กวา่ น่ันคอื “พฤตกิ รรม” ซ่ึงไมไ่ ด้มีการ
บันทึกไว้ในซากดึกด�ำบรรพ์โครงสร้างอวัยวะส่วนแข็งใดๆ ของไดโนเสาร์เลย ด้วยเหตุน้ี
“รอยตนี และรอยทางเดนิ ” จงึ ไดร้ บั ความสนใจจากนกั บรรพชวี นิ วทิ ยามากขน้ึ อยา่ งรวดเรว็
รวมถงึ การคน้ พบและศึกษาอย่างเปน็ ระบบในเมืองไทย ซงึ่ ท�ำใหเ้ ปน็ ท่ียอมรับและน�ำไปสู่
การอนุรักษ์ และพัฒนาเป็นแหล่งเรียนรู้ส�ำหรับทุกคน

รอยย่ำ�  และทางเดนิ 1

ผู้สรา้ งตำ� นานรอยประทบั

รอยตนี และรอยทางเดนิ ของไดโนเสาร์ และสตั วม์ กี ระดกู สนั หลงั

ทพ่ี บกวา่ สบิ แหง่ ทวั่ เมอื งไทยลว้ นเกดิ จากการเคลอ่ื นทเ่ี ดนิ ทางของเหลา่ สตั ว์

โบราณหลากหลายสายพนั ธ ์ุ ดงั นน้ั เพอื่ ใหผ้ อู้ า่ นเขา้ ใจรอ่ งรอยประทบั เหลา่ นี้

ไดด้ ยี งิ่ ขนึ้ เราควรเรมิ่ ตน้ ทำ� ความรจู้ กั เผา่ พนั ธไ์ุ ดโนเสาร์ รวมถงึ สตั วเ์ ลอ้ื ยคลาน

บรรพบรุ ุษของเหลา่ ยกั ษ์ใหญ่แห่งมหายคุ มโี ซโซอกิ กันกอ่ น

ไดโนเสาร์มีต้นตระกูลเป็นสัตว์เลื้อยคลานท่ีปรากฏข้ึนในช่วงต้นของ

มหายุคมีโซโซอิก เรียกว่า อาร์โคซอร์ (Archosaurs) ซึ่งมีวิวัฒนาการแยก

ออกเปน็ สตั ว์เลอ้ื ยคลานจำ� พวกจระเข้ กบั กลุ่มสตั ว์เลอ้ื ยคลานบนิ ได้ และ

กลมุ่ ไดโนเสาร์ ซงึ่ ทง้ั 3 กลมุ่ นสี้ ว่ นใหญส่ ญู พนั ธใ์ุ นชว่ งปลายของมหายคุ มโี ซโซอกิ

ปจั จุบันเหลือเพียงพวกจระเข้ และกลมุ่ สตั วป์ กี จำ� พวกนกท่มี ีวิวฒั นาการแยกมา

จากพวกไดโนเสาร์กินเนอื้ ขนาดเลก็ ในช่วงปลายยคุ จแู รสซิก

ส�ำหรับกลุ่มไดโนเสาร์ซ่ึงเป็นตัวเอกของเร่ืองน้ีนั้น นักบรรพชีวินวิทยาได้

จดั แบ่งออกเปน็ 2 กลมุ่ ใหญต่ ามลกั ษณะของกระดกู สะโพกเปน็ แบบสตั วเ์ ลอ้ื ยคลาน

(Saurischians) ซง่ึ มกี ระดกู หวั หนา่ วชไ้ี ปดา้ นหนา้ และแบบนก (Ornithischians)

ซ่งึ มีกระดกู หัวหน่าวช้ีไปดา้ นหลังเชน่ เดยี วกันกับกระดกู กน้

กลมุ่ ทม่ี สี ะโพกแบบสตั วเ์ ลอ้ื ยคลาน แบง่ เปน็ 2 พวก

1. ไดโนเสาร์กนิ พืช ซอโรพอด (SAUROPODS) เช่น ไดโนเสารค์ อยาว

2. ไดโนเสารก์ นิ เนอ้ื เทอโรพอด (THEROPODS) ซง่ึ จำ� แนกตามขนาดเปน็

คารโ์ นซอร์ (Carnosaurs) ทม่ี ขี นาดใหญ่ เชน่ เจา้ จอมโหดทเี รก็ ซ์ และ ซลี โู รซอร์

(Coelurosaurs) ทม่ี ขี นาดเลก็ กวา่ เชน่ พวกไดโนเสารน์ กกระจอกเทศ ซงึ่ ตอ่ มาได้

ววิ ฒั นาการแยกเปน็ กลมุ่ สตั วป์ กี จำ� พวกนก ทด่ี ำ� รงพนั ธต์ุ อ่ เนอ่ื งมาจนถงึ ปจั จบุ นั

กลมุ่ ทม่ี สี ะโพกแบบนก เปน็ พวกกนิ พชื ทงั้ หมด แบง่ เปน็ 5 พวก

1. สเตโกซอร์ (Stegosaurs) เปน็ ไดโนเสาร์ มคี รบี หลงั เดนิ สข่ี า

2. ออรน์ โิ ทพอดส์ (Ornithopods) เปน็ ไดโนเสาร์ ปากเปด็ เดนิ สองขา ๐
3. เซอราทอปเชยี น (Ceratopsians) เปน็ ไดโนเสาร์ มเี ขา เดนิ สข่ี า

4. *แองกโิ ลซอร์ (Ankylosaurs) เปน็ ไดโนเสาร์ หมุ้ เกราะ เดนิ สข่ี า

5. *พาคเี ซปฟาโลซอร์ (Pachycephalosaurs) เปน็ ไดโนเสาร์ หวั แขง็ เดนิ สองขา

2 บ นั ทึกแหง่ บรรพกาล: * พวกท่ี 4 และ 5 ยงั ไมพ่ บในประเทศไทย

สญั ลกั ษณ์ ๐ บนแผนทธ่ี รณวี ทิ ยาประเทศไทย แสดงบรเิ วณทพี่ บซากดกึ ดำ� บรรพ์
ของไดโนเสารท์ ว่ั เมอื งไทย ซง่ึ สว่ นใหญอ่ ยบู่ นทร่ี าบสงู โคราช โดยพบอยใู่ นภาคอนื่ เพยี ง
๐ 2 แหง่ คอื ทจี่ งั หวดั พะเยา และจงั หวดั กระบี่

๐ ๐๐๐ ๐๐ ๐ จระเข และนก ดำรงเผาพันธมุ าจนถงึ ปจ จบุ ัน ปจ จบุ ัน
๐๐
มหายุค ีซโนโซ ิอก
CROCADILIANS ัสต วเลื้อยคลาน กลุมจระเข
๐ Pterosaur และไดโนเสารท ้งั หมด สูญพันธเุ ม่ือสน้ิ มหายคุ มโี ซ6โ6ซอกิ
Coelurosaurs
Carnosaurs๐ Ratchasimasaurus Ceratopsians

Kinnareemimus Siamosaurus Stegosaurs Siamodon PsittacosaurusPTEROSAURS ก ุลม ัสต วเล้ือยคลาน ิบนไ ด ุยคค ีรเทเ ีชยส

Phuwiangosaurus

Compsognathus Siamotyrannus Hypsilophodontid 145
Euhelopodid Stegosaur
สตั วปกพวกนก
BIRDS Ornithopods ยุคจูแรส ิซก
มหา ุยค มีโซโซอิก
ไดTโHนEเRสOารPกOินDเนS้ือ ไดโนเสาร กนิ พืช
SAUROPODS
201
Isanosaurus 252
ลานปกอน
Prosauropods

Phytosaur สะกโพSระกAดแUูกบหRบัวIสหSัตนCวาเHวลDื้อIAยIไคNNลดSาOนโนSเAOสRUาNสรIRะTโพHSกISแกบCระบHดนูกIกAกน NS
อารโ คซอร
ุยคไทรแอสซิก

ARCHOSAกระUดกู กRน S กระดกู หวั หนาว

รอยย่ำ�  และทางเดนิ 3 มหา ุยค พา ีลโอโซอิก

รอยประทบั ดึกดำ� บรรพ์

รอยตีน และรอยทางเดิน ของไดโนเสาร์ และสัตว์มกี ระดกู สนั หลงั ท่ีพบกว่าสิบ

แห่งท่ัวเมืองไทยล้วน เกดิ จากการเคลอื่ นทเี่ ดนิ ทางของเหลา่ สตั วโ์ บราณหลากหลาย

สายพันธุ์ หาก เราเปรียบเทียบรอยเท้าของคนเช้ือสายต่างๆ เราก็คงไม่

สามารถ ระบุชัดเจนได้ว่ารอยเท้าท่ีเห็นเป็นของคนเช้ือสายใด เช่น

เ ดี ย ว กั น กั บ รอยตนี ไดโนเสาร์ เรากไ็ มส่ ามารถระบสุ ายพนั ธไ์ุ ดโนเสาร์

เจ้าของรอยตีน ที่พบได้ เพราะว่าซากดึกด�ำบรรพ์รอยตีนเหล่าน้ีเป็น

เพียงร่องรอยท่ี เกิดจากไดโนเสาร์ และสัตวม์ กี ระดกู สนั หลงั โบราณแต่ไม่ได้

เป็นส่วนหนึ่งสว่ นใดของเจา้ ของรอย

โดยส่วนใหญ่นักบรรพชีวินวิทยาจะระบุได้เพียงว่าร่องรอยท่ีศึกษาเกิดจาก

ไดโนเสารก์ ลุม่ ใด ซึง่ โดยท่ัวไปแบ่งออกเปน็ 2 กลุม่ คือ กลุ่มเดินสองขา และ กลมุ่ เดินส่ขี า

กลุ่มเดนิ สองขา (Bipedal) มอี ยู่ 2 พวกใหญ่ คอื

1. เทอโรพอด พวกกินเนอ้ื รอยตีนเทอโรพอดมักจะมีรอยน้ิวคอ่ นขา้ งยาว แคบ

และมปี ลายแหลมของรอยกรงเลบ็ บรเิ วณสน้ มกั จะมลี กั ษณะแหลมเปน็ ตวั วี กลมุ่ เทอโรพอด

มกี ารแบ่งเปน็ 2 กลุ่มยอ่ ย คอื รอยของซลี โู รซอร์ ลักษณะเล็ก เพยี ว มกั มนี ว้ิ ท่อี ยชู่ ิดกนั

และรอยของคาร์โนซอร์ ลกั ษณะใหญ่ กำ� ย�ำ น้ิวมกั แยกจากกนั กว้าง และดแู ข็งแรง

2. ออร์นิโทพอด พวกกินพืช ร อ ย ตี น มกั จะกวา้ งกวา่ ของเทอโรพอด

มีส้นท่ีมนและค่อนข้างส้ัน ท่ีรอยน้ิวส้ัน เพราะมีเล็บแบบกีบสัตว์

(บางครง้ั พบเดินส่ขี าด้วย)

กลุ่มเดินสี่ขา (Quadrupedal) สัตว์เลื้อยคลานส่วนใหญ่

เปน็ พวกเดนิ 4 ขา เช่น อาร์โคซอร์ ไฟโตซอร์ จระเข้ และไดโนเสารก์ นิ พชื เซอราทอปเซยี น

สเตโกซอร์ รวมถึงเจ้าคอยาวซอโรพอดด้วย โดยรอยตีนหลังมักจะใหญ่กว่ารอยตีนหน้า

และมกั จะทำ� ความเสยี หาย หรือย�่ำทบั ไปบนรอยตนี หน้า ที่ประทบั เอาไวก้ ่อน





4 บันทึกแห่งบรรพกาล:

คารโนซอร-Carnosaurs

เดินสองขา

ซีลโู รซอร- Coelurosaurs
แทงมาตราสวน ทุกแทงยาว 0.5 เมตร

จระเข- Crocodiles

ออรนิโทพอด-Ornithopods

เดนิ สีข่ า

ซอโรพอด-Sauropods

อารโ คซอร- Archosaurs

ตัวอยาง ซากดกึ ดำบรรพรอยตนี - รอยทางเดนิ ของไดโนเสาร และสตั วเล้ือยคลาน
รอยย�ำ่  และทางเดิน 5

ข้อมลู แฝงในรอยทางเดิน

รอยตีน และรอยทางเดินของไดโนเสาร์ และสัตว์มีกระดูกสันหลังโบราณท่ีพบ
กว่าสิบแห่งท่ัวเมืองไทยล้วนเกิดจากการเคล่ือนท่ีเดินทางของเหล่าสัตว์หลากหลายสาย
พันธุ์ ถึงแม้ร่องรอยเหล่าน้ีจะไม่สามารถระบุเจ้าของที่แท้จริงได้อย่างชัดเจน แต่พวกมัน
กลับบง่ บอกพฤติกรรม และกิจกรรมของเจ้าของรอยประทบั ไดเ้ ป็นอย่างดี

รอยตีน ขอ้ มูลทไี่ ดจ้ ากรอยตนี ประกอบดว้ ย ความกวา้ ง-ยาว ของรอยตีน ความ

ยาวแต่ละน้ิว มุมระหวา่ งน้ิว รวมถึงความลึกของรอยประทบั และความ
สมบรู ณ์ของรอย ซ่งึ จะน�ำไปสคู่ วามร้แู ฝง เช่น

• รอยประทับเตม็ ฝา่ ตีน สอดคลอ้ งกับการกา้ วเดนิ ชา้ ๆ
• รอยประทบั ปลายตนี สอดคล้องกับการเหยาะ และว่งิ
• ความลกึ ของรอยประทบั สมั พนั ธก์ บั มวลของเจา้ ของรอยตนี รวม

ถึงความชืน้ และความละเอยี ดของชัน้ ตะกอน
• ความสมบูรณ์ของรอยประทับ-ชนิดหินท่ีถูกประทับ

บง่ บอกสงิ่ แวดลอ้ มท่ีอยอู่ าศยั ท่ีหากนิ และฤดกู าล
• อตั ราสว่ น ความยาว/ความกวา้ ง ของรอยตนี เปน็ ปจั จยั

ทใ่ี ชใ้ นการจำ� แนกสายพนั ธไ์ุ ดโนเสารจ์ ากรอยประทบั
• ความสงู ถงึ สะโพก ของเจา้ ของรอย คำ� นวณไดจ้ ากความยาว

!รอยตนี

6 บันทกึ แหง่ บรรพกาล:

รอยทางเดนิ ข้อมลู ที่ได้จากรอยทางเดนิ ประกอบด้วย ความกว้างของรอยทางเดนิ

ระยะระหวา่ งกา้ วซา้ ย-ขวา (Pace) และระยะก้าวของขาข้างเดยี วกนั (Stride length, SL)
มุมระหว่างก้าว และแนวบิดเข้าหรือออกของปลายตีน เม่ือน�ำไปศึกษาร่วมกับข้อมูลจาก
รอยตีนจะน�ำไปสูค่ วามรู้แฝงมากมาย เชน่

• อัตราส่วนระหวา่ ง ระยะกา้ วของขาข้างเดียวกัน (SL)/ความสงู ถงึ สะโพก (H)
บอกถึงทา่ ทางการเคล่อื นท่ี ค่า SL/H ระหวา่ ง 2.0-2.9 หมายถงึ การเหยาะ
ย่าง คา่ ตำ�่ กวา่ 2.0 เปน็ การเดนิ และ ค่ามากกว่า 2.9 แสดงถงึ การวิ่ง

• H, SL และค่าความโนม้ ถว่ ง ใช้สำ� หรับการค�ำนวณความเร็วในการเคลอื่ นท่ี

นอกจากนคี้ วามรเู้ กยี่ วกบั พฤตกิ รรมตา่ งๆ ของสตั วโ์ บราณยงั แฝงอยใู่ นหลกั ฐาน
ความสัมพันธ์ของรอยทางเดินหลายรอยท่ีพบในชน้ั หนิ เชน่

• ชนดิ หรอื ลกั ษณะทต่ี า่ งกนั ของรอยตนี บง่ บอกความหลากหลายของสายพนั ธ์ุ
• การเหยียบทบั ซอ้ นกัน บอกใหร้ วู้ า่ ใครมากอ่ น-หลัง
• ลักษณะของรอยทางเดินแคบ-กว้าง ปลายตีนกาง-หรือบิดเข้า เป็นข้อมูล

ส�ำหรับใชแ้ ยกพฤติกรรม หรอื แยกสายพนั ธ์ุ
• ทศิ ทางที่ม่งุ หน้าไป บง่ บอกการเคลอื่ นท่ีเขา้ หา ออกจาก หรอื ขนานแหล่งน้�ำ
• ลักษณะทางธรณวี ิทยาของบริเวณที่พบรอยประทบั บ่งบอกถึงสภาพของสิ่ง

แวดลอ้ ม ภมู ิอากาศ และฤดกู าล

รอยย�่ำ และทางเดนิ 7

บันทกึ รอยย�่ำโบราณทั่วไทย

ซากดกึ ดำ� บรรพไ์ ดโนเสาร์ รวมถงึ รอยทางเดนิ ทพ่ี บในเมอื งไทยเกอื บทง้ั หมดอยบู่ น

ท่ีราบสูงโคราช ซ่ึงถูกรองรับด้วยช้ันหินตะกอน “กลุ่มหินโคราช” ที่สะสมตัวในมหายุค

มีโซโซอิก ซ่ึงเป็นช่วงเวลาแห่งการครองโลกของไดโนเสาร์ โดยด้านล่างสุดรองรับด้วย

หมวดหินหว้ ยหนิ ลาด และถกู ซอ้ นทบั ดว้ ยหมวดหนิ นำ�้ พอง ภกู ระดงึ พระวหิ าร เสาขวั

ภพู าน โคกกรวด มหาสารคาม และหมวดหินภูทอกตามลำ� ดับ ภูทอก

มหาสารคาม

รอยประทับถกู พบอยูใ่ นเกือบทุกหมวดหนิ ยกเว้นในหมวดหินภูกระดงึ และ
สว่ นใหญพ่ บอยใู่ นสองหมวดหนิ ทปี่ ระกบอยดู่ า้ นลา่ งและดา้ นบน คอื หมวดหนิ นำ้� พอง โคกกรวด

และหมวดหนิ พระวหิ าร โดยพบมากบรเิ วณขอบทร่ี าบสงู โคราชดา้ นตะวนั ตกเฉยี งเหนอื ภพู าน

และบรเิ วณเทือกเขาภูพาน รวม 12 แหลง่ ดงั น้ี เสาขวั

• ห้วยด่านชุม จ.นครพนม พบรอยทางเดินไดโนเสาร์นกกระจอกเทศ พระวิหาร

ออร์นิโทพอด และจระเข้ ในหมวดหินโคกกรวด ภูกระดงึ
นำ้ พอง
• ภูหลวง จ.เลย พบรอยตนี คาร์โนซอร์ ในหมวดหนิ ภพู าน
• ภหู นิ รอ่ งกลา้ จ.เลย พบรอยทางเดนิ ของตนี สามนวิ้ ในหมวดหนิ พระวหิ าร

• ภเู กา้ จ.หนองบวั ลำ� ภู พบรอยตนี สามนวิ้ หลายขนาด ในหมวดหนิ พระวหิ าร หวยหนิ ลาด

• ทา่ สองคอน จ.เลย พบรอยตนี คารโ์ นซอรข์ นาดใหญ่ ในหมวดหนิ น�้ำพอง

• หว้ ยนำ้� ดุก จ.เพชรบูรณ์ พบรอยตีนสองนว้ิ ในหมวดหินน�้ำพอง

• ตาดหว้ ยนำ้� ใหญ่ จ.เพชรบรู ณ์ พบรอยทางเดนิ อารโ์ คซอร์ ในหมวดหนิ หว้ ยหนิ ลาด

• หินลาดป่าชาด จ.ขอนแก่น พบรอยตีนคาร์โนซอร์ 1 รอย กับรอยทางเดิน

ซีลูโรซอร์ และออร์นิโทพอด ในหมวดหินพระวิหาร

• ภแู ฝก จ.กาฬสนิ ธ์ุ พบรอยทางเดนิ คารโ์ นซอร์ และรอยตนี ซอรโ์ รพอดครง้ั แรก

ของไทย ในหมวดหนิ พระวิหาร

• หนองสงู จ.มุกดาหาร พบรอยตีนไดโนเสาร์กินเนอ้ื หลายขนาด ทง้ั คาร์โนซอร์

และซีลูโรซอร์ บนก้อนหินทรายจากหมวดหินเสาขัว

• โนนตมู จ.ชยั ภมู ิ พบรอยทางเดนิ คารโ์ นซอร์ ซอรโ์ รพอด และสตั วม์ กี ระดกู สนั หลงั

ในหมวดหินนำ้� พอง

• เขาใหญ่ จ.ปราจนี บรุ ี พบรอยตนี คารโ์ นซอร์ และซลี โู รซอร์ ในหมวดหนิ พระวหิ าร

8 บนั ทึกแห่งบรรพกาล:

ภูหลวง หว้ ยดา่ นชุม๐
๐ ๐๐
ภูเกา้ ภูแฝก
๐ภูหนิ รอ่ งกลา้ ๐ หนองสงู

ห้วยน้ำ� ดกุ๐ ๐ ทา่ สองคอน


ตาดหว้ ยน้ำ� ใหญ่ หนิ ลาดปา่ ชาด


โนนตูม
ปจ จุบัน

มหา ุยค ีซโนโซ ิอก

เขาใหญ่ ๐ Ornithopods Ceratopsians พบแตซากกระดูก ยังไ มพบรอยตีน 66 ุยคค ีรเทเชียส
รอยตีนจระเ ข บาง ีท ็กเดินสี่ขา 145
Carnosaurs Stegosaurs พบแตซากกระดูก ัยงไมพบรอย ีตน
Coelurosaurs Ornithomimosaurs Sauropods ยุค ูจแรสซิก
มหายุค ีมโซโซอิก
201

เดินสองขา (BIPEDAL) (QUADRUPEDAL) เดินสี่ขา ยุคไทรแอส ิซก

รอยตนี อารโ คซอร ARCHOSAUR DINรOอSยAตUีนRไดFOโนOเTสPาRรIN T 252
ลา นปก อ น
FOOTPRINT

รอยย่ำ�  และทางเดิน 9 มหายุค พา ีลโอโซ ิอก

ภทู อก ห้วยด่านชุม เป็นล�ำห้วยท่ีไหลผ่านแหล่งรอยตีน
มหาสารคาม ไดโนเสารท์ ่ีมีรอยประทับอยู่รวมกนั อยา่ งหนาแนน่ และมจี �ำนวน
มากที่สุดในอาเซียน อยู่ที่ต�ำบลพนอม อ�ำเภอท่าอุเทน อยู่ห่าง
โคกกรวด ประมาณ 60 กโิ ลเมตร จากตวั เมืองจังหวัดนครพนม ไปทาง
ภูพาน ตะวนั ตกเฉยี งเหนอื ตามทางหลวงหมายเลข 212
เสาขัว เดิมบริเวณนี้เป็นเหมืองหินทราย ที่ผลิตเพ่ือใช้ส�ำหรับ
พระวิหาร ถมตลิ่งกันการกระแทกของกระแสแม่น้�ำโขง ชาวท่าอุเทนได้
ภูกระดึง พบเห็นรอยประทับเหล่านี้มานานแล้ว แต่ไม่มีใครรู้ว่าเป็นรอย
น้ำพอง อะไร จนกระทง่ั กรมทรพั ยากรธรณมี าสำ� รวจทำ� แผนทธ่ี รณวี ทิ ยา
หว ยหนิ ลาด จึงไดพ้ บว่าเปน็ รอยประทับดึกดำ� บรรพ์
รอยตีนสัตว์ดึกด�ำบรรพ์ที่พบทั้ง 3 ชนิด มีทั้งแบบ
นครพนม ที่ยุบลงไปเป็นรอยพิมพ์ และแบบที่นูนขึ้นมาเป็นรูปพิมพ์
อยู่ในชั้นหินตะกอนของหมวดหินโคกกรวด ที่สะสมตัวในยุค
ครีเทเชียสตอนต้น อายุราว 110 ล้านปี รอยตีนที่พบ
เกือบทั้งหมดเป็นของซีลูโรซอร์ พวกไดโนเสาร์นกกระจอกเทศ
ซึ่งเป็นไดโนเสาร์กินเนื้อขนาดเล็กประมาณ 580 รอย
ในเกอื บรอ้ ยรอยทางเดนิ เปน็ รอยตนี ของไดโนเสารป์ ากเปด็ หรอื
ออรน์ โิ ทพอด 6 รอยใน 2 รอยทางเดนิ ทเ่ี หลอื อกี 8 รอยทางเดนิ
เกดิ จากรอยตีนของจระเขข้ นาดเลก็

10 บนั ทกึ แห่งบรรพกาล:

หว้ ยดา่ นชุมอาณาจักรไดโนเสาร์นกกระจอกเทศท่ี

เจ้าของรอยตนี ซลี ูโรซอร์ ออรน์ โิ ทพอด จระเข้
เดนิ กี่ขา 2 ขา 2 ขา 4 ขา
3 นิ้ว 3 นิว้ 4 นวิ้
รอยตีนมีกนี่ วิ้ 3.5 ซม.
ความกวา้ งตนี 10.1 ซม. 14.2 ซม. 4.5 ซม.
ความยาวตีน 13.6 ซม. 17.4 ซม. .... ซม.
ความสูงสะโพก 61.7 ซม. 86 ซม. .... ซม.
131.9 ซม. 186.5 ซม. .... ซม.
ระยะ stride 65 ซม. 91 ซม. คลาน
ระยะ pace เหยาะ เหยาะ .. กม./ชม.
กำ� ลังก้าว 8 กม./ชม. 8 กม./ชม.
ความเรว็ เฉลย่ี

ขอ้ มูลจาก Kozu 2017

กรมทรัพยากรธรณีได้ข้ึนทะเบียนแหล่ง
ซากดกึ ดำ� บรรพแ์ หง่ นเี้ ปน็ แหง่ แรกของประเทศไทย  ภายใต้
พรบ.คมุ้ ครองซากดกึ ดำ� บรรพ์ พ.ศ. 2551 และไดพ้ ฒั นาขน้ึ เปน็
“แหลง่ เรยี นรรู้ อยตนี ไดโนเสาร์ ทา่ อเุ ทน” โดยมอี งคก์ ารบรหิ าร
สว่ นตำ� บลพนอม เปน็ ผดู้ แู ล และบรหิ ารจดั การ

รอยย�่ำ และทางเดนิ 11

เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าภูหลวง อยู่ห่างจากตัวจังหวัด
เลยประมาณ 65 กม. ไปทางตะวันตกเฉียงใต้ตามทางหลวง
หมายเลข 21 โดยต้องเลี้ยวซ้ายท่ีข้างโรงเรียนสานตมมิตรภาพ
ที่ 101 แลว้ ใชเ้ สน้ ทางหลวงชนบทหมายเลข 3023 เพือ่ เข้าถงึ
เขตรักษาพนั ธ์สุ ตั วป์ ่าภหู ลวง
รอยตนี ไดโนเสาร์ภหู ลวง เปน็ รอยตีนไดโนเสารท์ ่ถี ูกพบ
เป็นแห่งแรกในเอเชยี อาคเนย์ ต้ังอย่บู นยอดภูหลวง ในบรเิ วณท่ี
จ. เลย เรียกวา่ ผาเตลน่ิ ซ่งึ ตอ้ งเดินเทา้ เขา้ ไปอกี ประมาณ 5 กโิ ลเมตร
ผา่ นจดุ ชมธรรมชาติ และทางชา้ งผ่านในทงุ่ หญ้า
รอยตนี ไดโนเสารท์ พี่ บเปน็ รอยพมิ พ์ 3 นว้ิ จำ� นวน 15 รอย
ประทบั อยบู่ นชน้ั หนิ ทรายในหมวดหนิ ภพู านยคุ ครเี ทเชยี สตอนตน้
อายุประมาณ 120 ล้านปี ซึ่งจากการ
ศกึ ษาพบวา่ เปน็ รอยตนี ไดโนเสารก์ นิ เนอื้
หรอื เทอโรพอดขนาดใหญ่ ทเี่ รยี กวา่ กลมุ่
คาร์โนซอร์

ภูทอก

มหาสารคาม

โคกกรวด

ภพู าน

เสาขัว

พระวหิ าร

ภกู ระดงึ

นำ้ พอง

หวยหนิ ลาด

ผังรอยตีนไดโนเสาร์กินเน้ือขนาดใหญ่ จ�ำนวน 15 รอย
สันนิษฐานว่ารอยตีนหมายเลข 4 และ 13 เป็นรอยตีนข้างเดียวกัน

ของเทอโรพอดตัวเดียวกัน ซึ่งแสดงระยะ stride 2.80 เมตร

12 บันทึกแหง่ บรรพกาล: (คัดลอกและดัดแปลงจาก กรมทรัพยากรธรณี 2550)

ภูหลวงรอยยำ่� ของยักษ์ใหญ่กนิ เนื้อท่ี

เจ้าของรอยตนี คาร์โนซอร์ รอยตนี คาร์โนซอร์ หมายเลข 4 เปน็ รอยท่คี มชัดทส่ี ดุ
เดนิ ก่ขี า 2 ขา บริเวณปลายนิ้วทั้ง 3 ปรากฏรอยกรงเลบ็ เป็นร่องลกึ

รอยตีนมีกีน่ ว้ิ 3 นิ้ว
ความกว้างตีน 31 ซม.
ความยาวตีน 35 ซม.
ความสงู สะโพก 178 ซม.

ระยะ stride 280 ซม.
ระยะ pace ... ซม.
ก�ำลังก้าว เดนิ ปกติ
ความเรว็ เฉลยี่ 8 กม./ชม.

ขอ้ มลู จาก
กรมทรพั ยากรธรณี 2550
และ Le Loeuff et al. 2009

กล่มุ รอยตีนของคารโ์ นซอร์ มงุ่ หนา้ ไปในทิศทางเดียวกัน
บ่งบอกลกั ษณะของการรว่ มทาง รวมกลมุ่ อยู่อาศยั และหากิน

รอยย�ำ่  และทางเดนิ 13

ภูทอก
มหาสารคาม อุทยานแห่งชาติภูหินร่องกล้า ต้ังอยู่บริเวณรอยต่อ
จังหวัดเลย พิษณุโลก และเพชรบูรณ์ ส�ำหรับแหล่งรอยตีน
โคกกรวด ไดโนเสารท์ พี่ บอยบู่ นลานหนิ บรเิ วณนำ�้ ตกหมนั แดง บา้ นหมนั ขาว
ภูพาน ต�ำบลกกสะท้อน อ�ำเภอด่านซ้าย ซึ่งอยู่ทางตะวันตกเฉียงใต้
เสาขวั ของจังหวัดเลย แต่ทางขึ้นสู่อุทยานฯ สามารถเดินทางมาจาก
พระวหิ าร จงั หวัดพิษณุโลก และจงั หวัดเพชรบรู ณ์
ภกู ระดึง รอยตนี ทีพ่ บอย่บู นชัน้ หนิ ทราย หมวดหินพระวิหาร
นำ้ พอง จ. เล ย ยุคครเี ทเชยี สตอนต้น อายุประมาณ 135 ล้านปี
หวยหนิ ลาด เปน็ รอยพิมพข์ นาดใหญ่มี 3 น้วิ มีลักษณะเปน็ รอยตนี
ของไดโนเสารก์ นิ เนอื้ ขนาดใหญ่ (คารโ์ นซอร)์ จำ� นวนกวา่ 20 รอย
เรียงเป็นแนวทางเดินอย่างน้อย 3 แนว

เพชรบูรณ์

นักธรณีวิทยาก�ำลังวัดระยะห่างระหว่างก้าว ซ้าย-ขวา (pace)
พบว่ามีระยะเฉลี่ยประมาณ 1.3 - 1.4 เมตร

14 บนั ทึกแห่งบรรพกาล:

ภูหินร่องกล้าบนั ทึกรอยยำ่� ของยักษใ์ หญ่ท่ี

เจ้าของรอยตนี คาร์โนซอร์
เดินก่ีขา 2 ขา

รอยตีนมกี ีน่ ิว้ 3 นวิ้
ความกว้างตนี 30 ซม.
ความยาวตีน 35 ซม.
ความสูงสะโพก 178 ซม.

ระยะ stride 205 ซม.
ระยะ pace 135 ซม.
กำ� ลงั กา้ ว เดนิ ปกติ
ความเร็วเฉล่ีย ... กม./ชม.

ข้อมลู จากกรมทรัพยากรธรณี 2550
และ ธิดาและคณะ 2559

รอยตีนไดโนเสาร์กินเน้ือ
ขนาดใหญท่ พี่ บมลี กั ษณะ และขนาด
ใกล้เคียงกับท่ีพบในเขตรักษาพันธุ์
สัตว์ป่าภูหลวง เพียงแต่พบใน
หมวดหินทต่ี า่ งกนั
น้�ำตกหมันแดงพาตะกอน
กรวดทรายมากัดเซาะรอยพิมพ์ตีน
คาร์โนซอร์ทุกปี ท�ำให้รายละเอียด
ในรอยตนี ถกู ลบเลอื นไป ความกวา้ ง
และยาวของรอยตีนก็ลดลงอย่าง
ตอ่ เนอื่ ง สงิ่ ทจ่ี ะยงั คงอยไู่ ดน้ านกวา่
คอื ตำ� แหนง่ ระยะหา่ ง และทศิ ทาง
การวางตวั ของรอยตนี แตล่ ะกา้ ว

รอยย�่ำ และทางเดนิ 15

ภูทอก ภเู กา้ เปน็ สว่ นหนงึ่ ของอทุ ยานแหง่ ชาตภิ เู กา้ -ภพู านคำ�
มหาสารคาม
ภเู กา้ เปน็ ภเู ขาหนิ ทรายท่ชี น้ั หนิ วางตวั อยู่ในแนวราบ โดยบรเิ วณ
โคกกรวด
ภพู าน ตอนกลางแอ่นตัวลงเล็กน้อยจนมีสัณฐานคล้ายกระทะหงาย
เสาขวั
พระวิหาร อย่หู า่ งประมาณ 45 กม. ตามถนนหมายเลข 2146 ไปทางใต้ของ
ภกู ระดงึ
น้ำพอง จังหวดั หนองบัวล�ำภู โดยเล้ียวขวาเข้าสอู่ ทุ ยานฯ ภเู กา้ ทบี่ า้ นโสก
หวยหนิ ลาด
ก้านเหลือง ส่วนท่ีท�ำการอุทยานฯ อยู่ทภ่ี ูพานค�ำ ริมทะเลสาบ

เหนือเข่อื นอุบลรตั น์ ประมาณ 57 กม. ทางตอนใตข้ องจังหวัด

หนองบวั ล�ำภู หนองบัวลำ� ภู

ปี 2543 คณะสำ� รวจไทย-ฝรัง่ เศส พบรอยตนี ไดโนเสาร์

อย่างนอ้ ย 11 รอย ใน 6 แนวทางเดิน บริเวณพลาญหินทราย

หมวดหนิ เสาขวั ยคุ ครเี ทเชยี สตอนตน้ อายปุ ระมาณ 130 ลา้ นปี

ซงึ่ เปน็ ลำ� นำ�้ ขา้ งถนนบนเขตอทุ ยานแหง่ ชาตภิ เู กา้ ลกั ษณะรอยตนี

ไดโนเสารภ์ เู กา้ มี 3 นวิ้ รอยตนี มขี นาดตง้ั แต่ 19-33 ซม. จากการ

ส�ำรวจภายหลังพบรอยตีนเพิ่มอีก 5 รอย บริเวณฝั่งตรงข้าม

ของศาลาแสดงนทิ รรศการรอยตนี ไดโนเสารด์ ว้ ย คาดวา่ เปน็ รอย

ตนี ไดโนเสารก์ นิ เนอ้ื พวกคาร์โนซอร์ขนาดย่อมๆ หลายขนาด ที่มี

ความสงู ถึงสะโพกประมาณ 85-165 ซม.

ศาลาแสดงนิทรรศการรอยตนี ไดโนเสาร์
ตัง้ อยู่ริมทางเข้าสอู่ ทุ ยานแหง่ ชาตภิ เู กา้ ดา้ นหลังศาลา
เปน็ ลำ� ห้วยท่ปี รากฏรอยทางเดนิ ไดโนเสารก์ ินเนือ้ คารโ์ นซอร์

16 บนั ทกึ แหง่ บรรพกาล:

ภูเกา้รอยตนี ยกั ษ์ใหญข่ นาดย่อมที่

เจ้าของรอยตีน คาร์โนซอร์
เดินกขี่ า 2 ขา

รอยตนี มกี ่นี ว้ิ 3 น้ิว
ความกวา้ งตนี 18-30 ซม.
ความยาวตนี 19-33 ซม.
ความสูงสะโพก 85-165 ซม.

ระยะ stride ..... ซม.
ระยะ pace ..... ซม.
ก�ำลงั ก้าว .....
ความเร็วเฉลยี่ ....กม./ชม.

ข้อมูลจาก ธิดาและคณะ 2559
และ Kozu, 2017

ลำ� ห้วยที่ปรากฏรอยทางเดินไดโนเสาร์ อยู่ดา้ นหลงั ศาลาแสดงนิทรรศการ
ในฤดแู ลง้ จะไมม่ ีน�ำ้ หว้ ยไหล เป็นชว่ งทีส่ ามารถเดนิ ตดิ ตามรอยตีน
ไปตามล�ำหว้ ยไดส้ ะดวก

รอยยำ่�  และทางเดิน 17

ภูทอก

มหาสารคาม ทา่ สองคอน เปน็ ตลงิ่ รมิ นำ�้ พอง อยทู่ บ่ี า้ นทงุ่ ใหญ่

โคกกรวด อำ� เภอภกู ระดึง ประมาณ 80 กโิ ลเมตรทางทศิ ใต้จาก

ภูพาน ตัวจังหวดั เลย

พบรอยตีนไดโนเสาร์ริมตลิ่งน�้ำพองด้านตะวันตกในช้ัน
เสาขัว หินทราย ท่ีปรากฏรอยริ้วคล่ืน และระแหงโคลนของหมวดหิน

พระวหิ าร น้�ำพอง ยคุ ยคุ ไทรแอสซิกตอนปลาย (อายุประมาณ 209 ลา้ นป)ี

จ. เลย ภกู ระดึง ซ่งึ เปน็ การพบรอยตีนไดโนเสาร์ในหมวดหินน�้ำพอง
น้ำพอง เป็นแห่งแรกในประเทศไทยช่วงต้นปี 2550 โดยพบ
เป็นแนวทางเดินประกอบดว้ ยรอยตนี 6 รอย
หวยหนิ ลาด ทยี่ บุ ลงไปเป็นรอยพิมพใ์ นเนื้อหนิ ทราย

รอยตีนท่ีพบไม่เพียงแต่ปรากฎลักษณะ 3 น้ิ ว

เหมือนรอยตีนไดโนเสาร์กลุ่มเทอโรพอดท่ีพบท่ัวไป แต่ปรากฏ

นิ้วท่ี 4 (ทางวชิ าการเรียกว่านว้ิ หมายเลข 1 ) ที่ปกติไมค่ อ่ ยพบ

เนอ่ื งจากนวิ้ นจ้ี ะอยสู่ งู ขน้ึ ไปทางดา้ นหลงั เหมอื นเดอื ยไกท่ วั่ ไป

ภาพร่างรอยทางเดินของคารโ์ นซอร์ ทที่ า่ สองคอน
แท่งมาตราสว่ นยาว 50 ซม.

(คดั ลอกและดัดแปลงจาก Le Loeuff et al., 2009 )

18 บนั ทึกแห่งบรรพกาล:

ท่าสองคอนรอยพมิ พ์นิว้ ทส่ี ี่ (หมายเลข 1).....ท่ี

Digit III Digit II
Digit IV

เจ้าของรอยตนี คาร์โนซอร์ Digit I
เดนิ กีข่ า 2 ขา
รอยตนี ข้างซ้าย มนี ว้ิ หมายเลข 3 (Digit III) ยาวทีส่ ดุ
รอยตีนมกี ีน่ ้วิ 4 นิ้ว และมนี ิ้วหมายเลข 1 (นับจากนวิ้ ในสุด) เลก็ ท่สี ดุ
ความกว้างตีน 16.8 ซม.
ความยาวตนี 41.5 ซม.
ความสูงสะโพก 203 ซม.

ระยะ stride 260 ซม.
ระยะ pace 126.7 ซม.
กำ� ลงั ก้าว เดินชา้ ๆ
ความเรว็ เฉลีย่ 5 กม./ชม.

ข้อมลู จาก
Le Loeuff et al. 2009

และ Kozu 2017

แนวทางเดิน ปรากฏรอยตีนไดโนเสาร์กินเน้ือขนาดยักษ์ ใหญ่ที่สุดในเมืองไทย จ�ำนวน 5 รอย
พบอยู่ที่ท่าสองคอน ตล่ิงริมน�้ำพอง อ.ภูกระดึง จ.เลย

รอยย่�ำ และทางเดนิ 19

ภูทอก
มหาสารคาม หว้ ยนำ้� ดกุ เปน็ ลำ� หว้ ยทไ่ี หลจากแนวเขาในอทุ ยาน
แหง่ ชาตนิ ำ้� หนาว ไปทางทศิ ตะวนั ตก ผา่ นบา้ นวงั ยาว หมทู่ ี่ 6
โคกกรวด ต�ำบลปากช่อง อ�ำเภอหล่มสัก ซึ่งอยู่ห่างจากตัวจังหวัด
ภพู าน เพชรบรู ณป์ ระมาณ 85 กม. ไปทางทศิ ตะวนั ออกเฉยี งเหนอื
เสาขวั ตามทางหลวงหมายเลข 21 และเล้ียวขวาท่ีอนุสาวรีย์
พระวิหาร พอ่ ขนุ ผาเมอื งเขา้ สทู่ างหลวงหมายเลข 12
ภูกระดึง นกั ธรณวี ทิ ยาจากกรมทรพั ยากรธรณพี บหลกั ฐาน
น้ำพอง รอยตนี อยบู่ นกอ้ นหนิ ขนาดกวา้ งยาวประมาณ 1.5 ม. x 2 ม.
หว ยหนิ ลาด อยขู่ า้ งลำ� หว้ ยนำ้� ดกุ มลี กั ษณะเปน็ กอ้ นหนิ ทหี่ ลดุ และนา่ จะ
โดนกระแสน�้ำพัดออกมาจากแหล่งที่คาดว่าเป็นหมวดหิน
เพชรบูรณ์ น้�ำพอง ซึ่งเป็นส่วนล่างของกลุ่มหินโคราช ท่ีมีช่วงเวลา
การสะสมตวั ระหวา่ ง ปลายยคุ ไทรแอสซกิ จนถงึ ยคุ จแู รสซกิ
รอยตนี ทพ่ี บมลี กั ษณะปรากฎ 2 นว้ิ คลา้ ยกบี สตั ว์
จ�ำนวน 4 รอย จากหลักฐานเท่าท่ีมีสามารถสันนิษฐานได้
เพยี งวา่ เปน็ รอยทเ่ี กดิ จากสตั วม์ กี ระดกู สนั หลงั ทเี่ ดนิ 4 ขา



20 บันทึกแหง่ บรรพกาล:

รอยกบี ? ดกึ ด�ำบรรพ์ที่ หว้ ยน้�ำดกุ

!?

สตั วม์ กี ระดูก

เจ้าของรอยตีน สันหลัง
เดินก่ขี า 4 ขา

รอยตนี มีก่นี ว้ิ 2 นวิ้
ความกว้างตนี 5-8 ซม.
ความยาวตนี 8.5-10 ซม.
ความสูงสะโพก ..... ซม.

ระยะ stride ..... ซม.
ระยะ pace ... ซม.
กำ� ลงั กา้ ว เหยาะ
ความเร็วเฉล่ีย . กม./ชม.

เน่ืองจากหลกั ฐานทพ่ี บมีเพียง
รอยตนี 2 นืว้ จ�ำนวน 4 รอย
จงึ ยังไม่สามารถระบุรายละเอียด

ขอ้ มลู ไดม้ ากกว่านี้

รอยยำ�่  และทางเดิน 21

ภทู อก ตาดหว้ ยน�ำ้ ใหญ่ เป็นหน้าหินผาขนาดใหญ่ท่ีเอียง
มหาสารคาม ตามหน้าชั้นหินทรายด้วยความชันกว่า 60 องศา อยู่ติดกับ
หว้ ยนำ้� ใหญ่ ทบี่ า้ นนาสอพอง หมู่ 5 ตำ� บลนำ้� หนาว อำ� เภอนำ�้ หนาว
โคกกรวด ห่างจากตัวจังหวัดเพชรบูรณ์ประมาณ 150 กิโลเมตร
ภูพาน ไปทางทศิ ตะวนั ออกเฉียงเหนือ
เสาขัว จากตวั จงั หวดั เดนิ ทาง
พระวหิ าร ตามทางหลวงหมายเลข 21 และเลยี้ วขวา
ภกู ระดึง ทอี่ นสุ าวรยี พ์ อ่ ขนุ ผาเมอื งเขา้ สทู่ างหลวง
นำ้ พอง หมายเลข 12 จากนั้นเล้ียวซ้ายไปใช้ถนน
หวยหินลาด หมายเลข 2216 เข้าสอู่ ำ� เภอน�้ำหนาว
แลว้ เล้ยี วซา้ ยตรงขา้ มโรงพยาบาลนำ้� หนาวเข้าสู่
เพชรบูรณ์ ถนนคอนกรีตเสริมเหลก็ อีกประมาณ 4 กม.
บรเิ วณแหลง่ พบรอยทางเดนิ 4 ขา
ของสัตว์ดึกด�ำบรรพ์รวม 3  แนวท่ีถูก
ประทบั เปน็ รอยพมิ พ์ ยบุ ลงไปอยบู่ นหนา้
ชนั้ หนิ ทรายเนอ้ื โคลนทจ่ี ดั อยใู่ น หมวดหนิ
หว้ ยหนิ ลาด ยคุ ไทรแอสซกิ ตอนปลายซง่ึ เปน็
หมวดหินที่แก่ท่ีสุดในกลุ่มหินโคราช
อายุประมาณ 220 ล้านปี
รอยทางเดนิ 2 แนวแรกยาวกวา่
100 เมตร ประกอบดว้ ยรอยตนี กวา่ 300 รอย
ทคี่ าดวา่ เกดิ จาก สตั วเ์ ลอื้ ยคลานโบราณ
พวก ไฟโตซอร์ (Phytosaur) ซง่ึ มวี วิ ฒั นาการ
มาจากอารโ์ คซอร์ (Archosaur) ทเ่ี ปน็ บรรพบรุ ษุ
ของไดโนเสาร์ และ เทอโรซอร์ (Pterosaur) หรอื
กลมุ่ สตั วเ์ ลอื้ ยคลานบนิ ได้
(ดูรูปสายการวิวฒั นาการหนา้ 3) แทง่ มาตราสว่ น ยาว 50 ซม.

ภาพร่างสว่ นหนงึ่ ของแนวทางเดิน
(คดั ลอกและดดั แปลงจาก Le Loeuff et al. 2009)
แสดงรอยตีนหนา้ และหลงั เตม็ ฝา่ ตนี ทีค่ อ่ นขา้ งสมบูรณ์ ทั้งด้านซา้ ยและขวา
รอยนิ้วท่ี 3 และ 4 ยาวกว่าน้วิ ที่ 2 รอยนิว้ ทั้งหมดโค้งออกจากกลางล�ำตัว

22 บันทึกแห่งบรรพกาล:

รอยทางเดนิ อาร์โคซอรท์ ี่ ตาดหว้ ยนำ�้ ใหญ่

เจา้ ของรอยตนี อารโ์ คซอร์
เดนิ ก่ขี า 4 ขา

รอยตนี หลงั มี 3-5 น้ิว
ตีนหลังกว้าง 19.5 ซม.
ตนี หลังยาว 32 ซม.

ล�ำตัวกว้าง 60 ซม.
ระยะ stride 101.8 ซม.
ระยะ pace 66.3 ซม.

ลำ� ตวั ยาว 4-5 ม.
ความสงู สะโพก 120 ซม.

รอยตีนหนา้ มี 3-4 นวิ้
หางยาว แต่ เดินยกหาง

ข้อมลู จาก
Le Loeuff et al. 2009

และ Kozu 2017

รอยทางเดินของไฟโตซอร์บนหนา้ ชัน้ หนิ ทรายเนื้อโคลน
ท่ีวางตวั เอยี ง มคี วามชนั ประมาณ 60 องศา

Digit II

Digit III รอยตีนหลัง ยาวกวา่ รอยตนี หนา้
Digit IV
รอยย่�ำ และทางเดนิ 23
Digit V

รอยเตม็ ฝา่ ตนี หลงั ขวา นว้ื 3 และ 4 ยาวกวา่ นวิ้ 2

ภทู อก หนิ ลาดปา่ ชาด เปน็ ลานหนิ ขนาดประมาณ 10x25
มหาสารคาม
ตารางเมตร ปกคลุมด้วยหญ้าสูง อยู่ด้านเหนือของเทือก
โคกกรวด
ภูพาน เขาภูเวียงใกล้น�้ำตกตาดฟ้า ในเขตอุทยานแห่งชาตภิ เู วยี ง
เสาขัว
พระวิหาร ซงึ่ อยหู่ า่ งไปทางตะวนั ตกประมาณ 84 กม. จากตัว
ภูกระดงึ
นำ้ พอง จงั หวัดขอนแก่น ตามทางหลวง หมายเลข 12
หว ยหินลาด
ลานหินลาดป่าชาด ร อ ง รั บ ด ้ ว ย

ชั้นหินทรายเนื้อละเอียดสีขาว ของหมวดหิน

พระวิหาร ที่ผิวหน้าสีออกแดง ส นิ ม เ ห ล็ ก

มีริ้วรอยคลื่น และรูหนอน ซึ่ง แสดงสภาพ

แวดลอ้ มโบราณทเ่ี ปน็ บรเิ วณชายน้�ำ ยคุ ครเี ทเชยี ส

ตอนต้น เมื่อประมาณ 140 ลา้ นปี มาแล้ว

เดือนกันยายน 2532

ค ณ ะ ส� ำ ร ว จ ไ ด โ น เ ส า ร ์ จ า ก ก ร ม

ทรัพยากรธรณี ค้นพบรอยตีน

ไดโนเสารห์ ลายชนดิ จำ� นวนมากกวา่

60 รอย ประทับเป็นแนวทางเดิน

ขอนแกน่ หลายทิศทาง
ทางเดนิ หมายเลข 1-7

คาดว่าเป็นรอยตีนไดโนเสาร์

กินพืชออร์นิทิสเชี่ยนขนาดเล็ก

(ออรน์ โิ ทพอด) บางรอยทางเดนิ

ปรากฏท้งั รอยตนี หน้า และหลัง

รอยตีนหมายเลข 8 พบเพยี งรอยเดยี ว

มี 3 น้ิว ไม่พบรอยฝ่าตีน คาดวา่ เป็นรอยตีนไดโนเสาร์กนิ

เนอ้ื เทอโรพอดขนาดใหญ่ (คารโ์ นซอร)์

รอยทางเดินหมายเลข 9 สันนิษฐานว่าเป็นรอย

ของสัตวเ์ ลอื้ ยคลานขนาดเล็ก

รอยทางเดินหมายเลข 10

เป็นของไดโนเสาร์กินเนื้อเทอโร

พอดขนาดเล็ก (ซลี ูโรซอร)์

24 บันทึกแห่งบรรพกาล: ผงั ทางเดิน คัดลอกและดัดแปลงจาก กรมทรัพยากรธรณี 2550

หนิ ลาดปา่ ชาดชุมนมุ นานาพนั ธุ์บรรพกาลท่ี

เจ้าของรอยตีน คารโ์ นซอร์ ซีลูโรซอร์ ออร์นโิ ทพอด สตั ว์เล้อื ยคลาน
เดินก่ขี า 2 ขา 2 ขา 2 ขา 4 ขา

รอยตีนมกี น่ี วิ้ 3 นวิ้ 3 น้ิว 3 นิ้ว 5 นิว้

ความกว้างตีน ..... 9.8 ซม. 8.9 ซม. .... ซม.

ความยาวตีน .... 12.7 ซม. 10.9 ซม. ..... ซม.

ความสงู สะโพก ..... 57.2 ซม. 47-58 ซม. .... ซม.

ระยะ stride ไม่ปรากฏ 55 ซม. 52 ซม. ..... ซม.

ระยะ pace ไมป่ รากฏ 33 ซม. 27.2 ซม. .... ซม.

ก�ำลงั ก้าว ว่งิ เร็ว เดิน เดินช้าๆ คลาน

ความเร็วเฉลี่ย ? กม./ชม. 2.6 กม./ชม. 2 กม./ชม. ... กม./ชม.

ข้อมูลจาก กรมทรัพยากรธรณี 2550, ธิดาและคณะ 2559 และ Kozu 2017

รอยนวิ้ คารโ์ นซอร์ กำ� ลงั วง่ิ ไมม่ รี อยฝา่ ตนี ออรน์ ิโทพอด
ซลี ูโรซอร์

รอยยำ่�  และทางเดนิ 25

ภูทอก
มหาสารคาม วนอทุ ยานภแู ฝก อยู่ห่างจากตัวเมืองกาฬสินธุ์ไปทาง
ทศิ ตะวนั ออกเฉยี งเหนอื 74 กโิ ลเมตร ตามทางหลวงหมายเลข 12
โคกกรวด วนอุทยานภูแฝกถูกจัดต้ังขึ้นในตอนต้นปี พ.ศ. 2540 โดยมี
ภพู าน วัตถุประสงค์หลักเพื่อให้ความคุ้มครอง ซากดึกด�ำบรรพ์รอยตีน
เสาขวั ไดโนเสาร์ ซึง่ ถกู พบโดยเด็กหญิงนกั เรยี น 2 คน
พระวิหาร ในช่วงฤดหู นาวปี พ.ศ.2539
ภูกระดึง รอยทางเดนิ และรอยตนี ไดโนเสารถ์ กู พบ
น้ำพอง อยู่บนหน้าช้ันหินทรายในหมวดหินพระวิหาร
หว ยหนิ ลาด ยคุ ครเี ทเชยี สตอนตน้ อายปุ ระมาณ 135 ลา้ นปี
จากการสำ� รวจพบรอยพมิ พต์ นี ไดโนเสารก์ นิ เนอื้
กาฬสนิ ธ์ุ ขนาดใหญ่ หรอื คารโ์ นซอร์ อยา่ งนอ้ ย 25 รอย
ใน 7 แนวทางเดนิ มงุ่ หนา้ ไปทาง
ทศิ ตะวนั ออกเฉยี งใต้
ในรอยพิมพ์ที่ชัดเจน
จะสามารถเหน็ รอยกรงเลบ็
บริเวณปลายนิ้วดว้ ย
นอกจากนี้ภายหลัง
ยงั พบรอยตนี ขนาดยักษย์ าวกว่า
ครงึ่ เมตรของเจา้ คอยาวในบรเิ วณ
เดยี วกนั ดว้ ย ซงึ่ ถอื วา่ เปน็ การ
พบแหง่ แรกในประเทศไทย

26 บันทึกแหง่ บรรพกาล:

ภแู ฝกใหญ่กนิ ผกั เจอ ยกั ษ์กินเนื้อ ที่

เจา้ ของรอยตนี คารโ์ นซอร์ เจา้ คอยาว
เดินกขี่ า 2 ขา 4 ขา

รอยตนี มกี ่ีนิว้ 3 นว้ิ ..... น้วิ

ความกว้างตีน 37 ซม. 40 ซม.

ความยาวตีน 42 ซม. 52 ซม.

ความสูงสะโพก 205 ซม. 238 ซม.

ระยะ stride 221 ซม. 129 ซม.

ระยะ pace 114 ซม. ..... ซม.

ก�ำลังก้าว เดนิ ช้าๆ เดินช้ามาก

ความเรว็ เฉล่ยี 4 กม./ชม. .... กม./ชม.

ขอ้ มลู จาก กรมทรพั ยากรธรณี 2550
ธิดาและคณะ 2559 และ Kozu 2017

รอยตนี ของไดโนเสาร์ซอโรพอด

จากขนาดความยาวกว่า
ครึ่งเมตร ของรอยตีนหลงั
พอจะประมาณความสูงถงึ
สะโพกของเจา้ คอยาวไดว้ ่า
อยู่ท่เี กอื บสองเมตรคร่ึง

หากรอยตีนหลงั ท้ังสอง
รอยทีห่ ่างกนั ไมถ่ ึงเมตร
ครึง่ นีเ้ กดิ จากขาขา้ ง
เดียวกนั แล้วแสดงวา่ เจ้าคอ
ยาวก�ำลังเดินอย่างช้ามากๆ

(คัดลอกภาพร่างจาก รอยย�่ำ และทางเดิน 27
Le Loeuff et al., 2002)

ภูทอก
มหาสารคาม หนองสงู เปน็ อำ� เภอหนงึ่ ของจงั หวดั มกุ ดาหาร อยตู่ ดิ กบั
อำ� เภอกฉุ นิ ารายณ์ จงั หวดั กาฬสนิ ธ์ุจดุ ทพี่ บซากดกึ ดำ� บรรพร์ อยตนี
โคกกรวด ไดโนเสารอ์ ยบู่ รเิ วณรมิ หลวงหมายเลข 12 ประมาณ 50 กโิ ลเมตร
ภพู าน ทางตะวนั ตกจากตวั จงั หวดั มกุ ดาหาร
เสาขวั รอยตนี ไดโนเสารท์ พ่ี บอยบู่ นกอ้ นหนิ ขา้ งทางหลวงสาย
พระวิหาร สมเดจ็ -หนองสงู -มกุ ดาหาร เปน็ รปู พมิ พน์ นู ขน้ึ มามลี กั ษณะ 3 นวิ้
ภูกระดงึ คล้ายไดโนเสารเ์ ทอโรพอด มีหลายขนาดความยาว ตง้ั แต่ 6 ซม.
น้ำพอง ถึง 34 ซม. ซ่ึงน่าจะเป็นรอยของไดโนเสาร์กินเน้ือหลายชนิด
หวยหินลาด ท้ังคาร์โนซอร์ และซีลูโรซอร์
ก้อนหินทรายที่พบรอยตีนไดโนเสาร์มีร่องรอยรูหนอน
ดึกด�ำบรรพ์มากมาย ซ่ึงหลุดออกจากแหล่งหินหมวดหินเสาขัว
ยุคครีเทเชียสตอนตน้ อายุประมาณ 130 ลา้ นปี
ปัจจุบันตัวอย่างแผ่นหินท่ีมีรอยตีนไดโนเสาร์บางส่วน
มุกดาหาร ถกู เก็บไว้ที่พพิ ธิ ภณั ฑส์ ิรนิ ธร อ�ำเภอสหัสขนั ธ์ จังหวดั กาฬสินธุ์

เป็นท่ีน่าสังเกตว่ารอยตีนที่พบในก้อนหินท่ีหลุดจาก
แหลง่ เดมิ มกั เปน็ แบบรปู พมิ พน์ นู ขนึ้ มา สว่ นรอยตนี ทพ่ี บอยบู่ น
หน้าชั้นหินตะกอนในแหล่งมักจะเป็นลักษณะรอยพิมพ์ยุบลงไป
ในเนื้อหนิ ท้งั นเ้ี นอ่ื งจากการเกิดในธรรมชาติรอยพิมพจ์ ะเกดิ ข้นึ
ก่อนบนหน้าช้ันตะกอน ส่วนรูปพิมพ์จะเกิดขึ้นจากการเติมเต็ม
รอยพิมพ์ท่เี กิดอยู่ก่อนหนา้ ด้วยตะกอนที่มาใหม่ในภายหลัง
เม่ือชนั้ หินถูกกัดเซาะทำ� ลายหลุดออกจากแหล่ง หินช้ัน
บนท่ีมีรูปพิมพ์จึงหลุดออกไป เหลือส่วนที่เป็นรอยพิมพ์อยู่ใน
แหล่งเดิม ดังน้ันเมื่อพบก้อนหินท่ีมีรูปพิมพ์อยู่ จึงสามารถ
ติดตามหารอยพิมพ์ต้นก�ำเนิดได้ในช้ันหินที่อยู่ในระดับท่ีสูงขึ้นไป
หากไม่ถกู กดั เซาะทำ� ลายไปเสยี ก่อน
รปู พมิ พร์ อยตนี ไดโนเสารส์ ามารถพบไดอ้ กี ในแหลง่ อนื่ ๆ
เชน่ ในหมวดหนิ โคกกรวดทห่ี ว้ ยดา่ นชมุ และในหมวดหนิ พระวหิ าร
ทเ่ี ขาใหญ่

28 บนั ทึกแห่งบรรพกาล:

หนองสูงรอยประทับยกั ษ์กินเนือ้ ข้างทางหลวง ที่

เจ้าของรอยตีน คารโ์ นซอร์
เดินกข่ี า 2 ขา

รอยตนี มกี น่ี ิว้ 3 น้ิว

ความกวา้ งตีน ... ซม.

ความยาวตนี 6-34 ซม.

ความสูงสะโพก 20-170 ซม.
พบหลายรอย
ระยะ stride แตไ่ ม่เป็น
ระยะ pace รอยทางเดนิ
ค�ำนวณการ
กำ� ลงั ก้าว กา้ วและ
ความเร็วเฉลย่ี
ความเรว็ ไม่ได้

ข้อมูลจาก ธดิ าและคณะ 2559
และ Le Loeuff et al. 2009

รอยยำ�่  และทางเดนิ 29

ภทู อก บา้ นโนนตูม อยบู่ รเิ วณรมิ ตลงิ่ นำ้� ชี ตำ� บลวงั ชมภู อำ� เภอ
มหาสารคาม หนองบวั แดง จงั หวดั ชยั ภมู ิ ประมาณ 70 กม. ทางตะวนั ตกเฉยี งเหนอื
ของตัวจงั หวดั จากตัวจังหวดั ใชเ้ ส้นทาง 2051 ประมาณ 7 กม.
โคกกรวด แล้วแยกซ้ายท่ี สี่แยกช่อระกา ไปทาง อ.หนองบัวแดงตาม
ภูพาน เส้นทาง 2159
เสาขวั พบรอยตนี สัตวม์ กี ระดูกสันหลงั กว่า 80 รอยพิมพ์ บน
พระวิหาร ชั้นหินทรายหมวดหินน้�ำพอง ยุคไทรแอสสิกตอนปลาย อายุ
ภกู ระดึง ประมาณ 209 ลา้ นปี บรเิ วณริมตลง่ิ ยาว 45 เมตรของลำ� นำ้� ชี
นำ้ พอง เปน็ รอยตีนท่ีมีลกั ษณะแตกตา่ งกนั อย่างนอ้ ย 3 ชนดิ ไดแ้ ก่
หว ยหนิ ลาด รอยตนี ทมี่ ลี ักษณะ 3 นว้ิ สนั นษิ ฐานว่าเปน็ รอยตนี ของ
ไดโนเสาร์กนิ เนอื้ พวกเทอโรพอดขนาดใหญ่ หรอื คารโ์ นซอร์ พบ
ทั้งหมด 15 รอยตีน ใน 5 รอยทางเดนิ
รอยตีนหลงั ที่มีลักษณะกลมใหญ่คลา้ ยรอยตนี ชา้ งรวม
10 รอยพิมพ ์ พรอ้ มรอยตนี หนา้ สนั นษิ ฐานวา่ เปน็ รอยตนี ของ
ไดโนเสารก์ ินพืชซอรโ์ รพอด
รอยตีนที่มีลักษณะ 2 นิ้ว คล้ายกับรอยของสัตว์กีบ
จำ� นวน 1 แนวทางเดนิ ประกอบรอยตนี หนา้ และหลงั รวม 64 รอย
ชัยภ ูม ิ ซ่งึ ธิดา และคณะ, 2559 สันนิษฐานวา่ เป็นรอยตีนของสตั ว์
สัตวส์ ะเทนิ นำ�้ สะเทนิ บกพวกเท็มโนสปอนดลิ (Temnospondyl)
ประทบั รอยในขณะว่ายน้ำ� ตืน้ ๆ จงึ ปรากฏเฉพาะรอย 2 นวิ้ และ
ไมม่ ีรอยลากหาง
ปัจจุบันองค์การบริหารส่วนต�ำบลวังชมภู ได้ท�ำป้าย
บอกทางเข้า และบอร์ดแสดงความรู้ด้านบรรพชีวินวิทยา และ
ธรณีวิทยาเก่ียวกับแหล่งให้ประชาชนได้ศึกษา

30 บันทึกแห่งบรรพกาล:

บ้านโนนตูมรอยทางเดนิ ขวกั ไขวข่ องสัตว์โบราณที่

สตั วส์ ะเทนิ นำ�้

เจา้ ของรอยตนี คารโ์ นซอร์ เจา้ คอยาว สะเทนิ บก
เดินก่ีขา 2 ขา 4 ขา 4 ขา
4 น้วิ 2 กีบ
รอยตีนมกี ี่น้ิว 3 นว้ิ
ความกว้างตีน 32 ซม. 52.2 ซม. 22.3 ซม.
ความยาวตนี 39.6 ซม. 46.9 ซม. 17.3 ซม.
ความสูงสะโพก 194.4 ซม. 250 ซม. 90 ซม.
214.7 ซม. 151 ซม.
ระยะ stride 167.5 ซม. 147.2 ซม. 153 ซม.
ระยะ pace 89.2 ซม.
ก�ำลงั กา้ ว เดนิ ชา้ ๆ เดนิ ในนำ�้
ความเร็วเฉลี่ย 3 กม./ชม. ... กม./ชม. 6.7 กม./ชม.

ขอ้ มูลจาก ธดิ าและคณะ 2559 รอยตีนหลงั ยาวกวา่ รอยตีนหน้า
และ Kozu 2017

รอยตีนสัตว์มีกระดูกสันหลังกว่า 80 รอย
บริเวณริมตล่ิงล�ำน�้ำชี บ่งบอกถึงความสมบูรณ์
และความหลากหลายทางชีวภาพของบริเวณน้ี เมื่อสองร้อยล้านปีก่อน

รอยยำ�่  และทางเดนิ 31

ภูทอก
มหาสารคาม เขาใหญ่ เปน็ อทุ ยานแหง่ ชาตแิ หง่ แรกของประเทศไทย
ประมาณ อยู่ห่างประมาณ 55 กม. จากตัวจังหวัดปราจีนบุรี
โคกกรวด ในปี พ.ศ. 2535 มกี ารสำ� รวจพบรอยตนี ไดโนเสารก์ นิ เนอ้ื
ภูพาน ขนาดใหญ่ (คาร์โนซอร์) 1 รอย และรอยตีนไดโนเสาร์กินเนื้อ
เสาขวั ขนาดเลก็ (ซีลโู รซอร)์ 7-8 รอย เป็นลักษณะรูปพิมพน์ ูนขึน้ มา
พระวิหาร อยบู่ นกอ้ นหนิ ทรายที่หลุดลว่ งลงไปอยู่รมิ ล�ำน้ำ� ใสใหญ่
ภกู ระดึง ท่ี ไ ห ล ผ ่ า น หุ บ เ ข า ใ น เ ข ต อ� ำ เ ภ อ น า ดี
นำ้ พอง จังหวัดปราจีนบุรี หากมีการส�ำรวจ
หว ยหนิ ลาด ภาคสนามเพิ่มเติม อาจพบแหล่งที่มี
รอยพิมพ์ประทับอยู่บนชั้นหินที่ก้อน
ปราจีนบรุ ี หนิ หลดุ ร่วงลงมา

ล่าสุดได้มีการต้ังชื่อไดโนเสาร์ จากรอยตีนน้ีว่า
“สยามโมโพดัส เขาใหญ่เอนซิส
(Siamopodus khaoyaiensis)”
เพื่อเป็นเกียรติแก่แหล่งท่ีพบร่องรอย
ของซากดึกด�ำบรรพ์นี้คร้ังแรก

32 บันทกึ แห่งบรรพกาล:

เขาใหญ่รอยไดโนเสาร์กนิ เนอ้ื สองขนาด เลก็ ใหญท่ ่ี

(Siamopodus khaoyaiensis)

เจา้ ของรอยตนี คาร์โนซอร์ ซีลโู รซอร์
เดินกขี่ า 2 ขา 4 ขา

รอยตีนมีกน่ี ้วิ 3 นิว้ 3 นวิ้

ความกว้างตนี 26 ซม. 11-25 ซม.

ความยาวตีน 31 ซม. 14-30 ซม.

ความสูงสะโพก 154 ซม. 63-150 ซม.
ระยะ stride พบเพยี ง พบหลายรอย
ระยะ pace รอยเดียว
กำ� ลังก้าว ไม่สามารถ แต่ไม่เปน็
คำ� นวณการ รอยทางเดิน
ความเร็วเฉลย่ี กา้ ว และ คำ� นวณการ
ความเร็วได้
ก้าวและ
ความเร็วไมไ่ ด้

ขอ้ มูลจากกรมทรัพยากรธรณี 2550
และ ธดิ าและคณะ 2559

ก้อนหนิ ทรายขนาดใหญ่พรอ้ มรูปพมิ พ์รอยตีนไดโนเสาร์ ทห่ี ลุดร่วงลงไปกองรวมกนั อยู่ริมลำ� น้ำ� ใสใหญ่

รอยย่�ำ และทางเดนิ 33

ร้จู กั ตัวตนจากรอยตนี

มผี กู้ ลา่ ววา่ ซากดกึ ดำ� บรรพร์ อยตนี และรอยทางเดนิ เปรยี บไดก้ บั แผน่ บนั ทกึ ขอ้ มลู
จากบรรพกาล ซงึ่ นอกเหนอื จากขอ้ มลู ทต่ี รวจวดั ไดโ้ ดยตรงจากรอยบนั ทกึ แลว้ สง่ิ ทสี่ ำ� คญั
และมีคณุ คา่ ย่ิงกว่า คอื “รหสั ลบั ” ทแ่ี ฝงอยูใ่ นข้อมูลเหลา่ นนั้

การศกึ ษาซากดกึ ดำ� บรรพโ์ ครงกระดกู หวั กะโหลก ฟนั และสว่ นตา่ งๆ ของสงิ่ มชี วี ติ
จากอดีตของเหล่านักบรรพชีวินวิทยา และนักบรรพชีววิทยา ช่วยให้โลกสมัยใหม่เข้าใจ
วิวัฒนาการของส่ิงมีชีวิตทั้งหลายท่ีเคยด�ำรงชีวิตอยู่ในอดีต ซึ่งส่วนใหญ่สูญพันธุ์ไปแล้ว
เน่ืองจากพิบัติภัยทางธรรมชาติที่ด�ำเนินไปตามครรลองวัฏจักรของเอกภพ และบางส่วน
ก็เป็นตน้ ตระกลู ของสิง่ มีชีวิตทย่ี งั คงดำ� รงอย่ใู นปัจจบุ นั
รายละเอียดโครงสร้างต่างๆ ของซากดึกด�ำบรรพ์ช่วยให้ระบุได้อย่างชัดเจนถึง
ววิ ฒั นาการของสงิ่ มชี วี ติ จากยคุ สยู่ คุ จากสายพนั ธห์ุ นงึ่ สสู่ ายพนั ธห์ุ นงึ่ หรอื สหู่ ลากหลาย
สายพนั ธุ์ จนเราสามารถพัฒนาระบบอนุกรมวิธานของสิง่ มชี ีวติ ไดอ้ ย่างนา่ อศั จรรย์

แต่ยังมีอีกสิ่งหนึ่งท่ียังคงเป็นปริศนาส�ำหรับเหล่านักวิทยาศาสตร์ท่ีศึกษาด้าน
ส่ิงมีชีวติ อยู่เสมอมา สิ่งที่วา่ นีค้ ือ “พฤตกิ รรม” ของสิง่ มชี วี ติ ที่สูญพนั ธุไ์ ปแลว้
พฤติกรรมไม่ได้ถูกบันทึกไว้ในส่วนใดๆ ของซากดึกด�ำบรรพ์โครงสร้างสิ่งมีชีวิต
แตก่ ลับไปปรากฏอยู่ในซากดกึ ด�ำบรรพ์ “รอยชีวนิ ” ซ่ึงไม่ไดเ้ ปน็ สว่ นใดส่วนหนงึ่ ของสิ่งมี
ชวี ติ นนั้ ๆ เลย

ตัวอย่างของข้อมูลแฝงด้านพฤติกรรมของสัตว์โบราณ ท่ีไม่สามารถพบได้ใน
ซากดกึ ด�ำบรรพ์โครงกระดูก แต่สามารถถอดรหัสไดจ้ ากร่องรอยทางเดิน
พฤตกิ รรมสว่ นตัว

• ท่าทางการก้าวขา เดนิ เหยาะ หรือวงิ่ จากลกั ษณะของการเหยยี บเตม็ ฝา่ ตนี
หรือเหยยี บปลายตีน

• การเดินขาหนีบๆ หรือเดนิ ขาถา่ ง การเดินปลายตีนชเ้ี ขา้ หา หรอื ช้ีออกจากกัน
• การเดนิ ลากหาง หรอื เดนิ ยกหาง
• ทิศทาง และความเรว็ ในการเคล่ือนท่ี

34 บันทึกแหง่ บรรพกาล:

พฤตกิ รรมกลมุ่
• กลมุ่ รอยทางเดนิ บง่ บอก พฤตกิ รรมการอยอู่ าศยั และหาอาหารรว่ มกนั เปน็ ฝงู
• การอพยพของฝูง ไปในทศิ ทางเดียวกัน
• การหยดุ รวมตัวกนั เปน็ กลุ่ม เหมือนกับการหลบร้อนอยใู่ ตร้ ่มไม้
• การพบวา่ มสี ตั วต์ า่ งวยั และ/หรอื ตา่ งเพศในฝงู จากรอยตนี ทม่ี ขี นาดไมเ่ ทา่ กนั
ขนาดท่ตี า่ งกันของรอยแสดงถงึ ความตา่ งทางเพศ หรือวัย ของเจ้าของรอย

พฤติกรรมรว่ มกับสง่ิ แวดลอ้ ม
• การยำ�่ ทับซอ้ น บนรอยร้ิวคล่นื และระแหงโคลน บอกตำ� แหน่งทางภมู ศิ าสตร์
ของแหล่งทีส่ ตั วอ์ าศยั อยู่ และฤดูกาลทเี่ จ้าของรอยผ่านมา
• การปรากฏรอยหยดน้�ำฝน ซอ้ นบนรอยตีน บอกฤดูกาลทเี่ จา้ ของรอยผา่ นมา

หากขาดรอยบนั ทกึ เหลา่ น้ี การศกึ ษาเรอื่ งไดโนเสารจ์ ะไมส่ ามารถพฒั นากา้ วไกล
ได้อย่างท่ีเป็นอยู่ ท้ังน้ีเน่ืองจากความเกี่ยวข้อง สอดประสาน อย่างเหมาะเจาะของ
ข้อมูล “รอยชีวิน” กบั โครงสรา้ งร่างกายของเหล่าสัตว์ดึกดำ� บรรพท์ ถ่ี ูกเก็บรักษาไวด้ ว้ ย
กระบวนการทางธรณวี ทิ ยา และกาลเวลา

หเ รปหรขแกัห็นอ ืาโับกตษแดรรอศาถว่ยไืออาาารมด่าไเยลหสดวฉย่ลรทมตาร้ใำ�พอว้อนรรารอพรมามองอ่ชงท์ยัดะรแเโรชัน้งกอดบชอ่ีเ่พท่รอวรีมหนยวิงีราะยีติองรนาาิานิ่ ไกอยรอณงปกรวยรเอย(วยัดไใหไIด่าวหใมู่งส่ิดยcนลม้แพสถเค้ต้ัhตรปอา่กตงัทึวรกัอn่าดนน็รดร่์ดูวอั้oงยงตีออเ้ี่่อกเ์ึไsรกาๆนชถขงยงด-ศูทดิีวอ้ืรอเาภ่รำ�ทัยปจี่สองนิองบอา่ีดน็าเยัตษสอ่วยรหกกีตรตนทิัรวาท(นิดกอา่พกข์วเทยีเ่ีภขงจาอย้รกใ์์ไี่าในๆรึ้นยัากีมมชติดกบะ)เ้ภม่ลIูา่จทปพเรcรงจคโขาีาเ่ีนะ็คกัhเิกๆกยาอื้าวทห รหnดิกกไณซห�ำงลปจoลาาขลกสกนัาlกใรบอoรัรนงกฐน้ัเรภมgงา้ดจสาอห่ งyสัยทนนิตาังแินรตัรกใรวลา่ขนพวัดวอ์ทงเะุดกิง่์ขกปยึยชกี่สราณดสาว่าลริู่งคกยำยต�ัเศือะมลจบรใเวกทึกนปาีาธชดร์ ษีย่ะนหกน็รีรวกึ ราังณพาิตสอดูวมครต์าำนย�ว,ิีแืบชีกรบลฒั้ัน2ปแีวาแรอ5ตริตนเลขรล5ลดศางพ็อาค0ะจอ้ืกึกยวย์เ)บนยษเานลาู่ชรอแถมา้ืองน่ ขไสกลงึหลแไองสพมิ่ร้วม่ลลงเอถิง่้ฤอหาา่ส้วยทูกตยีเกลง่ิถหตเส่ีสกิมดา่กูกนยีนัตรภช้ีว็บน่อื รวี้า วีย้�ำมว์ติ ะ

รอยย่�ำ และทางเดนิ 35

มีมากกวา่ แตเ่ หลือน้อยกว่า

ไดโนเสารห์ น่งึ ตัวเม่ือลม้ ตายลงแล้วจะเหลือซากไว้เพียงหนึ่งซาก อาจจะสมบรู ณ์เต็มตวั
หรือเหลือเพียงบางส่วนท่ีรอดพ้นจากการถูกกัดกินหรือถูกท�ำลายโดยธรรมชาติ แต่ไดโนเสาร์
ตัวเดยี วกันได้ทิง้ รอยตีน และรอยทางเดินเอาไว้นับไมถ่ ้วนบนแผ่นดนิ ท่มี นั ผ่านไปตลอดชั่วอายุขยั
เมื่อเวลาผ่านมาถึงยุคปัจจุบัน ท่ัวโลกกลับมีการค้นพบแหล่งซากดึกด�ำบรรพ์ไดโนเสาร์
มากกว่าแหล่งซากดึกด�ำบรรพ์รอยตีนไดโนเสาร์ ท�ำไมสิ่งท่ีมีมากกว่า จึงเหลืออยู่น้อยกว่า ??

การประทบั รอยตนี เปน็ รอยพมิ พบ์ นตะกอนชนั้ ลา่ ง และเกดิ รปู พมิ พร์ อยตนี ใตช้ น้ั ตะกอนทป่ี ดิ ทบั
(คดั ลอกจาก กรมทรพั ยากรธรณ,ี 2553)

ซากดกึ ดำ� บรรพม์ กี ารเกดิ ทตี่ า่ งจากซากรอ่ งรอยดกึ ดำ� บรรพ์ ในชว่ งแรกของการสะสมตวั
ซากดกึ ดำ� บรรพต์ อ้ งการถกู ปดิ ทบั อยา่ งรวดเรว็ เพอ่ื ปอ้ งกนั การถกู ยอ่ ยสลาย ขณะทรี่ อ่ งรอยทางเดนิ
ตอ้ งอาศยั เวลาใหร้ อยพมิ พแ์ หง้ โดยการระเหยนำ้� ของชน้ั ตะกอนทถี่ กู ยำ�่ ผา่ น เมอ่ื แขง็ ตวั คงรปู แลว้ จงึ
คอ่ ยถกู ตะกอนใหม่มาปิดทบั อยา่ งชา้ ๆ น่มุ นวลเพ่ือไมใ่ หร้ อยพิมพ์ถกู แรงน�ำ้ ท�ำลายไปเสยี ก่อน
เงอ่ื นไขสำ� คญั ทจ่ี ำ� เปน็ สำ� หรบั การรกั ษารอยประทบั ของสงิ่ มชี วี ติ ดกึ ดำ� บรรพบ์ นหนิ ทราย
1. ร่องรอยถูกประทบั บนตะกอนที่เปียกช้นื และไมถ่ กู ท�ำลายโดยธรรมชาตหิ รอื สตั ว์
2. สภาวะอากาศแห้งในเวลาตอ่ มา ท�ำให้รอ่ งรอยประทับแขง็ ตวั คงรูป
3. ในภายหลัง มกี ารสะสมของตะกอนอย่างชา้ ๆ ปิดทบั ร่องรอยท่ีแข็งตวั แลว้
โดยไมท่ �ำลายร่องรอยเดมิ
4. มกี ารปดิ ทบั ด้วยชน้ั ตะกอน ต่อเนื่องอีกมากมาย
5. ตะกอนท้งั หมดแข็งตวั เป็นหนิ ชัน้ ตามกาลเวลา ดว้ ยแรงกดทับมหาศาล
หากขาดเงอื่ นไขขอ้ หนง่ึ ขอ้ ใด การเกบ็ รกั ษารอ่ งรอยประทบั ดกึ ดำ� บรรพด์ ว้ ยกระบวนการ
ทางธรณวี ทิ ยากจ็ ะไมส่ ามารถเกดิ ขนึ้ ไดส้ ำ� เรจ็ หรอื หากสำ� เรจ็ กจ็ ะดไู มอ่ อกวา่ เปน็ รอยอะไร

36 บนั ทกึ แห่งบรรพกาล:

ตอนแรก..กน็ ึกว่าไม่มอี ะไร


ในชว่ งแรกของการคน้ ซากดกึ ดำ� บรรพร์ อยตนี ไดโนเสารเ์ มอื่ เกอื บ 200 ปี
กอ่ นนนั้ ผคู้ น้ พบและศกึ ษาในยคุ นนั้ ยงั เขา้ ใจวา่ เปน็ รอยตนี นกสมยั ใหม่ หลายสบิ ปี
ตอ่ มาจงึ ไดร้ วู้ า่ เปน็ รอยตนี ไดโนเสารแ์ ตก่ ย็ งั ไดร้ บั ความสนใจนอ้ ยกวา่ ซากกระดกู
เพราะนกึ วา่ ไมม่ อี ะไร จนกระทงั่ ภายหลงั เมอ่ื เกดิ ขอ้ สงสยั ในความเปน็ อยู่ พฤตกิ รรม
รวมถงึ ความสมั พนั ธก์ บั สงิ่ มชี วี ติ อน่ื ๆ ในยคุ ดกึ ดำ� บรรพ์ ซากดกึ ดำ� บรรพร์ อยตนี
ไดโนเสารจ์ งึ ไดร้ บั การสนใจศกึ ษาเพอื่ ถอดรหสั ลบั ทแี่ ฝงเรน้ อยมู่ ากมาย
ขอ้ มลู จากซากดกึ ดำ� บรรพก์ ระดกู และรอยทางเดนิ ไดโนเสารไ์ ดถ้ กู หลอม
รวมกนั เป็นแหลง่ ขอ้ มลู มหัศจรรย์ ท่ีเผยความลบั แห่งบรรพกาลสโู่ ลกปัจจบุ นั
ไดอ้ ยา่ งดี ซงึ่ หากจะเปรยี บกบั เพลงแลว้ กค็ งเหมอื นกบั เนอื้ รอ้ ง และทำ� นอง
ซากโครงสร้างสว่ นทแ่ี ขง็ เปรียบได้กบั “เนอ้ื ร้อง” ทเ่ี ราสามารถอ่านได้
เขา้ ใจชดั เจนทกุ บรรทดั สว่ นซากรอยประทบั เปรยี บไดก้ บั “ทำ� นอง” ทท่ี ำ� ใหเ้ รา
เขา้ ใจลึกซ้ึงถึงลลี า ท่าที และการด�ำเนนิ ไปของเนือ้ ร้องหรอื เจ้าของโครงสร้าง
เมอื่ นำ� เนอื้ รอ้ งมารวมกบั ทำ� นองแลว้ สง่ิ ทไ่ี ดค้ อื บทเพลงแหง่ บรรพกาล
ทสี่ ามารถขับกลอ่ มวงการ บรรพชวี นิ และโลกสมัยใหม่ ให้เกดิ จินตนาการ และ
หวนกลับคืนสู่มหายคุ มโี ซโซอกิ ได้อย่างชัดเจน แจ่มใส
ทกุ ๆ หนงึ่ เนอื้ รอ้ ง ไดส้ รรคส์ รา้ งประทบั ทว่ งทำ� นองเอาไวม้ ากมาย แตน่ า่
เสยี ดายท่ี “ทำ� นอง” ซงึ่ มอี ยมู่ ากกวา่ “เนอ้ื รอ้ ง” กลบั ถกู บนั ทกึ ไวเ้ พยี งนอ้ ยนดิ
และเมื่อถูกค้นพบแล้วตน้ ฉบบั ก็มกั ถูกท�ำลายลงอยา่ งน่าเสียดาย หากไม่ได้รบั
การอนรุ กั ษด์ แู ลเอาใจใสจ่ ากทกุ คน แลว้ ผคู้ นรนุ่ ตอ่ ๆ ไปคงจะไดพ้ บเหน็ แตเ่ พยี ง
ท�ำนอง “ฉบบั สำ� เนา”

กรมทรพั ยากรธรณี 2561

รอยย�ำ่  และทางเดิน 37

เอกสารอา้ งองิ

กรมทรัพยากรธรณี, 2550, ความหลากหลายทางชีวภาพของส่ิงมีชีวิตดึกด�ำบรรพ์ในประเทศไทย
พิมพค์ รั้งที่ 1 กรุงเทพฯ: อมรนิ ทร์พรนิ้ ติ้งแอนด์พับลิชชง่ิ
กรมทรัพยากรธรณี, 2550, ไดโนเสาร์ของไทย พิมพ์คร้ังท่ี 3 กรุงเทพฯ: กรมทรัพยากรธรณี
กรมทรัพยากรธรณี, 2553, ท่องโลกธรณี อุทยานแห่งชาติเขาใหญ่ ความมหัศจรรย์แห่งมรดกโลก
พิมพ์ครง้ั ที่ 1 กรงุ เทพฯ: อมรนิ ทรพ์ รน้ิ ติง้ แอนด์พบั ลิชชง่ิ
กรมทรัพยากรธรณี, 2555, รายงานการตรวจสอบแหล่งซากดึกด�ำบรรพ์และอนุรักษ์รอยเท้า
ไดโนเสารท์ บี่ ้านโนนตูม ต�ำบลวงั ชมภู อ�ำเภอหนองบวั แดง จงั หวัดชัยภมู ิ (ไม่ได้เผยแพร่)
ธดิ า ลอิ ารด์ , 2559 , รอยตนี และแนวทางเดนิ ของสตั วม์ กี ระดกู สนั หลงั ในประเทศไทย, รายงานวชิ าการ
ฉบับท่ี พสธ. 1/2559, พิพธิ ภณั ฑ์สริ นิ ธร (สทข.2) กรมทรพั ยากรธรณี.
ธดิ า ลอิ ารด์ และ กฤษณะ สดุ ชา, 2559, การศกึ ษารอยตนี สตั วม์ กี ระดกู สนั หลงั และสภาพแวดลอ้ ม
บรรพกาล ในแหลง่ บา้ นโนนตมู ตำ� บลวงั ชมพู อำ� เภอหนองบวั แดง จงั หวดั ชยั ภมู ิ ประเทศไทย
จดหมายขา่ วกา้ วหนา้ งานวจิ ยั ดา้ นทรพั ยากรธรณฉี บบั ที่ 2 ปที ี่ 1-2559, กรมทรพั ยากรธรณ.ี
Kozu, S., 2017, Dinosaur Footprints from the Khorat Group, Northeastern Thailand, Ph.D.Thesis,
the Graduate School of Life and Environmental Sciences, the University of Tsukuba
Kozu, S., Sardsud, A., Saesaengseerung, D., Pothichaiya, C., Agematsu, S., Sashida, K.,
2017, Dinosaur footprint assemblage from the Lower Cretaceous Khok Kruat
Formation, Khorat Group, northeastern Thailand: Geoscience Frontiers (2017),
http://dx.doi.org/10.1016/j.gsf.2017.02.003 (accessed, 14 February 2018)
Le Loeuff, J., Khansubha, S., Buffetaut, E., Suteethorn, V., Tong, H., and Souillat, C. 2002.
Dinosaur footprints from the Phra Wihan Formation (Early Cretaceous of
Thailand). Comptes Rendus Palevol 1: 287–292.
Le Loeuff, Jean & Saenyamoon, T & Souillat, C & Suteethorn, Varavudh & Buffetaut, Eric.
(2009). Mesozoic vertebrate footprints of Thailand and Laos. Geological Society,
London, Special Publications. 315. 245-254. 10.1144/SP315.17.
https://www.britannica.com/animal/crurotarsan-fossil-reptile (accessed 24 January 2018)
https://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B9%84%E0%B8%94%E0%B9%82%E0%B8%99%E0%B9
%80%E0%B8%AA%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B9%8C (accessed, 1 March 2018)
https://www.atlasobscura.com/articles/edward-hitchcock-dinosaur-fossils-footprints-
birds-amherst (accessed, 1 March 2018)

38 บนั ทึกแห่งบรรพกาล:



บันทึก.รอยย�่ำ.ทางเดิน.ดึกดำ� บรรพ์

พนั ธกจิ ของกรมทรัพยากรธรณี:สงวน อนุรักษ์ ฟื้นฟู
และบรหิ ารจดั การด้านธรณวี ทิ ยา ทรัพยากรธรณี ซากดกึ ดำ� บรรพ์

ธรณีวทิ ยาสงิ่ แวดล้อม และธรณพี ิบตั ิภัย


Click to View FlipBook Version