The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

แหล่งเรียนรู้ “ฟอสซิลท่ากระดาน กาญจนบุรี” เกิดขึ้นจากการค้นพบฟอสซิล จากความร่วมมือระหว่าง ชุมชนท้องถิ่น กับกรมทรัพยากรธรณี

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by kkpracha, 2019-12-06 04:50:48

คู่มือผู้เล่าเรื่องธรณี ฟอสซิล 450 ล้านปี ท่ากระดาน กาญจนบุรี

แหล่งเรียนรู้ “ฟอสซิลท่ากระดาน กาญจนบุรี” เกิดขึ้นจากการค้นพบฟอสซิล จากความร่วมมือระหว่าง ชุมชนท้องถิ่น กับกรมทรัพยากรธรณี

Keywords: ท่ากระดาน ฟอสซิล ธรณีวิทยา,ฟอสซิล,กาญจนบุรี,ธรณีวิทยา

คู่มือผู้เล่าเรื่องธรณี

ฟอสซิล 450 ล้านปี ท่ากระดาน
กาญจนบุรี

กรมทรพั ยากรธรณี
กระทรวงทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดล้อม

คมู่ อื ผูเ้ ล่าเร่อื งธรณี
ฟอสซลิ 450 ล้านปี ท่ากระดาน กาญจนบรุ ี

อธบิ ดีกรมทรัพยากรธรณี นายปราณตี  ร้อยบาง
รองอธิบดกี รมทรัพยากรธรณี นายทศพร นุชอนงค์
รองอธบิ ดกี รมทรัพยากรธรณี นายวรศาสน์ อภยั พงษ์
ผู้อำ�นวยการส�ำ นกั คมุ้ ครองซากดกึ ดำ�บรรพ ์
เขยี นเรือ่ ง นายวินตั พฆุ เหยี ง
นายวนิ ยั เยาวน้อยโยธนิ

นายประชา คตุ ติกลุ

ออกแบบรูปเลม่ โดย ศนู ยส์ ารสนเทศ กรมทรัพยากรธรณี
จดั พิมพ์โดย สำ�นกั คุ้มครองซากดกึ ดำ�บรรพ์ กรมทรพั ยากรธรณี
75/10 ถนนพระรามท่ี 6 เขตราชเทวี กรงุ เทพมหานคร 10400
ขอ้ มลู ทางบรรณานกุ รม
กรมทรัพยากรธรณี, 2557,
คมู่ อื ผู้เลา่ เรือ่ งธรณี ฟอสซิล 450 ล้านปี ทา่ กระดาน กาญจนบุรี
19 หน้า

เอกสารฉบบั นเี้ ป็นลิขสิทธข์ิ อง กรมทรพั ยากรธรณี
กระทรวงทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสิ่งแวดลอ้ ม

อ. สงั ขละบุรี
อา งเกบ็ น้ำ
เขือ่ นวชิราลงกรณ อา งเก็บน้ำ

เขือ่ นศรนี ครินทร
อ. ศรีสวสั ดื์

อ. เมอื งกาญจนบุรี

เร่อื งราวจากภาพหน้าปก
เม่ือ 450 ล้านปีที่ผ่านมา บ้านท่ากระดาน จังหวัดกาญจนบุรี
เป็นทะเลต้ืน อากาศอบอุ่น  เวลาใกล้เที่ยง นำ้�ทะเลใส
ตะกอนโคลนคารบ์ อเนต ปกคลมุ ดว้ ยสาหรา่ ย ท�ำ ใหพ้ น้ื ทะเลเหมอื น
ปูด้วยพรมสีเขียว  สาหร่าย มีความสุขกับแสงแดด ในขณะที่
นอติลอยด์ เจ้าทะเล กำ�ลังพักผ่อน และเคล่ือนท่ีไปข้างหน้าอย่าง
ช้าๆ มันเหนื่อยจากการล่าเหย่ือในคืนท่ีผ่านมา ไครนอยด์ และ
เทนทาคูไลต์ น�ำ มาประกอบเพอื่ ไม่ให ้ นอตลิ อยด์ รสู้ ึกโดดเดยี่ วจน
เกินไป

สารบญั

เกริ่นนำ�............................................................................................ 1
หินปนู หนิ ธรรมดา ท่ไี ม่ธรรมดา..........................................................2
มหายคุ พาลโี อโซอกิ ...........................................................................3
ธรณวี ทิ ยา บรเิ วณบ้านทา่ กระดาน และพนื้ ท่ีใกล้เคียง ........................3
สโตรมาโตไลต.์ ................................................................................... 4
แบรคิโอพอด..................................................................................... 6
ตารางธรณกี าลมหายุคพาลีโอโซอกิ ...................................................8
นอติลอยด.์ ......................................................................................10
ไครนอยด.์ .......................................................................................14
เทนทาคูไลต.์ ...................................................................................16
ฟิวซลู ินดิ .........................................................................................18

iv

เกรนิ่ น�ำ

ค�ำ วา่ “ฟอสซลิ ” ปจั จบุ นั ไมไ่ ดเ้ ปน็ หวั เรอื่ งทจ่ี �ำ กดั เฉพาะในแวดวงธรณวี ทิ ยา อยา่ งเดยี วเทา่ นนั้ ในระยะหลงั ๆ
บ่อยครั้งทกี่ ารคน้ พบฟอสซลิ แหล่งใหม ่ เกดิ ขึน้ จากชาวบ้าน ผู้น�ำ ท้องถิน่ ครู และนกั เรียน ทวั่ ประเทศ 
ฟอสซลิ ไดร้ ับความนยิ ม และความสนใจมากขน้ึ ในวงกว้าง สำ�หรบั ผทู้ ี่เคยไปแหลง่ ฟอสซลิ ตามธรรมชาติมาแล้ว
พบวา่  ฟอสซลิ สามารถดงึ ดดู ความสนใจเปน็ อยา่ งมาก กลา่ วกนั วา่ เมอ่ื ผใู้ ดเขา้ ไปยงั แหลง่ และเรมิ่ คน้ พบฟอสซลิ
กจ็ ะถูกตรงึ ดว้ ยมนต์เสน่หใ์ นการค้นหา ดูเหมอื นวา่ ผูน้ ั้น จะลืมวนั เวลา และรวมถงึ ลมื เรอ่ื งราวในปัจจุบันไปเลย

แหล่งเรียนรู้ “ฟอสซิลท่ากระดาน กาญจนบุรี” เกิดขึ้นจากการค้นพบฟอสซิล จากความร่วมมือระหว่าง
ชุมชนท้องถิ่น กับกรมทรัพยากรธรณี เริ่มต้นในปี พ.ศ. 2553 ด้วยวิสัยทัศน์ในด้านการพัฒนาทรัพยากรธรณี
อย่างยง่ั ยืน ในการสรา้ งผลิตภณั ฑ์การทอ่ งเทีย่ วชนิดใหม่

ฟอสซิลท่ากระดาน กาญจนบุรี จัดเป็นแหล่งท่องเท่ียวทางธรณีวิทยาท่ีมีฟอสซิลเป็นเรื่องเด่น แต่การท่ีจะ
พัฒนาเป็นผลิตภัณฑ์การท่องเท่ียว จำ�เป็นต้องมีหน่วยงานระดับท้องถิ่น และระดับจังหวัด เข้ามามีส่วนร่วม
ในการ ดำ�เนนิ การ บรหิ าร จัดการ และรวมถึงจัดสรรงบประมาณ สว่ นสำ�คญั ของท้องถ่ินท่จี ะขาดไม่ได้คือ การ
มผี ทู้ ีส่ ามารถถ่ายทอด และเล่าเร่ืองราวของแหลง่ เรียนรูแ้ ห่งนี้

คมู่ อื ผ้เู ลา่ เรื่องธรณี “ฟอสซิล 450 ล้านปี ท่ากระดาน กาญจนบรุ ”ี จัดทำ�ขน้ึ เพือ่ เป็นคู่มือส�ำ หรับผ้เู ลา่ เรอื่ ง
เชน่ หนว่ ยงานทอ้ งถน่ิ ครู นักเรยี น หรอื ยวุ มคั คุเทศน์ เปน็ ต้น เพอื่ เปน็ ข้อมูลพืน้ ฐานประกอบการเลา่ เรือ่ งราว
ทางธรณวี ิทยา แกผ่ ู้มาเยือน

เนื้อเรื่องในเล่มแบ่งได้เป็น 2 ส่วน คือ ส่วนแรกเป็นการปูพ้ืนฐานทางธรณีวิทยาเกี่ยวกับหินปูน ในด้าน
การจำ�แนก และการกำ�เนิด แนะนำ�การแบ่งเวลาทางธรณีวิทยา ตามระบบสากล โดยจะเน้น 6 ยุคในมหายุค
พาลีโอโซอิก ตามด้วยความเข้าใจธรณีวิทยา ในภาพกว้างของบริเวณตำ�บลท่ากระดาน และพื้นท่ีใกล้เคียง 
สำ�หรับส่วนท่ีสอง เป็นเรื่องราวเก่ียวกับฟอสซิลสำ�คัญที่ผู้เล่าเรื่อง ควรทำ�ความเข้าใจ (ไม่ใช่ท่องจำ�) เพ่ือนำ�ไป
ต่อยอด และประยุกตใ์ ชส้ ำ�หรบั การเลา่ เรื่องราวที่เคยเกดิ ข้นึ มาเม่อื ประมาณ 450 ลา้ นปที ่ีผ่านมาแล้ว ท่ีตำ�บล
ท่ากระดาน กาญจนบุรี

ทา้ ยสดุ แตไ่ มส่ ดุ ทา้ ย คณะผจู้ ดั ท�ำ ขอขอบพระคณุ นกั ธรณวี ทิ ยา รนุ่ อาวโุ ส รนุ่ พ่ี รนุ่ นอ้ ง และเพอื่ นนกั ธรณวี ทิ ยา
จากกรมทรัพยากรธรณี ท่ีให้การสนับสนุนเงินงบประมาณ และอนุเคราะห์ด้านต่างๆ ในการจัดทำ�คู่มือผู้เล่า
เรอ่ื งธรณี “ฟอสซิล 450 ล้านปี ทา่ กระดาน กาญจนบรุ ”ี จนสำ�เร็จลุล่วงได้ดี หวังวา่ ผเู้ ลา่ เรอื่ ง และผ้อู ่านจะได้
หลกั การ ความร้พู ้ืนฐาน และเกร็ดความรทู้ น่ี ่าสนใจ จะน�ำ ไปต่อยอด รวมถึงมีความภูมใิ จ ในท้องถน่ิ ของตัวเอง
ทมี่ ที รพั ยากรธรณวี ทิ ยา ดา้ นฟอสซลิ ทสี่ �ำ คญั และสามารถถา่ ยทอดเรอ่ื งราว ทเ่ี คยเกดิ ขน้ึ ในบรเิ วณแถวบา้ นของ
ตัวเอง เม่อื ไม่นานเท่าไร แค่ 450 ลา้ นปีทผ่ี ่านมาเทา่ นนั้ เอง

1

คมู่ อื ผเู้ ล่าเรื่องธรณี ฟอสซลิ 450 ล้านปี ทา่ กระดาน กาญจนบุรี

หินปูนหินธรรมดา ทไ่ี ม่ธรรมดา

คนจังหวัดกาญจนบุรี เมื่อเดินออกจากบ้านสามารถพบเห็น ” หินปูน ”  ถือว่าเป็นเร่ืองธรรมดา
บางคนตั้งบ้านเรือน และทำ�การเกษตรอยู่บนหินปูนด้วยซำ้�  ลักษณะเขาหินปูน จะมียอดแหลม
มแี นวสนั เขาไมเ่ รยี บ มกั มหี นา้ ผาสงู ชนั อาจเหน็ โพรง และปากถ�้ำ เขาหนิ ปนู สว่ นมากมสี ใี นโทนสเี ทาจาง
ถงึ เทาเข้ม มักมคี ราบสนมิ สีน้�ำ ตาล น�ำ้ ตาลเหลอื ง – ขาว และพ้นื ท่ีดนิ ในที่ราบที่มีสนี ้ำ�ตาลแดง ทั้งหมด
เป็นเพียงบางส่วนของลกั ษณะ พืน้ ที่ที่ประกอบดว้ ย “หนิ ปนู ”

“หนิ ปูน” ส�ำ หรับชาวกาญจนบรุ ี อาจเป็นภูเขาหนิ ปูน หรือภูเขาหนิ โดโลไมต์ กไ็ ด้ และมากไปกว่านนั้
อาจมฟี อสซลิ ทสี่ ามารถมองเหน็ และฟอสซลิ ขนาดเลก็ มากทม่ี องไมเ่ หน็ ดว้ ยตา ดงั นน้ั เพอื่ ความชดั เจน
และความเขา้ ใจมากขึ้น จึงจะกลา่ วถงึ ความหมายของหินปนู หนิ โดโลไมต์ และการจำ�แนกหินปนู ดงั นี้

หินปูน เป็นหินท่ีประกอบด้วยแร่แคลไซต์ เป็นหลัก ในขณะที่หินโดไลไมต์ เป็นหินท่ีประกอบด้วย
แรโ่ ดไลไมต์ เปน็ หลกั   ในการแยกหนิ ปนู ออกจากหนิ โดโลไมต์ นอกจากอาจใชเ้ นอ้ื หนิ ในการจ�ำ แนกแลว้
ยังใช้กรดเกลือเจือจางในการทดสอบว่าหินตัวอย่างนั้นมีแร่แคลไซต์ หรือแร่โดโลไมต์หรือไม่ เน่ืองจาก
กรดเกลอื ท�ำ ปฏิกิริยาได้เร็วกบั แรแ่ คลไซต์ ขณะท่ีทำ�ปฏกิ ิริยาไดช้ า้ กับแร่โดโลไมต์

หินปูน จำ�แนกตามการเกดิ ได้เป็น 3 ชนิด คอื 1) หนิ ปนู ท่เี กิดจากสะสมตวั ของตะกอนคาร์บอเนต 
จากทง้ั ภายนอก และภายในแอง่ สะสมตวั หนิ ปนู แบบนจ้ี ะแสดงเนอื้ หนิ แบบเนอ้ื เศษหนิ และหนิ ปนู ทพี่ บ
ในประเทศสว่ นมากแสดงลกั ษณะเนอ้ื หนิ ดงั กลา่ ว 2) หนิ ปนู ทเ่ี กดิ จากกจิ กรรมของสง่ิ มชี วี ติ เชน่ ปะการงั
ทสี่ ามารถสรา้ งโครงสรา้ งแขง็ ขนึ้ มาเปน็ หนิ ปนู 3) หนิ ปนู ทตี่ กผลกึ จากปฏกิ ริ ยิ าเคมี เกดิ จากกระบวนการ
ตกผลกึ ของแรแ่ คลเซยี มคารบ์ อเนต จากน�้ำ พรุ อ้ น น�้ำ ผวิ ดนิ และน�ำ้ ใตด้ นิ ทไ่ี หลผา่ นพน้ื ทท่ี ปี่ ระกอบดว้ ย
หินปนู เกิดเปน็ ทูฟา ทราเวอรท์ นี และหนิ งอก-หินยอ้ ย เป็นต้น

หนิ ปนู เนอ้ื เศษหิน ประกอบ หินปนู ที่เกดิ จากปะการัง หินปนู ทีเ่ กดิ จากการตกผลกึ
ด้วยตวั ฟิวซลู นิ ิด ทางเคมี

2

พื้นฐานธรณวี ิทยา 

มหายุคพาลีโอโซอิก

นักธรณีวทิ ยา แบง่ เวลาทางธรณีวทิ ยา ที่ยาวนานถงึ 4.6 พันลา้ นปี (อายุโลก) ตามหลักฐานฟอสซลิ
ท่ีพบในช้ันหิน  มหายุคพาลีโอโซอิก หมายถึงช่วงเวลาที่สัตว์มีรูปร่างแบบโบราณ เป็นช่วงเวลา
ตั้งแต่ 541 - 252 ล้านปีท่ีผ่านมา* สามารถแบ่งย่อยตามลักษณะสำ�คัญของสิ่งมีชีวิต ออกเป็น 6 ยุค
โดยแตล่ ะยคุ มลี กั ษณะเดน่ ดงั ตอ่ ไปน้ี (ดตู ารางธรณกี าล ของมหายคุ พาลโี อโซอกิ ในหนา้ 8 - 9 ประกอบ)

ยุคในมหายุคพาลีโอโซอิก เพอรเมยี น 252 ลา นปท่ีผานมา
สนิ้ สุดยุคเพอรเ มยี น
คารบอนิเฟอรสั 299 ลานปทีผ่ านมา สตั วเ ล้ือยคลานครองแผน ดิน เกดิ มหาทวปี พันเจีย ส้นิ สุดยุคดว ยการสญู พันธคุ รัง้ ใหญ
ชอื่ ยุคไดจ าก แหลง คารบอน หรอื หนิ ยคุ นม้ี ีแหลง ถา นหนิ ขนาดใหญข องโลก เกดิ
จากการมีปาไมข นาดใหญบนแผนดนิ ทำใหระดบั ออกซิเจนในบรรยากาศ ผลคือ
ดีโวเนยี น Mเมeกgะaนnูรeาura เกดิ แมลงปอยักษ และตะขาบยกั ษ ในปลายยคุ เกิดสตั วเล้อื ยคลาน
“ยคุ ของปลา” เกิดปลาหลากหลาย และปลายยุคววิ ัฒนาการไปอาศัยบนแผน ดนิ
359 ลานปท่ผี านมา

ไซลูเรีย น 419 ลานปที่ผานมา อากาศอบอุน ตนไม แมงมมุ แมงปอ ง เกดิ ขน้ึ คร้ังแรกบนแผนดนิ

443 ลานปที่ผานมา

ออรโดวเิ ชียน นอติลอยด เปนเจา ทะเล ปลายยคุ อากาศหนาวเย็น เกดิ การสูญพันธคุ ร้งั ใหญ

แคมเบรียน 485 ลานปท่ผี า นมา

“การระเบิด ในยคุ แคมเบรยี น” พบฟอสซิลหลายชนดิ ไทรโลไบตเ ดน

541 ลา นปท ผี่ านมา

ฟอสซิล ในมหายคุ พาลโี อโซอิก ใหข อ มลู แกเ ราวา : สิง่ มชี ีวิตอาศยั ในนำ้ และววิ ฒั นาการอยบู นบก และพวกเปน ผผู ลิต และเหยือ่ เกดิ กอ นผูลา

*ตัวเลขแบ่งเวลาทางธรณีวิทยา มีการปรับปรุงตามหลักฐานใหม่ตลอดเวลา สำ�หรับตัวเลขเวลา
ทางธรณวี ิทยา ทใี่ ชน้ ้ี นำ�มาจาก ISC, 2014/02 www.stratigraphy.org

ธรณีวิทยา บรเิ วณท่ากระดาน และพื้นทใี่ กล้เคียง

หากอยใู่ นอากาศ และมองลงมายงั บรเิ วณบา้ นทา่ กระดาน และพนื้ ทใ่ี กลเ้ คยี ง จะพบวา่ ลกั ษณะภเู ขา
และร่องเขา จะต่อเป็นแนวเส้นตรง วางตัวในทิศทาง ตะวันตกเฉียงเหนือ - ตะวันออกเฉียงใต้ ลักษณะ
ดงั กล่าวเกดิ ขน้ึ กบั รูปร่างการแผ่กระจายของกลมุ่ หนิ ตา่ งๆ บริเวณบ้านทา่ กระดาน และพ้ืนทใ่ี กล้เคียง
เช่นเดียวกัน (ดูแผนทีธ่ รณีวิทยา จากปกหลงั ประกอบ) แนวการวางตัวเป็นเส้นตรงดังกล่าวเปน็ ผลจาก
กลมุ่ รอยเล่อื นท่ีเกิดตัดกลมุ่ หนิ

กลุม่ หนิ บริเวณทา่ กระดาน และพื้นที่ใกล้คยี ง ประกอบดว้ ยหนิ หลกั ทั้ง 3 ชนดิ คอื หนิ แกรนิต ที่
เปน็ หนิ อคั น ี หนิ ควอรต์ ไซต์ หินแคลกซ์ ิลเิ กต เป็นตวั อยา่ งของหนิ แปร และหนิ ปนู หนิ ดนิ ดาน เปน็
ตวั อย่างของหินตะกอน

ด้วยหินตะกอน โดยเฉพาะหินปูน พบเกิดแผ่กระจายตัวมากสุด หินปูนที่ติดกับแม่นำ้�แควใหญ่
แบ่งได้เป็น หินปูนบริเวณด้านตะวันออก และหินปูนบริเวณด้านตะวันตกของแม่นำ้�แควใหญ่ และ
หินปูนสองกลุ่ม ประกอบด้วยฟอสซิลที่บ่งบอกอายุต่างกัน กล่าวคือ กลุ่มหินปูนด้านตะวันออก
ประกอบด้วยฟอสซิลนอติลอยด์ อายุหินจึงจัดอยู่ใน ยุคออร์โดวิเชียน ขณะที่กลุ่มหินปูนด้านตะวันตก
ประกอบด้วยฟิวซูลนิ ิด อายุหนิ จงึ จัดอยู่ใน ยุคคาร์บอนเิ ฟอรัส – เพอรเ์ มยี น

3

คู่มอื ผู้เล่าเรอื่ งธรณี ฟอสซลิ 450 ล้านปี ท่ากระดาน กาญจนบุรี

สโตรมาโตไลต์ โครงสรา้ งหินตะกอนไซเกยดิ าจโนากแสบิ่งคมทีชเี ีวรติีย

สโตรมาโตไลต์ มาจากค�ำ วา่ “สโตรมา” ในภาษากรกี  หมายถงึ “หนิ ทแี่ สดงลกั ษณะ
เปน็ ช้นั ” หรอื โครงสรา้ งท่ีเป็นชัน้ ซอ้ นกนั พบอยู่ในหินปูนท่มี หี ินอารจ์ ไิ ลต์ (หิน
เนอื้ ดนิ ) แทรกสลบั อยเู่ ปน็ ชน้ั บางๆ เกดิ จากการด�ำ รงชวี ติ ของสงิ่ มชี วี ติ ขนาดเลก็ รว่ ม
กบั กระบวนการตกตะกอน  สาหรา่ ยทเี่ ตบิ โตบนตะกอนคารบ์ อเนต จะสรา้ งเมอื กดกั
ตะกอนดนิ ตอ่ จากนนั้ จะเกดิ การปดิ ทบั ดว้ ยตะกอนคารบ์ อเนต และมสี าหรา่ ยเกดิ ขน้ึ
อกี ครงั้ กระบวนการดงั กลา่ วเกดิ ซ�้ำ ท�ำ ใหไ้ ดล้ กั ษณะชน้ั บางๆ ของตะกอนคารบ์ อเนต
กบั ตะกอนโคลน การเกิดสโตรมาโตไลตม์ กี ารเกดิ เฉพาะ และพบไมก่ แ่ี หง่ ในปัจจุบนั

การเกดิ สโตรมาโตไลต์

สโตรมาโตไลต์ เกิดจากสิ่งมีชีวิตขนาดเล็ก ไฟลัมไซยาโนแบคทีเรีย ร่วม
กับกระบวนการการตกตะกอน  ไซยาโนแบคทีเรีย หรือสาหร่ายสีเขียวแกม
นำ้�เงิน เช่ือว่าเป็นส่ิงมีชีวิตชนิดแรกของโลก เกิดขึ้นเม่ือประมาณ 3,500 ล้านปี
ทผ่ี า่ นมา มนั เปน็ สงิ่ มชี วี ติ เซลลเ์ ดยี วอาศยั อยบู่ รเิ วณพน้ื น�้ำ โดยอยรู่ วมกนั เปน็ กลมุ่
ขยายพันธ์ุโดยการแบ่งตัว และส่วนมาก ใช้นำ้� แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ และ
แสงอาทติ ย์ ในการสรา้ งอาหาร ดว้ ยเหตนุ มี้ นั จงึ เปน็ สง่ิ มชี วี ติ ทสี่ �ำ คญั ในการสรา้ ง
แกส๊ ออกซเิ จนใหก้ บั โลกในชว่ งแรก การเกดิ สโตรมาโตไลต์ มปี จั จยั 3 ประการดงั น้ี
1. ความลึกของน้�ำ 3. การเจริญเติบโต
การเกิดของสโตรมาโตไลต์ ส่วนมากเกิดใน กลุ่มของสาหร่ายท่ี
น�้ำ ตน้ื พบมากในชว่ งระดบั น�ำ้ ทะเลลดลงต�่ำ สดุ ซงึ่ เติบโตบนช้ันตะกอนคาร์บอเนตด้วยการ สร้าง
เชอ่ื มโยงไปกบั แสงทส่ี อ่ งผา่ นลงไปในน�้ำ ทะเล จาก เมือกปกคลุมพ้ืนทะเล  เมือกดังกล่าวดักตะกอน
ขอ้ มลู แหลง่ สโตรมาโตไลต์ ทพ่ี บในปจั จบุ นั ความลกึ ขนาดโคลนท่ีถูกพามาโดยกระแสนำ้� เชื่อมติดกัน
0 – 4 เมตร ท่ี อา่ วชาร์ก ประเทศออสเตรเลยี และ อย่างง่ายๆ จนเกิดเป็นชั้น เกิดการตกตะกอน
ความลึก 0 – 23 เมตร ท่ีเกาะสตันดา ประเทศ ของแคลเซียมคาร์บอเนตชั้นใหม่ปิดทับช้ันเมือก
อินโดนีเซีย อย่างไรก็ตามนักวิทยาศาสตร์ พบ ดังกล่าว และต่อมากลุ่มสาหร่ายกลุ่มใหม่เจริญ
เมือกของแบคทีเรีย ในพ้ืนทะเลที่มีความลึก เติบโตบนช้ันตะกอน สลับชั้นตะกอนแคลเซียม
มากกวา่ 200 เมตร และยงั พบหลกั ฐานวา่ สาหรา่ ย คารบ์ อเนต แบบตอ่ เนอ่ื ง พอกพนู เปน็ ชน้ั ตอ่ กนั ไป
สเี ขยี วแกมน�้ำ เงนิ ใชก้ ระบวนการชวี เคมใี นการสรา้ ง
พลังงาน ทำ�ให้สามารถเกิดได้ในระดบั ความลึกนำ้�
ทะเล ถงึ 1,000 เมตร ซง่ึ เปน็ บรเิ วณทะเลลกึ ทแ่ี สง
ไมส่ ามารถสอ่ งถึง
2. ความเคม็ ของน�ำ้
สโตรมาโตไลต์ เกิดข้ึนได้ทง้ั ในสภาพน้�ำ จดื น�้ำ
กรอ่ ย และน�ำ้ เคม็

4

สโตรมาโตไลต ์

รูรปู ร่าง และลกั ษณะ
ปร่างของสโตรมาโตไลต์ มีลักษณะเป็นรูปแท่งเดี่ยว (แบบก่ึงทรงกลม แบบโดม หรือเป็น
แท่งเสา) แบบแผ่ราบ และอาจเกดิ รวมกนั เป็นโดมทต่ี ่อกัน

ลักษณะเป็นแผ่นบาง มีความหนาในหน่วยมิลลิเมตร มีลักษณะ และรูปร่างโค้งแบบต่างๆ
ในกรณที  ่ี มรี ปู รา่ งไมเ่ ปน็ แทง่ เสาประกอบดว้ ยรปู รา่ งทเ่ี ปน็ แผน่ คอ่ นขา้ งราบ และรปู รา่ งทเี่ กดิ จาก
การพอกพนู   สำ�หรับในกรณรี ูปร่างโครงสร้างแบบแท่งเสาอาจพบลกั ษณะแผน่ บางด้วย

หนิ สาหรา่ ย กับหนิ ปนู ทีม่ ีหินอาร์จีไลต์แทรก โครงสรา้ งโค้งงอของช้ันหนิ ปูนและช้นั หินอารจ์ ลิ ไลต์
หินสาหร่าย เป็นชื่อหินท่ีนอกจากบอกถึง

ลกั ษณะหนิ แลว้ ยงั บอกถงึ สภาพการเกดิ แบบพเิ ศษ
หินดังกล่าวพบมากในหินอายุก่อนยุคแคมเบรียน
ซ่ึงมีสิ่งมีชีวิตน้อย ตั้งแต่ยุคแคมเบรียน จนถึง
ปจั จบุ นั พบหนิ สาหรา่ ยนอ้ ยมาก เนอ่ื งจากสาหรา่ ย
ท่ีสร้างเมือก ถูกส่ิงมีชีวิตชนิดอ่ืนกินเป็นอาหาร
ดังน้ันการใช้ชื่อหินสาหร่าย ควรคำ�นึงถึงส่วนนี้
ดว้ ย สว่ นคำ�ว่าหนิ อาร์จิลไลต์ ทีเ่ กดิ แทรกเปน็ ริ้ว
บางๆ ในหนิ ปนู เปน็ ชอื่ หนิ ทส่ี ามารถใชไ้ ด้ และไม่
ผูกมัดกับกระบวนการเกิดแบบพิเศษจนเกินไปนกั

5

คูม่ อื ผู้เล่าเรือ่ งธรณี ฟอสซลิ 450 ลา้ นปี ท่ากระดาน กาญจนบุรี ไฟลัม: แบรคิโอโพดา

แบรคิโอพอด ช่ือเรียกท่ัวไป: แบรคิโอพอด, หอยตะเกียง
แบรคิโอพอด เป็นสัตว์ทะเลรูปร่างคล้ายหอย แต่ไม่จัดอยู่ในไฟลัมมอลลัสกา แม้ว่า
มันจะมีลักษณะคล้ายหอยแครง และหอยสองฝาชนิดอ่ืนๆ ด้วยแบรคิโอพอด
เป็นกลุ่มสัตว์ที่แยกเป็นไฟลัมต่างหาก คือไฟลัมแบรคิโอโพดา ลักษณะแตกต่างของ
แบรคิโอพอด กับหอยสองฝาทั่วไปคือ แบรคิโอพอด มีฝาสองฝาขนาดไม่เท่ากัน แต่มี
สมมาตรเมอ่ื ลากเสน้ ผา่ กลางฝา สว่ นหอยกาบคู่ หรอื หอยสองฝา มฝี าทง้ั สองขนาดเทา่ กนั
แตไ่ มม่ สี มมาตรเมอื่ ลากเสน้ ผา่ กลางฝา ชอ่ื ไมเ่ ปน็ ทางการของแบรคโิ อพอด คอื หอยตะเกยี ง
เน่ืองจากมรี ูปรา่ งคล้ายตะเกยี งนำ้�มันดนิ เผาโบราณ

แบรคโิ อพอด หอยกาบคู แบรคคิโอพอดบางอนั ดบั เทา นน้ั
ที่มีลักษณะคลายตะเกียงน้ำมันโบราณ

เสนแบงฝา เสน แบงฝา ตะเกยี งนำ้ มนั โบราณ
» สองฝาไมเ ทากัน » สองฝาเทากัน ของชาวโรมันทำจากดนิ เผา
» ฝามสี มมาตร » ฝาไมม ีสมมาตร
» อยูตดิ บนพ้ืนทะเล » ขดุ รูใตพ ้นื ทะเล

ความแตกตา่ งระหวา่ งแบรคโิ อพอดกบั หอยสองฝา แบรคโิ อพอด ท่มี ีรปู ร่างคลา้ ยตะเกยี งน�ำ้ มนั

ลักษณะส�ำ คัญของแบรคโิ อพอด

เปลอื กฝาดา นบน เรียกตามตำแหนงฝาขณะเกาะทพ่ี ื้น เปน ฝาทม่ี ีขนาดใหญกวาเปลอื กฝาลา ง
ลิงกูไลต ส่ิงมชี วี ิตปจจบุ นั ท่คี งลักษณะเดมิ
ขุดรอู ยูบรเิ วณพน้ื ทะเล
ชองเปดสำหรับพดิ ิเคลิ

อมั โบ สว นที่นูนขึ้นมา เปลือกฝาบน
เปนสวนแรกของเปลือกทเี่ กดิ ข้ึน

ฝาลา งเปลอื กทเ่ี ล็กกวา

เสน การเติบโต พิดิเคลิ หรอื เอ็น หรอื ตนี เกาะพืน้
รอยฝาประกบกัน

6

แบรคโิ อพอด 

รูปร่าง ของแบรคิโอพอด

บรรพบุรุษของแบรคิโอพอด ในปัจจุบันยังไม่เป็นท่ีทราบแน่ชัด  แบรคิโอพอดเริ่มพบตั้งแต่
ยุคแคมเบรียน โดยมีจำ�นวน และความหลากหลายมากตลอดช่วงมหายุคพาลีโอโซอิก
แบรคิโอพอดจำ�นวนมากสูญพันธ์ุในเหตุการณ์การสูญพันธุ์คร้ังใหญ่ที่สุดของโลก ท่ีเกิดในปลาย
ยุคเพอรเ์ มยี น แตม่ นั สามารถปรบั ตวั  และคงเหลืออยูร่ อด ปจั จุบนั พบลิงกูไลท ์(แบรคโิ อพอด) ทยี่ งั คง
ลักษณะเดมิ จัดเปน็ สตั ว์ทีอ่ าศัยอยู่บนโลกยาวนานทส่ี ดุ ประมาณ 500 ลา้ นปี

รูปร่างของแบรคิโอพอด พบได้หลากหลาย ในการศึกษาแบรคิโอพอด ศึกษาจาก 1) รูปร่างโดย
รวมทั้งหมด และเปลือกท่ีโค้งนูน  2) จากรอยของฝาท้ังสองที่ประกบกันด้านหน้า และ 3) จากพ้ืนผิว
ด้านนอกท่ีโค้งงอเกดิ เป็นสนั  และรอ่ ง
โครงรา งโดยรวมและความโคง นูนของฝา รอยประกบของฝาท้งั สอง เปลือกที่หยักและโคง

การดำ�รงชวี ิต

แบรคิโอพอด ส่วนมากอาศัยอยู่ติดพ้ืน อวัยวะภายในทีส่ ำคัญของแบรคโิ อพอด
ทะเลต้ืนโดยใช้เอ็น หรือตีนเกาะกับพื้น แต่มีบาง
สายพันธ์ุอาศัยอยู่ในบริเวณทะเลลึก และบริเวณ กระเพาะอาหาร ตอ มเพศ
น้�ำ กรอ่ ย แบรคิโอพอดไม่ชอบอาศัยอยูใ่ นบริเวณ ตนี ปากทีอ่ า
ทีม่ กี ระแสน้�ำ ไหลรุนแรง หรือบริเวณท่มี คี ลน่ื มนั
กินอาหารด้วยการกรองอาหารขนาดเล็กท่ีอยู่ใน กลามเนอื้ ชองวา งในเน้อื
นำ้� ด้วยโลโพฟอร์ ซ่ึงเป็นอวัยวะภายในทำ�หน้าท่ี
หายใจ และกรองอาหาร ศัตรูของมันคือ ปลา ชองวาง ทอ ขบั ของเสีย โลโพฟอร
ท่ีสามารถกัดฝา และพวกที่สามารถชอนไชฝา
แบรคโิ อพอดได้ เชน่ หอยกาบเดยี่ ว และหอยกาบคู่

แบรคโิ อพอดในประเทศ

แบรคิโอพอด พบมากในหนิ ของมหายุคพาลโี อโซอิก ในจงั หวดั กาญจนบรุ ี สตูล ตรัง พังงา กระบ่ี
เพชรบูรณ์ และเลย

7

แคมเบรียน คู่มอื ผเู้ ลา่ เรอื่ งธรณี ฟอสซลิ 450 ลา้ นปี ทา่ กระดาน กาญจนบุรีมหายคุ พาลโี อโซอิกคารบ อนเิ ฟอรัสเพอรเ มยี น
ออรโดวิเชียน ไซลูเรียน ดีโวเนยี น
เวลา ฟอสซลิ ท่สี �ำ คญั และรอ้ ยละของส่งิ มีชวี ติ (ส
หนอน
ลานปท่ผี านมา
250แบรคโิ อพอด
300
350หอยสองฝา
400
450ปลา
500
550 ไทรโลไบต
8
แกรปโตไลต

หอยฝาเดยี ว

ไครนอยด

เทนทาคูไลต นอตลิ อยด
คลบั มอส (พชื บก)

สปชี ีส)์ ที่สญู หาย ในมหายคุ พาลีโอโซอิก ตารางธรณีวทิ ยากาลของมหายคุ พาลีโอโซอกิ  

รอยตอเพอรเมียน - ไทรแอสซิก

ฟว ูซ ิลนิด
ตนไ ม

สัตวเ ื้ลอยคลาน

แมง ุมม
แมลงปอ
โกเนียไท ต

รอยตอออรโดวิเชยี น-ไซลเู รยี น

0 10 20 30 40 50 60 70

จำนวนสปชสี ข องส่งิ มีชีวติ ทีส่ ญู หายไปจากโลก (หนว ย %)

9

คู่มอื ผู้เลา่ เรอ่ื งธรณี ฟอสซลิ 450 ลา้ นปี ทา่ กระดาน กาญจนบุรี ไฟลัม: มอลลสั กา

นอตลิ อยด์ ชน้ั : เซฟาโลพอด; ช้ันย่อย: นอตลิ อยดี
นอติลอยด์ เป็นบรรพบุรุษของเซฟาโลพอด หมายถึงสัตว์ท่ีมีตีนติดกับหัว  ตีนในท่ี
นี้ คือ  แขน หรือหนวด นอติลอยด์จัดอยู่ชั้นเดียวกับ  หมึก หมึกยักษ์ และนอติลุส 
นอตลิ อยดเ์ กดิ คร้งั แรก ในปลายยคุ แคมเบรียน เปน็ สัตวม์ เี ปลอื กแบ่งเป็นห้องและภายใน
หอ้ งมีท่อเชื่อมหอ้ ง มีความยาวเพยี ง 2 – 3 มม. ในยุคออรโ์ ดวเิ ชยี น ววิ ฒั นาการเปน็ ผลู้ ่า
และเปน็ เจ้าทะเล (คามีโรเซรัส ยาวประมาณ 6 เมตร) หลงั จากนั้น นอตลิ อยด์เริม่ ลดชนดิ
และความหลากหลาย เนอื่ งจากเกิดปลาซง่ึ เปน็ ผลู้ ่า  แมว้ ่านอติลอยด์ ได้ลดจำ�นวนชนดิ
และปรมิ าณลง แต่มนั ปรับตัว จนเหลอื เพยี งนอติลุส ทีย่ งั คงพบเห็นไดใ้ นปัจจบุ ัน

คามีโรเซรสั ยาวประมาณ 6 เมตร
หนึง่ ในสตั วท มี่ ีขนาดใหญ ในยคุ ออรโ ดวเิ ชียน

นอตลิ อยดร ะยะแรก นอตลิ สุ ในปจจุบนั
ความยาว 3 มม. เสนผานศูนยก ลางใหญม ากถึง 16 ซม.

รูปรา่ งและลักษณะส�ำ คัญของนอตลิ อยด์

สว นตางๆ ของนอตลิ อยดที่มีเปลอื กตรง

ซากนอตลิ อยด ในหินปนู สวนของเปลอื กท่ีเปน ทอ่ี ยูของสัตว
สว นของเปลือกทแ่ี บงเปนหอ ง กระเพาะ เกราะปด-เปดเพื่อปองกนั สว นหวั

หอ งภายในเปลอื ก (หองอบั เฉา)

ผนังก้ันหอ งภายในเปลือก หวั ใเจหงอื ก ทอ พน นำ้ สำหรับการเคล่ือนท่ี
ทอ กลางตัวหนา เชื่อมผานทุกหอ งภายในเปลือก ปากจะงอยคลายปากนกแกว
ตง้ั แตหอ งแรกสวนปลายจนถึงหองที่เปนท่ีอยู

10

นอตลิ อยด์ 

ชนดิ ของนอตลิ อยด์

นอติลอยด์ เป็นสัตวท์ ่ีมีโครงสรา้ งอย่างง่ายๆ สว่ นของเปลือกแยกเป็น 2 ส่วนคือ เปลอื กทีภ่ ายใน
แบ่งเป็นห้องมีกลไกสำ�หรับการลอยตัว และการจมตัวในน้ำ� และเปลือกที่ทำ�หน้าท่ีป้องกันอวัยวะ
ที่อ่อนน่ิม การศึกษานอติลอยด์ ใช้รูปร่างของเปลือกในการจำ�แนก ซ่ึงสามารถแบ่งได้อย่างกว้างๆ
คอื ประเภททเี่ ป็นกรวยตรง กรวยปลายม้วน และแบบเปลอื กมว้ นขดคล้ายแอมโมนอยด์ ดงั แสดงใน
ภาพด้านล่าง นอกจากนี้ขนาดของนอติลอยด์ มีความหลากหลายมาก จากขนาดน้อยกว่า 1 ซม. ไป
จนถงึ ขนาดมากกว่า 6 เมตร

ตวั อยา งรูปรา งเปลือกนอตลิ อยดที่หลากหลาย

เปลือกเปนกรวยตรง เปลอื กมว นขด
และโคงงอเลก็ นอย เปนเกลียว

เปลอื กเปนกรวยแต
ปลายขดเปนเกลยี ว

การดำ�รงชวี ติ
นอตลิ อยด์ พบได้ในสภาพทะเลที่หลากหลาย จากทะเลตื้น แนวปะการงั ไปจนถึงทะเลลึก มันจะ

ล่าเหย่ือท่ีมีขนาดเล็กกว่า โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ไทรโลไบต์ โครงสร้างภายในของเปลือกแข็ง ท่ีแบ่งเป็น
ห้องเชื่อมต่อกันด้วยท่อกลางตัวที่หนา ทำ�ให้นอติลอยด์ ลอยตัว – จมตัว ได้อย่างอิสระ ข้อได้เปรียบ
คือทำ�ให้นอติลอยด์ใช้พลงั งานไมม่ ากนกั ในการว่ายน�้ำ สำ�หรบั การทีต่ อ้ งออกแรงตา้ นแรงดงึ ดดู ของโลก
การเคล่ือนที่ในแนวราบทำ�ด้วยการพ่นน้ำ�ความเร็วสูงผ่านท่อท่ีอยู่บริเวณส่วนล่างของหัว ท่อดังกล่าว
สามารถบิดปรบั ทิศทางในการเคลือ่ นที่ เดนิ หน้า ถอยหลงั เลี้ยวซา้ ย-ขวา

นกั วทิ ยาศาสตรเ์ ชอื่ วา่ นอตลิ อยด์ เคลอื่ นทไ่ี ปดา้ นหนา้ เพอื่ หาอาหาร เคลอื่ นทไ่ี ดช้ า้ กวา่ การเคลอ่ื นที่
ถอยหลัง ในกรณีหนีศัตรู ด้วยนอติลอยด์มีเปลือกอยู่ด้านหลัง ทำ�ให้ว่ายนำ้�ไม่คล่องตัว เล้ียวและ
กลบั ตวั ไดย้ าก ดว้ ยเหตนุ เ้ี มอื่ เกดิ การววิ ฒั นาการของปลา  ซงึ่ ผลู้ า่ ชนดิ ใหมน่  ้ี่ ท�ำ ใหน้ อตลิ อยด ์ ลดทง้ั ชนดิ
และจำ�นวนลงอยา่ งมาก ต้งั แตย่ ุคไซลเู รยี นเป็นตน้ ไป
นอติลอยด์ในประเทศ

จังหวัดกาญจนบุรี เป็นจังหวัดที่พบฟอสซิลนอติลอยด์มาก เนื่องจากมีหินปูนยุคออร์โดวิเชียน
โผล่กระจายตวั อยทู่ ัว่ ไป

11

ค่มู ือผเู้ ล่าเรอ่ื งธรณี ฟอสซลิ 450 ล้านปี ทา่ กระดาน กาญจนบรุ ี ไฟลัม: มอลลสั กา

นอติลอยด์ (ต่อ) ชน้ั : เซฟาโลพอด; ชั้นย่อย: นอตลิ อยดี

หิท่ากระดาน นอติลอยด์ กรมทรัพยากรธรณี ศึกษา-วิจัย และจำ�แนก
นปนู ยคุ ออรโ์ ดวเิ ชยี น บรเิ วณทา่ กระดาน เปน็ นอติลอยด์ บริเวณบ้านท่ากระดาน เป็น 3 สกุล
หนิ ปนู เนอื้ ละเอยี ด มสี เี ทาเปน็ หลกั และบาง ซ่ึงเป็นนอติลอยด์ ท่ีมีรูปร่างยาวเรียว (ดูภาพ
บรเิ วณหนิ มสี นี �้ำ ตาลแดง หนิ ปนู มรี ว้ิ ตะกอนเคลย์ ด้านล่าง) และมีนอติลอยด์ หลายตัวอย่าง กำ�ลัง
บางๆ แทรกสลบั ทว่ั ไป และพบฟอสซลิ นอตลิ อยด์ อยู่ในระหว่างการศึกษา จากนอติลอยด์ ท้ัง 3
จำ�นวนมากเกดิ อยทู่ ่ัวไป สกลุ ทำ�ใหส้ ามารถบง่ บอกอายขุ องหนิ ปูนบรเิ วณ
ฟอสซลิ นอตลิ อยด์ เหน็ ไดง้ า่ ย และชดั เจนบรเิ วณ ท่ากระดาน มีอายปุ ระมาณ 450 ลา้ นปี
ผิวหินปูน ด้วยมีรูปร่างเป็นกรวยยาว และวงรี
นอติลอยด์ส่วนมากมีความยาวมากกว่า 10 ซม.
และบางตัวมีความยาวมากถึง 28 ซม.

นอติลอยด์ 3 สกลุ ทีพ่ บในหินปูน และการใหอ้ ายุหนิ
440 ยุคไซลเู รยี นประมาณอายหุ นิ 450 ลา นปทผ่ี า นมา
450 ตอนปลาย
ยุคออ รโด ิวเชียน
460
ตอนตน ตอนกลาง
470 พบ ุยคออรโดวิเชียน ถึงยุคไทรแอสซิก
480 Actinoceras sp. Armenoceras sp.
เวล4า85(ลานป)
พบยคุ ออรโดวเิ ชยี น พบยคุ ออรโ ดวเิ ชียน
ตอนกลาง - ตอนปลาย ตอนกลาง - ยคุ ไทรแอสซิก

ยุคแคมเบรยี น Orthoceras sp.

ทำ�ไม พบนอตลิ อยด์มาก ในหนิ ปูน ที่ทา่ กระดาน

แนวคดิ ท่ี 1 ในอดตี บรเิ วณทา่ กระดานเปน็ ทะเลทอี่ ดุ มสมบรู ณ์ คลนื่ ลมสงบ มสี ง่ิ มชี วี ติ หลากหลายจ�ำ นวน
มาก ที่เป็นอาหารของนอตลิ อยด์ ได้แก่ แบรคิโอพอด ไครนอยด์ หรือสงิ่ มชี วี ติ ประเภทอน่ื ๆ
แนวคิดท่ี 2 ขนาดและการกระจายตัวของนอติลอยด์ จำ�นวนมาก ในชั้นหินปูน อาจสัมพันธ์กับการ
ตายหมขู่ องสตั ว์ ภายหลงั จากการผสมพนั ธุ์ ซงึ่ ในปจั จบุ นั พบเหตกุ ารณ ์ ดงั กลา่ วเกดิ ขน้ึ กบั สตั วท์ ะเลในชน้ั
เซฟาโลพอด หลายชนดิ
แนวคดิ ท่ี 3 การพบนอติลอยด์ จำ�นวนมากในหนิ ปนู เน้อื ละเอยี ด เป็นผลจากการสะสมตวั ของเปลือก
นอติลอยด์ อย่างช้าๆ และค่อยเป็นค่อยไป เนื่องจากการตกตะกอนคาร์บอเนตขนาดเล็กจะเกิดข้ึนได้
ชา้ มาก ซึ่งเปน็ ผลจากกระแสน�้ำ ไหลแรงบรเิ วณสว่ นล่างของพนื้ ทะเล

12

นอติลอยด์ 

ชุบชวี ิตนอตลิ อยด์

Actinoseras sp. รปู รา่ ง และสัดส่วน
นอตลิ อยด์ ในภาพมคี วามยาว 28 ซม. และ
ห้องใกล้ส่วนหัวมากสุด มีเส้นผ่านศูนย์กลาง
ประมาณ 6 ซม.
ดงั นน้ั นอตลิ อยด์ ตวั นจี้ งึ มคี วามยาวไมต่ �่ำ กวา่
28 ซม. ก�ำ หนดใหส้ ว่ นปลายของมนั มคี วามโคง้ มน
เลก็ นอ้ ย และตอ่ ความยาว และเสน้ ผา่ นศนู ยก์ ลาง
ให้กับห้องท่ีมีส่วนหัว และตัวอยู่ กำ�หนดให้พื้นท่ี
หน้าตดั ของนอติลอยดเ์ ปน็ วงกลม

สดั สวน 28 ซม. 6 ซม.

โครงรา ง
ขยายเปลือกทีต่ ิดกบั หัว

เปลอื ก: สี และลวดลาย

แคลเซยี มคารบ์ อเนต เปน็ องคป์ ระกอบหลกั ของเปลอื ก

เปลอื กจงึ นา่ จะมโี ทนสจี าง ขาว-เทา สารอนิ ทรยี ท์ ี่
เปน็ องคป์ ระกอบของเปลอื กสามารถท�ำ ใหเ้ ปลอื ก
มีโทนสีและมีลวดลายต่างๆ ภาพวาดนอติลอยด์
ในมกั ใช้สี และลวดลาย ของนอติลสุ เป็นแบบ

สวนหัว ลำตัว และแขน ของนอตลิ อยด

ปจจบุ นั ยังไมม กี ารคนพบฟอสซลิ เนอ้ื เยอ่ื ของนอติลอยด ในการสรางภาพนอตลิ อยด จงึ นิยมใช
ภาพจาก นอติลสุ (มหี นวดสน้ั แตจ ำนวนมาก) และหมึกตา งๆ (มีหนวดยาว แตจำนวนนอ ย)

ภาพนอตลิ อยด์ ทา่ กระดาน สรา้ งจากซากนอตลิ อยด์ ทพี่ บ
และลักษณะของหมกึ ปัจจบุ นั

13

คู่มือผู้เล่าเร่อื งธรณี ฟอสซิล 450 ล้านปี ทา่ กระดาน กาญจนบุรี ไฟลัม: เอไคโนเดอร์มาตา

ไครนอยด์ ช้นั : ไครโนเดยี  
ฟอสซิลไครนอยด์ เป็นฟอสซิลที่พบได้ท่ัวไปในหินปูน มหายุคพาลีโอโซอิก
ของประเทศ  โดยมากพบเป็นท่อน ที่มีหน้าตัดเป็นวงกลมท่ีมีวงกลมอีก
วงอยู่ส่วนกลาง และลักษณะเป็นแท่งยาวที่ประกอบไปด้วยท่อนสั้นๆ ต่อกัน 
แท้จริงแล้วไครนอยด์ เป็นสัตว์โบราณท่ีอาศัยติดกับพื้นทะเล ส่วนที่เป็นก้านของ
มันเป็นส่วนท่ีพบได้บ่อย ขณะที่ส่วนหัวของมันสามารถพบได้บ้าง แต่ฟอสซิลท้ัง
กา้ น และหวั ซง่ึ อาจมแี ขนของมนั ตดิ มาดว้ ย เปน็ ฟอสซลิ ไครนอยด์ ทพี่ บไดย้ ากมาก

ลกั ษณะสำ�คัญของไครนอยด์

ไครนอยด กาน และราก หัวและแขน แขน สัตวโ บราณรปู รางแปลกคลา ยดอก
พลบั พลงึ นยิ มเรยี ก “พลับพลึงทะเล”
หัว ชือ่ พลบั พลึงทะเล เฉพาะไครนอยด
โตเต็มวยั ที่มกี า น หรือลำตน เทานัน้

กาน สว นฟอสซลิ ท่ีพบยากมาก
ดอกพลบั พลึง ราก สว นฟอสซลิ ท่ี
พบไดทว่ั ไป

กา้ นไครนอยด์ หรอื ไครนอยดส์ เตม็

ก้านไครนอยด์ ประกอบด้วยท่อนสั้นต่อกัน หน้าตัด รอยตอหลักระหวา งทอนไครนอยด
กา้ นไครนอยดส์ ว่ นมากเปน็ วงกลม สว่ นกลางทอ่ นมที อ่ ซงึ่ ดานตดั ขวางกานไครนอยด
หนา้ ตดั เปน็ วงกลม หรอื เปน็ รปู ดาว 5 แฉก ทอ่ ดงั กลา่ วคอื
บรเิ วณทเี่ ปน็ เนอ้ื เยอื่ เสน้ ประสาท และเอน็ ทย่ี ดึ กา้ นใหแ้ ขง็ ดานขา งของกา นไครนอยด
แรง และเพิ่มความยดื หยนุ่ ให้กับกา้ นไครนอยด์
เสน ตรง เสน หยักโคง แถบเปน มดั
ผวิ กา้ นไครนอยด์ มรี อ่ งและสนั เลก็ จ�ำ นวนมากเกดิ ขวาง
กา้ นไครนอยด์ ลักษณะดังกล่าวเปน็ ผลจาก การเชอ่ื มตอ่
ของทอ่ นไครนอยด์ มี 3 ลกั ษณะหลกั คอื แนวชดิ ตรง แนว
โค้งรบั กัน และเนอื้ เยอ่ื ท่เี ปน็ มดั ผลจากการเชือ่ มตอ่ ด้วย
เนื้อเยื่อเอ็นประเภทต่างๆ ทำ�ให้ก้านไครนอยด์ มีความ
ยืดหย่นุ และสามารถทนตอ่ แรงทกุ ทิศทาง

14

ไครนอยด ์

การดำ�รงชวี ติ

ไครนอยดแ์ ขนเดยี ว ไครนอยด์ เปน็ สตั วท์ ะเลทดี่ �ำ รงชวี ิตติดอยู่กบั พื้นทะเล โดยมรี าก และกา้ น
ไครนอยด์ไมม่ แี ขน บางส่วนท�ำ หน้าทยี่ ดึ พนื้ ทะเล กา้ นยังทำ�หนา้ ทยี่ กระดับสว่ นหัวและแขน ให้สูง
จากพืน้ ทะเลเพือ่ หาอาหารไดม้ ากขึ้น ก้านของไครนอยด์ วิวัฒนาการมาเพอ่ื
ต้านทานกระแสน้ำ�ทะเลในระดับหน่ึง หัวของไครนอยด์ ประกอบด้วยแผ่น
แคลเซียมคาร์บอเนตหลายแผ่นเช่ือมกันเป็นรูปถ้วย เป็นโครงสร้างแข็งแรงใน
การปอ้ งกนั อวัยวะหลัก ลำ�ไส้ ระบบประสาท และระบบสบื พันธ์ุ บริเวณส่วน
หวั จะมแี ขนยน่ื ออกมา (บางชนดิ ไมม่ แี ขน)  แขนไครนอยด์ ประกอบดว้ ยหลอด
ขนาดเล็กจ�ำ นวนมาก ทสี่ ามารถดูดจับแพลงกต์ อน เป็นอาหาร

ไครนอยด์ เป็นสัตว์ท่ียังดำ�รงชีวิตอยู่ในปัจจุบันทั้งพวกมีก้าน และ
พวกไมม่ กี า้ น ส�ำ หรบั ไครนอยดไ์ มม่ กี า้ น (ดาวขนนก) พบวา่ เกดิ ในยคุ แคมเบรยี น
เกดิ กอ่ นพวกมีก้าน และไมก่ ล่าวถึงในเอกสารนี้

ไครนอยด์แบบมีก้านปัจจุบันพบเกิดในพื้นมหาสมุทร ลึกกว่า
บริเวณท่ีแสงแดดส่องถึง (ความลึกถึง 6 กิโลเมตร) เหตุท่ีพบไครนอยด์
บริเวณน้ำ�ลึกเน่ืองจากมีผู้ล่าน้อย  ไครนอยด์มีก้านพบครั้งแรกใน
ยคุ ออรโ์ ดวเิ ชยี น ววิ ฒั นาการหลากหลายทง้ั ชนดิ จ�ำ นวน และการกระจายตวั มาก
ในมหายุคพาลีโอโซอิก และส่วนมากดำ�รงชีวิตในสภาพแวดล้อมแบบทะเลตื้น
นักวิทยาศาสตร์ให้คำ�อธิบายว่า ในมหายุคพาลีโอโซอิก ไครนอยด์ดำ�รงชีวิต
ในทะเลต้นื ไดเ้ พราะผูล้ า่ ในช่วงเวลาดงั กลา่ วไม่มีประสิทธิภาพในการล่าเหยอื่

ไครนอยด์แบบมีก้าน เมื่อตายลง ส่วนต่างๆของมันจะแยกออกจากกัน
บริเวณพื้นทะเลทันที เนื่องจากสารอินทรีย์ที่เป็นองค์ประกอบของเส้นเอ็น
และเนื้อเยื่อสลายตัวขาดจากกัน ด้วยเหตุนี้  เราจึงไม่พบฟอสซิลไครนอยด์
สภาพสมบูรณ์ ฟอสซลิ ไครนอยด์ที่สมบรู ณ์ สามารถแปลความหมายไดว้ ่าเกดิ
การทับถมของตะกอนฝังไครนอยด์ทนั ที เชน่ การเกดิ พายุใหญ่

ไครนอยด์ บรเิ วณบ้านท่ากระดาน จังหวัดกาญจนบรุ ี

ส่วนวิจัยซากดึกดำ�บรรพ์ และส่วนประสานการคุ้มครองซากดึกดำ�บรรพ์ สำ�นักคุ้มครอง-
ซากดึกด�ำ บรรพ์ กรมทรพั ยากรธรณี รายงานการพบก้านไครนอยด์ หลายบรเิ วณ ในชน้ั หนิ ปูน
ของหน่วยหินตอนบน บริเวณท่ากระดาน ก้านไครนอยด์ดังกล่าวมีความน่าสนใจ ด้วยท่อกลางก้าน
ไครนอยด์ มีรูปรา่ งเป็นดาว 5 แฉก ซง่ึ พบได้ไม่บอ่ ยนกั และไครนอยด์มที ่อกลางกา้ นเป็นวงกลม

15

คู่มอื ผู้เล่าเรือ่ งธรณี ฟอสซิล 450 ลา้ นปี ทา่ กระดาน กาญจนบุรี
เทนทาคูไลต์ ไฟลมั : ยงั ไมท่ ราบ

อันดับ: เทนทาคูลิติดา
เทนทาคไู ลต์ คอื หนงึ่ ในกลมุ่ ของสง่ิ มชี วี ติ ขนาดเลก็ มรี ปู รา่ งเปน็ กรวยยาว ขนาด 5 - 25 มม. 
ปัจจุบันนักวิทยาศาสตร์มีปัญหาในการจัดกลุ่ม และยังไม่มีการตกลงกัน  นักวิชาการ
นิยมจัดให้อยู่ใน ไฟลัมมอลลัสกา (พวกเดียวกับผีเสื้อทะเล ซ่ึงเป็นหอยกาบเดี่ยว) หรือ
แบรคิโอพอด หรือไฟลัมแยกต่างหาก หรือจำ�แนกอยู่ในช้ันใหม่ ช่ือโคนิโคเชีย  ไม่ว่า
1 ซม.จะจำ�แนกเทนทาคูไลต์ เป็นสัตว์ทะเลกลุ่มไหนก็ตาม เทนทาคูไลต์ จัดเป็นฟอสซิลสำ�คัญ 
ในการบอกอายุหิน และการล�ำ ดบั ช้นั หนิ   ในยคุ ออรโ์ ดวเิ ชียน ถงึ ยคุ ดโี วเนยี น ทั้งในระดับ
1 มม.ประเทศ ระดบั ภูมิภาค และระดับโลก

ลกั ษณะสำ�คญั ของเทนทาคูไลต์

ลกั ษณะเดน่ ทส่ี ดุ ของฟอสซลิ เทนทาคไู ลต์ คอื รปู รา่ งทเี่ ปน็ กรวยยาว ขนาดเลก็ (โดยทว่ั ไป 5 - 25 มม.)
เปลอื กประกอบดว้ ยแคลเซยี มคารบ์ อเนต เปน็ องคป์ ระกอบหลกั   รปู รา่ ง และลกั ษณะของเทนทาคไู ลต์
ประกอบด้วยลักษณะส�ำ คัญ ดงั นี้

1) สว่ นล�ำ ตวั   อาจมรี อยวงแหวนขวางแกนเปลอื ก รอยวงแหวนทบ่ี างพบถมี่ าก ขณะทรี่ อยวงแหวน
ที่หนามรี ะยะห่างมากกว่า บางชนิดพบแนวสนั ยาว หลายแนวขนานไปกบั ความยาวเปลอื ก

2) บรเิ วณสว่ นปลายของเทนทาคไู ลต์ อาจพบรอ่ งรอยของเปลอื กเทนทาคไู ลตใ์ นระยะทเี่ ปน็ ตวั ออ่ น
ซง่ึ เปน็ ทรงกลม ปลายดา้ นท่เี ปิดมีหน้าตดั เปน็ วงกลม โดยมเี ส้นผ่านศูนยก์ ลาง ประมาณ 0.5 – 1 มม.

เทนทาคูไลตมรี ปู รา งและลักษณะท่ีหลากหลาย

ชองเปด

วงแหวนหนา วงแหวนบาง

สันยาว สันยาว

หอ งของตัวออ นท่ียงั คงเหลอื อยู
16

เทนทาคไู ลต์

การด�ำ รงชีวติ
เทนทาคูไลต์ เป็นกลุ่มของสัตว์ทะเล ท่ีดำ�รงชีวิต แบบหากินอยู่ตามพ้ืนทะเลโดยขุดรู บางกลุ่ม

ลอยไปตามนำ้�ทะเล และบางกลุ่มจะว่ายนำ้�หากินอาหารบริเวณใกล้กับพื้นทะเล โดยมันกินส่ิงมีชีวิต
ขนาดเลก็ กว่า เช่น สาหรา่ ย แพลงกต์ อน และสารอินทรยี ์ขนาดเลก็ เป็นอาหาร

ปัญหาด้านวิชาการ เก่ียวกับจำ�แนกฟอสซิล ท่ีไม่สามารถระบุว่าอยู่ในไฟลัมไหนเป็นเรื่องปกติ
เน่ืองจากนักโบราณชีววิทยา ยังไม่พบหลักฐานท่ีเด่นชัดมากพอในการจำ�แนก  ปัญหาดังกล่าวเป็น
เร่ืองดี เพราะเป็นการกระตุ้นให้เกิดความคิดสร้างสรรค์ และเกิดแนวทางที่จะศึกษาวิจัยเพิ่มข้ึน ภาพ
จินตนาการต่อไปนี้ แสดงการดำ�รงชีวิตของ เทนทาคูไลต์ ที่เช่ือมโยงกับการจำ�แนกกลุ่มเทนทาคูไลต์
ไดแ้ ก่  (1) เทนทาคูไลต์ หากินอยู่ตามพืน้ ทะเลตน้ื ใช้รปู แบบของสตั วใ์ นกลุ่มโลโพพอร์ (แบรคโิ อพอด)
และไฟลัมเฮมิคอร์ดาตา พวกเทอโรบรานซ์ (pterobranch) และ (2) เทนทาคูไลต์ ที่ดำ�รงชีวิตแบบ
ลอยไปตามกระแสน�ำ้ ทะเล หรอื แบบแพลงกต์ อน พบในหนิ ทเี่ กดิ สะสมตวั ในทะเลลกึ ใชร้ ปู แบบผเี สอ้ื ทะเล

เทนทาคไู ลต ในทะเลโบราณ

แบบสตั วห ากนิ หนา ดิน

แบบแพลงกตอน

เทนทาคูไลต์ บริเวณบ้านทา่ กระดาน จังหวดั กาญจนบรุ ี
จากการศึกษาวิจยั และการลำ�ดบั ชั้นหนิ บริเวณทา่ กระดาน พบวา่ มี ชั้นหินโคลน หนิ โคลนเน้ือปนู

และหนิ ปนู ทมี่ ฟี อสซลิ เทนทาคไู ลต ์ ซง่ึ มอี าย ุ ระหวา่ ง ยคุ ไซลเู รยี น - ยคุ ดโี วเนยี น ปรากฏอยู่ จ�ำ นวนมาก
และหลายบริเวณ

17

คู่มอื ผเู้ ลา่ เร่อื งธรณี ฟอสซลิ 450 ลา้ นปี ทา่ กระดาน กาญจนบุรี ไฟลมั : โปรโตซวั

ฟวิ ซูลนิ ิด อนั ดบั : ฟิวซลู นิ ดิ า 

ฟิวซูลนิ ิด หรอื ท่ีคนไทยรจู้ ักกนั ดใี นช่ือ “คตขา้ วสาร” เนอ่ื งจากมรี ปู ร่างคลา้ ย ข้าวสาร
พบในธรรมชาตทิ งั้ อย่ใู นช้ันหนิ และเป็นเมด็ ทรงรีท่หี ลดุ จากชนั้ หนิ และมีขนาด 0.5
– 2 ซม.  ฟวิ ซูลินดิ เป็นส่ิงมชี ีวติ เซลลเ์ ดียวขนาดใหญ่ (มาก) อยบู่ ริเวณพืน้ ทะเลโบราณ
ในชว่ งเวลาทางธรณวี ทิ ยาทสี่ น้ั พบเกดิ ขน้ึ ครง้ั แรกในยคุ คารบ์ อนเิ ฟอรสั หรอื ประมาณ 320
ล้านปีท่ีผ่านมา สูญพันธุ์ในปลายยุคเพอร์เมียน หรือ 252 ล้านปีท่ีผ่านมา ในช่วงเวลา
ดงั กล่าว ฟวิ ซูลินดิ ววิ ัฒนาการ หลากหลาย แผ่กระจายตวั มากทัว่ โลก ฟวิ ซูลนิ ิด จึงเป็น
ฟอสซสิ ทสี่ �ำ คญั ในการบอกอายุ การเรยี งล�ำ ดับชน้ั หิน ตลอดจนถึงสภาพแวดลอ้ มในอดีต

ลกั ษณะสำ�คัญของฟวิ ซูลนิ ิด

ฟิวซูลินิด มีเปลือกหลายช้ัน ประกอบด้วย เปลือกเพิ่มขนาดข้ึนโดยม้วนรอบแกนยาว ทำ�ให้
แคลเซียมคาร์บอเนต ภายในเปลือกของมันมี รูปร่างของเปลือกมีรูปร่างเป็นทรงรี ท่ีผิวของ
โครงสร้างซับซ้อน ประกอบด้วยชุดของห้อง ฟิวซูลินิด พบเส้นกั้นห้องสุดท้าย และร่องยาว
จำ�นวนมาก นักวิทยาศาสตร์ศึกษา ฟอแรม- จำ�นวนหลายเส้น ร่องดังกล่าวเกิดจากผนังห้อง
มินิเฟอรา ทำ�ให้รู้ว่า เปลือกฟิวซูลินิดสร้างจาก จำ�นวนมากตดั กับ ผิวเปลือกของฟวิ ซลู นิ ิด
สารไพรโทพลาสซมึ  ทอี่ ยภู่ ายในเซลล์ ฟอแรม เปน็
จลุ ชพี ทอี่ ยใู่ นอนั ดบั เดยี วกบั ฟวิ ซลู นิ ดิ บางครง้ั เรยี ก การศึกษาหน้าตัดฟิวซูลินิด พบว่าฟิวซูลินิด
ฟวิ ซูลินดิ วา่ เป็น ฟอแรมขนาดใหญ่ มีโครงสร้างภายในซับซ้อน แต่มีรูปแบบสามารถ
จ�ำ แนกเปน็ ชนดิ ยอ่ ยได้ ท�ำ ใหน้ กั บรรพชวี นิ ชวี วทิ ยา
การเจริญเติบโตของฟิวซูลินิด ทำ�ได้ ศึกษารูปแบบของห้อง เส้นกันห้องโค้งงอ จาก
โ ด ย ก า ร เ พิ่ ม ห้ อ ง  ต า ม แ น ว ย า ว ข อ ง เ ป ลื อ ก หน้าตัดท่ีขนานกับแกนยาวของฟิวซูลินิดภายใต้
จุดเริ่มต้น หรือห้องแรก มีลักษณะเป็นทรงกลม กล้องจุลทรรศน์ ในการจ�ำ แนกชนดิ ฟวิ ซลู นิ ิด

ตวั ฟว ซูลนิ ิดท่ีหลุดจากหิน ฟวซูลินดิ ทต่ี ัดเปน แผน บาง ภายใตก ลอ งจลุ ทรรศน

หอ งจำนวนมาก ภายในเปลอื กฟว ซูลินิด

รอ งบนผิวเกิดเปนแนวยาว หองแรกของฟว ซูลนิ ิด
เสน กัน้ หองทโ่ี คง งอ

เสน กัน้ หอ งสดุ ทา ยท่พี บบนผิว การโตของเปลอื กรอบแกนหมนุ
18

ฟิวซลู ินดิ

การด�ำ รงชวี ิต

ฟิวซูลินิด ส่วนใหญ่จะเกิดอยู่บริเวณชายฝ่ังทะเลตื้น และบริเวณปะการัง ส่วนที่หันหน้าเข้าหา
แผ่นดิน ในเขตภูมิอากาศร้อน ถึงอบอุ่น  ดำ�รงชีวิตตามพ้ืนตะกอน และฝังตัวอยู่ใต้ช้ันตะกอน 
ฟวิ ซลู นิ ดิ มวี งจรชวี ติ สน้ั และสามารถขยายพนั ธไ์ุ ดอ้ ยา่ งรวดเรว็ ดงั นนั้ เรามกั พบฟอสซลิ ฟวิ ซลู นิ ดิ ปรากฏ
อย่จู �ำ นวนมากในหิน ชน้ั ใดชน้ั หน่ึง โดยเฉพาะในหนิ ปูน

ฟวิ ซูลนิ ิด กนิ อาหารหลากหลายท่ีมีขนาดเลก็ ได้แก่ แพลงก์ตอน สาหรา่ ย แบคทเี รียบางชนิด และ
สารอินทรยี ์  โดยใช ้ ตนี เทยี ม ที่เป็นเส้นบางๆ ย่ืนออกมาจากรเู ปิดทม่ี ีอยูบ่ ริเวณเปลอื ก  “ตีนเทียม”
มชี ่ือเรียกเฉพาะว่า reticulopodia หรอื pseudopodia ซง่ึ นอกจากจะใชใ้ นการชว่ ยจบั เหย่ือแล้วมนั ยัง
ใช้ในการเคลื่อนท่ดี ว้ ย

หกสิบแปดล้านปี ในทะเลบรรพกาล
เมื่อประมาณ 320 ล้านปีที่ผ่านมา ฟิวซูลินิดพวกแรกมีรูปเป็นทรงกลม ขนาดเล็กเท่าหัวเข็มหมุด 

หลงั จากนน้ั ฟวิ ซลู นิ ดิ เพมิ่ ชนดิ จ�ำ นวน และววิ ฒั นาการอยา่ งรวดเรว็ กระจายอยตู่ ามชายฝง่ั ทะเลน�้ำ ตน้ื  
เขตร้อน-อบอุ่น ท่ัวโลก  ท่ีโดดเด่นของการวิวัฒนาการ คือ มีขนาดที่ใหญ่มาก โดยท่ัวไปฟิวซูลินิด
มคี วามยาว 0.5 – 2 ซม. แตบ่ างสายพนั ธุจ์ ะมคี วามยาวมากกว่า 10 ซม. และ 252 ลา้ นปที ผี่ า่ นมา
ฟวิ ซลู ินิด สญู พันธ์ุ ไปพร้อมกับสิง่ มีชวี ติ อ่ืนๆ หลายชนิด

การศึกษาวิจัยสภาพอากาศบรรพกาล พบว่า  ชื่อยคุ
ในชว่ งยคุ คารบ์ อนเิ ฟอรสั ถงึ ยคุ เพอรเ์ มยี น ปรมิ าณ % โดยปริมาตร
แก๊สออกซิเจนในบรรยากาศมีค่าเพ่ิมข้ึนสูงสุด
ประมาณ 30 % โดยปรมิ าตร ท�ำ ใหน้ กั วทิ ยาศาสตร์ ระดับแกสออกซิเจน ในบรรยากาศปจจุบัน (21 %)
เชื่อว่า ฟิวซูลินิด มีขนาดใหญ่เน่ืองมาจากระดับ
ออกซเิ จนทสี่ งู ขนึ้ เชน่ เดยี วกบั ฟอสซลิ ตะขาบ และ 320 ลานป 252 ลานป
แมลงปอ ที่มีขนาดใหญ่

ฟวิ ซลู ินิดท่ีบา้ นทา่ ตาโอน ตำ�บลชอ่ งสะเดา อำ�เภอเมอื ง จงั หวัดกาญจนบุรี
บริเวณบ้านท่าตาโอน พบฟิวซูลินิดจำ�นวนมากในหินปูน ตัวฟิวซูลินิดมีขนาดยาวกว่าเม็ดข้าวสาร

เลก็ น้อย เบอ้ื งตน้ กำ�หนดอายหุ ินวา่ อยูร่ ะหวา่ ง ยคุ คารบ์ อนิเฟอรสั  - ยุคเพอร์เมียน

19

แผนทธ่ี รณวี ทิ ยาอยางงาย แบง ตามชนดิ ของหนิ หลัก
บรเิ วณบา นทากระดาน ตำบลทากระดาน อำเภอศรสี วัสดิ์ และพ้ืนท่ีใกลเ คียง

อา งเก็บน้ำ วัดทงุ นาวราราม
เขือ่ นศรนี ครินทร แหลง เรียนรู บานทากระดาน

วดั ปลายดนิ สอ วัดทา กระดาน
โรงเรนี อนุบาลศรสี วัสดิ์

บา นมอ งกระแทะ

บานแกงเรียง

บา นพุถาด บา นนำ้ ตกเอราวณั
แมน ำ้ บา นแกงแคบ
แคว
ใ หญ

5 กม. โรงเรียนบา นเกาะแกว
แหลงเรยี นรูบานทา ตาโอน

บา นแกง ระเบิด บานทาดาน
หนิ โดโลไมต

ขอมลู ธรณีวิทยา จาก แผนท่ีธรณวี ิทยามาตรสวน 1:50,000 ป 2553 ระวางเขอ่ื นศรนี ครินทร
หนิ อัคนี หนิ แปร หนิ แคลกซ ิลเิ กต หนิ ตะกอน หินดินดาน
หินแกรนิต
และหินออน ทีมีฟอสซิลมาก
ตะกอน และทูฟา หินควอรต ไซต (เทนทาคไู ลต) หินปูน และหินปูนเน้อื ดนิ
หินทราย ทม่ี ีฟอสซิลมาก
หนิ ปูน (นอติลอยด ไครนอยด)
หินไนส และชีสต ทม่ี ีฟอสซลิ มาก (ฟว ซูลินิด)


Click to View FlipBook Version