The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

รายงานประจำปีสถานีพัฒนาที่ดินปราจีนบุรี ปี 2566

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Thongchai Malakul Na Ayutaya, 2023-10-19 22:24:19

รายงานประจำปีสถานีพัฒนาที่ดินปราจีนบุรี ปี 2566

รายงานประจำปีสถานีพัฒนาที่ดินปราจีนบุรี ปี 2566

98 สถานีพัฒนาที่ดินปราจีนบุรี รายงานผลงานประจ าปี 2566 โครงการงานจัดระบบอนุรักษ์ดินและน้ า พื้นที่เสี่ยงภัยพิบัติทางการเกษตร ปี 2566 พื้นที่ บ้านคลองตาหลวง หมู่ที่ 2 บ้านคลองวัว หมู่ที่ 12 ต าบลท่างาม อ าเภอเมือง จังหวัดปราจีนบุรี เป้าหมาย 60 ไร่ การพัฒนาที่ดินเพื่อป้องกันและบรรเทาภัยพิบัติ ทางการเกษตร


99 สถานีพัฒนาที่ดินปราจีนบุรี รายงานผลงานประจ าปี 2566 พื้นที่ก่อนด าเนินการ ก าลังด าเนินการ


100 สถานีพัฒนาที่ดินปราจีนบุรี รายงานผลงานประจ าปี 2566 ทางล าเลียงในไร่นา คูระบายน้ า


101 สถานีพัฒนาที่ดินปราจีนบุรี รายงานผลงานประจ าปี 2566 ธนาคารปุ๋ยอินทรีย์ ประเทศไทยเป็นประเทศที่มีการทําเกษตรกรรม เป็นพื้นฐานตั้งแต่อดีตจนปัจจุบัน ซึ่งในการทําเกษตรกรรม จําเป็นพึ่งพาทรัพยากรดินที่อุดมสมบูรณ์ มีปริมาณธาตุอาหารในดินสูงเพียงพอต่อการเจริญเติบโตของพืช แต่ ทรัพยากรดินที่มีอยู่ในประเทศไทยถูกใช้งานมาอย่างขาดการดูแลและรักษาที่ดี ทําให้เกิดความเสื่อมโทรมและเกิด ข้อจํากัด ในการใช้ประโยชน์มากขึ้น วิธีที่จะรักษาคุณภาพดินและฟื้นฟูให้กลับมามรีระดับความอุดมสมบูรณ์อย่างมี ประสิทธิภาพและยั่งยืน จําเป็นต้องพึ่งพาและให้ความสําคัญต่อการเกษตรธรรมชาติ เกษตรปลอดภัย หรือเกษตร อินทรีย์ เข้ามาช่วยแก้ไขปัญหาการใช้สารเคมีที่มีต้นทุนสูง และแก้ความเสื่อมโทรมให้แก่ดินในระยะยาว กรมพัฒนาที่ดิน ได้ให้ความสําคัญเรื่องการใช้ปุ๋ยอินทรีย์ ซึ่งมีผลกระทบต่อการปรับโครงการสร้างดินและ ให้ธาตุอาหารที่จําเป็นแก่พืช การใช้ปุ๋ยอินทรีย์มีหลายรูปแบบ เช่น ปุ๋ยพืชสด โดยการใช้เมล็ดพันธุ์พืชตะกูลถั่ว เช่น ถั่วมะแฮะ ถั่วพร้า โสนอัฟริกัน ปอเทืองนํามาปลูกและทําการไถกลบ การทําปุ๋ยหมัก น้ําหมักชีวภาพ โดยนําเอาเศษ พืช จากไร่นา จากโรงงานอุตสาหกรรม จากครัวเรือน จากตลาด นํามาผลิตเป็นปุ๋ยหมักหรือน้ําหมักชีวภาพ จะเป็น การใช้วัสดุให้เกิดประโยชน์ ลดมลภาวะต่าง ๆ และขยะได้ นอกจากนี้ยังช่วยลดปัญหาการเผาเศษพืชในไร่นาและ ขยะได้มากขึ้น ประกอบกับทิศทางของการทําการเกษตรที่มุ่งเน้นเรื่องความปลอดภัยทั้งตัวผู้ผลิตและบริโภค เพื่อให้ เกิดความยั่งยืนในการใช้ประโยชน์การทําการเกษตรแบบเกษตรอินทรีย์จึงเป็นสิ่งจําเป็นอย่างยิ่ง กรมพัฒนาที่ดิน เป็นหน่วยงานที่ดําเนินการในการพัฒนาปรับปรุงคุณภาพดิน เพื่อให้สามารถใช้ประโยชน์ จากดินได้อย่างยั่งยืน และเพื่อเป็นการช่วยเกษตรกร ลดต้นทุนการผลิตโดยการใช้ปุ๋ยอินทรีย์เพื่อลการใช้ปุ๋ยเคมี/ สารเคมี หรือร่วมกันใช้อย่างเหมาะสม ได้ดําเนินการจัดตั้งธนาคารปุ๋ยอินทรีย์ขึ้นในพื้นที่การดูแลของสถานีพัฒนา ที่ดินในแต่ละจังหวัด รวมถึงหน่วยงานภายในกรมพัฒนาที่ดินที่มีศักยภาพในการผลิต เพื่อผลิตปุ๋ยอินทรีย์ โดย มุ่งเน้นให้เกษตรกรนําเอาเศษวัสดุเหลือใช้ในไร่นา ในครัวเรือน และจากโรงงานอุตสาหกรรมมาฝากไว้ที่ธนาคาร ธนาคารจะทําการผลิตปุ๋ยอินทรีย์ให้เกษตรกรมาเบิกถอนเอาไปใช้ประโยชน์เมื่อวัสดุนั้นย่อยสลายเป็นปุ๋ยแล้ว หรือ ให้เกษตรกรกู้ยืมปุ๋ยจากธนาคารไปใช้แล้วใช้หนี้ด้วยวัสดุเหลือใช้จากไร่นาและโรงงานอุตสาหกรรมหรือปุ๋ยคอก เพื่อให้เกิดการผลิตและมีการนําไปใช้ประโยชน์ได้ถูกต้อง มีราคาถูก พร้อมทั้งช่วยลดปัญหาการเผาและปัญหาจาก กําจัดหรือทิ้งขยะในอนาคต นอกจากนี้ กรมพัฒนาที่ดินได้น้อมนําปุ๋ยหมักสูตรพระราชทานจากสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาสยามบรม ราชกุมารี มาเผยแพร่ให้เกษตรกรนําไปดําเนินการและใช้ในพื้นที่ของตนเองด้วย 1. วัตถุประสงค์ 1. ให้มีการดําเนินการผลิตและใช้ประโยชน์ปุ๋ยอินทรีย์อย่างต่อเนื่องและยั่งยืน 2. เพื่อกระตุ้นให้เกษตรกรเห็นความสําคัญของวัสดุเหลือใช้ในการเกษตรและโรงงานอุตสาหกรรม 3. ให้เกษตรกรลดละเลิกการเผาด้วยการนําเอาวัสดุเหลือใช้จากไร่นามาผลิตปุ๋ยอินทรีย์ลดการใช้ ปุ๋ยเคมี เป็นการลดต้นทุนในการผลิต 4. เพื่อรณรงค์ส่งเสริมให้เกษตรกรทําการเกษตรแบบเกษตรอินทรีย์ให้มากขึ้น โครงการธนาคารปุ๋ยอินทรีย์


102 สถานีพัฒนาที่ดินปราจีนบุรี รายงานผลงานประจ าปี 2566 ภาพกิจกรรมโครงการธนาคารปุ๋ยอินทรีย์(ต่อยอด) ธนาคารปุ๋ยอินทรีย์ 1 แห่ง ธนาคารปุ๋ยหมัด พด. จ้านวน 5 ตัน ธนาคารน ้าหมักชีวภาพ จ้านวน 4,600 ลิตร


103 สถานีพัฒนาที่ดินปราจีนบุรี รายงานผลงานประจ าปี 2566 ส่งเสริมการปลูกพืชปุ๋ยสดปรับปรุงบ ารุง จ านวน 2000 ไร่ การเพิ่มอินทรียวัตถุให้แก่ดิน ทําได้โดยการใช้ปุ๋ยอินทรีย์ ซึ่งมีหลายชนิดด้วยกันเช่น การใช้ปุ๋ยคอก ปุ๋ยหมัก เป็นต้น แต่มีข้อจํากัด คือ ต้องใช้ในปริมาณมากต่อไร่ ไม่สะดวกแก่การขนย้ายปุ๋ย และหาได้ไม่เพียงพอ ดังนั้นวิธีการเพิ่ม อินทรียวัตถุ ให้แก่ดินอีกวิธีหนึ่ง ที่มีวิธีการปฏิบัติง่ายก็คือ การใช้ปุ๋ยพืชสด ปุ๋ยพืชสด คือ ปุ๋ยอินทรีย์ชนิดหนึ่ง ที่ได้จากการไถกลบ ต้น ใบ และส่วนต่างๆของพืช โดยเฉพาะ พืชตระกูลถั่ว ในระยะช่วงออกดอก ซึ่งเป็นช่วงที่มีธาตุอาหารสูงสุด แล้วปล่อยทิ้งไว้ให้เน่าเปื่อยผุพัง ย่อยสลายเป็น อาหารแก่พืชที่จะปลูกตามมา พืชที่ใช้ปลูกเป็นปุ๋ยพืชสด ได้แก่ โสนอินเดีย ปอเทือง อัญชัน ไมยราพไร้หนาม พืช ตระกูลถั่วต่างๆ เป็นต้น ลักษณะทั่วไปของพืชปุ๋ยสด 1. ปลูกง่าย เจริญเติบโตเร็ว ระบบรากแข็งแรง ออกดอกในระยะเวลาอันสั้น คือประมาณ 30 – 60 วัน 2. สามารถให้น้ําหนักพืชสดสูง ตั้งแต่ 2,000 กิโลกรัมต่อไร่ ขึ้นไป 3. ทนแล้งและทนต่อสภาพแวดล้อมต่างๆได้ดี สามารถปลูกได้ทุกฤดูกาล 4. มีความต้านทานต่อโรคและแมลง 5. สามารถผลิตเมล็ดพันธุ์ได้มาก และขยายพันธุ์ได้รวดเร็ว เพื่อให้ทันและเพียงพอต่อความต้องการ เมล็ดงอก ง่ายและมีเปอร์เซนต์ความงอกสูง 6. ทําการเก็บเกี่ยว ตัดสับและไถกลบได้ง่าย ไม่ควรเป็นเถาเลื้อยมากเพราะจะทําให้ไม่สะดวกแก่การไถกลบ ประโยชน์ของปุ๋ยพืชสด 1. เพิ่มปริมาณอินทรียวัตถุในดิน 2. เพิ่มธาตุไนโตรเจนซึ่งเป็นธาตุอาหารหลักให้แก่พืช 3. กรดที่เกิดจากการผุพังของพืชสด ช่วยละลายธาตุ อาหารในดินให้แก่พืชได้มากยิ่งขึ้น 4. บํารุงและรักษาความอุดมสมบูรณ์ของดิน 5. รักษาความชุ่มชื้นในดินและให้ดินอุ้มน้ําได้ดีขึ้น 6. ทําให้ดินร่วนซุย สะดวกในการเตรียมดินและไถ พรวน 7. ช่วยในการปราบวัชพืชบางชนิดได้เป็นอย่างดี 8. ลดปริมาณการใช้ปุ๋ยเคมีลงได้บางส่วน 9. ลดอัตราการสูญเสียดินอันเกิดจากการชะล้าง 10.เพิ่มผลผลิตของพืชให้สูงขึ้น สนับสนุนการใช้พืชปุ๋ยสดปรับปรุงบ ารุงดิน (ปอเทือง)


104 สถานีพัฒนาที่ดินปราจีนบุรี รายงานผลงานประจ าปี 2566 7. ลําต้นอ่อน เมื่อไถกลบแล้วเน่าเปื่อยผุพังได้เร็วและมีธาตุอาหารพืชสูง การปลูกพืชปุ๋ยสด 1. ลักษณะของดิน ก่อนปลูกควรปรับปรุงสภาพของดินให้เหมาะสม เช่นถ้าเป็นดินเปรี้ยวควรใส่ปูนลงไปก่อน จะช่วยให้พืชสดเจริญเติบโตและให้น้ําหนักพืชสดสูงด้วย 2. เวลาและฤดูกาลที่ปลูก เวลาที่เหมาะสมที่สุดคือ ปลูกช่วงต้นฤดูฝน หรือปลูกหลังจากเก็บเกี่ยวพืช ซึ่ง ความชื้นในดินยังคงมีอยู่ หรือปลูกก่อนการปลูกพืชหลัก ประมาณ 3 เดือน 3. เมล็ดพันธุ์พืชปุ๋ยสด ที่ใช้ปลูกเพื่อไถกลบในพื้นที่ 1 ไร่ ควรใช้อัตราเมล็ดดังนี้ ปอเทือง 5 กก., โสนอินเดีย 5 กก., โสนคางคก 5 กก., โสนไต้หวัน 5 กก., ถั่วพร้า 5 กก., ถั่วเขียว 5 กก., ถั่วเหลือง 8 กก., ถั่วพุ่ม 8 กก สนับสนุนปอเทือง อําเภอศรีมหาโพธิ , อําเภอประจันตคาม สนับสนุนปอเทือง ตําบลโคกไทย อําเภอศรีมโหสถ สนับสนุนปอเทือง อําเภอกบินทร์บุรี


105 สถานีพัฒนาที่ดินปราจีนบุรี รายงานผลงานประจ าปี 2566 สนับสนุนปอเทือง ตําบลคู้ลําพัน อําเภอศรีมโหสถ สนับสนุนปอเทือง ตําบลโคกปีบ อําเภอศรีมโหสถ สนับสนุนปอเทือง อําเภอนาดี


106 สถานีพัฒนาที่ดินปราจีนบุรี รายงานผลงานประจ าปี 2566 ไถกลบตอซังเพื่อเพิ่มอินรทรีย์วัตถุและแร่ธาตุในดิน 500 ไร่ ประโยชน์จากการไถกลบตอซังข้าว 1. ปรับปรุงสมบัติทางกายภาพของดิน ทําให้ดินโปร่ง ร่วนซุย ง่ายต่อการเตรียมดิน การปักดํากล้า และทําให้ระบบรากพืชสามารถแพร่กระจายใน ดินได้มากขึ้น การระบายอากาศของดินเพิ่มมากขึ้น เพิ่มการซึมผ่านของน้ า และการอุ้มน้ าของดินให้ดีขึ้น 2. ปรับปรุงสมบัติทางเคมีของดิน เป็นการเพิ่มธาตุอาหารให้แก่ดินโดยตรง ถึงแม้ปริมาณธาตุอาหารจะไม่มากเมื่อเปรียบเทียบกับปุ๋ยเคมี แต่ จะมีธาตุอาหารครบถ้วนตามที่พืชต้องการทั้งธาตุอาหารหลัก (ไนโตรเจน ฟอสฟอรัส และโพแทสเซียม) ธาตุอาหารรอง (แคลเซียม แมกนีเซียม และกํามะถัน) และจุลธาตุ (เหล็ก แมงกานีส ทองแดง สังกะสี โบรอน โมลิบดินัม และคลอรีน) และจะค่อยๆปลดปล่อยให้เป็นประโยชน์ต่อพืชในระยะยาว ช่วยดูดยึดธาตุอาหารจากการใส่ปุ๋ยเคมีไม่ให้สูญเสียไปจากดินซึ่งพืชสามารถนําไปใช้ประโยชน์ได้ เป็นการ เพิ่มประสิทธิภาพ และลดปริมาณการใช้ปุ๋ยเคมี ช่วยเพิ่มความต้านทานการเปลี่ยนแปลงความเป็นกรดเป็นด่างของดินทําให้การเปลี่ยนแปลงไม่รวดเร็วจน เป็นอันตรายต่อพืช ช่วยลดความเป็นพิษของเหล็กและแมงกานีสในดิน ช่วยลดความเป็นพิษจากดินเค็ม 3. ปรับปรุงสมบัติทางชีวภาพของดิน อินทรียวัตถุเป็นแหล่งอาหารและแหล่งพลังงานของจุลินทรีย์ดินมีผลทําให้ปริมาณและกิจกรรมของ จุลินทรีย์เพิ่มขึ้น โดยเฉพาะกิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับการเปลี่ยนแปลงธาตุอาหารในดินให้อยู่ในรูปที่เป็น ประโยชน์ต่อพืช การเพิ่มปริมาณหรือจํานวนของจุลินทรีย์ดินมีผลช่วยลดปริมาณเชื้อสาเหตุโรคพืชบางชนิดในดินลดน้อยลง ไถกลบตอซังเพื่อเพิ่มอินรทรีย์วัตถุและแร่ธาตุในดิน


107 สถานีพัฒนาที่ดินปราจีนบุรี รายงานผลงานประจ าปี 2566 ภาพกิจกรรม ตําบลโคกไทย อําเภอศรีมโหสถ นายสมพงษ์ ชะลิตะ ม.6 ต.โคกไทย อ.ศรีมโหสถ จ.ปราจีนบุรี พิกัดแปลง E 767363 N 1531208 นายดอน ช่างเก็บ ม.6 ต.โคกไทย อ.ศรีมโหสถ จ.ปราจีนบุรี พิกัดแปลง E 766945 N 1531514


108 สถานีพัฒนาที่ดินปราจีนบุรี รายงานผลงานประจ าปี 2566 ภาพกิจกรรม นายสิบทิศ กิตติสุนทโรภาศ ม.1 ต.ไผ่ชะเลือด อ.ศรีมโหสถ จ.ปราจีนบุรี พิกัดแปลง E 758033 N 1541046 นายชุมพล วงษ์ศิลา ม.1 ต.ไผ่ชะเลือด อ.ศรีมโหสถ จ.ปราจีนบุรี พิกัดแปลง E 757927 N 1540654


109 สถานีพัฒนาที่ดินปราจีนบุรี รายงานผลงานประจ าปี 2566 ภาพกิจกรรม นางณัฐธิมา คงคา ม.7 ต.บางแตน อ.บ้านสร้าง จ.ปราจีนบุรี พิกัดแปลง E 737075 N 1537353 อ.กบินทร์บุรี จ.ปราจีนบุรี


110 สถานีพัฒนาที่ดินปราจีนบุรี รายงานผลงานประจ าปี 2566 ภาพกิจกรรม พื้นที่ หมู่ที่ 3 ตําบลรอบเมือง อําเภอเมือง จังหวัดปราจีนบุรี พื้นที่ หมู่ที่ 8 ตําบลไม้เค็ด อําเภอเมือง จังหวัดปราจีนบุรี พื้นที่ดําเนินงาน : บ้านบุพราหมณ์ ม.3 ต.บุพราหมณ์ อ.นาดี จ.ปราจีนบุรี จํานวน 52 ไร่ พิกัด E 810795 ,N 1578504 : บ้านนิคมสหกรณ์ ม.7 ต.ทุ่งโพธิ์ อ.นาดีจ.ปราจีนบุรี จํานวน 12 ไร่ พิกัด E 811476 ,N 1562705 : บ้านสําพันตา ม.1 ต.สําพันตา อ.นาดี จ.ปราจีนบุรี จํานวน 36 ไร่ พิกัด E 797830 ,N 1557974


111 สถานีพัฒนาที่ดินปราจีนบุรี รายงานผลงานประจ าปี 2566 โครงการ “ไถกลบแทนเผา บรรเทามลพิษ พิชิตหมอกควัน”(kick off)


112 สถานีพัฒนาที่ดินปราจีนบุรี รายงานผลงานประจ าปี 2566 โครงการเกษตรอินทรีย์ในโรงเรียน กรมพัฒนาที่ดิน ปีงบประมาณ 2566 1. หลักการและเหตุผล โรงเรียนเป็นสถาบันการศึกษาขั้นพื้นฐานของประเทศไทย เป็นแหล่งเรียนรู้และถ่ายทอดความรู้ด้านต่างๆ ไม่ว่าจะเป็นด้านวิชาการ ภาษา การอาชีพ ตลอดจนการเกษตร ให้แก่นักเรียน ซึ่งก็คือ เด็กและเยาวชนที่จะต้อง เรียนรู้และเจริญเติบโตเป็นผู้ใหญ่ที่ดี สุขภาพดีทั้งร่างกายและจิตใจ เพื่อเป็นกําลังสําคัญในการพัฒนาประเทศต่อไป ในอนาคต การที่โรงเรียนซึ่งเปรียบเสมือนบ้านหลังที่สองของนักเรียน สามารถให้ความรู้ซึ่งเป็นพลังทางสมองแล้ว หากโรงเรียนสามารถสนับสนุนให้นักเรียนได้รับประทานอาหารที่สะอาด เหมาะสม และถูกต้องตามหลักโภชนาการ ด้วยแล้ว ก็จะเป็นการให้ร่างกายมีพลังงานสามารถทํากิจกรรมต่างๆ ของทางโรงเรียน และการใช้ชีวิตประจําวันได้ อย่างมีประสิทธิภาพ เป็นความหวังและอนาคตของชาติต่อไป กรมพัฒนาที่ดินเล็งเห็นความสําคัญของการมีโภชนาการทางอาหารที่ดีของนักเรียน จึงได้มีการดําเนินการ โครงการเกษตรอินทรีย์ในโรงเรียนขึ้น เพื่อปลูกฝังเยาวชนนักเรียนในเรื่องการทําการเกษตร และปลูกพืชผักให้ ปลอดสารพิษ เพื่อให้ปลอดภัยทั้งต่อผู้บริโภคและผู้ผลิต โดยกรมพัฒนาที่ดินจะสนับสนุน อุปกรณ์และปัจจัยการ ผลิตที่เป็นเทคโนโลยีของกรมพัฒนาที่ดิน เพื่อนําไปใช้ในการสาธิตการผลิตและการนําไปใช้ในแปลงเกษตรที่มีการ ดําเนินการในโรงเรียน นอกจากนี้ ยังมีการจัดการอบรมให้แก่วิทยากรหรือครูเกษตรที่รับผิดชอบโครงการในแต่ละ โรงเรียนเพื่อให้ความรู้ในด้านต่างๆ ได้แก่ ด้านการปรับปรุงบํารุงดิน การผลิตปุ๋ยอินทรีย์และสารชีวภาพ การผลิตใน ระบบเกษตรอินทรีย์ตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง เป็นต้น เพื่อนําความรู้ดังกล่าวไปถ่ายทอดให้แก่นักเรียนที่ เข้าร่วมโครงการ สร้างความเข้าใจและตระหนักถึงความสําคัญของการทําการเกษตรอย่างปลอดภัยโดยใช้ เทคโนโลยีชีวภาพและผลิตภัณฑ์ของกรมพัฒนาที่ดิน ซึ่งนักเรียนในโรงเรียนที่ได้รับการคัดเลือกส่วนใหญ่เป็น ลูกหลานหรือมีครอบครัวที่ประกอบอาชีพเป็นเกษตรกร ซึ่งเปรียบเสมือนรากแก้วของแผ่นดิน ดังนั้น การถ่ายทอด องค์ความรู้พื้นฐานด้านการพัฒนาที่ดิน โดยใช้เทคโนโลยีชีวภาพของกรมพัฒนาที่ดินให้แก่นักเรียนในโรงเรียน จะ เป็นการปลูกจิตส านึกการเรียนรู้ให้แก่เยาวชนให้มีความรู้พื้นฐานในการทําการเกษตรได้อย่างถูกต้อง และหวังผล ให้นักเรียนที่เข้าร่วมโครงการสามารถถ่ายทอดความรู้ไปสู่ผู้ปกครอง เพื่อนนักเรียน และเกษตรกรทั่วไป สามารถทํา การเกษตรที่ปลอดภัย และเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม โครงการเกษตรอินทรีย์ในโรงเรียน นอกจากการที่กรมพัฒนาที่ดินสนับสนุนอุปกรณ์ ปัจจัยการผลิต และ องค์ความรู้ในการทําการเกษตรอย่างถูกต้องและปลอดภัยแล้ว ผลผลิตจากแปลงเกษตรของนักเรียนที่ร่วมกันทําขึ้น ในโรงเรียนนั้น สามารถนําไปใช้ในการประกอบอาหารกลางวันให้กับเด็กนักเรียนในโรงเรียนอีกด้วย โดยเฉพาะอย่าง ยิ่งโรงเรียนในถิ่นทุรกันดาร ซึ่งสามารถช่วยแก้ไขปัญหาการขาดแคลนอาหารของโรงเรียน ในถิ่นทุรกันดารได้อีกทาง หนึ่ง 2. วัตถุประสงค์ 2.1 เพื่อสร้างและพัฒนาโรงเรียนที่เข้าโครงการเป็นแหล่งเรียนรู้ด้านการเกษตรและการพัฒนาที่ดิน 2.2 เพื่อเป็นแหล่งอาหารกลางวันให้กับนักเรียนในโรงเรียนที่เข้าร่วมโครงการ 2.3 เพื่อจัดระดับโรงเรียนที่เข้าร่วมโครงการ เพื่อใช้เป็นแนวทางในการพัฒนาต่อไป โครงการส่งเสริมเกษตรอินทรีย์ในโรงเรียน (ร.ร. ใหม่ , ร.ร. เดิม)


113 สถานีพัฒนาที่ดินปราจีนบุรี รายงานผลงานประจ าปี 2566 3. เป้าหมาย 3.1 โรงเรียนใหม่ที่เข้าร่วมโครงการ สพด.ปราจีนบุรี จํานวน 2 แห่ง 3.1.1 โรงเรียนนิคมพัฒนา ม.6 ต.บางปลาร้า อ.บ้านสร้าง จ.ปราจีนบุรี 3.1.2 โรงเรียนบ้านบ่อแร่ธารเลา ม.12 ต.เนินหอม อ.เมือง จ.ปราจีนบุรี 3.2 โรงเรียนต่อยอดขยายผลจากโรงเรียนเดิมที่เข้าร่วมโครงการ ระหว่างปี 2558-2565 สพด.ปราจีนบุรี จํานวน 8 แห่ง 3.2.1 โรงเรียนบ้านหนองเต่า ม.5 ต.ไม้เค็ด อ.เมือง จ.ปราจีนบุรี 3.2.2 โรงเรียนบ้านเนินหอม ม.20 ต.เนินหอม อ.เมือง จ.ปราจีนบุรี 3.2.3 โรงเรียนบ้านท่าตูม ม.1 ต.ท่าตูม อ.ศรีมหาโพธิ จ.ปราจีนบุรี 3.2.4 โรงเรียนวัดโคกปุาแพง ม.7 ต.กบินทร์บุรี อ.กบินทร์บุรี จ.ปราจีนบุรี 3.2.5 โรงเรียนบ้านโปร่งใหญ่ ต.วังท่าช้าง อ.กบินทร์บุรี จ.ปราจีนบุรี 3.2.6 โรงเรียนวัดคลองเฆ่ ม.8 ต.บางยาง อ.บ้านสร้าง จ.ปราจีนบุรี 3.2.7 โรงเรียนวัดแสงสว่าง ม.2 ต.โคกไทย อ.ศรีมโหสถ จ.ปราจีนบุรี 3.2.8 โรงเรียนบ้านชงโคสันติสุขวิทยาคาร ม.3 ต.แก่งดินสอ อ.นาดี จ.ปราจีนบุรี 4. วิธีการและรายละเอียดกิจกรรมในการด าเนินงาน 4.1 การดําเนินงานของ กวจ. 4.1.1 จัดทําโครงการและจัดสรรงบประมาณพร้อมทั้งกําหนดหลักเกณฑ์ในการจัดระดับโรงเรียน ที่เข้าร่วมโครงการ 4.1.2 ชี้แจงรายละเอียดโครงการให้กับเจ้าหน้าที่ที่รับผิดชอบในพื้นที่ทราบเพื่อให้นําไปปฏิบัติได้ อย่างถูกต้อง 4.1.3 จัดอบรมให้ความรู้แก่วิทยากร ซึ่งเป็นครูจากโรงเรียนที่เข้าร่วมโครงการ 4.1.4 ประสานงานและติดตามการดําเนินงานของเจ้าหน้าที่ให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์และ เปูาหมายที่กําหนด 4.1.5 รวบรวมข้อมูลการดําเนินงานของทุกหน่วยงานและประเมินผลการดําเนินโครงการใน ภาพรวม 4.1.6 จัดทํารายงานสรุปผลการดําเนินงานเสนอกรมฯ ทราบ 4.2 การดําเนินงานของ สพด. และ ศพล. 4.2.1 คัดเลือกโรงเรียนที่มีคุณสมบัติเหมาะสมและมีความพร้อมเข้าร่วมโครงการ 4.2.2 ชี้แจงวิธีการดําเนินงานและสนับสนุนปัจจัยการผลิตตามรายละเอียดงบประมาณของ โรงเรียนแต่ละประเภท 4.2.3 ถ่ายทอดองค์ความรู้และเทคโนโลยีด้านการพัฒนาที่ดิน ให้แก่ครูและนักเรียนที่เข้าร่วม โครงการ 4.2.4 ประสานงานกับครูและนักเรียนเพื่อร่วมกันวางแผนการทําการเกษตรให้เหมาะสมตาม ความต้องการและบริบทในแต่ละท้องถิ่น 4.2.5 ลงพื้นที่ติดตาม ให้คําแนะนําและช่วยเหลือหากครูหรือนักเรียนในโรงเรียนเกิดปัญหา อุปสรรคที่เกี่ยวข้องกับการดําเนินงานหรือการเกษตร


114 สถานีพัฒนาที่ดินปราจีนบุรี รายงานผลงานประจ าปี 2566 4.2.6 เก็บรวบรวมข้อมูลรายละเอียดการดําเนินงานต่างๆ รวมทั้งกิจกรรมที่มีการดําเนินงาน ตาม แบบฟอร์มที่กําหนด 4.2.7 จัดทํารายงานสรุปผลการดําเนินงานส่งมายังกลุ่มวิจัยและพัฒนาหมอดินอาสาและบริหาร จัดการเครือข่าย กวจ. ทาง E-Mail : [email protected] ภายในวันที่ 31 สิงหาคม 2566 4.3 รายละเอียดกิจกรรมที่ใช้ในการถ่ายทอดองค์ความรู้ด้านการพัฒนาที่ดิน 1) ความสําคัญของอินทรียวัตถุในดิน และการจัดการดินให้เหมาะสม 2) การทําปุ๋ยหมักจากสารเร่งซุปเปอร์ พด.1 และการผลิตน้ําหมักชีวภาพจากสารเร่งซุปเปอร์ พด.2 และ การนําไปใช้ประโยชน์ 3) การผลิตเชื้อจุลินทรีย์ควบคุมเชื้อสาเหตุของโรคพืช โดยใช้สารเร่งซุปเปอร์ พด.3 4) การผลิตสารบําบัดน้ําเสีย ขจัดกลิ่นเหม็น และกําจัดลูกน้ํายุงรําคาญ จากสารเร่ง ซุปเปอร์ พด. 6 5) การผลิตสารปูองกันแมลงศัตรูพืชจากสารเร่งซุปเปอร์ พด.7 6) การใช้ประโยชน์พืชปุ๋ยสดเพื่อการปรับปรุงบํารุงดิน 7) การปลูกหญ้าแฝกและการใช้ประโยชน์หญ้าแฝกเพื่อการอนุรักษ์ดินและน้ํา 8) การไถกลบฟางและตอซังพืชเพื่อการปรับปรุงบํารุงดินและเพื่อเพิ่มอินทรียวัตถุให้กับดิน 9) การทําการเกษตรในระบบการปฏิบัติทางการเกษตรที่ดี (Good Agriculture Practice : GAP) 5. สถานที่ด าเนินการ โรงเรียนในพื้นที่ - อําเภอเมือง จํานวน 3 โรงเรียน (ใหม่ 1 โรงเรียน, ต่อยอด 2 โรงเรียน) - อําเภอศรีมโหสถ จํานวน 2 โรงเรียน (ต่อยอด 1 โรงเรียน) - อําเภอบ้านสร้าง จํานวน 2 โรงเรียน (ใหม่ 1 โรงเรียน, ต่อยอด 1 โรงเรียน) - อําเภอกบินทร์บุรี จํานวน 2 โรงเรียน (ต่อยอด 2 โรงเรียน) - อําเภอศรีมหาโพธิ จํานวน 1 โรงเรียน (ต่อยอด 1 โรงเรียน) - อําเภอนาดี จํานวน 1 โรงเรียน (ต่อยอด 1 โรงเรียน) 6. ระยะเวลาด าเนินงาน ตุลาคม 2565 – กันยายน 2566 7. แผนงานและงบประมาณ จํานวน 70,000 บาท แผนงาน/กิจกรรม หน่วยนับ การดําเนินงาน งบประมาณ (บาท) แผนการ ดําเนินงาน แผนการ ปฏิบัติการ งบประมาณ ที่ได้รับ ผลเบิกจ่าย งบประมาณ 1.โรงเรียนใหม่ แห่ง 2 2 30,000 30,000 2.โรงเรียนต่อยอด แห่ง 8 8 40,000 40,000 รวม 10 10 70,000 70,000 7.1 งบประมาณส าหรับด าเนินการในโรงเรียนใหม่ จัดสรรงบประมาณให้โรงเรียนละ 15,000 บาท จํานวน 2 แห่ง เป็นเงิน 30,000 บาท โดยมีรายละเอียดงบประมาณ ดังนี้ 1. กากน้ําตาล จํานวน 360 กก.ๆ ละ 13 บาท เป็นเงิน 4,680 บาท 2. ถังพลาสติก พร้อมฝาปิด ขนาด 120 ลิตร


115 สถานีพัฒนาที่ดินปราจีนบุรี รายงานผลงานประจ าปี 2566 จํานวน 8 ใบๆ ละ 500 บาท เป็นเงิน 4,000 บาท 3. พืชสมุนไพร จํานวน 115 กก.ๆ ละ 10 บาท เป็นเงิน 1,150 บาท 4. ผักและผลไม้ จํานวน 172 กก.ๆ ละ 10 บาท เป็นเงิน 1,720 บาท 5. อุปกรณ์การเกษตร เป็นเงิน 7,050 บาท 6. ขี้วัว จํานวน 200 กก.ๆ ละ 3 บาท เป็นเงิน 600 บาท 7. ขี้ไก่แกลบ จํานวน 200 กก.ๆ ละ 2.5 บาท เป็นเงิน 500 บาท 8. แกลบดํา จํานวน 400 กก.ๆ ละ 1.5 บาท เป็นเงิน 600 บาท 9. เมล็ดพันธุ์ผัก จํานวน 120 ซองๆ ละ 25 บาท เป็นเงิน 3,000 บาท 10. ปูายโครงการ จํานวน 2 ปูาย เป็นเงิน 3,600 บาท 11. อํานวยการ (เบี้ยเลี้ยง) เป็นเงิน 3,100 บาท รวมเป็นเงิน 30,000 บาท 7.1.1 โรงเรียนนิคมพัฒนา ม.6 ต.บางปลาร้า อ.บ้านสร้าง จ.ปราจีนบุรี - กากน้ําตาล จํานวน 200 กก.ๆ ละ 13 บาท เป็นเงิน 2,600 บาท - ถังพลาสติก พร้อมฝาปิด ขนาด 120 ลิตร จํานวน 4 ใบๆ ละ 500 บาท เป็นเงิน 2,000 บาท - พืชสมุนไพร จํานวน 70 กก.ๆ ละ 10 บาท เป็นเงิน 700 บาท - ผักและผลไม้ จํานวน 60 กก.ๆ ละ 10 บาท เป็นเงิน 600 บาท - อุปกรณ์การเกษตร เป็นเงิน 3,000 บาท จอบเหล็ก 6 ด้ามๆ ละ 250 บาท = 1,500 บาท คราดเหล็ก 1 ด้ามๆ ละ 200 บาท = 200 บาท เสียม (ขนาดเล็ก) 5 ด้ามๆ ละ 120 บาท = 600 บาท บัวรดน้ํา (ขนาดกลาง) 6 ใบๆ ละ 75 บาท = 450 บาท ช้อนปลูก 10 ด้ามๆ ละ 25 บาท = 250 บาท - ขี้วัว จํานวน 200 กก.ๆ ละ 3 บาท เป็นเงิน 600 บาท - ขี้ไก่แกลบ จํานวน 200 กก.ๆ ละ 2.5 บาท เป็นเงิน 500 บาท - แกลบดํา จํานวน 400 กก.ๆ ละ 1.5 บาท เป็นเงิน 600 บาท - เมล็ดพันธุ์ผัก จํานวน 60 ซองๆ ละ 25 บาท เป็นเงิน 1,500 บาท - ปูายโครงการ จํานวน 1 ปูายๆ ละ 1,800 บาท เป็นเงิน 1,800 บาท - อํานวยการ (เบี้ยเลี้ยง) เป็นเงิน 1,100 บาท รวมเป็นเงิน 15,000 บาท 7.1.2 โรงเรียนบ้านบ่อแร่ธารเลา ม.12 ต.เนินหอม อ.เมือง จ.ปราจีนบุรี - กากน้ําตาล จํานวน 160 กก.ๆ ละ 13 บาท เป็นเงิน 2,080 บาท - ถังพลาสติก พร้อมฝาปิด ขนาด 120 ลิตร จํานวน 4 ใบๆ ละ 500 บาท เป็นเงิน 2,000 บาท - พืชสมุนไพร จํานวน 45 กก.ๆ ละ 10 บาท เป็นเงิน 450 บาท


116 สถานีพัฒนาที่ดินปราจีนบุรี รายงานผลงานประจ าปี 2566 - ผักและผลไม้ จํานวน 112 กก.ๆ ละ 10 บาท เป็นเงิน 1,120 บาท - อุปกรณ์การเกษตร เป็นเงิน 4,050 บาท จอบเหล็ก 5 ด้ามๆ ละ 250 บาท = 1,250 บาท คราดเหล็ก 5 ด้ามๆ ละ 200 บาท = 1,000 บาท เสียม (ขนาดเล็ก) 5 ด้ามๆ ละ 120 บาท = 600 บาท บัวรดน้ํา (ขนาดกลาง) 10 ใบๆ ละ 75 บาท = 750 บาท ช้อนปลูก 18 ด้ามๆ ละ 25 บาท = 450 บาท - เมล็ดพันธุ์ผัก จํานวน 60 ซองๆ ละ 25 บาท เป็นเงิน 1,500 บาท - ปูายโครงการ จํานวน 1 ปูายๆ ละ 1,800 บาท เป็นเงิน 1,800 บาท - อํานวยการ (เบี้ยเลี้ยง) เป็นเงิน 2,000 บาท รวมเป็นเงิน 15,000 บาท 7.2 งบประมาณส าหรับด าเนินการในโรงเรียนต่อยอดขยายผลจากโรงเรียนเดิมที่เข้าร่วมโครงการ ระหว่างปี 2558-2564 จัดสรรงบประมาณให้โรงเรียนละ 5,000 บาท จํานวน 8 แห่ง เป็นเงิน 40,000 บาท โดยมีรายละเอียดงบประมาณ ดังนี้ 1. กากน้ําตาล จํานวน 620 กก.ๆ ละ 13 บาท เป็นเงิน 8,060 บาท 2. พืชสมุนไพร จํานวน 360 กก.ๆ ละ 10 บาท เป็นเงิน 3,600 บาท 3. ผักและผลไม้ จํานวน 468 กก.ๆ ละ 10 บาท เป็นเงิน 4,680 บาท 4. ขี้วัว จํานวน 1,550 กก.ๆ ละ 3 บาท เป็นเงิน 4,650 บาท 5. ขี้ไก่แกลบ จํานวน 372 กก.ๆ ละ 2.5 บาท เป็นเงิน 930 บาท 6. ฟางข้าว จํานวน 14 ก้อนๆ ละ 50 บาท เป็นเงิน 700 บาท 7. รําหยาบ จํานวน 33 กก.ๆ ละ 10 บาท เป็นเงิน 330 บาท 8. เมล็ดพันธุ์ผัก จํานวน 330 ซองๆ ละ 25 บาท เป็นเงิน 8,250 บาท 9. ปูายไวนิล (ใส่กรอบไม้) จํานวน 2 ปูายๆ ละ 400 บาท เป็นเงิน 800 บาท 10. อํานวยการ (เบี้ยเลี้ยง) เป็นเงิน 8,000 บาท รวมเป็นเงิน 40,000 บาท 7.2.1 โรงเรียนบ้านหนองเต่า ม.5 ต.ไม้เค็ด อ.เมือง จ.ปราจีนบุรี - กากน้ําตาล จํานวน 100 กก.ๆ ละ 13 บาท เป็นเงิน 1,300 บาท - พืชสมุนไพร จํานวน 90 กก.ๆ ละ 10 บาท เป็นเงิน 900 บาท - เมล็ดพันธุ์ผัก จํานวน 40 ซองๆ ละ 25 บาท เป็นเงิน 1,000 บาท - ขี้วัว จํานวน 150 กก.ๆ ละ 3 บาท เป็นเงิน 450 บาท - ฟางข้าว จํานวน 7 ก้อนๆ ละ 50 บาท เป็นเงิน 350 บาท - อํานวยการ (เบี้ยเลี้ยง) เป็นเงิน 1,000 บาท รวมเป็นเงิน 5,000 บาท


117 สถานีพัฒนาที่ดินปราจีนบุรี รายงานผลงานประจ าปี 2566 7.2.2 โรงเรียนบ้านเนินหอม ม.20 ต.เนินหอม อ.เมือง จ.ปราจีนบุรี - กากน้ําตาล จํานวน 100 กก.ๆ ละ 13 บาท เป็นเงิน 1,300 บาท - พืชสมุนไพร จํานวน 90 กก.ๆ ละ 10 บาท เป็นเงิน 900 บาท - เมล็ดพันธุ์ผัก จํานวน 40 ซองๆ ละ 25 บาท เป็นเงิน 1,000 บาท - ขี้วัว จํานวน 150 กก.ๆ ละ 3 บาท เป็นเงิน 450 บาท - ฟางข้าว จํานวน 7 ก้อนๆ ละ 50 บาท เป็นเงิน 350 บาท - อํานวยการ (เบี้ยเลี้ยง) เป็นเงิน 1,000 บาท รวมเป็นเงิน 5,000 บาท 7.2.3 โรงเรียนบ้านท่าตูม ม.1 ต.ท่าตูม อ.ศรีมหาโพธิ จ.ปราจีนบุรี - กากน้ําตาล จํานวน 40 กก.ๆ ละ 13 บาท เป็นเงิน 520 บาท - ผักและผลไม้ จํานวน 80 กก.ๆ ละ 10 บาท เป็นเงิน 800 บาท - เมล็ดพันธุ์ผัก จํานวน 40 ซองๆ ละ 25 บาท เป็นเงิน 1,000 บาท - ขี้วัว จํานวน 450 กก.ๆ ละ 3 บาท เป็นเงิน 1,350 บาท - รําหยาบ จํานวน 33 กก.ๆ ละ 10 บาท เป็นเงิน 330 บาท - อํานวยการ (เบี้ยเลี้ยง) เป็นเงิน 1,000 บาท รวมเป็นเงิน 5,000 บาท 7.2.4 โรงเรียนวัดโคกป่าแพง ม.7 ต.กบินทร์บุรี อ.กบินทร์บุรี จ.ปราจีนบุรี - กากน้ําตาล จํานวน 100 กก.ๆ ละ 13 บาท เป็นเงิน 1,300 บาท - ผักและผลไม้ จํานวน 170 กก.ๆ ละ 10 บาท เป็นเงิน 1,700 บาท - เมล็ดพันธุ์ผัก จํานวน 40 ซองๆ ละ 25 บาท เป็นเงิน 1,000 บาท - อํานวยการ (เบี้ยเลี้ยง) เป็นเงิน 1,000 บาท รวมเป็นเงิน 5,000 บาท 7.2.5 โรงเรียนบ้านโปร่งใหญ่ต.วังท่าช้าง อ.กบินทร์บุรี จ.ปราจีนบุรี - กากน้ําตาล จํานวน 100 กก.ๆ ละ 13 บาท เป็นเงิน 1,300 บาท - ผักและผลไม้ จํานวน 170 กก.ๆ ละ 10 บาท เป็นเงิน 1,700 บาท - เมล็ดพันธุ์ผัก จํานวน 40 ซองๆ ละ 25 บาท เป็นเงิน 1,000 บาท - อํานวยการ (เบี้ยเลี้ยง) เป็นเงิน 1,000 บาท รวมเป็นเงิน 5,000 บาท 7.2.6 โรงเรียนวัดคลองเฆ่ ม.8 ต.บางยาง อ.บ้านสร้าง จ.ปราจีนบุรี - กากน้ําตาล จํานวน 40 กก.ๆ ละ 13 บาท เป็นเงิน 520 บาท - ผักและผลไม้ จํานวน 48 กก.ๆ ละ 10 บาท เป็นเงิน 480 บาท - ขี้วัว จํานวน 500 กก.ๆ ละ 3 บาท เป็นเงิน 1,500 บาท - เมล็ดพันธุ์ผัก จํานวน 60 ซองๆ ละ 25 บาท เป็นเงิน 1,500 บาท - อํานวยการ (เบี้ยเลี้ยง) เป็นเงิน 1,000 บาท รวมเป็นเงิน 5,000 บาท


118 สถานีพัฒนาที่ดินปราจีนบุรี รายงานผลงานประจ าปี 2566 7.2.7 โรงเรียนวัดแสงสว่าง ม.2 ต.โคกไทย อ.ศรีมโหสถ จ.ปราจีนบุรี - กากน้ําตาล จํานวน 100 กก.ๆ ละ 13 บาท เป็นเงิน 1,300 บาท - พืชสมุนไพร จํานวน 90 กก.ๆ ละ 10 บาท เป็นเงิน 900 บาท - ขี้วัว จํานวน 100 กก.ๆ ละ 3 บาท เป็นเงิน 300 บาท - ขี้ไก่แกลบ จํานวน 200 กก.ๆ ละ 2.5 บาท เป็นเงิน 500 บาท - เมล็ดพันธุ์ผัก จํานวน 40 ซองๆ ละ 25 บาท เป็นเงิน 1,000 บาท - อํานวยการ (เบี้ยเลี้ยง) เป็นเงิน 1,000 บาท รวมเป็นเงิน 5,000 บาท 7.2.8 โรงเรียนบ้านชงโคสันติสุขวิทยาคาร ม.3 ต.แก่งดินสอ อ.นาดี จ.ปราจีนบุรี - กากน้ําตาล จํานวน 40 กก.ๆ ละ 13 บาท เป็นเงิน 520 บาท - พืชสมุนไพร จํานวน 90 กก.ๆ ละ 10 บาท เป็นเงิน 900 บาท - ขี้วัว จํานวน 200 กก.ๆ ละ 3 บาท เป็นเงิน 600 บาท - ขี้ไก่แกลบ จํานวน 172 กก.ๆ ละ 2.5 บาท เป็นเงิน 430 บาท - เมล็ดพันธุ์ผัก จํานวน 30 ซองๆ ละ 25 บาท เป็นเงิน 750 บาท - ปูายไวนิลใส่กรอบ จํานวน 2 ปูายๆ ละ 400 บาท เป็นเงิน 800 บาท - อํานวยการ (เบี้ยเลี้ยง) เป็นเงิน 1,000 บาท รวมเป็นเงิน 5,000 บาท 7.3 งบประมาณสําหรับการถ่ายทอดองค์ความรู้ด้านเทคโนโลยีด้านการพัฒนาที่ดินให้แก่เจ้าหน้าที่ ผู้รับผิดชอบโครงการ ตั้งไว้ที่ กวจ. 7.4 งบประมาณในการบริหารจัดการโครงการ ได้แก่ ค่าจ้างเหมาพนักงานเก็บข้อมูลเข้าระบบ การติดต่อ ประสานงานการดําเนินงาน การจัดทําโครงการติดตามและประเมินผลการดําเนินงานโครงการฯ เพื่อหาแนว ทางการแก้ไขปัญหาอุปสรรคและสรุปรายงานผลการดําเนินงานในภาพรวม จัดสรรให้กับ กวจ. 8. ผลผลิต 8.1 โรงเรียนใหม่ 1) นักเรียนและครูที่เป็นกลุ่มเปูาหมาย ปี 2566 จํานวน 2 แห่ง ได้รับความรู้ด้านการใช้ เทคโนโลยีชีวภาพและปัจจัยการผลิตทางการเกษตรของกรมพัฒนาที่ดิน 2) โรงเรียนมีแหล่งเรียนรู้และแปลงสาธิตด้านการทําการเกษตรให้นักเรียน ครูและคนใน ชุมชนได้ เข้ามาศึกษา 3) โรงเรียนมีอาหารปลอดภัยจากผลผลิตทางการเกษตรภายใต้โครงการเกษตรอินทรีย์ในโรงเรียน สําหรับใช้เป็นอาหารกลางวันให้เด็กนักเรียนรับประทาน 8.2 โรงเรียนต่อยอดขยายผลฯ 1) นักเรียนและครูในโรงเรียนต่อยอดขยายผล (ปี 2558-2565) ที่เป็นกลุ่มเปูาหมาย ปี 2565 จํานวน 8 แห่ง ได้รับความรู้ด้านการใช้เทคโนโลยีชีวภาพและปัจจัยการผลิตทางการเกษตรของกรม พัฒนาที่ดิน 2) โรงเรียนมีแหล่งเรียนรู้และแปลงสาธิตด้านการทําการเกษตรให้นักเรียน ครูและคนใน ชุมชนได้ เข้ามาศึกษา


119 สถานีพัฒนาที่ดินปราจีนบุรี รายงานผลงานประจ าปี 2566 3) โรงเรียนมีอาหารปลอดภัยจากผลผลิตทางการเกษตรภายใต้โครงการเกษตรอินทรีย์ในโรงเรียน สําหรับใช้เป็นอาหารกลางวันให้เด็กนักเรียนรับประทาน 4) ได้รับการประเมินและจัดระดับผลการดําเนินงานของแต่ละโรงเรียนเพื่อนําไปพัฒนาต่อ ยอด การทําการเกษตรให้ขยายผลสู่ครอบครัวและชุมชนโดยใช้เทคโนโลยีชีวภาพได้อย่างยั่งยืน 9. ผลลัพธ์ 9.1 โรงเรียนใหม่และโรงเรียนต่อยอดขยายผลฯ 1) นักเรียนและครูสามารถถ่ายทอดความรู้ด้านการใช้เทคโนโลยีชีวภาพและปัจจัยการผลิต ทาง การเกษตรของกรมพัฒนาที่ดินไปสู่ครอบครัวและคนในชุมชนได้ 2) ผู้ปกครองและเกษตรกรในชุมชนสามารถทําการเกษตรโดยใช้ความรู้และเทคโนโลยีด้าน การ พัฒนาที่ดินที่ได้รับการถ่ายทอดไปใช้ประโยชน์ในพื้นที่ 3) นักเรียนและครูมีสุขภาพดีขึ้นจากการบริโภคอาหารที่ปลอดภัยซึ่งเป็นผลผลิตภายใต้โครงการ เกษตรอินทรีย์ในโรงเรียน 4) โรงเรียนมีแนวทางการพัฒนาที่ชัดเจนทําให้การดําเนินงานเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ และเกิด ความยั่งยืน 10. ผลกระทบ 10.1 โรงเรียนสามารถผลิตผักปลอดภัยบริโภคในโรงเรียน 10.2 นักเรียนมีสุขภาพดี 11. ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ 11.1 นักเรียนและครูในโรงเรียนได้รับความรู้และสามารถนําองค์ความรู้ด้านการใช้เทคโนโลยีชีวภาพและ ปัจจัยการผลิตทางการเกษตรของกรมพัฒนาที่ดินที่ได้รับไปใช้ประโยชน์ในการพัฒนา 11.2 โรงเรียนมีอาหารกลางวันที่สะอาดและปลอดภัย ซึ่งเป็นผลผลิตจากการทําการเกษตรของนักเรียน โดยใช้องค์ความรู้ที่ได้รับการถ่ายทอดจากกรมพัฒนาที่ดิน 11.3 กรมพัฒนาที่ดินมีเครือข่ายครูและนักเรียนจากโรงเรียนที่เข้าร่วมโครงการที่มีความเข้มแข็ง เพื่อเป็น กลไกในการสนับสนุนภารกิจของกรมฯ ในการถ่ายทอดองค์ความรู้และเทคโนโลยีด้านการพัฒนาที่ดิน 11.4 ประเทศไทยมีเยาวชนที่ได้รับการปลูกจิตสํานึกการเรียนรู้ให้มีความรู้พื้นฐานในการทําการเกษตร อย่างถูกต้องตามหลักวิชาการและมีความปลอดภัย สามารถถ่ายทอดความรู้พื้นฐานด้านการพัฒนาที่ดินไปสู่ชุมชน โดยสามารถทําการเกษตรที่ปลอดภัย และเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมได้อย่างมีประสิทธิภาพและยั่งยืน


120 สถานีพัฒนาที่ดินปราจีนบุรี รายงานผลงานประจ าปี 2566 12. ผู้รับผิดชอบโครงการ โรงเรียนใหม่ 1. นางสาวสุคนทิพย์ โยธาศรี ตําแหน่ง นักวิชาการเกษตรปฏิบัติการ ฝุายวิชาการเพื่อการพัฒนาที่ดิน 1 รับผิดชอบพื้นที่อําเภอเมือง 2. นายสาโรช ดุรงค์กาญจน์ ตําแหน่ง นักวิชาการเกษตรชํานาญการ ฝุายวิชาการเพื่อการพัฒนาที่ดิน 4 รับผิดชอบพื้นที่อําเภอบ้านสร้างและอําเภอศรีมโหสถ โรงเรียนต่อยอด 1. นางสาวสุคนทิพย์ โยธาศรี ตําแหน่ง นักวิชาการเกษตรปฏิบัติการ ฝุายวิชาการเพื่อการพัฒนาที่ดิน 1 รับผิดชอบพื้นที่อําเภอเมือง 2. นางสาวปาริชาติ ไผผักแว่น ตําแหน่ง นักวิชาการเกษตรชํานาญการ ฝุายวิชาการเพื่อการพัฒนาที่ดิน 2 รับผิดชอบพื้นที่อําเภอประจันตคามและอําเภอศรีมหาโพธิ 3. นางสาวภัสสมณฑ์ เอี่ยมเข่ง ตําแหน่ง นักวิชาการเกษตรชํานาญการ ฝุายวิชาการเพื่อการพัฒนาที่ดิน 3 รับผิดชอบพื้นที่อําเภอกบินทร์บุรี 4. นายสาโรช ดุรงค์กาญจน์ ตําแหน่ง นักวิชาการเกษตรชํานาญการ ฝุายวิชาการเพื่อการพัฒนาที่ดิน 4 รับผิดชอบพื้นที่อําเภอบ้านสร้างและอําเภอศรีมโหสถ 5. นางสาววรารัตน์ ภาคภูมิ ตําแหน่ง เจ้าพนักงานการเกษตรขํานาญงาน ฝุายวิชาการเพื่อการพัฒนาที่ดิน 5 รับผิดชอบพื้นที่อําเภอนาดี


121 สถานีพัฒนาที่ดินปราจีนบุรี รายงานผลงานประจ าปี 2566 ภาพกิจกรรมโครงการเกษตรอินทรีย์ในโรงเรียน (โรงเรียนใหม่) โรงเรียนใหม่ที่เข้าร่วมโครงการ สพด.ปราจีนบุรี จํานวน 2 แห่ง 3.1.1 โรงเรียนนิคมพัฒนา ม.6 ต.บางปลาร้า อ.บ้านสร้าง จ.ปราจีนบุรี 3.1.2 โรงเรียนบ้านบ่อแร่ธารเลา ม.12 ต.เนินหอม อ.เมือง จ.ปราจีนบุรี โรงเรียนนิคมพัฒนา (โรงเรียนใหม่) ม.6 ต.บางปลาร้า อ.บ้านสร้าง จ.ปราจีนบุรี สนับสนุนปัจจัยการผลิต ได้แก่ ถังหมัก กากน้ําตาล ขี้วัว ขี้ไก่ เศษผัก ปูายโครงการ อุปกรณ์การเกษตร ได้แก่ จอบ เสียม ช้อนปลูก คราด บัวรดน้ํา และเมล็ดผักสวนครัว


122 สถานีพัฒนาที่ดินปราจีนบุรี รายงานผลงานประจ าปี 2566 ภาพกิจกรรมโครงการเกษตรอินทรีย์ในโรงเรียน (โรงเรียนต่อยอด) โรงเรียนเดิม จ านวน 8 โรงเรียน


123 สถานีพัฒนาที่ดินปราจีนบุรี รายงานผลงานประจ าปี 2566 โครงการต่อยอดกลุ่มเดิมที่มีความเข้มแข็ง ปี 66 - ปีงบประมาณ 66 ฝุายวิชาการเพื่อการพัฒนาที่ดินที่ 4 ได้รับงบประมาณ จํานวน 12 กลุ่ม ดังนี้ กลุ่มที่ ชื่อ-นามสกุล ประธานกลุ่ม หมู่ที่ ต าบล อ าเภอ จังหวัด E N 1 นางลัดดดา เพ็ชรวงษา 1 บางขาม บ้านสร้าง ปราจีนบุรี 742420 1536184 2 นางจุฑามาศ จิตสําราญ 2 บางขาม บ้านสร้าง ปราจีนบุรี 743996 1538334 3 นายชูชาติ หอมจันทร์ 3 บางขาม บ้านสร้าง ปราจีนบุรี 748487 1536920 4 นายวสันต์ ธัญญะเจริญ 4 บางขาม บ้านสร้าง ปราจีนบุรี 749526 1535076 5 นางโกสุม จันตุ่ย 5 บางขาม บ้านสร้าง ปราจีนบุรี 746865 1536189 6 นางเรณู สาธุ 6 บางขาม บ้านสร้าง ปราจีนบุรี 743815 1535920 7 ว่าที่ร.ต.จรูญ ทุ่งสินธุ์ 1 โคกปีบ ศรีมโหสถ ปราจีนบุรี 7623414 1538209 8 นายสานิต เชาวน์ดี 2 โคกปีบ ศรีมโหสถ ปราจีนบุรี 760752 1537509 9 นายปราโมทย์ พันธ์ธรรม 3 โคกปีบ ศรีมโหสถ ปราจีนบุรี 759275 1537170 10 นายไพโรจน์ เถาทอง 4 โคกปีบ ศรีมโหสถ ปราจีนบุรี 759143 1536260 11 นายธีร พึ่งเกษม 5 โคกปีบ ศรีมโหสถ ปราจีนบุรี 757656 1534946 12 นางสมรักษ์ เอื้อเฟื้อ 6 โคกปีบ ศรีมโหสถ ปราจีนบุรี 759442 1535067 ปัจจัยที่ได้รับการสนับสนุน (ต่อกลุ่ม) 1. ถังหมัก ขนาด 120 ลิตร จํานวน 2 ใบ 2. กากน้ําตาล จํานวน 60 กิโลกรัม (3 แกลลอน) 3. เศษผักและผลไม้ จํานวน 40 กิโลกรัม 4. ขี้วัว จ านวน 240 กิโลกรัม โครงการพัฒนาเกษตรของกลุ่มเดิมเข้มแข็ง ส่งเสริมการใช้สารอินทรีย์ลดการใช้สารเคมี


124 สถานีพัฒนาที่ดินปราจีนบุรี รายงานผลงานประจ าปี 2566 ภาพประกอบกิจกรรม สนับสนุนถังหมัก กากน้ําตาล เศษผัก และขี้วัว พร้อมสาธิตการผลิตปุ๋ยหมักและ สาธิตการผลิตน้ําหมัก ชีวภาพพด.2 แก่เกษตร สนับสนุนถังหมัก กากน้ําตาล เศษผัก และขี้วัว พร้อมสาธิตการผลิตน้ําหมักชีวภาพพด.2 แก่เกษตรของ อําเภอบ้านสร้าง


125 สถานีพัฒนาที่ดินปราจีนบุรี รายงานผลงานประจ าปี 2566 สนับสนุนถังหมัก กากน้ําตาล เศษผัก และขี้วัว พร้อมสาธิตการผลิตน้ําหมักชีวภาพพด.2 แก่เกษตรของ อําเภอประจันตคาม สนับสนุนถังหมัก กากน้ําตาล เศษผัก และขี้วัว พร้อมสาธิตการผลิตน้ําหมักชีวภาพพด.2 แก่เกษตรของ อําเภอกบินทร์บุรี


126 สถานีพัฒนาที่ดินปราจีนบุรี รายงานผลงานประจ าปี 2566 สนับสนุนถังหมัก กากน้ําตาล เศษผัก และขี้วัว พร้อมสาธิตการผลิตน้ําหมักชีวภาพพด.2 แก่เกษตรของ อําเภอเมืองปราจีนบุรี


127 สถานีพัฒนาที่ดินปราจีนบุรี รายงานผลงานประจ าปี 2566 รายงานผลโครงการหมู่บ้านปลอดขยะอินทรีย์ต้นแบบ (Zero Waste) ปีงบประมาณ 2566 1.เป้าหมาย - หมู่บ้านหนองแสง หมู่ที่ 6 ตําบลโคกไทย อําเภอศรีมโหสถ จังหวัดปราจีนบุรี - สมาชิกจํานวน 10 ราย โดยมีนายดอน ช่างเก็บ หมอดินอาสาประจําตําบลโคกไทย เป็นประธาน 2. กิจกรรมที่ด าเนินการ 2.1 การใหความรูในการจัดการเศษวัสดุเหลือใชทางการเกษตร ขยะอินทรียจากครัวเรือน ดังนี้ - แนวคิด Zero Waste ลดปริมาณของเสียให้น้อยลงหรือเทากับศูนย์ การคัดแยกประเภทขยะให้ ถูกต้อง เชน ขยะอินทรีย ขยะทั่วไป ขยะรีไซเคิล ขยะอันตรายหรือขยะติดเชื้อ - การใช้ผลิตภัณฑ์จุลินทรียของกรมพัฒนาที่ดิน พด.1, 2, 3, 6, 7 เพื่อนํามาใช้ในการผลิตปุ๋ย หมักและน้ําหมักชีวภาพจากขยะอินทรีย์ต่างๆ 2.2 สนับสนุนปัจจัยการผลิตทางการเกษตรและอุปกรณ์ได้แก่ ผลิตภัณฑ์จุลินทรีย พด. อุปกรณ์และ วัตถุดิบ ได้แก่กากน้ําตาล ถังหมัก ถังขยะประเภทต่างๆ รถเข็น ถุงมือ ขี้วัว ขี้ไก่ รําข้าว ปูายโครงการ ปูายจุดคัด แยกขยะ 2.3 ผลิตปุ๋ยหมักและน้ําหมักชีวภาพ จากการคัดแยกขยะดังนี้ - วัสดุเหลือใชทางการเกษตร เช่น ฟางข้าว แกลบ รําข้าว ขี้ไก่ ขี้แพะ ผลิตปุ๋ยหมักจากสารเร่งซุป เปอร พด. 1 และปุ๋ยอินทรีย์คุณภาพสูง - ขยะอินทรียจากครัวเรือน เช่น เศษอาหาร เศษผัก ผลไม้ หัวปลา เปลือกหอย ผลิตน้ําหมัก ชีวภาพจากสารเร่งซุปเปอร พด. 2 และสารบําบัดน้ําเสีย พด.6 - พืชสมุนไพรต่างๆ เช่น ตะไคร้ใบสะเดา ผลิตสารไล่แมลงจากสารเร่งซุปเปอร พด. 7 2.4 เก็บตัวอย่างปุ๋ยหมัก และน้ําหมักชีวภาพ ตรวจวิเคราะห์ในห้องปฏิบัติการ ได้ผลวิเคราะห์ดังนี้ ตัวอย่าง ผลวิเคราะห์ดิน pH N (%) P (%) K (%) ความชื้น (%) EC (ds/m) GI (%) C/N ratio ปุ๋ยหมัก 7.94 1.63 0.41 1.03 58.85 2.14 76.97 19 น้ําหมักชีวภาพพด.2 (ตย.1) 3.70 19.89 น้ําหมักชีวภาพพด.2 (ตย.2) 3.84 21.40 โครงการหมู่บ้านปลอดขยะอินทรีย์ต้นแบบ (Zero Waste)


128 สถานีพัฒนาที่ดินปราจีนบุรี รายงานผลงานประจ าปี 2566 ภาพประกอบกิจกรรม ประชุมชี้แจงโครงการ ให้ความรู้การคัดแยกขยะ การผลิตปุ๋ยหมักและน้ าหมักชีวภาพโดยใช้จุลินทรีย์ของกรมพัฒนาที่ดิน


129 สถานีพัฒนาที่ดินปราจีนบุรี รายงานผลงานประจ าปี 2566 สนับสนุนปัจจัยการผลิต - ปุ๋ยหมัก ได้แก่ มูลสัตว์ (ขี้วัว, ขี้ไก่) - น้ าหมักชีวภาพ ได้แก่ กากน้ าตาล ถังหมัก - ถังแยกขยะประเภทต่างๆ - ตะกร้า รถเข็น ถุงมือ - ป้ายโครงการ ป้ายจุดคัดแยกขยะ


130 สถานีพัฒนาที่ดินปราจีนบุรี รายงานผลงานประจ าปี 2566 คัดแยกขยะและน าเศษขยะอินทรีย์มาผลิตน้ าหมักชีวภาพ โดยใช้สารเร่ง พด.2 วัสดุเหลือใช้ทางการเกษตรน ามาผลิตปุ๋ยหมัก โดยใช้สารเร่ง พด.1 คัดแยกเศษพืชสมุนไพรมาผลิตสารป้องกันแมลงศัตรูพืช โดยใช้สารเร่ง พด.7 ผลิตปุ๋ยอินทรีย์คุณภาพสูง


131 สถานีพัฒนาที่ดินปราจีนบุรี รายงานผลงานประจ าปี 2566 เก็บตัวอย่างปุ๋ยหมักที่สมบูรณ์ส่งตรวจวิเคราะห์และทางกลุ่มเก็บไปใช้ในแปลงเกษตร วัสดุเหลือใช้ทางการเกษตรน ามาผลิตปุ๋ยหมัก โดยใช้สารเร่ง พด.1


132 สถานีพัฒนาที่ดินปราจีนบุรี รายงานผลงานประจ าปี 2566 "วันดินโลก (World Soil Day)" คือ วันที่ 5 ธันวาคม เป็นวันสําคัญที่นักปฐพีวิทยาทั่วโลก 60,000 คน จะเฉลิมฉลองเป็นประจําทุกปี ซึ่งนักปฐพีวิทยาของไทยทุกคนภาคภูมิใจ เนื่องจากวงการปฐพีวิทยานานาชาติ มี ฉันทานุมัติเลือกวันที่ 5 ธันวาคมของทุกปี ซึ่งตรงกับวันคล้ายวันพระราชสมภพของ พระบาทสมเด็จพระมหาภูมิ พลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร เป็นวันดินโลก และนักปฐพีวิทยาของไทยมีส่วนร่วมในการเชิดชูพระ อัจฉริยภาพด้านการอนุรักษ์ และพัฒนาทรัพยากรดินขององค์พระบาทสมเด็จพระมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร การเกิดขึ้นของ "วันดินโลก (World Soil Day)" มีความเกี่ยวข้องกับกรมพัฒนาที่ดิน กระทรวงเกษตร และสหกรณ์ สมาคมดินและปุ๋ยแห่งประเทศไทย สหภาพวิทยาศาสตร์ทางดินนานาชาติ (International Union of Soil Science : IUSS) องค์การอาหารและเกษตรแห่งสหประชาชาติ (Food and Agriculture Organization : FAO) และองค์การสหประชาชาติ (United Nations : UN) จึงควรบันทึกจุดเริ่มต้นและความเป็นมาของ "วันดิน โลก" เพื่อให้คนรุ่นหลังได้รับทราบอย่างถูกต้อง แนวความคิดของการจัดตั งวันดินโลก เริ่มต้นจากที่มีการประชุมวิทยาศาสตร์ทางดินของโลก ครั้งที่ 17 ณ กรุงเทพมหานคร ในปี 2545 มี นักวิทยาศาสตร์ทางดินจากทั่วโลกมาร่วมประชุม ภายในงานมีการจัดนิทรรศการเฉลิมพระเกียรติ พระบาทสมเด็จ พระมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร และพระราชกรณียกิจที่เกี่ยวข้องกับทรัพยากรดิน รวมถึงการ จัดตั้งโครงการพระราชดําริในภูมิภาคต่างๆ ของประเทศ ซึ่งนิทรรศการดังกล่าว ทําให้ผู้เข้าร่วมประชุมประจักษ์ถึงพระวิสัยทัศน์ในการบริหารทรัพยากรดินอย่าง ยั่งยืน โดยทรงให้ความสําคัญกับทรัพยากรดิน ทรงเป็นพระมหากษัตริย์ที่สนพระราชหฤทัยในวิทยาศาสตร์ทางดิน และผลสําเร็จจากการบริหารจัดการดินอย่างต่อเนื่องของพระองค์ เป็นที่ยอมรับอย่างเป็นรูปธรรมทั้งในประเทศและ ระดับนานาชาติ ในการประชุมครั้งนี้ได้มีการหารือเรื่องการจัดตั้ง "วันดินโลก" โดยที่ประชุมคณะกรรมการสหภาพ วิทยาศาสตร์ทางดินนานาชาติ มีมติให้วันที่ 5 ธันวาคม ซึ่งเป็นวันคล้ายวันพระราชสมภพของพระบาทสมเด็จพระ มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร เป็นวันดินโลก เพื่อสดุดีพระเกียรติคุณของพระองค์ โดยใช้วันนี้เป็นวัน รณรงค์ให้ชาวโลกได้ตระหนักถึงความสําคัญของทรัพยากรดิน ที่มีต่อความอยู่รอดของมวลมนุษยชาติและ สภาพแวดล้อม และความจําเป็นต้องมีการจัดการทรัพยากรที่ดินอย่างยั่งยืน การขอพระบรมราชานุญาต ให้วันที่ 5 ธันวาคม เป็นวันดินโลก เมื่อวันที่ 16 เมษายน 2555 คณะผู้บริหารสหภาพวิทยาศาสตร์ทางดินนานาชาติ ได้เข้าเฝูาทูลละอองธุลี พรบาททูลเกล้าทูลกระหม่อม ถวายรางวัลนักวิทยาศาสตร์ดินเพื่อมนุษยธรรม แด่พระบาทสมเด็จพระมหาภูมิพลอ ดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร พร้อมกราบบังคมทูลเชิญให้ดํารงตําแหน่ง A life membership และยังได้กราบ ทูลขอพระบรมราชานุญาต ให้วันที่ 5 ธันวาคมของทุกปีเป็นวันดินโลก การจัดงานวันดินโลก (World Soil Day)


133 สถานีพัฒนาที่ดินปราจีนบุรี รายงานผลงานประจ าปี 2566 การประกาศรับรองวันดินโลก โดยสหประชาชาติ องค์การอาหารและเกษตรแห่งสหประชาชาติ ประกาศสนับสนุนให้มีการจัดตั้งวันดินโลก โดยนําข้อเสนอ เข้าบรรจุในวาระการประชุมสมัชชาสหประชาชาติ ประจําปี 2556 ซึ่งสหประชาชาติได้ประกาศรับรองอย่างเป็น ทางการให้วันที่ 5 ธันวาคมของทุกปีเป็นวันดินโลก และปี 2558 เป็น "ปีดินสากล (International Year of Soils 2015)" ในวันที่ 20 ธันวาคม 2556 ดังนั้น ในวันที่ 5 ธันวาคม 2557 นอกจากเป็นวันเฉลิมพระชนมพรรษาของพระบาทสมเด็จพระมหาภูมิ พลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร แล้วนั้น ยังถือว่าเป็นวันดินโลกอย่างเป็นทางการในระดับสากลครั้งแรกอีก ด้วย ประเทศไทย โดยกรมพัฒนาที่ดินจึงมีการจัดงานเฉลิมฉลองอย่างยิ่งใหญ่พร้อมกับประเทศต่างๆ ทั่วโลก ภาพกิจกรรมการจัดงานวันดินโลก (World Soil Day) สถานีพัฒนาที่ดินปราจีนบุรี 22 ธันวาคม 2565


134 สถานีพัฒนาที่ดินปราจีนบุรี รายงานผลงานประจ าปี 2566


135 สถานีพัฒนาที่ดินปราจีนบุรี รายงานผลงานประจ าปี 2566


136 สถานีพัฒนาที่ดินปราจีนบุรี รายงานผลงานประจ าปี 2566


137 สถานีพัฒนาที่ดินปราจีนบุรี รายงานผลงานประจ าปี 2566 โครงการวันหมอดินอาสา กรมพัฒนาที่ดิน ปีงบประมาณ 2566 สถานีพัฒนาที่ดินปราจีนบุรี ************************************************************ 1. หลักการและเหตุผล กรมพัฒนาที่ดินได้ดําเนินการจัดตั้งหมอดินอาสาเป็นเวลายาวนานกว่าสองทศวรรษ โดยหมอดินอาสา จํานวนกว่า 77,000 คน มีบทบาทสําคัญในการทําหน้าที่เชื่อมโยงเกษตรกรและสนับสนุนเจ้าหน้าที่กรมพัฒนา ที่ดิน ในการถ่ายทอดเทคโนโลยีการพัฒนาที่ดินให้แก่เกษตรกร ซึ่งหมอดินอาสามีเกือบทุกหมู่บ้านทั่วประเทศ การที่ หมอดินอาสาได้ประกอบอาชีพการเกษตรที่สร้างความมั่นคงทางอาหารในครัวเรือนและชุมชนโดยใช้ความรู้ความ ชํานาญจากการทํางานร่วมกับกรมพัฒนาที่ดิน นับเป็นความสําเร็จของการยกระดับเกษตรกรเป็นผู้นําด้านการ จัดการทรัพยากรดิน และปัจจุบันหมอดินอาสาจํานวนหนึ่งได้มีการปรับเปลี่ยนตนเองจากผู้ผลิตเป็นผู้ประกอบการที่ ผลิตพืชตามความต้องการของตลาด กรมพัฒนาที่ดินจึงมีแนวทางการเพิ่มศักยภาพของหมอดินอาสาให้เป็นมือ อาชีพด้านการผลิตและผู้ประกอบการตามนโยบายของรัฐและรองรับสถานการณ์ภาคการเกษตรที่จะต้อง ปรับเปลี่ยนตามสภาพเศรษฐกิจและสังคม ดังนั้นเพื่อให้การดําเนินการถ่ายทอดวิชาการที่สามารถให้หมอดินอาสาปรับเปลี่ยนตนเองได้อย่างก้าว กระโดดและเป็นกองกําลังที่สําคัญในการขับเคลื่อนภารกิจด้านการใช้ที่ดินเพื่อเกษตรกรรมทั่วประเทศ รวมทั้ง ประกาศคุณค่าความดีงาม ตลอดจนเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ผลงานของหมอดินอาสาให้แพร่หลายและเป็นที่รู้จักใน วงการเกษตรและพาณิชย์ กรมพัฒนาที่ดินจึงได้กําหนดให้มี “วันหมอดินอาสา กรมพัฒนาที่ดิน” ขึ้นโดยให้เป็นวัน สําคัญระหว่างบุคลากรของกรมพัฒนาที่ดินและหมอดินอาสา 2. วัตถุประสงค์ 1. เพื่อเป็นการเชิดชูเกียรติแก่หมอดินอาสากรมพัฒนาที่ดินที่ได้สร้างคุณประโยชน์ต่อสาธารณะชนมาอย่าง ยาวนาน 2. เพื่อจัดให้มีวันจัดกิจกรรมเชื่อมสัมพันธ์ระหว่างหมอดินอาสาและเจ้าหน้าที่กรมพัฒนาที่ดิน 3. เพื่อกําหนดให้แต่ละพื้นที่ได้ยกระดับการสร้างขวัญและกําลังใจและแนวทางในการช่วยเหลือและดูแล กันและกันของหมอดินอาสา รวมทั้งการสร้างความเข้มแข็งให้กับเครือข่ายหมอดินอาสา 3. เป้าหมาย หมอดินอาสาของจังหวัดปราจีนบุรี จํานวน 100 คน 4. ระยะเวลา ระยะเวลา 1 วัน ในวันพฤหัสบดี ที่ 10 กุมภาพันธ์ 2566 โครงการวันหมอดินอาสา


138 สถานีพัฒนาที่ดินปราจีนบุรี รายงานผลงานประจ าปี 2566 5. สถานที่จัดกิจกรรม สถานีพัฒนาที่ดินปราจีนบุรี ตําบลเนินหอม อําเภอเมือง จังหวัดปราจีนบุรี 6. งบประมาณ งบประมาณทั้งสิ้น 50,000 บาท 7. หน่วยงานรับผิดชอบ สถานีพัฒนาที่ดินปราจีนบุรี สํานักงานพัฒนาที่ดินเขต 2 ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ 1. หมอดินอาสาได้รับขวัญกําลังใจและสร้างพลังการทํางานอาสาสมัครด้านการพัฒนาที่ดินและงาน สาธารณประโยชน์ของชุมชน 2. เกิดเครือข่ายหมอดินอาสาสร้างธุรกิจเกษตรร่วมกัน ขยายเครือข่ายไปยังเกษตรกรรุ่นต่างๆ 3. สร้างภาพลักษณ์ที่ดีให้กับองค์กรของการทํางานร่วมกันระหว่างบุคลากรภาครัฐและเกษตรกรอาสา


139 สถานีพัฒนาที่ดินปราจีนบุรี รายงานผลงานประจ าปี 2566 ก าหนดการ เวลา ก าหนดการ 08:30 น. - 09:00 น. ลงทะเบียน 09:00 น. - 10:30 น. เปิดคลิปความเป็นมาวันหมอดินอาสา เปิดคลิปสารจากปลัด/อธพ./ผอ.กวจ.ถึงหมอดินอาสา พิธีประกาศ “วันหมอดินอาสา กรมพัฒนาที่ดิน” ประจําปี 2566 ภายใต้หัวข้อ “หมอดินอาสา นําพาการผลิต พิชิตตลาด” ถ่ายทอดสดผ่านระบบการประชุม ทางไกล (Zoom Conference) เปิดตัวเทคโนโลยีการพัฒนาที่ดินของกรมพัฒนาที่ดิน ปี 2566 - แอปพลิเคชัน รู้จริงเรื่อง พืช ดิน ปุ๋ย (TSFM) - ลดก๊าซเรือนกระจก โดยกรมพัฒนาที่ดิน - 6 สายพันธุ์บริสุทธิ์หญ้าแฝก หญ้าของพระราชา 10:30 น. - 12:15 น. เสวนาหัวข้อ “หมอดินอาสา นําพาการผลิต พิชิตตลาด” นําเสวนาโดย นายสาโรช ดุรงค์กาญจน์ นักวิชาการเกษตรชํานาญการ ผู้ร่วมเสวนา หมอดินอาสาจํานวน 3 คน 12:15 น. - 13:15 น. รับประทานอาหารกลางวัน 13:20 น. ประธานในพิธีเดินทางมาถึงยังสถานที่จัดงาน 13:30 น. - 14:30 น. พิธีเปิดวันหมอดินอาสา กรมพัฒนาที่ดิน ของจังหวัดปราจีนบุรี - ผู้อํานวยการสถานีพัฒนาที่ดินปราจีนบุรี กล่าวเปิดรายงาน 1. การพัฒนาที่ดินเพื่อความหลากหลายทางชีวภาพ 2. การจัดการดินเพื่อเกษตรกรรม 3. ต้นแบบบัตรดินดีพลิกฟื้นปฐพี 4. การใช้หญ้าแฝกเพื่อการอนุรักษ์ดินและน้ํา 5. การผลิต พิชิตตลาด 14:30 น. - 16:00 น. การขับเคลื่อนงานของหมอดินอาสาจังหวัดปราจีนบุรี ปี 2566 โดย คณะกรรมการหมอดินอาสาจังหวัดปราจีนบุรี 16:00 น. - 16:30 น. ตอบข้อซักถาม เดินทางกลับโดยสวัสดิภาพ หมายเหตุ - อาหารว่างและเครื่องดื่ม เวลา 10:30 น. - 10:45 น. และเวลา 14:15 น. - 14:30 น. - กําหนดการอาจเปลี่ยนแปลงตามความเหมาะสม


140 สถานีพัฒนาที่ดินปราจีนบุรี รายงานผลงานประจ าปี 2566 ภาพกิจกรรม


141 สถานีพัฒนาที่ดินปราจีนบุรี รายงานผลงานประจ าปี 2566


142 สถานีพัฒนาที่ดินปราจีนบุรี รายงานผลงานประจ าปี 2566 โครงการเพิ่มประสิทธิภาพการใช้ประโยชน์ที่ดินในพื้นที่โครงการ 1 ต าบล 1 กลุ่มเกษตรทฤษฎีใหม่ 1. หลักการและเหตุผล สถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดต่อเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ได้ส่งผลกระทบ ต่อเศรษฐกิจและสังคมของประเทศทั้งทางตรงและทางอ้อม การฟื้นฟูประเทศไทยภายหลังเหตุการณ์การแพร่ ระบาดของไวรัสโคโรนา 2019 ทั้งทางด้านเศรษฐกิจและสังคมจึงมีความจําเป็นที่จะต้องดําเนินการอย่างเร่งด่วน และครอบคลุมทุกมิติ กระทรงเกษตรและสหกรณ์จึงได้จัดทําโครงการ 1 ตําบล 1 กลุ่มเกษตรทฤษฎีใหม่ เป็น โครงการที่ดําเนินงานภายใต้แผนงาน/โครงการที่มีวัตถุประสงค์เพื่อฟื้นฟูเศรษฐกิจและสังคม ตามบัญชีท้าย พ.ร.ก. ให้อํานาจกระทรวงการคลังกู้เงินเพื่อแก้ไขปัญหา เยียวยา และฟื้นฟูเศรษฐกิจและสังคมที่ได้รับผลกระทบจาก สถานการณ์การระบาดของแพร่ระบาดของไวรัสโคโรนา 2019 พ.ศ. 2563 โดยน้อมนําหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียงมาเป็นแนวทางในการดําเนินงานโครงการเพื่อช่วยเหลือเกษตรกรที่ได้รับผลกระทบจากสถานการณ์การแพร่ ระบาดของไวรัสโคโรนา 2019 บรรเทาปัญหาการว่างงาน ลดปัญหาการเคลื่อนย้ายแรงงานภาคการเกษตร และ สร้างเข้มแข็งให้ชุมชนในท้องถิ่นมีความมั่นคงในการเป็นแหล่งผลิตอาหาร เป็นการผลักดัน การฟื้นฟูเศรษฐกิจใน ระยะสั้นและช่วยสร้างความแข็งแกร่งให้กับเศรษฐกิจไทยในระยะยาว ทําให้เกษตรกรสามารถเลี้ยงตนเองและสร้าง รายได้ให้กับครอบครัวได้อย่างพอเพียงและยั่งยืน โดยกรมพัฒนาที่ดินได้มอบหมายให้ดําเนินการขุดสระเก็บน้ําและ ปรับปรุงบํารุงดินให้แก่เกษตรกรที่เข้าร่วมโครงการ ดินเป็นทรัพยากรที่สําคัญต่อการเกษตร เนื่องจากดินเป็นปัจจัยขั้นพื้นฐานในการดํารงชีวิตของพืช โดยทั่วไปดินที่เหมาะสมต่อการเจริญเติบโตของพืช คือ ดินที่อุดมสมบูรณ์ มีแร่ธาตุอาหารที่จําเป็นสําหรับการ เจริญเติบโตของพืช ขณะเดียวกันก็มีสมบัติทางกายภาพที่เหมาะสมสําหรับยึดเกราะรากของพืช ช่วยยึดลําต้นให้ แน่น ไม่ให้ล้มเอียง และยังทําหน้าที่กักเก็บน้ําเพื่อการเจริญเติบโตของพืช ให้อากาศแก่รากพืชเพื่อการหายใจ ทั้งนี้ ดินที่เกิดจากการขุดสระเก็บน้ําที่ปรับเกลี่ยในพื้นที่โครงการ 1 ตําบล 1 กลุ่มเกษตรทฤษฎีใหม่ เป็นดินล่างที่มีความ อุดมสมบูรณ์และมีแร่ธาตุอาหารในดินต่ํา กรมพัฒนาที่ดินจึงมีความจําเป็นที่จะต้องดําเนินการปรับปรุงบํารุงดินใน พื้นที่ดังกล่าวอย่างต่อเนื่อง เพื่อดินมีความอุดมสมบูรณ์เหมาะสมแก่การปลูกพืชให้เจริญเติบโตและให้ผลผลิตอย่าง ยั่งยืน 2.วัตถุประสงค์ 1.1 เพื่อปรับปรุงบํารุงดินในพื้นที่โครงการ 1 ตําบล 1 กลุ่มเกษตรทฤษฎีใหม่ให้มีความอุดมสมบูรณ์ เหมาะสมต่อการเกษตร 1.2 เพื่อให้เกษตรกรโครงการ 1 ตําบล 1 กลุ่มเกษตรทฤษฎีใหม่มีความรู้ความเข้าใจด้านการพัฒนาที่ดิน อย่างถูกต้อง และนําไปใช้ในพื้นที่ของตนเองได้อย่างเหมทาะสม สามารถลดรายจ่ายในการทําการเกษตรได้ เพิ่มประสิทธิภาพการใช้ประโยชน์ที่ดินในพื้นที่ 1 ต าบล 1 กลุ่มเกษตร ทฤษฏีใหม่


143 สถานีพัฒนาที่ดินปราจีนบุรี รายงานผลงานประจ าปี 2566 3. เป้าหมาย เกษตรกรที่เข้าร่วมโครงการ 1 ตําบล 1 กลุ่มเกษตรทฤษฎีใหม่ จํานวน 35 ราย 4. วิธีการและขั้นตอนการด าเนินงาน 4.1พิจารณาคัดเลือกพื้นที่ดําเนินการโครงการ 1 ตําบล 1 กลุ่มเกษตรทฤษฎีใหม่ ปี 2564 (งบเงินกู้) ที่ กรมพัฒนาที่ดินได้เข้าไปสนับสนุนแหล่งน้ําให้เกษตรกร ที่มีความพร้อมในการทําเกษตรทฤษฎีใหม่อย่างต่อเนื่อง โดยพิจารณาให้ครบทุกขนาดพื้นที่และทุกตําบลที่ดําเนินการภายใต้กรอบเปูาหมายที่กําหนดให้ ภายใต้เงื่อนไข 1)พิจารณาคัดเลือกพื้นที่เปูาหมายที่ได้ดําเนินการขุดสระเก็บน้ําให้ครบทุกตําบล อย่างน้อยตําบลละ 1 ราย 2)พิจารณาคัดเลือกพื้นที่เปูาหมายให้ครบทุกขนาดที่ดําเนินการขุดสระเก็บน้ํา ภายใต้เปูาหมายที่ ได้รับการจัดสรร อย่างน้อยตําบลละ 1 ขนาด ยกเว้นจังหวัดที่ดําเนินการไม่ครบทุกขนาดจะมีเฉพาะขนาดที่ ดําเนินการเท่านั้น 3)กรณีที่เปูาหมายภาพรวมทั้งจังหวัดที่ได้จัดสรรให้มีมากกว่าจํานวนตําบลที่ดําเนินการจะทําให้บาง ตําบลมีเปูาหมายมากกว่า 1 ราย ดังนั้นการพิจารณาคัดเลือกเปูาหมายพื้นที่ในตําบลที่มีมากกว่า 1 ราย จะต้อง เลือกพื้นที่ที่มีขนาดแตกต่างกัน (ไม่ซ้ําขนาด) 4.2 วิเคราะห์ดินในพื้นที่เกษตรกรเปูาหมายทุกรายทั้งก่อนและหลังดําเนินการ พร้อมบันทึกข้อมูล เปรียบเทียบการเปลี่ยนแปลง 4.3 สนับสนุนปัจจัยการผลิตในปรับปรุงบํารุงดินเพื่อใช้เป็นเครื่องมือในการถ่ายทอดองค์ความรู้ด้านการ พัฒนาที่ดินให้กับเกษตรกรที่เข้าร่วมโครงการเกษตรทฤษฎีใหม่ตามความต้องการของเกษตรกร และความเหมาะสม ของพื้นที่ เพื่อปรับปรุงบํารุงดินให้มีความอุดมสมบูรณ์ และเหมาะสมในการเพาะปลูกพืช 4.4 ถ่ายองค์ความรู้และให้คําแนะนําการเก็บตัวอย่างดิน การจัดการดินอย่างยั่งยืน การศึกษาข้อมูลจาก เว็บไซด์และการใช้แอพพลิเคชั่นต่างๆของกรมพัฒนาที่ดิน เพื่อให้เกษตรกรสามารถศึกษาหาความรู้และใช้ประโยชน์ จากสื่อของกรมพัฒนาที่ดิน และนําไปประยุกต์ใช้ในพื้นที่ได้อย่างเหมาะสม 4.5ติดตาม ดูแล ให้คําแนะนําปรึกษากับเกษตรกรที่เข้าร่วมโครงการ 4.6สร้างการรับรู้ให้เกษตรกรและประชาชนทั่วไปได้รับทราบโครงการ 4.7จัดทํารายงานผลการดําเนินงาน


144 สถานีพัฒนาที่ดินปราจีนบุรี รายงานผลงานประจ าปี 2566 5. สถานที่ด าเนินการ พื้นที่โครงการ 1 ตําบล 1 กลุ่มเกษตรทฤษฎีใหม่จํานวน 5 อําเภอ (เกษตรกรจํานวน 35 ราย) ดังนี้ 1. ตําบลโนนห้อม อําเภอเมือง จังหวัดปราจีนบุรี จํานวน 2 ราย 2. ตําบลเนินหอม อําเภอเมือง จังหวัดปราจีนบุรี จํานวน 1 ราย 3. ตําบลรอบเมือง อําเภอเมือง จังหวัดปราจีนบุรี จํานวน 1 ราย 4. ตําบลประจันตคาม อําเภอประจันตคาม จังหวัดปราจีนบุรี จํานวน 2 ราย 5. ตําบลบุฝูาย อําเภอประจันตคาม จังหวัดปราจีนบุรี จํานวน 2 ราย 6. ตําบลหนองแสง อําเภอประจันตคาม จังหวัดปราจีนบุรี จํานวน 1 ราย 7. ตําบลโพธิ์งาม อําเภอประจันตคาม จังหวัดปราจีนบุรี จํานวน 1 ราย 8. ตําบลหนองแก้ว อําเภอประจันตคาม จังหวัดปราจีนบุรี จํานวน 1 ราย 9. ตําบลกบินทร์ อําเภอกบินทร์ จังหวัดปราจีนบุรี จํานวน 1 ราย 10.ตําบลวังดาล อําเภอกบินทร์ จังหวัดปราจีนบุรี จํานวน 1 ราย 11.ตําบลย่านรี อําเภอกบินทร์ จังหวัดปราจีนบุรี จํานวน 1 ราย 12.ตําบลบ้านนา อําเภอกบินทร์ จังหวัดปราจีนบุรี จํานวน 1 ราย 13.ตําบลบ่อทอง อําเภอกบินทร์ จังหวัดปราจีนบุรี จํานวน 1 ราย 14.ตําบลวังท่าช้าง อําเภอกบินทร์ จังหวัดปราจีนบุรี จํานวน 1 ราย 15.ตําบลนนทรี อําเภอกบินทร์ จังหวัดปราจีนบุรี จํานวน 1 ราย 16.ตําบลนาแขม อําเภอกบินทร์ จังหวัดปราจีนบุรี จํานวน 1 ราย 17.ตําบลหนองกี่ อําเภอกบินทร์ จังหวัดปราจีนบุรี จํานวน 1 ราย 18.ตําบลเมืองเก่า อําเภอกบินทร์ จังหวัดปราจีนบุรี จํานวน 1 ราย 19.ตําบลลาดตะเคียน อําเภอกบินทร์ จังหวัดปราจีนบุรี จํานวน 1 ราย 20.ตําบลหาดนางแก้ว อําเภอกบินทร์ จังหวัดปราจีนบุรี จํานวน 1 ราย 21.ตําบลเขาไม้แก้ว อําเภอกบินทร์ จังหวัดปราจีนบุรี จํานวน 1 ราย 22.ตําบลวังตะเคียน อําเภอกบินทร์ จังหวัดปราจีนบุรี จํานวน 1 ราย 23.ตําบลโคกปีป อําเภอกศรีมโหสถ จังหวัดปราจีนบุรี จํานวน 2 ราย 24.ตําบลบุพราหมณ์ อําเภอนาดี จังหวัดปราจีนบุรี จํานวน 1 ราย 25.ตําบลบุทุ่งโพธิ์ อําเภอนาดี จังหวัดปราจีนบุรี จํานวน 2 ราย 26.ตําบลสะพานหิน อําเภอนาดี จังหวัดปราจีนบุรี จํานวน 1 ราย 27.ตําบลสําพันตา อําเภอนาดี จังหวัดปราจีนบุรี จํานวน 2 ราย 28.ตําบลนาดี อําเภอนาดี จังหวัดปราจีนบุรี จํานวน 1 ราย 29.ตําบลแก่งดินสอ อําเภอนาดี จังหวัดปราจีนบุรี จํานวน 1 ราย 6. ระยะเวลาด าเนินการ มีนาคม - กันยายน 2565


145 สถานีพัฒนาที่ดินปราจีนบุรี รายงานผลงานประจ าปี 2566 7. แผนงานและงบประมาณ แผนงาน/กิจกรรม หน่วยนับ การด าเนินงาน งบประมาณ (บาท) แผนการ ด าเนินงาน ผลการ ปฏิบัติงาน งบประมาณ ที่ได้รับ ผลการ เบิกจ่าย งบประมาณ รวมงบประมาณ บาท 70,000 70,000 70,000 100% 1) พิจารณาคัดเลือกพื้นที่ดําเนินการ โครงการฯ ราย 35 35 35 2) สนับสนุนปัจจัยการผลิตในปรับปรุง บํารุงดิน ราย 35 35 35 3) ถ่ายองค์ความรู้และให้คําแนะนํา การเก็บตัวอย่างดิน ราย 35 35 35 4) ติดตาม ดูแล ให้คําแนะนําปรึกษา กับเกษตรกรที่เข้าร่วมโครงการ ราย 35 35 35 5) จัดทํารายงานผลการดําเนินงาน ฉบับ 1 1 1 รวม 8. ผลผลิต (output) พื้นที่ของเกษตรกรที่เข้าร่วมโครงการ 1 ตําบล 1 กลุ่มเกษตรทฤษฎีใหม่ได้รับการปรับปรุงบํารุงดิน 9. ผลลัพธ์ (outcome) เกษตรกรสามารถทําการเกษตรได้อย่างเหมาะสมตามแนวทางเกษตรทฤษฎีใหม่ 10. ผลกระทบ (impact) เกษตรกรสามารถลดรายจ่ายในการทําการเกษตร และใช้ประโยชน์ที่ดินได้อย่างยั่งยืน 11. ตัวชี้วัดความส าเร็จ 11.1 เชิงปริมาณ : เกษตรกรได้รับการปรับปรุงดินเพื่อส่งเสริมเกษตรทฤษฎีใหม่จํานวน 35 ราย 11.2 เชิงคุณภาพ : เกษตรกรที่เข้าร่วมโครงการสามารถใช้ประโยชน์ที่ดินเพื่อการเกษตรได้อย่าง เหมาะสม ตามศักยภาพของดิน ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 12. ผลประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ 12.1 พื้นที่เกษตรกรได้รับการปรับปรุงบํารุงดิน มีความอุดมสมบูรณ์ เหมาะสมต่อการทําการเกษตร 12.2 เกษตรกรนําความรู้ด้านการพัฒนาที่ดินที่ได้รับไปปรับใช้ในการพัฒนาที่ดินในพื้นที่ของตนเอง และ ทําเกษตรทฤษฎีใหม่เป็นการลดรายจ่าย เพิ่มรายได้ ในครัวเรือน 13. แผนที่แสดงขอบเขตพื้นที่โครงการ -แสดงจุดพิกัดที่ด าเนินการ ตั้งแต่ปีเริ่มต้น – ปีปัจจุบัน


146 สถานีพัฒนาที่ดินปราจีนบุรี รายงานผลงานประจ าปี 2566 ปี 2565 จ านวน 35 แปลง ชื่อ-ที่อยู่เกษตรกร พื้นที่เข้าร่วม โครงการ (ไร่) ขนาดสระเก็บ น้ า (ลบ.ม) ปัจจัยที่ได้รับการสนับสนุน 1.นางรัตนา ผลาหาญ ที่อยู่ ม.3 ต.ประจันต คาม อ.ประจันตคาม พิกัด E 14.080048 N 101.542998 5 3,500 - ขี้วัว จํานวน 500 กิโลกรัม - ขี้ไก่ จํานวน 200 กิโลกรัม 2.นางวัลลพ ทองเกิด ที่อยู่ ม.7 ต.ประจันตคาม อ.ประจันตคาม พิกัด E 768006 N 1553809 2.5 1,800 - ขี้วัว จํานวน 500 กิโลกรัม - ขี้ไก่ จํานวน 200 กิโลกรัม 3.นายเอกพจน์ เงื้อมผา ที่อยู่ ม.4 ต.บุฝูาย อ.ประจันตคาม พิกัด E 775017 N 1566109 2.5 1,800 - ขี้วัว จํานวน 500 กิโลกรัม - ขี้ไก่ จํานวน 200 กิโลกรัม 4.นายสุนทร โสภา ที่อยู่ ม.11 ต.บุฝูาย อ.ประจันตคาม พิกัด E 14.168981 N 101.543766 3 2,100 - ขี้วัว จํานวน 500 กิโลกรัม - ขี้ไก่ จํานวน 200 กิโลกรัม 5.นางมะลิวัลย์ สิทธิผล ที่อยู่ ม.3 ต.หนองแสง อ.ประจันตคาม พิกัด E 773263 N 1555780 2.5 1,800 - ขี้วัว จํานวน 500 กิโลกรัม - ขี้ไก่ จํานวน 200 กิโลกรัม 6.นางดวงแข เจียรนัยตระกูล ที่อยู่ ม.3 ต.หนองแสง อ.ประจันตคาม พิกัด E 14.056511 N 101.555605 2.5 1,800 - ขี้วัว จํานวน 500 กิโลกรัม - ขี้ไก่ จํานวน 200 กิโลกรัม 7.นายถนอม สาทัง ที่อยู่ ม.18 ต.โพธิ์งาม อ.ประจันตคาม พิกัด E 769706 N 1560103 5 3,500 - ขี้วัว จํานวน 500 กิโลกรัม - ขี้ไก่ จํานวน 200 กิโลกรัม 8.นางชนนิมิตร ไกรสิงห์ ที่อยู่ ม.14 ต.โพธิ์งาม อ.ประจันตคาม พิกัด E 14.147051 N 101.482774 4.0 2,800 - ขี้วัว จํานวน 500 กิโลกรัม - ขี้ไก่ จํานวน 200 กิโลกรัม 9.นางสาวกชณถกล เชาวน์เจริญ 142 ม.7 ต.โคกปีบ อ.ศรีมโหสถ เลขบัตร 3250900159653 พิกัด E 760265 N 1533893 5 3,500 - ขี้วัว จํานวน 400 กิโลกรัม - ขี้ไก่ จํานวน 112 กิโลกรัม - กากน้ําตาล จํานวน 40 กิโลกรัม 10.นายสัญญา สมโภชน์ 18 ม.7 ต.หาดนางแก้ว อ.กบินทร์บุรี พิกัด E 13.866818 N 101.70892 5 3,500 - ขี้ไก่ จํานวน 800 กิโลกรัม


147 สถานีพัฒนาที่ดินปราจีนบุรี รายงานผลงานประจ าปี 2566 ชื่อ-ที่อยู่เกษตรกร พื้นที่เข้าร่วม โครงการ (ไร่) ขนาดสระเก็บ น้ า (ลบ.ม) ปัจจัยที่ได้รับการสนับสนุน 11.นางบัวเรียน สมกระโจม 38 ม.4 ต.วังท่าช้าง อ.กบินทร์บุรี พิกัด E 13.705299 N 101.857135 3 2,100 - ขี้ไก่ จํานวน 800 กิโลกรัม 13.นางอรไท เกตุหอม 152 ม.15 ต.นนทรี อ.กบินทร์บุรี พิกัด E 785235 N 1553466 5 3,500 - ขี้ไก่ จํานวน 800 กิโลกรัม 14.นายสมบุญ สีหานาตร์ 110 ม.6 ต.บ่อทอง อ.กบินทร์บุรี พิกัด E 13.960151 N 101.810844 3 2,100 - ขี้ไก่ จํานวน 800 กิโลกรัม 15.นายคํา ดีอ่อง 143 ม.2 ต.วังตะเคียน อ.กบินทร์บุรี พิกัด E 13.806065 N 101.86312 5 3,500 - ขี้ไก่ จํานวน 800 กิโลกรัม 16.นายคํากอง เงินโสม 11/1 ม.6 ต.ย่านรี อ.กบินทร์บุรี พิกัด E 13.944860 N 101.743662 3 2,100 - ขี้ไก่ จํานวน 800 กิโลกรัม 17.นางสาวบัวหลั่น พาวงษ์บล 89 ม.4 ต.เขาไม้แก้ว อ.กบินทร์บุรี พิกัด E 13.816565 N 101.764508 5 3,500 - ขี้ไก่ จํานวน 800 กิโลกรัม 18.นายรัฐนันท์ ฟื้นฟูา 181 ม.9 ต.นาแขม อ.กบินทร์บุรี พิกัด E 14.077570 N 101.725461 3 2,100 - ขี้ไก่ จํานวน 800 กิโลกรัม 19.นายครรชิต แผ้วนาง 85 ม.7 ต.ลาดตะเคียน อ.กบินทร์บุรี พิกัด E 791521 N 1526718 5 3,500 - ขี้ไก่ จํานวน 800 กิโลกรัม 20.นางสุภาภรณ์ โสดา 4 ม.12 ต.เมืองเก่า อ.กบินทร์บุรี พิกัด E 13.362106 N 101.983711 5 3,500 - ขี้ไก่ จํานวน 800 กิโลกรัม 21.นายวิชิต บุญรมย์ 47 ม.5 ต.กบินทร์ อ.กบินทร์บุรี พิกัด E 794787 N 1543054 5 3,500 - ขี้ไก่ จํานวน 800 กิโลกรัม 22.นายรวมมิตร เผ่ากัณหา 95 ม.11 ต.บ้านนา อ.กบินทร์บุรี พิกัด E 13.999125 N 101.849990 3 2,100 - ขี้ไก่ จํานวน 800 กิโลกรัม 23.นายพิษณุ มีชาวนา 220 ม.10 ต.หนองกี่ อ.กบินทร์บุรี พิกัด E 14.049368 N 101.795373 3 2,100 - ขี้ไก่ จํานวน 800 กิโลกรัม


Click to View FlipBook Version