The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

แผนการจัดการเรียนรู้ 2และ3

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by topfynew, 2023-03-07 00:07:39

แผนการจัดการเรียนรู้ 2และ3

แผนการจัดการเรียนรู้ 2และ3

Keywords: Plan Language

โดย นายอำอำอำอำนาจ ยศมุมุมุงมุคุคุณคุคุ ตำ แหน่งน่ครู วิทวิยฐานะ ครูชำ นาญการพิเพิศษ โรงเรียรีนบ้าบ้นสวนกล้วย สำ นักนังานเขตพื้นพื้ที่การศึกษาประถมศึกษาเลย เขต ๑ กระทรวงศึกษาธิกธิาร


แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๒ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๖ รายวิชาภาษาไทย รหัสวิชา ท ๑๖๑๐๑ ภาคการเรียนที่ ๑ ปี ๒๕๕๙ หน่วยการเรียนรู้ที่ ๑ เรื่อง จากผาแต้ม...สู่อียิปต์ เวลา ๗ ชั่วโมง เรื่อง อ่านคิดพินิจเรื่องราว เวลา ๑ ชั่วโมง ๑. สาระส าคัญ/ความคิดรวบยอด การอ่านในใจให้เกิดความเข้าใจชัดเจนลึกซึ้งจะต้องอ่านแล้วสามารถตั้งค าถาม ตอบค าถาม อภิปราย แสดงความคิดเห็นเนื้อเรื่อง ล าดับเหตุการณ์และสรุปใจความส าคัญของเรื่องได้ ๒. มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด สาระที่ ๑ การอ่าน มาตรฐานการเรียนรู้ ท ๑.๑ ใช้กระบวนการอ่านสร้างความรู้และความคิดเพื่อน าไปตัดสินใจ แก้ปัญหาในการด าเนิน ชีวิตและมีนิสัยรักการอ่าน ตัวชี้วัด ท ๑.๑ ป.๖/๔ แยกข้อเท็จจริงและข้อคิดเห็นจากเรื่องที่อ่าน ท ๑.๑ ป.๖/๙ มีมารยาทในการอ่าน ๓. จุดระสงค์การเรียนรู้ ๑. อ่านในใจแล้วตั้งค าถาม ตอบค าถามจากเรื่องในบทเรียนได้ ๒. สรุปใจความส าคัญของเรื่องที่อ่านได้ ๓. มีมารยาทในการอ่าน ๔. สาระการเรียนรู้ ความรู้ (K) ๑. หลักการอ่านจับใจความ ๒. มารยาทในการอ่าน ทักษะ/กระบวนการ (P) - อ่านจับใจความ เจตคติ (A) ๑. ตระหนักและเห็นคุณค่าของภาษาไทย ๒. รักความเป็นไทย ใช้ภาษาแสวงหาความรู้เพื่อพัฒนาตนเอง ๓. มีมารยาทในการอ่าน การเขียน การฟัง การดู และการพูด


๕. สมรรถนะส าคัญของผู้เรียน ๑. ความสามารถในการสื่อสาร ๒. ความสามารถในการคิด - ทักษะการคิดวิเคราะห์ ๓. ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต - กระบวนการท างานกลุ่ม - กระบวนการปฏิบัติ ๖. คุณลักษณะอันพึงประสงค์ ๑. มีวินัย ๒. ใฝ่เรียนรู้ ๓. มุ่งมั่นการท างาน ๗. ชิ้นงาน/ภาระงาน - ใบงาน เรื่อง ตั้งค าถาม-ค้นหาค าตอบ จากผาแต้มสู่อียิปต์ ๘. กิจกรรมการเรียนรู้ ขั้นน า ๑. ครูให้นักเรียนดูภาพจากบทเรียนเรื่อง “จากผาแต้ม...สู่อียิปต์” แล้วสนทนากับนักเรียนเกี่ยวกับ ภาพที่เห็นเป็นอะไร บุคคลในภาพก าลังท าอะไร แล้วนักเรียนคิดว่าเนื้อเรื่องกล่าวถึงอะไรบ้าง ๒. ครูเชื่อมโยงเข้าสู่บทเรียน ขั้นสอน ๓. นักเรียนอ่านชื่อบทเรียนเรื่อง “จากผาแต้ม...สู่อียิปต์” แล้วให้นักเรียนร่วมกันอภิปรายชื่อเรื่องใน หัวข้อต่อไปนี้ - ผาแต้ม : แหล่งท่องเที่ยว อยู่ที่อ ำเภอโขงเจียม จังหวัดอุบลรำชธำนี มีลักษณะเป็นหน้ำผำมี ภำพเขียนแต้มสีเป็นภำพ อำยุรำว ๓,๐๐๐ ปี เป็นภำพสีที่มีควำมเก่ำแก่ที่สุดในประเทศไทย - พีระมิด อียิปต์: เป็นพีระมิดที่ใหญ่ที่สุด แห่งเมืองกิซำ ประเทศอียิปต์ มีภำพและตัวอักษร อำยุรำว ๕,๐๐๐ ปี ๔. นักเรียนทบทวนหลักการอ่านในใจ การสรุปใจความส าคัญ มารยาทในการอ่าน จากใบความรู้ เรื่อง หลักการอ่านในใจและมารยาทในการอ่าน ๕. ครูให้นักเรียนร่วมกันบอกถึงจุดมุ่งหมายของการอ่านในใจ เช่น


- อ่านในใจแล้วสามารถตั้งค าถาม ตอบค าถามได้ - อภิปรายแสดงความคิดเห็นเรื่องได้ - สามารถล าดับเหตุการณ์ของเรื่องได้ - สรุปใจความส าคัญของเรื่องได้ ๖. นักเรียนแบ่งกลุ่ม กลุ่มละ ๖ คน โดยใช้กลุ่มเดิมแต่เลือกประธาน รองประธาน และเลขานุการ กลุ่มใหม่ ไม่ซ้ าเดิม ๗. นักเรียนแต่ละกลุ่มอ่านในใจเนื้อหาบทเรียนและตั้งค าถาม จากเรื่องที่อ่านและวงเล็บค าตอบที่ถูก ที่สุดไว้ด้านหลังด้วยค าถามง่าย ๆ ได้แก่ ค าถามที่ขึ้นต้นว่า ใคร อะไร ที่ไหน เมื่อไร อย่างไร ท าไม เป็น ค าถามที่มีค าตอบอยู่ในบทเรียน หลังจากนั้นน าค าถามและค าตอบเขียนลงในใบงาน เรื่อง ตั้งค าถาม-ค้นหา ค าตอบ จากผาแต้มสู่อียิปต์ ๘. เมื่อแต่ละกลุ่มท าใบงานเสร็จเรียบร้อยแล้ว ครูตั้งค าถามจากการอ่านในใจนักเรียนตั้งค าถาม-ตอบ ค าถามได้จ านวนกี่ข้อ ครูและนักเรียนร่วมกันเฉลยใบงาน ๙. ครูสรุปผลการตั้งค าถามและตอบค าถาม ๑๐. นักเรียนแต่ละกลุ่มช่วยกันล าดับเหตุการณ์ส าคัญของเรื่องคนละประโยคหรือมากกว่านั้นจนจบ เรื่อง หลังจากนั้นสมาชิกทุกคนช่วยกันสรุปใจความส าคัญของเรื่องแล้วบันทึกไว้ในสมุด ๑๑. ตัวแทนแต่ละกลุ่มน าเสนอใจความส าคัญของเรื่อง “จากผาแต้มสู่อียิปต์”หน้าชั้นเรียน ขั้นสรุป ๑๒. ครูและนักเรียนร่วมกันสรุป เรื่อง แนวปฏิบัติในการอ่านในใจที่ถูกต้องและมารยาทในการอ่าน และสรุปใจความส าคัญ “จากผาแต้มสู่อียิปต์” ๑๓. ครูให้นักเรียนบอกถึงสถานที่ส าคัญในท้องถิ่นของตนเองมีอะไรบ้าง และแหล่งท่องเที่ยวทาง ประวัติศาสตร์ที่นักเรียนรู้จักมีอะไรบ้างและมีความเป็นมาอย่างไร เขียนลงสมุดบันทึก ๙. สื่อและแหล่งการเรียนรู้ ๑. หนังสือเรียน รายวิชาพื้นฐาน ภาษาไทย ชุด ภาษาเพื่อชีวิต ภาษาพาที ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๖ ๒. ใบความรู้ เรื่อง หลักการอ่านในใจและมารยาทในการอ่าน ๓. ใบงาน เรื่อง ตั้งค าถาม-ค้นหาค าตอบ จากผาแต้มสู่อียิปต์


๑๐. การวัดและการประเมินผล วิธีการ เครื่องมือ เกณฑ์ สังเกตพฤติกรรมการอ่าน แบบประเมินการอ่านจับใจความ ร้อยละ ๖๐ ขึ้นไป ผ่านเกณฑ์ ตรวจใบงาน เรื่อง ตั้งค าถาม-ค้นหา ค าตอบ จากผาแต้มสู่อียิปต์ แบบประเมินใบงานเรื่อง ตั้งค าถามค้นหาค าตอบ จากผาแต้มสู่อียิปต์ ร้อยละ ๖๐ ขึ้นไป ผ่านเกณฑ์ สังเกตพฤติกรรมการมีส่วนร่วม ในกิจกรรมกลุ่ม แบบสังเกตพฤติกรรมการท างานกลุ่ม ร้อยละ ๖๐ ขึ้นไป ผ่านเกณฑ์ สังเกตพฤติกรรมความมีวินัย ใฝ่เรียนรู้ และมุ่งมั่นการท างาน แบบประเมินคุณลักษณะ อันพึงประสงค์ ผ่านเกณฑ์ระดับพอใช้ ขึ้นไป


๑๑. บันทึกผลหลังสอน ผลการสอนการเรียนรู้ ............................................................................................................................. ................................................. .............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ปัญหาและอุปสรรค ............................................................................................................................. ................................................. .............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ข้อเสนอแนะ/แนวทางแก้ไข ............................................................................................................................. ................................................. .............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ลงชื่อ................................................................................. (นายอ านาจ ยศมุงคุณ) ครู วิทยฐานะครูช านาญการพิเศษ วันที่............เดือน.......................................พ.ศ. .............. ๑๒. ความคิดเห็น/ข้อเสนอแนะของผู้บริหารหรือผู้ที่ได้รับมอบหมาย ............................................................................................................................. ................................................. .............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ลงชื่อ................................................................ (นายสุดท้าย ไชยวัน) รักษาการในต าแหน่งผู้อ านวยการโรงเรียนบ้านสวนกล้วย วันที่............เดือน.......................................พ.ศ. ..............


สื่อการเรียนรู้และแบบประเมิน หน่วยการเรียนรู้ที่ ๑ เรื่อง จากผาแต้ม...สู่อียิปต์ แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๒ เรื่อง อ่านคิดพินิจเรื่องราว


การอ่าน เป็นทักษะอย่างดียิ่งของการเรียนรู้ เราสามารถที่จะเรียนรู้ผ่านการอ่านได้เป็น อย่างดี ในแต่ละวันเราต้องใช้ทักษะในการอ่านเกือบตลอดเวลา ดังนั้นควรที่จะมีการฝึกทักษะ ในการอ่านให้อ่านได้ ดียิ่งขึ้น นอกจากที่จะอ่านได้แล้ว สิ่งที่ส าคัญอีกอย่างคือ การอ่านเป็น เพราะการอ่านเป็นจะเป็นการจับประเด็นของเรื่องที่อ่าน การวิเคราะห์ การประเมินค่าของเรื่อง ที่อ่าน นอกจากนั้นยังสามารถที่น าประโยชน์ที่ได้จากการอ่าน น าไปใช้ให้เกิดประโยชน์ใน ชีวิตประจ าวัน จึงจะถือว่าเป็นผู้ที่อ่านเป็น การอ่านจะแบ่งออกเป็น ๒ ชนิด คือ การอ่านในใจ กับ การอ่านออกเสียง การอ่านในใจ การอ่านในใจ เป็นการอ่านที่ไม่ต้องออกเสียงในขณะที่อ่าน ผู้อ่านจะอ่านข้อความ เก็บ ความและแปลความตามความเข้าใจของผู้อ่าน นิยมใช้เพื่อต้องการเก็บความรู้จากเรื่องที่อ่าน ซึ่งการอ่านในใจนี้ผู้อ่านไม่ต้องกังวลว่าจะตรงตามฉันทลักษณ์ของเรื่องที่อ่าน เพราะเป็นการ อ่านเพื่อความเข้าใจด้วยตัวเองเท่านั้น การอ่านในใจไม่นิยมใช้ในการอ่านเพื่อความบันเทิง เช่น การร้องเพลง การขับร้องท านองเสนาะ เพราะเราจะไม่ได้อรรถรสของเรื่องที่อ่าน หลักการอ่านในใจ ๑. มีสมาธิในการอ่าน เพื่อให้การอ่านเกิดประสิทธิภาพมากที่สุด ก าหนดจุดมุ่งหมายใน การอ่าน นั้นก็คือว่า ก่อนอ่านต้องก าหนดว่าจะอ่านไปเพื่ออะไร เช่น อ่านเพื่อให้รู้โครงสร้างของ เรื่องที่ก าลังจะอ่าน ควรอ่านแบบคราวๆ ไม่จ าเป็นต้องอ่านโดยละเอียด หรือ การอ่านเพื่อ ความรู้ ควรอ่านแล้วท าความเข้าใจในเรื่องที่อ่านและต้องอ่านโดยละเอียด การอ่านเพื่อความ บันเทิง ไม่จ าเป็นต้องอ่านเรื่องทั้งหมด ให้อ่านแค่เพียงให้รู้สึกว่าสนุกสนานผ่อนคล้ายเท่านั้น ๒. ในขณะอ่านควรเปลี่ยนบรรทัดให้แม่นย าเพื่อไม่ให้ข้ามเนื้อหา ๓. มีประสบการณ์เกี่ยวกับเรื่องที่อ่าน เพราะการอ่านที่จะได้ผลดี ผู้อ่านควรมีความรู้ เบื้องต้นเกี่ยวกับเรื่องที่จะอ่านมาก่อน เช่น ต้องการจะอ่านเรื่อง สงครามโลกครั้งที่สองที่มี ผลกระทบกับประเทศไทย ผู้อ่านควรมีความรู้เกี่ยวกับ ประวัติของผู้แต่งหนังสือ มีความรู้ เกี่ยวกับ แผนที่ประเทศไทย ประวัติศาสตร์ของประเทศไทยที่อยู่ในช่วงนั้น เพื่อให้มองเห็นภาพ โดยรวม


๔. เข้าใจความหมายของค าศัพท์หรือส านวน เพราะการแต่งหนังสือ ผู้แต่งจะมีความรู้ และประสบการณ์ต่างจากผู้อ่าน ดังนั้นการน าเสนอเนื้อหาจึงเป็นไปโดยประสบการณ์ของ ผู้เขียน บางครั้งศัพท์หรือส านวนผู้อ่านจะไม่เข้าใจตรงกับผู้เขียน ๕. จับใจความส าคัญของเรื่องที่อ่านได้ เช่น ใคร ท าอะไร ที่ไหน เมื่อไร อย่างไร ๖. จดจ า บันทึกความรู้ความเข้าใจในรูปแบบของตนเองเพื่อประโยชน์ในโอกาสต่อไป การอ่านจับใจความ เป็นเรื่องที่ส าคัญอย่างหนึ่งของกระบวนการอ่าน เพราะการจับใจความส าคัญ แสดงให้ เห็นว่าผู้อ่านมีความเข้าใจเนื้อเรื่อง ได้ดีแค่ไหน และเข้าใจจุดมุ่งหมายของผู้เขียนได้ดีแค่ไหน หลักการ อ่านจับใจความ ๑. อ่านตั้งแต่ต้นจนจบ โดยให้ท าการอ่านคร่าวๆ ๑ ครั้งเพื่อให้เข้าใจเนื้อหาโดยรวม จากนั้นจึงอ่านใหม่อีก ๑ ครั้ง เพื่อเก็บรายละเอียดของเนื้อหา ๒. จับใจความส าคัญที่ละ ๑ ย่อหน้า การจับใจความส าคัญจะแบ่งออกเป็น ๒ แบบ ๑. ใจความหลัก คือประโยคที่เป็นเนื้อหาส าคัญของย่อหน้านั้นๆ อาจวางอยู่บริเวณใด ของเนื้อหาก็ได้ แต่ในส่วนนี้จะไม่สามารถตัดเนื้อหาทิ้งได้ แต่สามารถที่จะน ามาย่อความใหม่ได้ ๒. ใจความรอง เป็นเนื้อหาในส่วนที่มาขยายส่วนของใจความหลักให้มีความสมบูรณ์ มากยิ่งขึ้น เช่น การยกตัวอย่าง การอธิบาย การเปรียบเทียบ การแสดงความคิดเห็น ๓. น าเนื้อหามาเรียบเรียงใหม่ ด้วยรูปแบบของผู้อ่านเอง มารยาทในการอ่าน ๑. เลือกอ่านหนังสือที่มีประโยชน์ ๒. ไม่อ่านเสียงดังรบกวนผู้อื่น ๓. อ่านอย่างมีวิจารณญาณ ไม่มีอคติในการอ่าน ๔. อ่านออกเสียงและเว้นวรรคตอนอย่างถูกต้อง ๕. ระวังไม่ให้หนังสือเกิดความเสียหาย แต่ถ้าท าเสียหายต้องซ่อมหนังสือให้ถูกต้องตาม วิธีการซ่อมหนังสือ ๖. การน าเรื่องที่อ่านไปอ้างอิงในงานเขียนต้องอ้างอิงให้ถูกต้องตามหลักการ


สมาชิก ๑. ……………………………………………………………………… เลขที่ …….. ประธาน ๒. ……………………………………………………………………… เลขที่ …….. รองประธาน ๓. ……………………………………………………………………… เลขที่ …….. เลขานุการกลุ่ม ๔. ……………………………………………………………………… เลขที่ …….. สมาชิก ๕. ……………………………………………………………………… เลขที่ …….. สมาชิก ๖. ……………………………………………………………………… เลขที่ …….. สมาชิก ค าชี้แจง ให้นักเรียนตั้งค าถามพร้อมค าตอบจากการอ่านจับใจความจากเรื่อง “จากผาแต้มสู่อียิปต์” ตัวอย่างค าถามและค าตอบ ค าถาม : ครอบครัวของอินและเอื้อง ไปทันเห็นพระอาทิตย์ขึ้นหรือไม่ เพราะเหตุใด ค าตอบ : ไปทัน เพราะเขาบรรยายว่าเห็นป่าไม้ เทือกเขา กระแสน้ า และอากาศเย็น ค าถาม ค าตอบ


ค าถาม ค าตอบ


แบบประเมินการตั้งค าถามและตอบค าถาม ค าชี้แจง ครูประเมินพฤติกรรมของนักเรียนในการตั้งค าถามและตอบค าถามและให้คะแนนลงในช่องที่ ตรงกับพฤติกรรมของนักเรียน เลขที่ ชื่อ - สกุล ๑.ลักษณะค าถาม ๒.ความมีเหตุผล ๓.ความคิดสร้างสรรค์ ๔.การน าไปใช้ในชีวิตประจ าวัน ๕.ลักษณะค าตอบ รวม สรุปผล การประเมิน ๓ ๓ ๓ ๓ ๓ ๑๕ ผ่าน ไม่ผ่าน ๑. เด็กชายธินภัทร กะนะ ๒. เด็กชายยสินทร มูลที ๓. เด็กหญิงศรัญญา แก้วกันหา ๔. เด็กหญิงอภิริญาพร ธรรมผาลา ๕. เด็กชายธนวัฒน์ เขาลาด เกณฑ์การประเมิน ร้อยละ ๖๐ ขึ้นไป (๙ คะแนน ขึ้นไป) ๑๓ – ๑๕ คะแนน หมายถึง ดี ๙ – ๑๒ คะแนน หมายถึง พอใช้ ๑ – ๘ คะแนน หมายถึง ปรับปรุง ลงชื่อ................................................ผู้ประเมิน ( นายอ านาจ ยศมุงคุณ )


รายละเอียดเกณฑ์การให้คะแนนแบบประเมินการตั้งค าถามและตอบค าถาม เกณฑ์การประเมิน ระดับคะแนน ๓ ๒ ๑ ๑.ลักษณะค าถาม ตั้งค าถามเพื่อค้นคว้าหา ความรู้เพิ่มเติมต่อไปได้ ตั้งค าถามเพื่อค้นคว้าหา ความรู้เพิ่มเติม ตั้งค าถามไม่สามารถ ค้นคว้าหาความรู้ต่อไป ได้อีก ๒.ความมีเหตุผล สามารถแสดงความคิดเห็น อย่างมีเหตุผล สามารถแสดงความคิดเห็น มีเหตุผลบ้าง ไม่แสดงเหตุผล ๓. ความคิดสร้างสรรค์ ค าถามมีความคิดริเริ่ม สร้างสรรค์น่าสนใจ แปลก ทันสมัย ไม่ซ้ าแบบ ใคร ค าถามมีความคิดริเริ่ม สร้างสรรค์ไม่น่าสนใจ มี ความทันสมัยบ้าง ค าถามไม่มีความคิด ริเริ่มสร้างสรรค์ ๔. การน าไปใช้ใน ชีวิตประจ าวัน แสดงถึงค าถามที่มีการน า ความรู้มาประยุกต์ใช้ใน ชีวิตประจ าวันได้มาก มีการน าความรู้มา ประยุกต์ใช้ใน ชีวิตประจ าวันได้บ้าง ไม่สามารถน าความรู้ มาประยุกต์ใช้ใน ชีวิตประจ าวันได้เลย ๕.ลักษณะค าตอบ ตั้งค าถามและอธิบาย ค าตอบได้เข้าใจ ไม่วกวน ตั้งค าถามและอธิบาย ค าตอบได้พอเข้าใจ ไม่ วกวน ตั้งค าถามและอธิบาย ค าตอบได้ไม่เข้าใจ วกวน


แบบประเมินการอ่านจับใจความ ค าชี้แจง ครูประเมินพฤติกรรมของนักเรียนในการอ่านจับใจความและให้คะแนนลงในช่องที่ตรงกับ พฤติกรรม เลขที่ ชื่อ - สกุล ๑. บุคลิกในการอ่าน ๑. ๒. การกวาดสายตา ๓. ไม่ใช้มือชี้ตามตัวอักษร ๔. ไม่ส่ายหน้าไปมาในขณะที่อ่าน ๕. จับใจความส าคัญของเรื่องที่อ่าน ๖. การตั้งค าถามและตอบค าถามจากเรื่อง ๗. การสรุปเรื่อง แนวคิดและข้อคิดของเรื่อง รวม สรุป ผลการประเมิน ๓ ๓ ๓ ๓ ๓ ๓ ๓ ๒๑ ผ่าน ไม่ผ่าน ๑. เด็กชายธินภัทร กะนะ ๒. เด็กชายยสินทร มูลที ๓. เด็กหญิงศรัญญา แก้วกันหา ๔. เด็กหญิงอภิริญาพร ธรรมผาลา ๕. เด็กชายธนวัฒน์ เขาลาด เกณฑ์การประเมิน ร้อยละ ๖๐ ขึ้นไป (๑๓ คะแนนขึ้นไป) ๑๘ – ๒๑ คะแนน ระดับ ดี ๑๓ – ๑๗ คะแนน ระดับ พอใช้ ๐ – ๑๒ คะแนน ระดับ ปรับปรุง ลงชื่อ................................................ผู้ประเมิน ( ...............................................)


รายละเอียดเกณฑ์การให้คะแนนแบบประเมินการอ่านจับใจความ ประเด็นการประเมิน เกณฑ์การให้คะแนน ๓ ๒ ๑ ๑. บุคลิกในการอ่าน นั่งตัวตรง วางและเปิด หนังสือถูกต้อง นั่งตัวตรง วางหรือเปิด หนังสือไม่ถูกต้อง ๑ อย่าง นั่งตัวไม่ตรง วางและเปิด หนังสือไม่ถูกต้อง ๒. การกวาดสายตา กวาดสายตาจากซ้ายไป ขวาได้ถูกต้อง รวดเร็ว และต่อเนื่อง กวาดสายตาจากซ้ายไป ขวาได้ถูกต้อง แต่ช้าและ ต่อเนื่อง กวาดสายตาจากซ้ายไป ขวาได้ถูกต้องแต่ช้ามาก และไม่ต่อเนื่อง ๓. ไม่ใช้มือชี้ตามตัวอักษร ไม่ใช้มือชี้ตามตัวอักษร ขณะที่อ่านตลอดทั้งเรื่อง ตั้งแต่ต้นจนจบ ใช้มือชี้ตามตัวอักษร ๒ ครั้ง ขณะที่อ่าน ใช้มือชี้ตามตัวอักษร มากกว่า ๒ ครั้ง ขณะที่ อ่าน ๔. ไม่ส่ายหน้าไปมาใน ขณะที่อ่าน ไม่ส่ายหน้าไปมาในขณะ อ่านตลอดทั้งเรื่องตั้งแต่ ต้นจนจบ ส่ายหน้าไปมา ๒ ครั้ง ในขณะอ่าน ส่ายหน้าไปมา มากกว่า ๒ ครั้ง ในขณะอ่าน ๕. จับใจความส าคัญของ เรื่องที่อ่าน ระบุตัวละคร เหตุการณ์ สถานที่ เวลา และผลที่ เกิดขึ้น โดยเรียงล าดับ เหตุการณ์ได้อย่างต่อเนื่อง เหมาะสม ระบุตัวละคร เหตุการณ์ สถานที่ เวลา และผลที่ เกิดขึ้นได้ แต่เรียงล าดับ เหตุการณ์ผิด ๑ ต าแหน่ง ระบุตัวละคร เหตุการณ์ สถานที่ เวลา และผลที่ เกิดขึ้นได้ แต่เรียงล าดับ เหตุการณ์ผิด ๒ ต าแหน่ง ขึ้นไป ๖. การตั้งค าถามและตอบ ค าถามจากเรื่อง ตั้งค าถามและตอบ ค าถามจากเรื่องที่อ่านได้ ถูกต้องทุกเรื่อง ทุก ประเด็น ตั้งค าถามและตอบ ค าถามจากเรื่องที่อ่าน ไม่ ถูกต้อง ๑ ข้อ ตั้งค าถามและตอบ ค าถามจากเรื่องที่อ่าน ไม่ ถูกต้อง ๒ ข้อขึ้นไป ๗. การสรุปเรื่อง แนวคิด และข้อคิดของเรื่อง สรุปเรื่อง แนวคิดและ ข้อคิดของเรื่องได้ครบ สมบูรณ์ สรุปเรื่องได้ แต่บอก แนวคิด หรือข้อคิดอย่างใด อย่างหนึ่งไม่ได้ สรุปเรื่อง บอกแนวคิด และข้อคิดไมได้


แบบสังเกตพฤติกรรมกลุ่ม ค าชี้แจง ครูประเมินพฤติกรรมของนักเรียนในการท างานกลุ่มและให้คะแนนลงในช่องที่ตรงกับพฤติกรรม เลขที่ ชื่อ - สกุล ๑.คณะท างาน ๒.ความรับผิดขอบต่อหน้าที่ ๓.ขั้นตอนการท างาน ๔.ความร่วมมือในการท างาน ๕.การปฏิบัติงานอย่างมีความสุข ๖.เวลา รวม สรุป ผลการประเมิน ๓ ๓ ๓ ๓ ๓ ๓ ๑๘ ผ่าน ไม่ผ่าน ๑. เด็กชายธินภัทร กะนะ ๒. เด็กชายยสินทร มูลที ๓. เด็กหญิงศรัญญา แก้วกันหา ๔. เด็กหญิงอภิริญาพร ธรรมผาลา ๕. เด็กชายธนวัฒน์ เขาลาด เกณฑ์การประเมิน ร้อยละ ๖๐ ขึ้นไป (๑๑ คะแนนขึ้นไป) ๑๕ – ๑๘ คะแนน ระดับ ดี ๑๑ – ๑๔ คะแนน ระดับ พอใช้ ๐ – ๑๐ คะแนน ระดับ ปรับปรุง ลงชื่อ................................................ผู้ประเมิน ( ...............................................)


รายละเอียดเกณฑ์การให้คะแนนแบบประเมินพฤติกรรมกลุ่ม ประเด็นการประเมิน เกณฑ์การให้คะแนน ๓ ๒ ๑ ๑. คณะท างาน มีประธาน เลขานุการ ผู้น าเสนอ ผู้ร่วมงาน ขาดองค์ประกอบ ๑ อย่าง ขาดองค์ประกอบ ๒ อย่าง ขึ้นไป ๒. ความรับผิดชอบ ต่อหน้าที่ สมาชิกมีความรับผิดชอบ และปฏิบัติหน้าที่ของตนจน ส าเร็จทุกคน สมาชิกไม่มีความรับผิดชอบ และปฏิบัติหน้าที่ของตนไม่ ส าเร็จ เป็นบางคน สมาชิกไม่มีความ รับผิดชอบ และปฏิบัติ หน้าที่ของตนไม่ส าเร็จ ๓.ขั้นตอนการท างาน ๑) คัดเลือกเรื่องตาม ความสนใจของกลุ่ม ๒) มีการวางแผน ๓) เตรียมวัสดุอุปกรณ์ ๔) ปฏิบัติตามแผน และพัฒนางาน ขาดขั้นตอน ๑ ขั้นตอน หรือไม่ชัดเจน ขาดขั้นตอน ๒ ขั้นตอนขึ้น ไปหรือไม่ชัดเจน ๔. ความร่วมมือ ในการท างาน สมาชิกมีส่วนร่วมทุกคน และให้ความร่วมมือในการ ท างานอย่างเต็มที่ สมาชิกมีส่วนร่วมทุกคน แต่ มีบางคนให้ความร่วมมือใน การท างานไม่เต็มที่ สมาชิกมีส่วนร่วมเป็นบาง คนและให้ความร่วมมือใน การท างานไม่ครบทุกคน ๕. การปฏิบัติงาน อย่างมีความสุข สมาชิกร่วมกันปฏิบัติงาน อย่างมีความสุขทุกคน สมาชิกบางคนไม่มีความสุข ในการปฏิบัติงาน สมาชิกทุกคนไม่มีความสุข ในการปฏิบัติงาน ๖. เวลา งานเสร็จตามก าหนดเวลา และมีคุณภาพ งานเสร็จไม่ทันตาม ก าหนดเวลาแต่งานมี คุณภาพ งานเสร็จไม่ทันตาม ก าหนดเวลาและงานไม่มี คุณภาพ


แบบประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ค าชี้แจง : ให้ ผู้สอน สังเกตพฤติกรรมของนักเรียนในระหว่างเรียนและนอกเวลาเรียน แล้วขีด ลงในช่อง ที่ตรงกับระดับคะแนน คุณลักษณะ อันพึงประสงค์ด้าน รายการประเมิน ระดับคะแนน ๓ ๒ ๑ ๑. รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ ๑.๑ ยืนตรงเคารพธงชาติ และร้องเพลงชาติได้ ๑.๒ เข้าร่วมกิจกรรมที่สร้างความสามัคคี ปรองดอง และเป็นประโยชน์ต่อ โรงเรียน ๑.๓ เข้าร่วมกิจกรรมทางศาสนาที่ตนนับถือ ปฏิบัติตามหลักศาสนา ๑.๔ เข้าร่วมกิจกรรมที่เกี่ยวกับสถาบันพระมหากษัตริย์ตามที่โรงเรียนจัดขึ้น ๒. ซื่อสัตย์ สุจริต ๒.๑ ให้ข้อมูลที่ถูกต้อง และเป็นจริง ๒.๒ ปฏิบัติในสิ่งที่ถูกต้อง ๓. มีวินัยรับผิดชอบ ๓.๑ ปฏิบัติตามข้อตกลง กฎเกณฑ์ ระเบียบ ข้อบังคับของครอบครัว มีความตรงต่อเวลาในการปฏิบัติกิจกรรมต่างๆ ใน ชีวิตประจ าวัน ๔. ใฝ่เรียนรู้ ๔.๑ รู้จักใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์ และน าไปปฏิบัติได้ ๔.๒ รู้จักจัดสรรเวลาให้เหมาะสม ๔.๓ เชื่อฟังค าสั่งสอนของบิดา-มารดา โดยไม่โต้แย้ง ๔.๔ ตั้งใจเรียน ๕. อยู่อย่าง พอเพียง ๕.๑ ใช้ทรัพย์สินและสิ่งของของโรงเรียนอย่างประหยัด ๕.๒ ใช้อุปกรณ์การเรียนอย่างประหยัดและรู้คุณค่า ๕.๓ ใช้จ่ายอย่างประหยัดและมีการเก็บออมเงิน ๖. มุ่งมั่นในการ ท างาน ๖.๑ มีความตั้งใจและพยายามในการท างานที่ได้รับมอบหมาย ๖.๒ มีความอดทนและไม่ท้อแท้ต่ออุปสรรคเพื่อให้งานส าเร็จ ๗. รักความเป็นไทย ๗.๑ มีจิตส านึกในการอนุรักษ์วัฒนธรรมและภูมิปัญญาไทย ๗.๒ เห็นคุณค่าและปฏิบัติตนตามวัฒนธรรมไทย ๘. มีจิตสาธารณะ ๘.๑ รู้จักช่วยพ่อแม่ ผู้ปกครอง และครูท างาน ๘.๒ รู้จักการดูแล รักษาทรัพย์สมบัติและสิ่งแวดล้อมของห้องเรียน โรงเรียน ลงชื่อ ..................................................... ผู้ประเมิน ................ /................ /................ เกณฑ์การให้คะแนน เกณฑ์การตัดสินคุณภาพ ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรม คะแนน คะแนน ความหมาย อย่างสม่ าเสมอ ๓ ๔๖-๖๐ ดี บ่อยครั้ง ๒ ๓๐-๔๕ พอใช้ บางครั้ง ๑ ต่ ากว่า ๓๐ ปรับปรุง


แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๓ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๖ รายวิชาภาษาไทย รหัสวิชา ท ๑๖๑๐๑ ภาคการเรียนที่ ๑ ปี ๒๕๕๙ หน่วยการเรียนรู้ที่ ๑ เรื่อง จากผาแต้ม...สู่อียิปต์ เวลา ๗ ชั่วโมง เรื่อง คิดวิเคราะห์ด้วยแผนภาพโครงเรื่อง เวลา ๑ ชั่วโมง ๑. สาระส าคัญ/ความคิดรวบยอด การเขียนแผนภาพโครงเรื่อง จะช่วยให้นักเรียนเข้าใจเรื่องและจ าเรื่องที่อ่านได้แม่นย ายังเป็นการช่วย ฝึกทักษะ และพัฒนาในด้านการเขียน การพูดต่อไป ๒. มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด สาระที่ ๑ การอ่าน มาตรฐานการเรียนรู้ ท ๑.๑ ใช้กระบวนการอ่านสร้างความรู้และความคิดเพื่อน าไปตัดสินใจ แก้ปัญหาในการด าเนิน ชีวิตและมีนิสัยรักการอ่าน สาระที่ ๒ การเขียน มาตรฐานการเรียนรู้ ท ๒.๑ ใช้กระบวนการเขียนสื่อสาร เขียนเรียงความ ย่อความ และเขียน เรื่องราวในรูปแบบต่างๆ เขียนรายงานข้อมูลสารสนเทศและรายงาน การศึกษาค้นคว้าอย่างมีประสิทธิภาพ สาระที่ ๓ การฟัง การดู และการพูด มาตรฐานการเรียนรู้ ท ๓.๑ สามารถเลือกฟังและดูอย่างมีวิจารณญาณและพูดแสดงความรู้ ความคิด และความรู้สึกในโอกาสต่างๆอย่างมีวิจารณญาณและ สร้างสรรค์ ตัวชี้วัด ท ๑.๑ ป.๖/๔ แยกข้อเท็จจริงและข้อคิดเห็นจากเรื่องที่อ่าน ท ๑.๑ ป.๖/๕ อธิบายการน าความรู้และความคิดจากเรื่องที่อ่านไปตัดสินใจ แก้ปัญหาในการด าเนินชีวิต ท ๒.๑ ป.๖/๓ เขียนแผนภาพโครงเรื่องและแผนภาพความคิดเพื่อใช้พัฒนา งานเขียน ท ๒.๑ ป.๖/๙ มีมารยาทในการเขียน ท ๓.๑ ป.๖/๑ พูดแสดงความรู้ความเข้าใจจุดประสงค์ของเรื่องที่ฟังและดู ๓. จุดระสงค์การเรียนรู้ ๑. อธิบายวิธีการเขียนแผนภาพโครงเรื่องได้


๒. เขียนแผนภาพโครงเรื่องจากเรื่องที่อ่านได้ ๓. เล่าเรื่องตามแผนภาพโครงเรื่องได้ ๔. มีมารยาทในการเขียน ๔. สาระการเรียนรู้ ความรู้ (K) - หลักการเขียนแผนภาพโครงเรื่อง ทักษะ/กระบวนการ (P) ๑. เขียนแผนภาพโครงเรื่อง ๒. เล่าเรื่องตามแผนภาพโครงเรื่อง เจตคติ (A) ๑. ตระหนักและเห็นคุณค่าของภาษาไทย ๒. รักความเป็นไทย ใช้ภาษาแสวงหาความรู้เพื่อพัฒนาตนเอง ๓. มีมารยาทในการอ่าน การเขียน การฟัง การดู และการพูด ๕. สมรรถนะส าคัญของผู้เรียน ๑. ความสามารถในการสื่อสาร ๒. ความสามารถในการคิด - ทักษะการคิดวิเคราะห์ ๓. ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต - กระบวนการท างานกลุ่ม - กระบวนการปฏิบัติ ๖. คุณลักษณะอันพึงประสงค์ ๑. มีวินัย ๒. ใฝ่เรียนรู้ ๓. มุ่งมั่นการท างาน ๗. ชิ้นงาน/ภาระงาน - ใบงาน เรื่อง การเขียนแผนภาพโครงเรื่อง


๘. กิจกรรมการเรียนรู้ ขั้นน า ๑. ครูขออาสาสมัครบอกถึงสถานที่ส าคัญในท้องถิ่นมีอะไรบ้าง และแหล่งท่องเที่ยวทางประวัติศาสตร์ ที่นักเรียนรู้จัก ๒. นักเรียนเล่นเกม “เรียงร้อยต่อเรื่องราว” ขั้นสอน ๓. ครูและนักเรียนสนทนาทบทวนเรื่อง “จากผาแต้ม...สู่อียิปต์” โดยใช้ภาพจาก บทเรียนประกอบ ๔. นักเรียนร่วมกันอภิปรายวิเคราะห์โครงเรื่อง ล าดับเหตุการณ์ของเรื่องและบอกประเด็นส าคัญ ๕. นักเรียนแบ่งกลุ่ม กลุ่มละ ๖ คน โดยใช้กลุ่มเดิม แต่เลือกประธาน รองประธานและเลขานุการ กลุ่มใหม่ ไม่ให้ซ าเดิม ๖. นักเรียนแต่ละกลุ่มศึกษาใบความรู้ เรื่อง หลักการเขียนแผนภาพโครงเรื่อง และมารยาทในการ เขียน ๗. นักเรียนแต่ละกลุ่มอ่านในใจ“จากผาแต้ม...สู่อียิปต์” จากหนังสือเรียนภาษาพาที ชั นประถมศึกษา ปีที่ ๖ แล้วร่วมกันท าใบงาน เรื่อง การเขียนแผนภาพโครงเรื่อง ตอนที่ ๑ ๘. ครูสุ่มตัวแทนของแต่ละกลุ่มออกมาน าเสนอแผนภาพโครงเรื่อง และให้นักเรียนช่วยกันตรวจสอบ ความถูกต้องและเพิ่มเติมให้สมบูรณ์ ๙. นักเรียนแต่ละกลุ่มช่วยกันตรวจสอบแผนภาพโครงเรื่องและแก้ไขให้สมบูรณ์ ๑๐. นักเรียนแต่ละคนท าใบงาน การเขียนแผนภาพโครงเรื่อง ตอนที่ ๒ แล้วน าส่งครูเพื่อประเมินผล ขั้นสรุป ๑๑. ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปบทเรียน เรื่อง การเขียนแผนภาพโครงเรื่อง และแนวทางปฏิบัติที่ ถูกต้องในการเล่าเรื่อง ๙. สื่อและแหล่งการเรียนรู้ ๑. หนังสือเรียน รายวิชาพื นฐาน ภาษาไทย ชุด ภาษาเพื่อชีวิต ภาษาพาที ชั นประถมศึกษาปีที่ ๖ ๒. เกม “เรียงร้อยต่อเรื่องราว” ๓. ใบความรู้ หลักการเขียนแผนภาพโครงเรื่องและมารยาทในการเขียน ๔. ใบงาน เรื่อง การเขียนแผนภาพโครงเรื่อง


๑๐. การวัดและการประเมินผล วิธีการ เครื่องมือ เกณฑ์ ตรวจใบงานการเขียนแผนภาพโครงเรื่อง แบบประเมินการเขียนแผนภาพ โครงเรื่อง ร้อยละ ๖๐ ขึ นไป ผ่านเกณฑ์ สังเกตพฤติกรรมการมีส่วนร่วม ในกิจกรรมกลุ่ม แบบสังเกตพฤติกรรมการท างานกลุ่ม ร้อยละ ๖๐ ขึ นไป ผ่านเกณฑ์ สังเกตพฤติกรรมความมีวินัย ใฝ่เรียนรู้ และมุ่งมั่นการท างาน แบบประเมินคุณลักษณะ อันพึงประสงค์ ผ่านเกณฑ์ระดับพอใช้ ขึ นไป


๑๑. บันทึกผลหลังสอน ผลการสอนการเรียนรู้ ............................................................................................................................. ................................................. .............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ปัญหาและอุปสรรค ............................................................................................................................. ................................................. .............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ข้อเสนอแนะ/แนวทางแก้ไข ............................................................................................................................. ................................................. ........................................................................................................................................................................... ... ............................................................................................................................. ................................................. ลงชื่อ................................................................................. (นายอ านาจ ยศมุงคุณ) ครู วิทยฐานะครูช านาญการพิเศษ วันที่............เดือน.......................................พ.ศ. .............. ๑๒. ความคิดเห็น/ข้อเสนอแนะของผู้บริหารหรือผู้ที่ได้รับมอบหมาย ............................................................................................................................. ................................................. .............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ลงชื่อ................................................................ (นายสุดท้าย ไชยวัน) รักษาการในต าแหน่งผู้อ านวยการโรงเรียนบ้านสวนกล้วย วันที่............เดือน.......................................พ.ศ. ..............


สื่อการเรียนรู้และแบบประเมิน หน่วยการเรียนรู้ที่ ๑ เรื่อง จากผาแต้ม...สู่อียิปต์ แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๓ เรื่อง คิดวิเคราะห์ด้วยแผนภาพโครงเรื่อง


เกม “เรียงร้อยต่อเรื่องราว” อุปกรณ์ ๑. บัตรข้อความ เป็นเหตุการณ์ในเรื่อง เดียวกัน มีเนื อเรื่องต่อเนื่องกัน แต่ได้จัดคละกันไว้ จัดท าไว้ เป็น ๒ ชุด ๒. นกหวีด ๓. นาฬิกาจับเวลา วิธีการเล่นเกม มีดังนี ๑. แบ่งนักเรียนออกเป็น ๒ กลุ่ม ๒. ครูอธิบายกติกาการเล่นโดย - ให้แต่ละกลุ่มมารับข้อความซึ่งเป็นข้อความชนิดเดียวกัน กลุ่มละ ๑ ชุด - ครูจะให้เวลาเล่นเกมประมาณ ๑๐ นาที โดยจะให้สัญญาณเริ่มเล่นด้วยการเป่านกหวีด และให้ สัญญาณหยุดเล่นด้วยการเป่านกหวีดเช่นกัน - เมื่อได้ยินสัญญาณให้นักเรียนเริ่มเล่นเกมทันที โดยการจัดล าดับข้อความที่ได้รับ ให้เนื อความ ต่อเนื่องกันจากข้อความที่นักเรียนคิดว่าน่าจะอยู่อันดับ แรก หรือเริ่มต้นไปจนถึงข้อความที่คิด ว่าน่าจะอยู่สุดท้าย - ให้นักเรียนช่วยกันเขียนเรื่องราวเพิ่มเติมจากข้อความแรกจนถึงข้อความสุดท้าย ให้เป็น เรื่องราวที่สัมพันธ์ต่อเนื่องกัน - เมื่อได้ยินสัญญาณหมดเวลา ให้ตัวแทนของกลุ่มมาจับสลากกันออกมารายงาน โดยเล่าเรื่องให้ เพื่อน ๆ ฟัง - ให้แต่ละกลุ่มติดข้อความที่ได้รับและส่วนที่ได้ต่อเติมแต่งต่อเรื่องราวเสร็จไว้บนกระดานด าให้ เพื่อนดู จากนั นครูน าข้อความมาเฉลยให้นักเรียนดู แล้วพิจารณาว่า กลุ่มใดล าดับเรื่องได้ถูก และต่อเติมได้ดี สมบูรณ์เหมาะสม เป็นฝ่ายชนะ อีกา คาบเนื้อ อยู่ในปาก หลงเชื่อค าพูดของ สุนัขจิ้งจอก ที่ชมว่า อีกา มีเสียงไพเราะ จึงอ้าปากร้องเพลงให้ สุนัขจิ้งจอก ฟัง ชิ้นเนื้อที่ อีกา คาบมาหล่นออกจากปาก สุนัขจิ้งจอก คาบเนื้อไปกินแทน


การเขียนแผนภาพโครงเรื่อง เป็นการเขียนที่แสดงให้เห็นโครงเรื่องโดยรวมทั ง เรื่องท าให้จับใจความส าคัญของเรื่องที่อ่านได้ดียิ่งขึ น การเขียนแผนภาพโครงเรื่อง ต้องอาศัยการตั งค าถามและตอบค าถามจากเรื่อง ที่อ่านว่าตัวละครในเรื่องมีใครบ้าง สถานที่เกิดเหตุการณ์คือที่ไหน มีเหตุการณ์อะไรเกิดขึ น และผลของเหตุการณ์นั นคืออะไร แล้วจึงเขียนเป็นแผนภาพโครงเรื่อง ตัวอย่าง การเขียนแผนภาพโครงเรื่อง เรื่อง กากับสุนัขจิ้งจอกเจ้าเล่ห์ อีกาตัวหนึ่งก าลังหิว มันจึงบินออกหาอาหาร มันเหลือบไปเห็นเนื อชิ นหนึ่งหล่นอยู่ มันจึงใช้ปาก คาบเนื อชิ นนั นขึ นมา แล้วบินไปเกาะที่ไม้ต้นหนึ่ง สุนัขจิ งจอกตัวหนึ่งเดินผ่านมาเห็นอีกาคาบเนื ออยู่ใน ปาก มันอยากกินเนื อชิ นนั น มันจึงเอ่ยปากทักอีกาว่า “สวัสดีครับคุณกา คุณช่างสง่างามอะไรอย่างนี ขนของคุณก็ดูสวยงามมาก” อีการู้สึก ชอบใจมาก มันมองดูของของตัวเองอย่างภูมิใจ สุนัขจิ งจอกจึงพูดต่อไปว่า “คุณคงมีเสียงที่ไพเราะมาก คุณคงร้องเพลงเพราะด้วยใช่ไหม” อีกา รีบผงกหัวรับ “ถ้าอย่างนั นคุณช่วยร้องเพลงให้ผมฟังสักหน่อยเถิดครับ” อีกา จึงอ้าปากจะร้องเพลง พอมันอ้าปาก เนื อก็หลุดจากปากตกลงที่พื นสุนัขจิ งจอกจึงรีบคาบเนื อชิ นนั นแล้ววิ่งหนีไป แผนภาพโครงเรื่อง ของนิทานเรื่องกากับสุนัขจิ้งจอกเจ้าเล่ห์ ตัวละครในเรื่อง อีกา และสุนัขจิ งจอก สถานที่ ต้นไม้ต้นหนึ่ง เหตุการณ์ที่เกิดขึ น อีกาซึ่งก าลังคาบเนื ออยู่ในปาก หลงเชื่อค าพูดของ สุนัขจิ งจอกที่ชมว่าอีกามีเสียงไพเราะ จึงอ้าปากจะร้องเพลงให้ สุนัขจิ งจอกฟัง ผลของเหตุการณ์ ท าให้ชิ นเนื อที่อีกาควบมาหล่นออกจากปากสุนัขจิ งจอกจึงมาคาบเนื อ ไปกินแทน


มารยาทในการเขียน ๑. เขียนด้วยลายมือที่อ่านง่าย สะอาด เป็นระเบียบเรียบร้อย ไม่ขีดฆ่าขูดลบ ๒. ใช้กระดาษที่เหมาะสม สุภาพ ๓. ใช้ปากกาที่เหมาะสม เช่น ไม่ควรใช้สีแดง เป็นต้น ๔. ใช้ถ้อยค าภาษาที่สร้างสรรค์ ไม่กล่าวร้ายผู้อื่น ๕. ใช้ถ้อยค าที่สุภาพ เหมาะสมแก่กาลเทศะและบุคคล ๖. เขียนให้ถูกอักขรวิธี (สะกดการันต์ถูกต้อง)


สมาชิก ๑. ……………………………………………………………………… เลขที่ …….. ประธาน ๒. ……………………………………………………………………… เลขที่ …….. รองประธาน ๓. ……………………………………………………………………… เลขที่ …….. เลขานุการกลุ่ม ๔. ……………………………………………………………………… เลขที่ …….. สมาชิก ๕. ……………………………………………………………………… เลขที่ …….. สมาชิก ๖. ……………………………………………………………………… เลขที่ …….. สมาชิก ตอนที่ ๑ ให้นักเรียนเขียนแผนภาพโครงเรื่อง “เรื่อง จากผาแต้ม...สู่อียิปต์ ตัวละครส าคัญ ………………………………………………………………………………………….…. ตัวละครประกอบ ………………………………………………………………………………………….…. เรื่องเกิดขึ้นที่ไหน ………………………………………………………………………………………….…. …………………………………………………………………………………………… ปัญหาที่เกิดขึ้นในเรื่อง ………………………………………………………………………………………….…. …………………………………………………………………………………………… เหตุการณ์ที่….. ………………………………………………………………………………………….…. ………………………………………………………………………………………….…. สถานที่ ………………………………………………………………………………………….…. ตัวละคร ………………………………………………………………………………………….….


การกระท า ………………………………………………………………………………………….… …………………………………………………………………………………………… ผลของการกระท า ………………………………………………………………………………………….… ………………………………………………………………………………………….… ………………………………………………………………………………………….… …………………………………………………………………………………………… เหตุการณ์ที่…… ………………………………………………………………………………………….…. …………………………………………………………………………………………… สถานที่ ………………………………………………………………………………………….…. …………………………………………………………………………………………… ตัวละคร ………………………………………………………………………………………….…. การกระท า ………………………………………………………………………………………….… ………………………………………………………………………………………….… ผลของการกระท า ………………………………………………………………………………………….… ………………………………………………………………………………………….… ………………………………………………………………………………………….… ข้อคิดที่ได้ …………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………


ชื่อ – สกุล .................................................................................................เลขที่.............. ตอนที่ ๒ ให้นักเรียนเขียนแผนภาพโครงเรื่อง จากเนื อเรื่องต่อไปนี นายกล่ า รู้จักคุ้นเคยกับพระยาขจัดฯ ซึ่งเป็นข้าราชการชั นผู้ใหญ่ที่มีคนนับหน้า ถือตามากที่สุดคนหนึ่ง เมื่อนายกล่ าจะประกอบพิธีงานมงคลที่บ้านของตน จึงได้พยายามไป หาพระยาขจัดฯ ขอเชิญท่านให้มาในงานนี เพื่อเป็นเกียรติ และศิริมงคลแก่ตัวเขา พระยาขจัดฯ ก็รับปากว่าจะมาอย่างแข็งแรง จึงเตรียมการเป็นการใหญ่ เพื่อต้อนรับ พระยาขจัดฯ และออกการ์ดเชิญบรรดาแขกเหรื่อให้มาในงานนี กันคับคั่ง พร้อมทั งแจ้งบรรดา แขกอื่นๆ ที่มาในงานรู้ว่า พระยาขจัดฯ จะมาในงานนี อย่างแน่นอนแขกเหรื่อทุกคนทุกคน ก็คอยรับพระยาขจัดฯ แต่เมื่อถึงเวลาเริ่มพิธีมงคลแล้ว พระยาขจัดก็ยังไม่มารอกันอยู่ จนกระทั่งล่วงเลยเวลา เกือบจะหมดฤกษ์ ก็ยังไม่ปรากฏตัวพระยาขจัดฯเลย ปัญหาอยู่ที่ว่า เมื่อพระยาขจัดฯ ผิดนัดงานเช่นนี นายกล่ าควรท าอย่างไรกับ แขกเหรื่อที่มาในงาน แหล่งอ้างอิง: ฝึกสมองทดลองภูมิปัญญาของคุณหนู ๆ โดยนายปัญญา รอบรู้ เอกลักษณ์หนังสือดี …………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………


ตอนที่ ๑ ให้นักเรียนเขียนแผนภาพโครงเรื่อง “เรื่อง จากผาแต้ม...สู่อียิปต์ ตัวละครส าคัญ อินและเอื อง ตัวละครประกอบ พ่อและแม่ เรื่องเกิดขึ้นที่ไหน ครอบครัวไปเที่ยว ปัญหาที่เกิดขึ้นในเรื่อง การไปเที่ยวที่ผาแต้ม เหตุการณ์ที่ ๑ พ่อ แม่ อิน และเอื องไปทอดกฐินที่จังหวัดอุบลราชธานีและไป เที่ยวผาแต้ม สถานที่ ผาแต้ม อ าเภอโขมเจียม จังหวัดอุบลราชธานี ตัวละคร อินและเอื อง พ่อและแม่ การกระท า อินและเอื อง พ่อและแม่ หลังจากท าบุญกฐินแล้วเดินทางไป ไปเที่ยว อ าเภอโขมเจียม จังหวัดอุบลราชธานี ซึ่งสามารถมองเห็น ทุ่งนาและภูเจาของสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว และ ได้ไปชมผาแต้มซึ่งมีภาพคนสมัยโบราณบันทึกชีวิตความเป็นอยู่ และวัฒนธรรมไว้บนหินอย่างสวยงาม ผลของการกระท า อินและเอื อง ได้รับความรู้จากพ่อและแม่ เรื่องผาแต้ม เหตุการณ์ที่ ๒ เปิดภาคเรียน อินเล่าเรื่องความมหัศจรรย์ของผาแต้มให้เพื่อน ๆ ฟัง และณภัทรเล่าความมหัศจรรย์ของประเทศอียิปต์ สถานที่ โรงเรียน ตัวละคร อินและณภัทร การกระท า อินและณภัทร เปิดเรียนอินได้เล่าเรื่องการไปเที่ยวผาแต้มให้ เพื่อน ๆ ในห้องฟัง ณภัทรซึ่งได้ติดตามพ่อแม่ไปเที่ยงที่ประเทศ อียิปต์ ได้เล่าถึงพีระมิดซึ่งเป็น ๗ สิ่งมหัศจรรย์ของโลก ได้ไปชม พีระมิดกูฟูแห่งกีซา มีการแกะสลักรูปภาพต่างๆตามผนัง จะมี ลักษณะคล้ายผาแต้ม เป็นการสื่อสารด้วยภาพประมาณ ๕๐๐๐ มาแล้ว ผาแต้มจะมีที่หลังอียิปต์ เพื่อนๆในห้องได้ดูภาพถ่ายจาก ทั งอินและณภัทร ข้อคิด การไปเที่ยวจะได้ทั งความรู้และความสนุกสนาน ตอนที่ ๒ ตามดุลยพินิจครูผู้สอน โดยใช้แบบประเมินการเขียนแผนภาพโครงเรื่อง - เฉลย -


แบบประเมินการเขียนแผนภาพโครงเรื่อง ค าชี้แจง ครูประเมินพฤติกรรมของนักเรียนในการท ากิจกรรม และให้คะแนนลงในช่องที่ตรงกับพฤติกรรม ของนักเรียน เลขที่ ชื่อ – สกุล รายการประเมิน รวม สรุปผล การประเมิน ๑.ล าดับความคิด เหตุการณ์อย่างต่อเนื่อง ๒.จับประเด็นส าคัญของเรื่องได้ถูกต้อง ๓.การใช้ภาษากระชับ ชัดเจน สุภาพถูกต้อง ๔.การเขียนสะกดถูกต้อง ๕.การเว้นวรรคตอนถูกต้อง ๖.ความสะอาด สวยงาม เรียบร้อย ๓ ๓ ๓ ๓ ๓ ๓ ๑๘ ผ่าน ไม่ผ่าน ๑. เด็กชายธินภัทร กะนะ ๒. เด็กชายยสินทร มูลที ๓. เด็กหญิงศรัญญา แก้วกันหา ๔. เด็กหญิงอภิริญาพร ธรรมผาลา ๕. เด็กชายธนวัฒน์ เขาลาด เกณฑ์การประเมิน ร้อยละ ๖๐ ขึ้นไป (๑๑ คะแนนขึ้นไป) ๑๕ – ๑๘ คะแนน ระดับ ดี ๑๑ – ๑๔ คะแนน ระดับ พอใช้ ๐ – ๑๐ คะแนน ระดับ ปรับปรุง ลงชื่อ................................................ผู้ประเมิน ( ...............................................)


รายละเอียดเกณฑ์การให้คะแนนแบบประเมินการเขียนแผนภาพโครงเรื่อง ประเด็นการประเมิน เกณฑ์การประเมิน ๓ ๒ ๑ ๑. ล าดับความคิด เหตุการณ์อย่างต่อเนื่อง ล าดับความคิด ล าดับ เหตุการณ์ได้อย่าง ต่อเนื่อง เหมาะสม ล าดับความคิด ล าดับ เหตุการณ์ไม่ต่อเนื่อง บกพร่อง ๒ ต าแหน่ง ล าดับความคิด ล าดับ เหตุการณ์ไม่ต่อเนื่อง วกวน บกพร่องเกิน ๒ ต าแหน่ง ๒. จับประเด็นส าคัญของ เรื่องได้ถูกต้อง จับประเด็นส าคัญของ เรื่องได้ถูกต้อง จับประเด็นส าคัญของเรื่อง ได้ถูกต้องเป็นบางส่วน จับประเด็นส าคัญของเรื่อง ไม่ถูกต้อง ๓. การใช้ภาษากระชับ ชัดเจน สุภาพถูกต้อง การใช้ภาษา กระชับ ชัดเจน สุภาพถูกต้อง เหมาะสมตลอดทั งเรื่อง การใช้ภาษา กระชับ ชัดเจน สุภาพถูกต้องเป็น บางส่วน การใช้ภาษา ไม่กระชับ ไม่ ชัดเจน ไม่สุภาพ และไม่ ถูกต้อง ๔. การเขียนค า ประโยค และข้อความ เขียนค า ประโยค และ ข้อความ ได้ถูกต้องตาม อักขรวิธีตลอดทั งเรื่อง เขียนค า ประโยค และ ข้อความ ไม่ถูกต้องตาม อักขรวิธี ๒ ต าแหน่ง เขียนค า ประโยค และ ข้อความ ไม่ถูกต้องตาม อักขรวิธี ๓ ต าแหน่งขึ นไป ๕. การเว้นวรรคตอน ถูกต้อง เขียนเว้นวรรคตอน ถูกต้องตลอดเรื่อง เขียนเว้นวรรคตอน ไม่ถูกต้อง ๒ ต าแหน่ง เขียนเว้นวรรคตอนไม่ ถูกต้องเกิน ๓ ต าแหน่ง ขึ นไป ๖. ความสะอาด สวยงาม เป็นระเบียบ เรียบร้อย ผลงานสะอาด เป็น ระเบียบ ลายมือเป็น แบบเดียวกันตลอดทั ง เรื่อง ลายมือไม่เป็นระเบียบ ผลงานมีรอยลบ ขีดฆ่า ไม่สะอาด ๒ ต าแหน่ง ลายมือไม่เป็นระเบียบ ผลงานมีรอยลบ ขีดฆ่า ไม่สะอาด ๓ ต าแหน่ง ขึ นไป


แบบสังเกตพฤติกรรมกลุ่ม ค าชี้แจง ครูประเมินพฤติกรรมของนักเรียนในการท างานกลุ่มและให้คะแนนลงในช่องที่ตรงกับพฤติกรรม เลขที่ ชื่อ - สกุล ๑.คณะท างาน ๒.ความรับผิดขอบต่อหน้าที่ ๓.ขั้นตอนการท างาน ๔.ความร่วมมือในการท างาน ๕.การปฏิบัติงานอย่างมีความสุข ๖.เวลา รวม สรุป ผลการประเมิน ๓ ๓ ๓ ๓ ๓ ๓ ๑๘ ผ่าน ไม่ผ่าน ๑. เด็กชายธินภัทร กะนะ ๒. เด็กชายยสินทร มูลที ๓. เด็กหญิงศรัญญา แก้วกันหา ๔. เด็กหญิงอภิริญาพร ธรรมผาลา ๕. เด็กชายธนวัฒน์ เขาลาด เกณฑ์การประเมิน ร้อยละ ๖๐ ขึ นไป (๑๑ คะแนนขึ นไป) ๑๕ – ๑๘ คะแนน ระดับ ดี ๑๑ – ๑๔ คะแนน ระดับ พอใช้ ๐ – ๑๐ คะแนน ระดับ ปรับปรุง ลงชื่อ................................................ผู้ประเมิน ( นายอ านาจ ยศมุงคุณ )


รายละเอียดเกณฑ์การให้คะแนนแบบประเมินพฤติกรรมกลุ่ม ประเด็นการประเมิน เกณฑ์การให้คะแนน ๓ ๒ ๑ ๑. คณะท างาน มีประธาน เลขานุการ ผู้น าเสนอ ผู้ร่วมงาน ขาดองค์ประกอบ ๑ อย่าง ขาดองค์ประกอบ ๒ อย่าง ขึ นไป ๒. ความรับผิดชอบ ต่อหน้าที่ สมาชิกมีความรับผิดชอบ และปฏิบัติหน้าที่ของตนจน ส าเร็จทุกคน สมาชิกไม่มีความรับผิดชอบ และปฏิบัติหน้าที่ของตนไม่ ส าเร็จ เป็นบางคน สมาชิกไม่มีความ รับผิดชอบ และปฏิบัติ หน้าที่ของตนไม่ส าเร็จ ๓.ขั นตอนการท างาน ๑) คัดเลือกเรื่องตาม ความสนใจของกลุ่ม ๒) มีการวางแผน ๓) เตรียมวัสดุอุปกรณ์ ๔) ปฏิบัติตามแผน และพัฒนางาน ขาดขั นตอน ๑ ขั นตอน หรือไม่ชัดเจน ขาดขั นตอน ๒ ขั นตอนขึ น ไปหรือไม่ชัดเจน ๔. ความร่วมมือ ในการท างาน สมาชิกมีส่วนร่วมทุกคน และให้ความร่วมมือในการ ท างานอย่างเต็มที่ สมาชิกมีส่วนร่วมทุกคน แต่ มีบางคนให้ความร่วมมือใน การท างานไม่เต็มที่ สมาชิกมีส่วนร่วมเป็นบาง คนและให้ความร่วมมือใน การท างานไม่ครบทุกคน ๕. การปฏิบัติงาน อย่างมีความสุข สมาชิกร่วมกันปฏิบัติงาน อย่างมีความสุขทุกคน สมาชิกบางคนไม่มีความสุข ในการปฏิบัติงาน สมาชิกทุกคนไม่มีความสุข ในการปฏิบัติงาน ๖. เวลา งานเสร็จตามก าหนดเวลา และมีคุณภาพ งานเสร็จไม่ทันตาม ก าหนดเวลาแต่งานมี คุณภาพ งานเสร็จไม่ทันตาม ก าหนดเวลาและงานไม่มี คุณภาพ


แบบประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ค าชี้แจง : ให้ ผู้สอน สังเกตพฤติกรรมของนักเรียนในระหว่างเรียนและนอกเวลาเรียน แล้วขีด ลงในช่อง ที่ตรงกับระดับคะแนน คุณลักษณะ อันพึงประสงค์ด้าน รายการประเมิน ระดับคะแนน ๓ ๒ ๑ ๑. รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ ๑.๑ ยืนตรงเคารพธงชาติ และร้องเพลงชาติได้ ๑.๒ เข้าร่วมกิจกรรมที่สร้างความสามัคคี ปรองดอง และเป็นประโยชน์ต่อ โรงเรียน ๑.๓ เข้าร่วมกิจกรรมทางศาสนาที่ตนนับถือ ปฏิบัติตามหลักศาสนา ๑.๔ เข้าร่วมกิจกรรมที่เกี่ยวกับสถาบันพระมหากษัตริย์ตามที่โรงเรียนจัดขึ น ๒. ซื่อสัตย์ สุจริต ๒.๑ ให้ข้อมูลที่ถูกต้อง และเป็นจริง ๒.๒ ปฏิบัติในสิ่งที่ถูกต้อง ๓. มีวินัยรับผิดชอบ ๓.๑ ปฏิบัติตามข้อตกลง กฎเกณฑ์ ระเบียบ ข้อบังคับของครอบครัว มีความตรงต่อเวลาในการปฏิบัติกิจกรรมต่างๆ ใน ชีวิตประจ าวัน ๔. ใฝ่เรียนรู้ ๔.๑ รู้จักใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์ และน าไปปฏิบัติได้ ๔.๒ รู้จักจัดสรรเวลาให้เหมาะสม ๔.๓ เชื่อฟังค าสั่งสอนของบิดา-มารดา โดยไม่โต้แย้ง ๔.๔ ตั งใจเรียน ๕. อยู่อย่าง พอเพียง ๕.๑ ใช้ทรัพย์สินและสิ่งของของโรงเรียนอย่างประหยัด ๕.๒ ใช้อุปกรณ์การเรียนอย่างประหยัดและรู้คุณค่า ๕.๓ ใช้จ่ายอย่างประหยัดและมีการเก็บออมเงิน ๖. มุ่งมั่นในการ ท างาน ๖.๑ มีความตั งใจและพยายามในการท างานที่ได้รับมอบหมาย ๖.๒ มีความอดทนและไม่ท้อแท้ต่ออุปสรรคเพื่อให้งานส าเร็จ ๗. รักความเป็นไทย ๗.๑ มีจิตส านึกในการอนุรักษ์วัฒนธรรมและภูมิปัญญาไทย ๗.๒ เห็นคุณค่าและปฏิบัติตนตามวัฒนธรรมไทย ๘. มีจิตสาธารณะ ๘.๑ รู้จักช่วยพ่อแม่ ผู้ปกครอง และครูท างาน ๘.๒ รู้จักการดูแล รักษาทรัพย์สมบัติและสิ่งแวดล้อมของห้องเรียน โรงเรียน ลงชื่อ ..................................................... ผู้ประเมิน ................ /................ /................ เกณฑ์การให้คะแนน เกณฑ์การตัดสินคุณภาพ ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรม คะแนน คะแนน ความหมาย อย่างสม่ าเสมอ ๓ ๔๖-๖๐ ดี บ่อยครั ง ๒ ๓๐-๔๕ พอใช้ บางครั ง ๑ ต่ ากว่า ๓๐ ปรับปรุง


Click to View FlipBook Version