The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

รายงานผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา-นำเสนอ

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by วีรพนธ์ พลเมฆ, 2021-04-06 21:01:43

รายงานผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา-นำเสนอ

รายงานผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา-นำเสนอ

รายงานผลการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา
(Self – Assessment Report : SAR) ปกี ารศกึ ษา 2563

โรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ ๒๔ จังหวดั พะเยา

สำนกั บรหิ ารงานการศกึ ษาพเิ ศษ
สำนกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขนั้ พื้นฐาน

กระทรวงศกึ ษาธิการ

โรงเรียนราชประชานเุ คราะห์ ๒๔ จังหวัดพะเยา
วิสยั ทศั น์

โรงเรียนเป็นองค์กรแหง่ การเรียนรู้ ผู้เรียนกา้ วทันเทคโนโลยี มคี ุณภาพตามมาตรฐานการศกึ ษา
พฒั นาโดยใชห้ ลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง

อัตลักษณโ์ รงเรียน

คุณธรรมดี มภี มู ิปญั ญาไทย

เอกลกั ษณ์

ระเบยี บวินยั คือ หัวใจลกู ราชประชานเุ คราะห์ ๒๔

ปรัชญาโรงเรียน

ความรู้ค่คู ุณธรรม

คำขวัญโรงเรียน

รักศักด์ิศรี มคี ุณธรรม นำวชิ าการ สบื สานงานตามพระราชดำริ

อัตลกั ษณ์มูลนธิ ริ าชประชาฯ

จงรกั ภักดี มีคุณธรรม น้อมนำแนวทางพระราชดำร

สีประจำโรงเรยี น น้ำเงนิ – เหลือง
ต้นไม้ประจำโรงเรยี น มะขามป้อม
อักษรย่อโรงเรยี น ร.ป.ค. ๒๔

สถานท่ตี งั้ เลขท่ี 575 หมูท่ ่ี 13 บ้านน้ำริน ต.ทงุ่ รวงทอง อ.จุน จ.พะเยา รหัสไปรษณีย์ 56150
โทรศัพท์ : 054-468129
E-Mail : [email protected]
Fanpage : ราชประชานุเคราะห์ ๒๔ พะเยา

ส่วนที่ 2
ผลการประเมินคณุ ภาพภายในของสถานศกึ ษา

ในปีการศึกษา 2563 โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ ๒๔ จังหวัดพะเยา ได้ประเมินคุณภาพภายใน
เพื่อจัดทำรายงานผลการดำเนนิ งานประจำปตี ่อผู้บริหารสถานศึกษา หน่วยงานต้นสงั กัดและผู้มีส่วนเกีย่ วข้อง
มรี ายละเอยี ดต่อไปน้ี

มาตรฐานที่ 1 คณุ ภาพผู้เรียน
ระดบั คุณภาพ : ยอดเยีย่ ม

1. กระบวนการดำเนนิ งาน
ปีการศึกษา 2563 โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ ๒๔ จังหวัดพะเยา มีกระบวนการพัฒนา

คุณภาพผู้เรียน โดยมีโครงการและกิจกรรมที่พัฒนาคุณภาพที่ครอบคลุมมาตรฐานด้านคุณภาพผู้เรียนทุก
ประเดน็ ด้านผลสัมฤทธท์ิ างวชิ าการ และด้านคุณลักษณะอนั พงึ ประสงค์ของผเู้ รยี น

1.1 ดา้ นผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
การพฒั นาคณุ ภาพผู้เรยี นตามหลักสูตรโรงเรียนทุกกลุม่ สาระการเรียนรู้ เพือ่ ให้สอดคล้องกับ

ความเปลี่ยนแปลงของสังคม และมีความสอดคล้องเป้าหมาย วิสัยทัศน์ของโรงเรียน มีการจัดการเรียนการ
สอนทกุ กลุ่มสาระการเรียนรู้เพื่อพัฒนาคุณภาพผู้เรยี นใหม้ ีพน้ื ฐานทางวิชาการ โดยไดด้ ำเนนิ การดังต่อไปน้ี

1.1.1 มีความสามารถในการอ่าน การเขียน การสื่อสาร และคิดคำนวณ เน้นให้ผู้เรียน
สามารถอ่านออก เขียนได้ สื่อสารและคิกคำนวณเป็นไปตามหลักสูตรที่กำหนด ด้วยกระบวนการเรียนรู้ท่ี
หลากหลาย โดยระดับชั้นประถมศึกษาได้จัดการเรียนการสอนที่สามารถพัฒนาการอ่าน การเขียน สื่อสาร
และคิกคำนวณ ด้วยนวัตกรรมโรงเรียนเล็กในโณงเรียนใหญ่มีการการจัดการเรียนการสอนเน้นให้ผู้เรียน
เรียนปนเล่นเพิ่มพูนทักษะการอ่าน การเขียน การสื่อสารและคิดคำนวณ ด้วยกิจกรรมพัฒนาการเรียนรู้อาทิ
เช่น กิจกรรมคลินิกหมอภาษา กิจกรรมรักการอ่าน กิจกรรมท่องสูตรคูณ กิจกรรมค่ายวิทยาศาสตร์
คณติ ศาสตร์ และเทคโนโลยี กจิ กรรมคา่ ยภาษา เปน็ ต้น

ในส่วนระดับมัธยมศึกษาได้ดำเนินกิจกรรมพัฒนาการอ่านออกเขียนได้ควบคู่กับกิจกรรม
พฒั นาการอ่าน การเขียน การสื่อสารและการคิดคำนวณท่ีบูรณาการร่วมกับงานส่งเสริมการอ่านของห้องสมุด
และในรูปแบบกิจกรรมคลินิกภาษาพัฒนาการอ่าน การเขียน กิจกรรมค่ายภาษา กิจกรรมค่ายวิทยาศาสตร์
คณิตศาสตร์และคอมพิวเตอร์ กิจกรรมส่งเสริมทักษะด้านคณิตศาสตร์ ทั้งนี้แต่ละรายวิชาได้สอดแทรกทักษะ
การอา่ น การเขียน การสือ่ สาร และการคิดคำนวณ โดยมีการประเมินการอา่ น คดิ วิเคราะห์และการเขียนอย่าง
เป็นระบบตามคู่มือการอ่าน คิดวิเคราะห์และเขียนคามแนวทางการพัฒนาและประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์
และเขยี น ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพน้ื ฐาน พทุ ธศักราช 2551

ผลการประเมินการอ่าน การเขียน และการคิดวิเคราะห์ของนักเรียนโรงเรียน

ราชประชานุเคราะห์ ๒๔ จังหวัดพะเยาปีการศกึ ษา 2562 – 2563

ผลการประเมินการอ่าน การเขยี นสอื่ ความ และการคดิ วิเคราะห์

ของนักเรียนโรงเรียนราชประชานเุ คราะห์ ๒๔ ปีการศึกษา 2562 - 2563

กล่มุ สาระการเรียนรู้ ปี 2562 ปี 2563 ผลพัฒนา

ร้อยละ รอ้ ยละ ร้อยละ

การอ่าน 87.32 88.25 + 0.93

การเขียน 88.72 89.63 + 0.21

การคดิ วิเคราะห์ 82.27 84.32 + 2.05

รวมเฉล่ีย 86.10 87.17 + 1.07

1.1.2 มีความสามารถในการคิดวิเคราะห์ คิดอย่างมีวิจารณญาณ อภิปรายและเปลี่ยน
ความคิดเห็น และแก้ปัญหา โดยโรงเรยี นไดด้ ำเนินโครงการห้องเรียนสีขาวทั้งระบบ ทำให้ผู้เรียนมกี ารระดม
การวางแผน คดิ วิเคราะห์ คิดอยา่ งมวี ิจารณญาณ อภปิ รายแลกเปลี่ยนความคดิ เห็น และแก้ปัญหาร่วมกนั ทัง้ นี้
มีการจัดทำโครงงานคุณธรรม โครงงานวิทยาศาสตร์ ทำให้ผู้เรียนมีความสามารถในการคิดจำแนกแยกแยะ
พิจารณาอย่างรอบครอบโดยใช้เหตุผลประกอบการตัดสินใจ มีการอภิปรายแลกเปลี่ยนความคิดเห็น และ
แก้ปัญหาอย่างมีเหตุผลตามเกณฑ์ ที่โรงเรียนกำหนดไว้ในแต่ละระดับชั้นทำให้ผลความสามารถในการคิด
วเิ คราะห์ คดิ อย่างมวี จิ ารณญาณ อภปิ รายแลกเปล่ยี นความคิดเห็น และแก้ปญั หาผ้เู รียนอย่ทู ร่ี อ้ ยละ 84.32

ผลการประเมนิ การอา่ น การเขียนสอ่ื ความ และการคดิ วิเคราะห์

ของนักเรียนโรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ ๒๔ ปีการศึกษา 2562 - 2563

กลมุ่ สาระการเรียนรู้ ปี 2562 ปี 2563 ผลพฒั นา

ร้อยละ ร้อยละ รอ้ ยละ

การคิด วิเคราะห์ 82.27 84.32 + 2.05

รวมเฉล่ยี 82.27 84.32 + 2.05

1.1.3 มีความสามารถในการสร้างนวัตกรรม โดยเน้นให้ผู้เรียนเรียนรู้การทำงานเป็นทีม
เชื่อมโยงองค์ความรู้และประสบการณ์การมาใช้ในการสร้างสรรค์สิ่งใหม่ๆ ในรูปแบบ โครงการ โครงงาน
ช้ินงาน ผลผลิต บรู ณาการกล่มุ สาระการเรียนรู้ ซึง่ ผเู้ รยี นได้ร่วมสรา้ งนวตั กรรมจนไดร้ บั รางวลั ตา่ งๆ ดงั นี้

1. โครงานวิทยาศาสตร์ กิจกรรม “Show &Share 2020 :สิ่งประดิษฐ์สมองกลฝังตัว”
(แบบออนไลน์) ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย (ระดับประเทศ) เรื่อง เครื่องให้อาหารไก่อัตโนมัติ
ไดร้ บั รางวัลรางวลั รองชนะเลศิ อันดบั 2 เหรียญทอง

2. โครงานวิทยาศาสตร์ กิจกรรม “Show &Share 2020 :สิ่งประดิษฐ์สมองกลฝังตัว”
(แบบออนไลน์) ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย (ระดับประเทศ) เรื่อง ตู้ฟักไข่ระบบอัตโนมัติ
ไดร้ ับรางวัล รางวัลเหรียญทอง

3. โครงงานอาชพี สบ่จู ากนำ้ มนั รำข้าว ได้รบั รางวัล ผลติ ภณั ฑ์ OTOP อำเภอจนุ

ผลการประเมินสมรรถนะสำคัญของผเู้ รยี น

(ความสามารถในการใช้เทคโนโลยแี ละการสอ่ื สาร) ปกี ารศกึ ษา 2562 – 2563

สมรรถนะสำคญั ปี 2562 ปี 2563 ผลการพฒั นา
ร้อยละ รอ้ ยละ ร้อยละ

ความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยี 87.78 92.52 + 4.74

ทำให้ผลการพฒั นาความสามารถในการสรา้ งนวัตกรรมของผู้เรยี นอยทู่ ่ีรอ้ ยละ 92.52

1.1.4 มีความสามารถในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ครูผู้สอนมีการจัด
กิจกรรมการเรียนรู้จนผู้เรียนสามารถใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ในการพัฒนาตนเอง โดยการสืบค้นข้อมูล
ข่าวสาร เนื้อหาสาระที่เกี่ยวข้องในรายวิชาที่เรียน เพื่อนำมาแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ต่อต่อ สื่อสาร รวมทั้งทำงาน
อย่างสร้างสรรค์และมีจริยธรรมทั้งงานรายบุคคลและรายกลุ่ม ตลอดจนสามารถใช้เทคโนโลยีในการทดสอบ
ออนไลน์ทั้งสอบบวัดผลระหว่างปี กลางภาค และปลายภาคเรียน ที่เป็นข้อสอบแบบปรนัย ผู้เรียนสามารถ
ทราบผลการทดสอบหลงั เสรจ็ สน้ิ การสอบ

ครูผู้สอนมีการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ทางด้านอิเล็กทรอนิกส์และการเขียนโปรแกรม
คอมพิวเตอร์ จนผู้เรียนสามารถเข้าร่วมกจิ กรรมการแขง่ ขันดงั นี้

1. โครงานวิทยาศาสตร์ กิจกรรม “Show &Share 2020 :สิ่งประดิษฐ์สมอง
กลฝังตัว” (แบบออนไลน์) ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย (ระดับประเทศ) เรื่อง เครื่องให้อาหารไก่อัตโนมัติ
ไดร้ บั รางวัลรางวัลรองชนะเลศิ อนั ดบั 2 เหรียญทอง

2. โครงานวิทยาศาสตร์ กิจกรรม “Show &Share 2020 :สิ่งประดิษฐ์สมอง
กลฝังตัว” (แบบออนไลน์) ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย (ระดับประเทศ) เรื่อง ตู้ฟักไข่ระบบอัตโนมัติ
ได้รบั รางวลั รางวัลเหรียญทอง

ครูผู้สอนมีการจัดกิจกรรมการเรียนรู้และวิธีการถ่ายทำและตัดต่อวิดีโอ โดยผู้เรียนมีการทำ
ภาพยนตร์สั้นเรื่อง ฝ่าวิกฤตซอมบี้ไวรัสโควิด-19 และภาพยนตร์สั้นเรื่อง กว่าจะมีวันนี้ ภายใต้แนวคิด
“ตน้ กลา้ แหง่ แผ่นดนิ ” ระดบั มัธยมศึกษาตอนตน้

ผลการประเมนิ สมรรถนะสำคญั ของผู้เรยี น

(ความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยีและการสอื่ สาร) ปีการศกึ ษา 2562 – 2563

สมรรถนะสำคญั ปี 2562 ปี 2563 ผลการพัฒนา
รอ้ ยละ รอ้ ยละ รอ้ ยละ

ความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยี 87.78 92.52 + 4.74

ความสามารถในการส่ือสาร 82.53 93.85 + 11.32

รวม 85.16 92.69 + 7.53

ทำใหผ้ ลพัฒนาความสารถในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสารปีการศึกษา 2562

เม่อื เปรยี บเทยี บ ปีการศกึ ษา 2563 เพ่มิ ข้ึน อยทู่ ่ีร้อยละ 92.69

1.1.5 มผี ลสมั ฤทธทิ์ างการเรียนตามหลักสตู รสถานศกึ ษา ครูผู้สอนมีการจัดกิจกรรมการ
เรียนรู้และกิจกรรมบูรณาการต่างๆ เพื่อให้ผู้เรียนมีความก้าวหน้าในการเรียนรู้ตามหลักสูตรสถานศึกษาจาก
พื้นฐานเดิมในด้านความรู้ ความเข้าใจ ทักษะผและกระบวนการต่างๆ ในแต่ละกลุ่มสาระการเรียนรู้ ทั้งนี้ได้มี
การจดั ทำโครงการยกระดับผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนตามหลกั สูตรสถานศึกษา

ตารางสรุปผลสัมฤทธ์ิทางการเรยี นเปรยี บเทียบคา่ เปา้ หมายของกลมุ่ สาระการเรียนรู้

ปกี ารศึกษา 2563

กล่มุ สาระการเรียนรู้ ผลสมั ฤทธ์ิ รวมเฉลี่ย คา่ เปา้ หมาย เปรยี บเทียบ
ประถมศกึ ษา มธั ยมศึกษา คา่ เปา้ หมาย

ภาษาไทย 75.84 88.72 82.28 71.00 11.28

คณติ ศาสตร์ 75.46 68.46 71.96 71.00 0.96

วิทยาศาสตร์ 98.14 71.32 84.73 71.00 13.73

ภาษาต่างประเทศ 62.08 51.74 56.91 71.00 - 14.09

สงั คมศึกษา 52.78 77.35 65.065 71.00 - 5.935

สขุ ศึกษาและพลศึกษา 98.88 95.05 96.965 71.00 25.965

ศลิ ปะ 82.14 95.84 88.99 71.00 17.99

การงานอาชพี 86.25 100.00 93.125 71.00 22.125

รวมเฉลยี่ 78.95 81.06 80.00 71.00 + 9.00

จากตารางสรุปผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเปรียบเทียบค่าเป้าหมายของกลุ่มสาระการเรียนรู้

ปีการศึกษา 2563 พบว่า มี 80.00 กลุ่มสาระการเรียนรู้ท่ีมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนต่ำกว่าค่าเป้าหมาย คือ

ภาษาตา่ งประเทศ และ สงั คมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม

1.1.6 มีความรู้ ทักษะพื้นฐานและเจตคติท่ีดีต่ออาชีพ ผู้เรียนมีเจตคติที่ดีต่องานอาชีพ

มีความรู้ ทักษะพื้นฐานด้านงานอาชีพ เพื่อเป็นแนวทางในระการประกอบอาชีพในอนาคตได้ โดยโรงเรียนได้

จัดหลักสูตร วิชาเลือก ระดับชั้นมัธยมศึกษาหลักสูตรระยะสั้นและหลักสูตรทวิศึกษา หลักสูตรลดเวลาเรียน

เพมิ่ เวลารู้ รวมถงึ หลักสูตรโครงการสง่ เสริมอาชีพเพ่ือการมรี ายได้ระหวา่ งเรียน ดงั นี้

1. หลกั สูตรอาชพี ระยะส้ัน

1.1 ชา่ งซ่อมเครอื่ งยนต์เล็ก

1.2 งานประดษิ ฐ์ของชำร่วย

1.3 ถักโครเซต์

1.4 กัดกระจก

1.5 การเยบ็ กระเป๋าผา้

1.6 ชา่ งติดตง้ั ไฟฟ้าภายในบ้าน

2. หลักสตู รทวศิ กึ ษา

2.1 สาขาบัญชี

2.2 สาขาชา่ งเทคนคิ คอมพิวเตอร์

2.3 สาขาช่างอเิ ล็กทรอนกิ ส์

3. โครงการสง่ เสริมอาชพี เพื่อการมีงานทำ
3.1 Coffee shop
3.2 ชา่ งเชือ่ ม
3.3 การผลติ ปยุ๋ อินทรีย์
3.4 เบเกอร่ี
3.5 การเลีย้ งไส้เดอื นเพอื่ กำจดั ขยะอินทรยี ์
3.6 การปลูกผักปลอดสารพษิ
3.7 การผลิตสบู่นำ้ มันรำข้าว

ลำดบั ที่ กจิ กรรม ปีการศกึ ษา ปกี ารศึกษา ผลการพัฒนา
2562 2563

๗ กจิ กรรมสง่ เสริมอาชีพท้องถิ่น 100.00 93.33 - 6.67

รวมเฉล่ยี 100.00 93.33

ทำให้ผลการพัฒนาความรู้ ทักษะพื้นฐานและเจตคติท่ดี ีตอ่ งานอาชพี อยู่ท่รี ้อยละ 93.33

1.1.7 มีทักษะการดำเนินชีวิตสำหรับโรงเรียนการศึกษาสงเคราะห์ 8 ประการ
สถานศึกษาได้จัดกิจกรรมที่ส่งผลให้ผู้เรียนมีทักษะการดำเนินชีวิตในโรงเรียนการศึกษาสงเคราะห์
ประกอบด้วย

1) กิจกรรมสง่ เสรมิ สุขนสิ ัย ใหน้ ักเรยี นมที กั ษะการดูแลสุขภาพอนามยั ส่วนบุคคล เรื่องความ
สะอาด เครอื่ งนอน อุปกรณเ์ ครื่องใชส้ ว่ นตัว และเครอ่ื งแต่งกาย

2) กจิ กรรมสง่ เสรมิ สมรรถภาพทางกาย ให้นกั เรยี นมีสมรรถภาพร่างกายแขง็ แรง รกั การออก
กำลังกาย ออกกำลังกายอย่างถูกวิธีและปฏบิ ตั เิ ป็นประจำสม่ำเสมอ

3) กิจกรรมหลักโภชนาการ ให้นักเรียนมีสุขนิสัยในการรับประทานอาหาร รู้จักการ
รบั ประทานอาหารอย่างถูกหลักโภชนาการ มีมารยาทในการรับประทานอาหาร มารยาททางสังคม การใช้และ
ดแู ลรกั ษาอุปกรณใ์ นการรับประทานอาหารให้ถูกสุขลักษณะ

4) กิจกรรมไตรรงค์ ให้นักเรียนมีระเบียบวินัยจงรักภักดีและเทิดทูนสถาบันชาติ ศาสนา
พระมหากษตั ริย์ ตลอดจนการปกครองระบบประชาธปิ ไตยอนั มีพระมหากษัตรยิ ท์ รงเป็นประมุข

5) กิจกรรมส่งเสริมภาวะผู้นำ ให้นักเรียนมีลักษณะภาวะผู้นำและผู้ตามที่ดี มีความ
รบั ผดิ ชอบต่อหนา้ ท่ี มรี ะเบยี บวินยั ตรงต่อเวลา และทำงานรว่ มกบั ผอู้ ื่นได้ดว้ ยความสามัคคี

6) กิจกรรมอนุรักษ์พลังงานและสิ่งแวดล้อม ให้นักเรียนมีจิตสำนึกในการอนุรักษ์พลังงาน
และส่งิ แวดลอ้ ม เรื่องการประหยัดนำ้ การประหยดั ไฟ ดแู ลความสะอาดของอาคารสถานท่ีและการจัดการขยะ

7) กิจกรรมส่งเสริมอาชีพท้องถ่ิน ให้นักเรียนมีทักษะและความรู้ด้านงานอาชีพ มีทักษะ
ประสบการณ์เห็นแนวทางในการปฏิบัตงิ านอาชพี ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง

8) กิจกรรมพัฒนาสุนทรียภาพ ให้นักเรียนมีสุนทรียภาพด้านศิลปะ ดนตรี กีฬา และ

นันทนาการตามความถนดั ความสนใจ

สรุปผลการศึกษาการจัดกิจกรรมทักษะการดำรงชีวิตของ โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ ๒๔

จังหวัดพะเยา ปีการศึกษา ๒๕63 ที่มีผลการประเมนิ ต้ังแตร่ ะดับ ๒ ขึ้นไป ร้อยละ 95.83 สามารถสรุปผลท่ี

สำคัญ ๆ ได้ดงั นี้

ลำดับที่ กจิ กรรม ปีการศึกษา ปกี ารศกึ ษา ผลการพฒั นา
2562 2563

๑ กจิ กรรมสง่ เสริมสขุ นสิ ัย 100.00 96.67 - 3.33

๒ กิจกรรมสง่ เสริมสมรรถภาพทางกาย 100.00 96.67 - 3.33

๓ กจิ กรรมหลกั โภชนาการ 100.00 96.67 - 3.33

๔ กจิ กรรมหลักไตรรงค์ 100.00 96.67 - 3.33

๕ กิจกรรมสร้างเสรมิ ภาวะผนู้ ำ 100.00 93.33 - 6.67

๖ กจิ กรรมอนุรักษ์พลังงานและสง่ิ แวดล้อม 100.00 93.33 - 6.67

๗ กจิ กรรมส่งเสริมอาชีพท้องถิ่น 100.00 93.33 - 6.67

๘ กิจกรรมพฒั นาสนุ ทรียภาพ 100.00 100.00 คงที่

รวมเฉล่ีย 100.00 95.83

1.2 คุณภาพผู้เรียน : ดา้ นคณุ ลกั ษณะองั พึงประสงค์
โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ ๒๔ จังหวัดพะเยา เป็นโรงเรียนประเภทอยู่ประจำสำหรับ

ผู้เรียนด้อยโอกาสทางการศึกษา และผู้เรียนที่เป็นชาติพันธ์ ทำให้มีความหลากหลายทางด้านภาษา ศาสนา
ความเช่ือ และวัฒนธรรม โรงเรียนจงึ จำเป็นต้องมีการส่งเสรมิ ให้ผเู้ รียนยอมรับทจ่ี ะอยรู่ ว่ มกันบนความแตกต่าง
ที่หลากหลาย โดยอาศัยอยู่ในโณงเรียนประจำอย่างไม่สร้างปัญหา ไม่ทะเลาะวิวาทจนเกิดความขัดแย้ง เข้า
ร่วมกิจกรรมประเพณี และวัฒนธรรมทางชาติพันธ์ รวมถึงการปฏิบตั ิตนอยา่ งเหมาะสมตามจารีตประเพณีที่ดี
งาม เน้นการพัฒนาด้านคุณธรรมจริยธรรมที่เหมาะสมกับวัยของผู้เรียน โรงเรียนจึงได้พัฒนาคุณลักษณะและ
ค่านิยมที่ดีตามที่กำหนดไว้ในหลกั สตู ร และคุณลักษณะตามอัตลักษณข์ องผู้เรยี นโรงเรียนราชประชานุเคราะห์
๒๔ จังหวัดพะเยา คือ คุณธรรมดี มีภูมิปัญญาไทย ผ่านกระบวนการจัดการเรียนการสอนแต่ละรายวิชาและ
กิจกรรมต่างๆในแต่ละวัน และมีการดำเนินกิจกรรมเพื่อพัฒนาทักษะการดำรงชีวิตของผู้เรียนในโรงเรียน
ประจำ ตามหลักสูตรทักษะการดำรงชีวิต 8 กิจกรรม ประกอบด้วย กิจกรรมส่งเสริมสุขนสิ ยั กิจกรรมส่งเสริม
สมรรถภาพทางกาย กิจกรรมหลักโภชนาการ กิจกรรมหลักไตรรงค์ กิจกรรมสร้างเสริมภาวะผู้นำ กิจกรรม
อนุรักษ์พลังงานและสิ่งแวดล้อม กิจกรรมส่งเสริมอาชีพท้องถิ่น กิจกรรมพัฒนาสุนทรียภาพ ทั้งนี้เพื่อเป็นการ
ส่งเสริมสขุ ภาวะทางร่างกายและจติ สงั คมของผู้เรียน พรอ้ มทง้ั สง่ เสรมิ ให้มีความภูมิใจในท้องถ่ินและความเป็น
ไทยของตนเอง

นอกจากนี้ โรงเรียนเน้นการพัฒนาดา้ นคุณธรรมจริยธรรมที่เหมาะสมกับวัยของผู้เรียน และ
ตามนโยบายของผู้บริหาร เรื่อง โรงเรียนคุณธรรม โดยการจัดการพัฒนาให้เหมาะสมกับวัยพัฒนาคุณธรรม
ผู้เรียนตามหลักสูตร ให้ผู้เรียนมีวินัยซื่อสัตย์ รับผิดชอบและมีจิตสาธารณะ สถานศึกษาจัดกิจกรรมตลาดนัด
อาชีพ เพื่อฝึกให้ผู้เรียนมีความรู้เรื่องการประกอบอาชีพด้วยตนเอง โดยนำอาหาร เครื่องดื่ม สินค้าต่างๆ
มาวางขายหลังเลกิ เรียนทกุ วนั และวันหยุดเสาร์ อาทิตย์ เพื่อฝึกให้ผูเ้ รียนบริหารจัดการด้วยตนเองเป็นทั้งผ้ทู ำ
ผู้ซื้อ และผู้ขาย มีการส่งเสริมการออกกำลังกายตามระบบโรงเรียนประจำ มีระบบการแนะแนวและการดูแล

สุขภาวะจิต นำภูมิปัญญาท้องถิ่นมาร่วมกันวางแผนการจัดการเรียนการสอนและมีการเรียนรู้ในโลกกว้าง

การเข้าไปศึกษากบั ภมู ปิ ัญญาท้องถิน่ ในชุมนใกล้เคยี ง

1.2.1 ผู้เรียนมีคุณลักษณะคุณลักษณะอันพึงประสงค์และค่านิยมที่ดีตามที่สถานศึกษา
กำหนด โดยไม่ขัดกับกฎหมายและวัฒนธรรมอันดีของสังคม นักเรียนมีคุณลักษณะที่พึ่งประสงค์
ตามหลักสูตร และยึดแนวทางการดำเนินชีวิตตามแนวหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ดำรงตนอยู่ใน
ระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข มีความกตัญญูกตเวทีต่อผู้มีพระคุณ เชื่อฟังพ่อแม่
ครูอาจารย์ ประพฤติปฏิบัติตนเป็นคนดี มีกิริยามารยาทเรียบร้อย อ่อนน้อม ถ่อมตนต่อบุคคลอื่น แต่งกาย
สุภาพเรียบร้อย ถูกต้องตามกฎระเบียบของโรงเรียน พูดจาสุภาพอ่อนโยนใช้ภาษาไทยได้อย่างถูกต้อง
เหมาะสม มีความมุ่งมั่น ใฝ่เรียนรู้ มีระเบียบ วินัยมีความรู้รับผิดชอบต่อหน้าที่เป็นผู้มีจิตสาธารณะ มีน้ำใจ
เอื้อเฟ้อื เผอ่ื แผ่ช่วยเหลือผ้อู นื่ ทุกเมอ่ื ท่ีมโี อกาส

นักเรียนโรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 24 จังหวัดพะเยา มีคุณลักษณะอันพึงประสงค์
ตามหลักสูตรสถานศึกษา ในระดับดขี ้ึนไป คดิ เปน็ รอ้ ยละ 94.24 รายละเอียดดังแสดงในตาราง

ตารางแสดงผลการประเมินคณุ ลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ของนกั เรียน ปีการศกึ ษา 2562 - 2563

คุณลกั ษณะอนั พึงประสงค์ ผลการประเมนิ คุณลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ของผู้เรียน ผลพฒั นา
ทไ่ี ดร้ ะดบั ดขี นึ้ ไป

๒๕๖2 2563 รวมเฉล่ยี

๑. รกั ชาติ ศาสน์ กษตั ริย์ 100 93.37 -6.63

๒. ซ่ือสตั ยส์ จุ รติ 100 95.2 -4.8

๓. มีวนิ ยั 100 94.98 -5.025

๔. ใฝ่เรยี นรู้ 100 92.35 -7.655

๕. อยู่อยา่ งพอเพยี ง 100 94.46 -5.54

๖. ม่งุ มน่ั ในการทำงาน 100 93.33 -6.67

๗. รักความเป็นไทย 100 95.33 -4.67

๘. มจี ติ สาธารณะ 100 94.87 -5.13

รวมเฉล่ีย 100 94.24 -5.77

1.2.2 ความภูมิใจในท้องถิ่นและความเป็นไทย โรงเรียนสง่ เสริมนกั เรยี นให้เป็นผู้ทีม่ ีความ
ภาคภูมใิ จในความเป็นไทยรว่ มอนุรกั ษ์ศิลปวัฒนธรรม ประเพณอี ันดงี ามของไทยและท้องถิน่ เห็นคุณค่าของภูมิ
ปญั ญาไทยทงั้ ภายในและภายนอกสถานศึกษา ยึดม่นั ในสถาบันชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์ ดำเนินชีวิตตาม
หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ได้มีการดำเนินการจัดกิจกรรมพิธีถวายพระพรชัยมงคล กิจกรรมจิตอาสา
กิจกรรมสร้างจิตสำนกึ ความเป็นไทย กิจกรรมถ่ายทอดภูมิปัญญาท้องถ่ิน กิจกรรมอนุรักษ์ดนตรีไทย-พื้นเมอื ง
การแสดงนาฏศลิ ป์ กิจกรรมเด็กดี V-Star

นักเรียนโรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 24 จังหวัดพะเยา มีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ (รักความเป็นไทย)
ตามหลกั สูตรสถานศึกษา ในระดับดีขึน้ ไป คิดเปน็ ร้อยละ 95.33 รายละเอยี ดดงั แสดงในตาราง

ตารางแสดงผลการประเมินคณุ ลกั ษณะอนั พึงประสงคข์ องนกั เรยี น ปีการศึกษา 2562 - 2563

ผลการประเมินคณุ ลักษณะอันพึงประสงคข์ องผ้เู รียน

คณุ ลักษณะอนั พงึ ประสงค์ ทไ่ี ด้ระดบั ดขี ึน้ ไป

๒๕๖2 2563 ผลการพฒั นา

๗. รกั ความเปน็ ไทย 100 95.33 -4.67

รวมเฉลย่ี 100 95.33 -4.67

1.2.3 การยอมรับที่จะอยู่ร่วมกันบนความแตกต่างและหลากหลาย โรงเรียน
ราชประชานเุ คราะห์ 24 จงั หวดั พะเยา นกั เรยี นทีม่ าเขา้ เรยี นมคี วามแตกต่าง หลากหลายกันทางชนเผา่ เช้ือชาติ
ศาสนา และวัฒนธรรม แต่เมื่อทุกคนมาอยู่ร่วมกัน โรงเรียนจึงต้องมีการปฐมนิเทศและแจ้งแนวทางปฏิบัติ
เงื่อนไขต่างๆให้ผู้ปกครองได้รับทราบในวันประชุมผู้ปกครองประจำปี การกำหนดกฎระเบียบต่างๆ เพื่อให้
นกั เรยี นสามารถอย่รู ่วมกนั ได้บนความแตกตา่ งที่หลากหลาย

โรงเรียนฝึกฝนให้นักเรียนเป็นผู้ที่ยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น เป็นคนมีเหตุผล
โดยฝึกให้นักเรียนเรียนรู้กระบวนการผ่านกิจกรรมเชื่อมสัมพันธ์กลุ่มชาติพันธ์ นักเรียนฝึกการเป็นผู้นำและผู้
ตามที่ดี เคารพสิทธิของตนเองและผู้อื่น กล้าแสดงความคิดเห็น แสดงออกในสิ่งที่ถูกต้อง แสดงถึงความ
รับผดิ ชอบและความตระหนกั ในบทบาทหนา้ ท่ีของตนเอง ความมรี ะเบียบวินยั การตรงต่อเวลา มคี วามสามัคคี
สามารถทำงานกับผู้อื่น รับผิดชอบต่อสงั คม มีจิตสาธารณะ และตระหนักถึงความสำคัญของการปกครองตาม
ระบอบประชาธิปไตยอนั มีพระมหากษัตรยิ ์ทรงเปน็ ประมุข กิจกรรมพัฒนาผูเ้ รียน สง่ เสรมิ ให้ผเู้ รียนมีศีลธรรม
จริยธรรม มีระเบียบวินัย ปลูกฝังและสร้างจิตสำนึกของการทำประโยชน์เพื่อสังคมและอยู่ร่วมกับผู้เรียนได้
อย่างมีความสุข เพื่อให้มีความพร้อมทางทางร่างกาย สติปัญญา อารมณ์ และสังคม โดยโรงเรียนส่งเสริมให้
นักเรียนทุกคนได้เข้าร่วมกิจกรรมของสถานศกึ ษา เน้นให้นักเรียนทุกคนมีคุณลกั ษณะพึงประสงค์ท่ีดี ให้มีการ
ช่วยเหลือเอื้ออาทรต่อกัน จัดกิจกรรมให้นักเรียนทุกคนปฏิบัติตามกฎระเบียบวินัยของโรงเรียน การแต่งกาย
เคร่อื งแบบนกั เรียนประจำวนั การจดั ระเบียบเรยี บร้อยของเครื่องแตง่ กาย และทรงผม การจดั ระเบยี บของหอ
นอนโดยความร่วมมือของครูและนักเรียนทุกคน โดยผ่านกิจกรรม พัฒนาระเบียบวินัย กิจกรรมหอนอน
กจิ กรรมจติ อาสาพยาบาลน้อย กิจกรรมโฮมรูม กิจกรรมแนะแนว กิจกรรมคา่ ยคณุ ธรรม

ลำดับที่ กิจกรรม ปีการศึกษา ปีการศึกษา ผลการพฒั นา

๕ กิจกรรมสร้างเสริมภาวะผนู้ ำ 2562 2563 - 6.67
รวมเฉล่ีย
100.00 93.33
100.00 95.83

1.2.4 สุขภาวะทางร่างกายและลักษณะจติ สังคม โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 24
จังหวัดพะเยา ปลูกฝังให้นักเรียนได้เรียนรู้การดูแลรักษาสุขภาพร่างกาย รู้จักการปฐมพยาบาลเบื้องต้นในการ
ช่วยเหลือตนเองและผู้อื่น เรียนรู้การป้องกันโรคและภัยอันตรายใกล้ตัวต่างๆที่อาจเกิดขึ้นกับนักเรียนได้
นอกจากน้นี กั เรียนยงั ได้เรยี นรเู้ ก่ยี วกับพชื สมุนไพรใกล้ตวั ทสี่ ามารถนำมารักษาโรค และสนกุ สนานกับการออก
กำลังด้วยกีฬาประเภทต่างๆ ที่ส่งเสริมด้านสุขภาพร่างกายของตนเอง ผ่านกิจกรรมส่งเสริมสมรรถภาพทาง
กาย กิจกรรมทีม่ ุ่งเนน้ ให้นักเรยี นเกิดความรู้ ความเขา้ ใจและสามารถออกกำลังกายอย่างถูกวิธี เพื่อเสริมสร้าง

ร่างกายให้แข็งแรง สดชื่น แจ่มใส มีพัฒนาการทางรา่ งกายเหมาะสมตามวัย และรักการออกกำลังกาย ปฏิบัติ

ตนตามสขุ บญั ญตั ิ 10 ประการได้อยา่ งเหมาะสม

นักเรียนได้รับการตรวจสุขภาพก่อนเข้าเรียน ภาคเรียนละ ๑ ครั้ง ในวันเปิดภาค

เรียนท่ี ๑ และภาคเรียนท่ี ๒ โดยมีงานพยาบาลร่วมตรวจสุขภาพนักเรียน เพื่อเป็นข้อมูลพื้นฐานด้านสุขภาพ

นักเรียน ที่เกี่ยวข้อง คือ โรคประจำตัว การใช้ยา การแพ้ยา แพ้อาหารต่างๆโดยสอบถามจากนักเรียนและ

ผู้ปกครองทีน่ ำนักเรียนมาตรวจสุขภาพเพ่ือเป็นแนวทางในการช่วยเหลือและป้องกันร่วมกบั ทางโรงเรียนต่อไป

มีการคดั กรองนกั เรยี นเจบ็ ปว่ ยทุกวนั ในหอนอนของนกั เรียน

นักเรียนหญิง ได้รับการกำจัดเหาโดยใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น เช่น ใบน้อยหน่า ใบยอ

ผลมะกรดู ใบสะเดา และใชแ้ ชมพหู มักเหา ยาฆา่ เหา กำจดั เหาสัปดาห์ ละ ๒ วนั มีการจดั โซนแยกนอนสำหรับ

นกั เรยี นทเี่ ปน็ เหานอนในหอนอน และแยกเครอื่ งนอนซักเพอ่ื ป้องกันการตดิ ต่อ

นักเรยี นทกุ คนเขา้ ร่วมการออกกำลงั กาย ในกจิ กรรมสง่ เสริมสมรรถภาพทางกาย ทำ

ใหน้ ักเรยี นมสี ขุ ภาพร่างกายแข็งแรง

นักเรียนมีความรู้เกี่ยวกับโรคต่างๆตามฤดูกาล และการดูแลสุขอนามัย จากการจัด

กิจกรรมการอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับการปฐมพยาบาลเบื้องต้น การดูแลสุขอนามัยในช่องปาก โรคต่างๆตาม

ฤดูกาล โรคติดตอ่ ทางเพศสัมพันธ์ เพศศึกษาและอนามัยการเจริญพันธ์ การดแู ลสขุ อนามยั สว่ นบคุ คล และการ

ปฏิบัติตนตามสุขบัญญัติ ๑๐ ประการ จากเครือข่ายและหน่วยงานภายนอก การจัดบอร์ด นิทรรศการความรู้

เกี่ยวกับการดูแลสุขภาพ โรคต่างๆการทำแผ่นพับประชาสัมพันธ์ให้ความรู้เรื่องเกี่ยวกับสุขภาพใหก้ ับนักเรยี น

และผ้ปู กครองเพื่อให้นักเรยี นรู้จักการดแู ลป้องกนั ตนเองและสามารถปฏบิ ัตติ นให้ปลอดภัยจากโรคต่างๆ และ

นำความรู้ไปปฏิบตั ใิ นการดำเนนิ ชวี ิตประจำวันตอ่ ไป

งานส่งเสริมสุขภาพและอนามัยนักเรียนร่วมกับคณะครู นักเรียนเจ้าหน้าที่ รวมถึง

แกนนำพยาบาลน้อยจิตอาสา ทำการสำรวจและทำลายแหล่งเพาะพันธ์ของลูกน้ำยุงลายในบริเวณโรงเรียน

ในชว่ งฤดูฝน เดอื นพฤษภาคม เปน็ ต้นไปถึงชว่ งปลายฤดูฝน เพอ่ื ป้องกนั โรคไข้เลอื ดออก

นักเรียนมีสขุ ภาพรา่ งกายแขง็ แรง ได้รับประทานอาหารทีถ่ ูกสุขอนามัย มีประโยชน์

และมสี ารอาหารครบทั้ง ๕ หมู่

นักเรียนมีสขุ ภาพจิตที่ดีจากการเข้าร่วมกิจกรรมลดเวลาเรียนเพิ่มเวลารู้ ส่งเสริมให้

ผู้เรียนมที ักษะชวี ติ ที่ดี มีความคิดสร้างสรรค์ ปลูกฝังใหน้ กั เรียนมีความเชื่อมั่นในตนเองและเห็นคุณค่าแหง่ ตน

โดยใช้กจิ กรรมต่าง ๆ เป็นสื่อ ซงึ่ ไดแ้ ก่กิจกรรม ดนตรี กีฬา ศลิ ปะ กจิ กรรมบำเพญ็ ประโยชน์ต่างๆ

สรุปผลการศึกษาการจัดกิจกรรมทักษะการดำรงชีวิตของ โรงเรียนราชประชานุ

เคราะห์ ๒๔ จังหวัดพะเยา ปีการศึกษา ๒๕63 ที่มีผลการประเมินตั้งแต่ระดับ ๒ ขึ้นไป ร้อยละ 96.67

สามารถสรปุ ผลทีส่ ำคัญ ๆ ได้ดังนี้

ลำดบั ที่ กิจกรรม ปีการศกึ ษา ปีการศกึ ษา ผลการพัฒนา
2562 2563

๑ กจิ กรรมส่งเสริมสุขนสิ ัย 100.00 96.67 - 3.33

๒ กิจกรรมส่งเสริมสมรรถภาพทางกาย 100.00 96.67 - 3.33

๓ กิจกรรมหลักโภชนาการ 100.00 96.67 - 3.33

รวมเฉลี่ย 100.00 96.67

2. ผลการดำเนนิ งาน
จากกาประเมินคุณภาพภายในของคณะกรรมการประเมินคุณภาพการศึกษา

โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ 2๔ จังหวัดพะเยา ไดว้ ิเคราะห์แผนพฒั นาการศึกษา รายงานการจดั กิจกรรมการ
เรียนรู้ตามหลักสูตรสถานศึกษา รายงานการดำเนินงาน/โครงการ/กิจกรรมตามแผนปฏิบัติการประจำปี
การศึกษา 2563 รายงานการประเมินตนเองของครูทุกคน และจากการตรวจสอบตรวจเอกสาร รางวัล และ
เกียรติบัตรที่ได้รับทั้งของสถานศึกษา ครู และผู้เรียน พบว่า มาตรฐานที่ 1 คุณภาพผู้เรียน ค่าเป้าหมาย
ความสำเร็จที่กำหนดคือ คุณภาพผู้เรียนอยู่ในระดับ “ดีเลิศ” มีคะแนนเฉลี่ยเท่ากับร้อยละ 81 ผลพัฒนา
ผู้เรียนมีคุณภาพระดับ “ยอดเยี่ยม” มีคะแนนเฉลี่ยเท่ากับร้อยละ 92.15 เป็นไปสูงกว่าเป้าหมายที่กำหนด
และสอดคล้องกับอัตลักษณ์ของสถานศึกษา คือ คุณธรรมดี มีภูมิปัญญา และเอกลักษณ์ของสถานศึกษา คือ
ระเบียบวินัย คือหัวใจลูกราชประชานุเคราะห์ ๒๔ และการมีทักษะชีวิตที่ดีในโณง เรียนประจำ โดยมี
รายละเอียดดงั นี้

2.1 ผลการประเมินภายในมาตรฐานที่ 1 ด้านผลสัมฤทธ์ิทางการเรยี นของผู้เรยี น
ค่าเป้าหมายความสำเร็จที่กำหนดคือ “ดีเลิศ” คือมีผู้เรียนร้อยละ 81 มีคุณภาพ

ระดับ “ดีเลิศ” ขึ้นไป ผลการประเมินผู้เรียนมีคุณภาพระดับ “ยอดเยี่ยม” คือมีผู้เรียนร้อยละ 89.41 ซึ่ง
เป็นไปตามค่าเป้าหมายที่กำหนด ซึ่งมีประเด็นที่สูงกว่าค่าเป้าหมายที่กำหนด จำนวน .... ประเด็น บรรลุตาม
ค่าเปา้ หมายท่ีกำหนด จำนวน.....ประเด็น และไมบ่ รรลคุ า่ เป้าหมาความสำเรจ็ จำนวน .... ประเด็น

2.1.1 ผลการประเมินที่สูงกว่าและบรรลุค่าเป้าหมายความสำเร็จจำนวน.....
ประเดน็ ได้แก่

2.1.1.1 ประเดน็ ท่ี 1.1 มคี วามสามารถในการอ่าน การเขียน การส่อื สาร และการ
คิดคำนวณ ค่าเป้าหมายความสำเร็จที่กำหนดคือ ผู้เรียนมีคุณภาพระดับ “ดีเลิศ” ร้อยละ 82 ขึ้นไป ผลการ
ประเมนิ ผู้เรียนมีคุณภาพระดับ “ยอดเยีย่ ม” รอ้ ยละ 87.17 ซ่ึงสงู กวา่ คา่ เปา้ หมาย ซ่งึ สามารถตรวจสอบจาก
แบบประเมินคณุ ภาพผู้เรยี นดา้ นความสามารถในการอา่ น เขยี น ส่ือสารและคิดคำนวณ ส่งผลใหผ้ ู้เรยี น........

2.1.1.2 ประเดน็ ท่ี 1.2 มคี วามสามารถในการคดิ วเิ คราะห์ คดิ อย่างมวี จิ ารณญาณ
อภิปรายแลกเปลี่ยนความคิดเห็น และแก้ปัญหา ค่าเป้าหมายความสำเรจ็ ที่กำหนดคือ ผู้เรียนมีคุณภาพระดบั
“ดีเลิศ” ร้อยละ 82 ขึ้นไป ผลการประเมินผู้เรียนมีคุณภาพระดับ “ยอดเยี่ยม” ร้อยละ 84.32 ซึ่งสูงกว่าค่า
เป้าหมาย ซึ่งสามารถตรวจสอบจากทักษะการแก้ปัญหาของผู้เรียน โครงงานคุณธรรม โครงงานของนักเรียน
ช้นั มธั ยมศึกษา ส่งผลให้ผเู้ รียนไดร้ บั รางวัลระดับประเทศ

2.1.1.3 ประเด็นที่ 1.3 มีความสามารถในการสร้างนวัตกรรม ค่าเป้าหมาย
ความสำเรจ็ ทก่ี ำหนดคือ ผเู้ รยี นมคี ณุ ภาพระดับ “ด”ี รอ้ ยละ 71 ขึน้ ไป ผลการประเมนิ ผู้เรยี นมคี ณุ ภาพระดับ
“ยอดเยี่ยม” ร้อยละ 92.52 ซึ่งสูงกว่าค่าเป้าหมาย ซึ่งสามารถตรวจสอบจากการสร้างนวัตกรรมของผู้เรียน
โครงงานคณุ ธรรม การประกวดภาพยนตรส์ ้นั โครงงานวิทยาศาสตร์ สง่ ผลใหผ้ ูเ้ รยี นไดร้ บั รางวัลระดบั ประเทศ

2.1.1.4 ประเด็นที่ 1.4 ความสามารถในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการ
สื่อสาร ค่าเป้าหมายความสำเร็จที่กำหนดคือ ผู้เรียนมีคุณภาพระดับ “ดี” ร้อยละ 71 ขึ้นไป ผลการประเมิน
ผู้เรียนมีคุณภาพระดับ “ยอดเยี่ยม” ร้อยละ 92.69 ซึ่งสูงกว่าค่าเป้าหมาย ซึ่งสามารถตรวจสอบจากทักษะ
การใช้คอมพิวเตอร์ของผู้เรียน มีการจัดให้ผู้เรียนสอบวัดผลออนไลน์ ผู้เรียนเข้าร่วมแข่งขันโครงาน
วิทยาศาสตร์ กิจกรรม “Show &Share 2020 : สิ่งประดิษฐ์สมองกลฝงั ตัว” (แบบออนไลน์) ส่งผลให้ผู้เรยี น
ได้รับรางวลั ระดบั ประเทศ

2.1.1.5 ประเด็นที่ 1.5 มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนตามหลักสูตรสถานศึกษา
ค่าเป้าหมายความสำเร็จที่กำหนดคือ ผู้เรียนมีคุณภาพระดบั “ดี” ร้อยละ 71 ขึ้นไป ผลการประเมินผู้เรียนมี
คุณภาพระดับ “ดีเลิศ” ร้อยละ 80.00 ซึ่งสูงกว่าคา่ เป้าหมาย ซึ่งสามารถตรวจสอบจากโครงการ/กิจกรรมท่ี
พฒั นาผลสมั ฤทธท์ิ างการเรียน ส่งผลให้ผลสัมฤทธ์ทิ างการเรียนของผเู้ รียนทไ่ี ดร้ ะดับ 3 ข้นึ ไปอยทู่ ีร่ ้อยละ.......

2.1.1.6 ประเด็นที่ 1.6 มีความรู้ ทักษะพื้นฐาน และเจตคติที่ดีต่องานอาชีพ
ค่าเป้าหมายความสำเร็จที่กำหนดคือ ผู้เรียนมีคุณภาพระดับ “ดีเลิศ” ร้อยละ 87 ขึ้นไป ผลการประเมิน
ผู้เรียนมีคุณภาพระดับ “ยอดเยี่ยม” ร้อยละ 93.33 ซึ่งสูงกว่าค่าเป้าหมาย ซึ่งสามารถตรวจสอบจากความรู้
ทกั ษะพื้นฐาน และเจตคตติ ่องานอาชีพของผู้เรียน และการจัดการเรยี นการสอนทวศิ ึกษา หลักสตู รระยะสั้น

2.1.1.7 ประเด็นที่ 1.7 มีทักษะการดำเนินชีวิตสาหรับโรงเรียนการศึกษา
สงเคราะห์ 8 ประการ ค่าเป้าหมายความสำเร็จที่กำหนดคือ ผู้เรียนมีคุณภาพระดับ “ดีเลิศ” ร้อยละ 82
ขึ้นไป ผลการประเมินผู้เรียนมีคุณภาพระดับ “ยอดเยี่ยม” ร้อยละ 95.83 ซึ่งสูงกว่าค่าเป้าหมาย ซึ่งสามารถ
ตรวจสอบจากแบบรายงานทักษะการดำเนนิ ชวี ติ สาหรับโรงเรยี นการศึกษาสงเคราะห์ 8 ประการ

2.2 ผลการประเมินภายในมาตรฐานท่ี 1 ดา้ นคณุ ลกั ษณะอันพงึ ประสงค์
ค่าเป้าหมายความสำเร็จที่กำหนดคือ ผู้เรียนมีคณุ ภาพระดับ "ดีเลิศ" คือมีผู้เรยี นร้อยละ ๘7

ผลการประเมินผู้เรยี นมีคณุ ภาพระดับ "ยอดเยีย่ ม" คือ ผู้เรียนร้อยละ 94.89 ซึ่งสูงกว่าค่าเปา้ หมายทีก่ ำหนด
ซ่ึงมีประเด็นที่บรรลุคา่ เปา้ หมายท่กี ำหนดทงั้ หมดทุกประเด็นตังน้ี

๒.๒.1 ประเด็นที่ 2.1 การมีคุณลักษณะและค่านิยมที่ดีตามที่สถาบศึกษากำหนด ค่า
เป้าหมายความสำเร็จที่กำหนด ผู้เรียนมีคุณภาพระดับ "ตีเลิศ" หมายถึง มีผู้เรียนร้อยละ ๘7 ผลการประเมิน
ผู้เรียนมีคุณภาพระดับ "ยอดเยี่ยม" คือ ผู้เรียนร้อยละ 94.24 สูงกว่าคำเป้าหมายที่กำหนด ซึ่งตรวจสอบจาก
คุณลักษณะอันพึงประสงค์ ทักษะดำรงชีวิตของผู้เรียน ส่งผลให้ผู้เรียนมีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ตาม
หลกั สตู ร มที กั ษะดำารงชวี ิตในโรงเรียนประจำสอดคลอ้ งกับอัตลักษณ์ของสถานศึกษา คือ คุณธรรมดี มีปญั ญา
ไทย

๒.๒.๒ ประเด็นที่ 2.๒ ความภูมิใจในท้องถิ่นและความเป็นไทย ค่าเป้าหมายความสำเร็จท่ี
กำหนด ผู้เรียนมีคุณภาพระดับ "ดีเลิศ" หมายถึง มีผู้เรียนร้อยละ ๘7 ผลการประเมินผู้เรียนมีคุณภาพระดับ
"ยอดเยี่ยม" ร้อยละ 95.33 สูงกว่าค่าเป้าหมายที่กำหนด ซึ่งตรวจสอบจากความภูมิใจในท้องถิ่นและความ
เปน็ ไทย การเขา้ รว่ มกจิ กกรรมประเพณขี องชมุ ชน กจิ พรรมไตรรงค์ เป็นตน้

๒.๒.3 ประเด็นที่ ๒.3 การยอมรับที่จะอยู่ร่วมกันบนความแตกต่างและหลากหลาย
ค่าเป้าหมายความสำเร็จที่กำหนด ผู้เรียนมีคุณภาพระดับ "ดีเลิศ" หมายถึง มีผู้เรียนร้อยละ ๘7 ผลการ
ประเมินผู้เรียนมีคุณภาพระดับ "ยอดเยี่ยม" ร้อยละ 93.33 สูงกว่าค่าเป้าหมายที่กำหนด ซึ่งตรวจสอบจาก
การอยู่ร่วมกันในโรงเรียนประจำของผู้เรียนที่แตกต่างกันทางชาติพันธ์ อย่างมีความสุขและไม่เกิดปัญหา
ทะเลาะเบาะแวง้

๒.๒.4 ประเดน็ ท่ี ๒.4 มีสุขภาวะทางรา่ งกายและจติ สงั คม คา่ เป้าหมายความสำเร็จท่กี ำหนด
ผู้เรียนมีคุณภาพระดับ "ดีเลิศ" หมายถึง มีผู้เรียนร้อยละ ๘7 ผลการประเมินผู้เรียนมีคุณภาพระดับ
"ยอดเยี่ยม" ร้อยละ 96.67 สูงกว่าค่าเป้าหมายที่กำหนด ซึ่งตรวจสอบจากรายงานสุขภาวะทางร่างกายและ
จิตสังคมของผู้เรยี น การเข้าร่วมกจิ กรรม และการเขา้ รว่ มจิตอาสากบั ชุมชน

ตารางสรุปผลการประเมนิ มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของผู้เรียน

มาตรฐาน / ประเดน็ การพจิ ารณา คา่ เป้าหมาย ผลการประเมนิ ค่าพฒั นาการ
ปี 2563 (ร้อยละ)

มาตรฐานที่ ๑ คณุ ภาพของผเู้ รยี น ดเี ลิศ ยอดเย่ียม เพ่มิ ขึน้ 1 ระดบั
(81.27) 92.15

๑.๑ ผลสัมฤทธ์ิทางวิชาการของผเู้ รียน ดเี ลศิ ยอดเย่ียม เพิม่ ขนึ้ 1 ระดบั
(78.00) 89.41

๑) มีความสามารถในการอ่าน การเขียน การส่ือสาร ดเี ลิศ (82) ยอดเยี่ยม เพิ่มข้ึน 1 ระดับ
และการคดิ คำนวณ ร้อยละ ๗๔ – ๘๔ 87.17

๒) มีความสามารถในการคดิ วเิ คราะห์ คิดอย่างมี ดเี ลศิ (82) ยอดเยย่ี ม เพ่ิมขน้ึ 1 ระดบั
วิจารณญาณ อภปิ รายแลกเปลย่ี นความคิดเห็น และ รอ้ ยละ ๗๔ – ๘๔ 84.32
แกป้ ัญหา

๓) มคี วามสามารถในการสร้างนวตั กรรม ดี (71) ยอดเยย่ี ม เพ่ิมขึ้น 2 ระดบั
รอ้ ยละ 63 – 73 92.52

๔) ความสามารถในการใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศและ ดี (71) ยอดเยย่ี ม เพิ่มขน้ึ 2 ระดับ

การสอ่ื สาร รอ้ ยละ 63 – 73 92.69

๕) มผี ลสัมฤทธ์ิทางการเรยี นตามหลักสตู ร ดี (71) ดเี ลศิ เพิ่มขึน้ 1 ระดบั
สถานศกึ ษา 80.00
รอ้ ยละ 63 – 73

๖) มีความรู้ ทักษะพ้ืนฐาน และเจตคติที่ดตี อ่ งาน ดเี ลศิ (87) ยอดเย่ยี ม เพม่ิ ข้นึ 1 ระดบั
อาชีพ 93.33
รอ้ ยละ 80 - 89

7) มที ักษะการดำเนินชีวิตสำหรบั โรงเรียนการศกึ ษา ดเี ลศิ (82) ยอดเยย่ี ม เพิม่ ขนึ้ 1 ระดับ
สงเคราะห์ 8 ประการ ร้อยละ ๗๔ – ๘๔ 95.83

1.2 คณุ ลักษณะที่พึงประสงค์ของผู้เรียน ดเี ลศิ ยอดเยี่ยม เพ่มิ ข้นึ 1 ระดบั
(87.00) 94.89

1) การมีคุณลกั ษณะและค่านิยมท่ดี ีตามที่ ดีเลิศ (87) ยอดเยย่ี ม เพ่มิ ขึ้น 1 ระดับ
สถานศกึ ษากำหนดโดยไมข่ ัดกบั กฎหมายและ ร้อยละ 80 – 89 95.33
วัฒนธรรมอันดขี องสงั คม

๒) ความภูมใิ จในท้องถน่ิ และความเป็นไทย ดเี ลิศ (87) ยอดเยี่ยม เพม่ิ ขึ้น 1 ระดับ
รอ้ ยละ 80 – 89 94.24

๓) การยอมรบั ท่จี ะอยรู่ ่วมกันบนความแตกตา่ งและ ดีเลิศ (87) ยอดเย่ียม เพม่ิ ขน้ึ 1 ระดับ
หลากหลาย ร้อยละ 80 – 89 93.33

๔) สุขภาวะทางร่างกายและลักษณะจิตสงั คม ดเี ลิศ (87) ยอดเยย่ี ม เพ่ิมขน้ึ 1 ระดับ
รอ้ ยละ 80 – 89 96.67

3. จดุ เดน่
๓.๑ ดา้ นผลสัมฤทธิท์ างการเรยี นของผเู้ รยี น
๓.๑.๑ นักเรียนได้รับโอกาสในการเลือกเรียนตามความถนัดและความสนใจเพื่อนำไปศึกษา

ต่อหรือประกอบอาชีพ
3.๑.๒ นักเรยี นมคี วามสามารถในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสารเพ่ือการพัฒนา

ตนเองและสังคมในด้านการเรียนรู้ การสื่อสาร การทำงาน อยา่ งสร้างสรรค์ และมจี ริยธรรม
3.๑.๓ นักเรียนมีเจตคติที่ดีต่องานอาชีพ มีความรู้ ทักษะพื้นฐานด้านงานอาชีพ เพื่อเป็น

แนวทางในการประกอบอาชพี ในอนาคตได้
๓.1.4 นักเรียนมีทักษะการดำรงชีวิตในโรงเรียนประจำทั้ง ๘ กิจกรรม ได้แก่

กิจกรรมส่งเสริมสุขนิสัย กิจกรรมส่งเสริมสมรรถภาพทางกาย กิจกรรมหลักโภชนาการ กิจกรรมหลักไตรรงค์
กิจกรรมสร้างเสริมภาระผู้นำ กิจกรรมอนุรักษ์พลังงานและสิ่งแวดล้อม กิจกรรมส่งเสริมอาชีพท้องถิ่น และ
กิจกรรมพัฒนาสุนทรียภาพ

๓.๒ ดา้ นคณุ ลักษณะอนั พึงประสงคข์ องผูเ้ รยี น
๓.๒.๑ นักเรียนมีคุณลักษณะและคำนิยมที่ดีตามที่กำหนดไว้ในหลักสูตรสถานศึกษา

และคุณลักษณะตามอัตลักษณ์ของผู้เรียนโรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 24 จังหวัดพะเยา คือ คุณธรรมดี
มีภมู ิปัญญาไทย

๓.๒.๒ ผู้เรียนมีความภาคภูมิใจในท้องถิ่น และความเป็นไทย โดยมีความภาคภูมิใจใน
วัฒนธรรมท้องถิ่นของตนเอง ได้เข้าร่วมกิจกรรมหลักไตรรงค์ กิจกรรมวันสำคัญของ ชาติ ศาสนา
และพระมหากษัตรยิ ์ และร่วมอนรุ ักษ์วัฒนธรรมประเพณีท้องถ่ิน

๓.๒.๓ ผู้เรียนยอมรับท่ีจะอยูร่ ่วมกนั บนความแตกตา่ งทห่ี ลากหลาย โดยอาศัยอย่ใู นโรงเรยี น
ประจำอยา่ งไมส่ รา้ งปญั หา ไมท่ ะเลาะววิ าทจนเกิดความขัดแย้ง เขา้ รว่ มกจิ กรรมประเพณี และวฒั นธรรมทาง
ชาตพิ นั ธ์ุ รวมถึงการปฏิบตั ติ นอยา่ งเหมาะสมตามจารตี ประเพณที ี่ดงี าม

3.๒.๕ นกั เรียนได้รบั การดแู ลสุขภาวะทางรา่ งกายและจติ สงั คมทดี่ ี

๔. จดุ ที่ควรพัฒนา
๔.๑ ด้านผลสมั ฤทธท์ิ างการเรยี นของผเู้ รียน
๔.๑.๑ การเพิ่มความสามารถในการอ่าน การเขียน สื่อสาร คิดคำนวณ ควรเพิ่มกิจกรรม

คัดกรองนักเรียนทั้งระบบในการประเมินความสามารถในการอ่าน การเขียน สื่อสาร คิดคำนวณ เพื่อกา ร
พัฒนาในจดุ ท่ีควรพฒั นา

๔.๑.๒ การเพิ่มความสามารถในการคิดวิเคราะห์ คิดอย่างมีวิจารณญาณ อภิปราย
แลกเปลีย่ นความคดิ เหน็ และแกป้ ัญหา ควรมกี ารนเิ ทศกำกับติดตามสมำ่ เสมอเพื่อนำผลไปพฒั นาในปีต่อไป

๔.๑.๓ การเพิ่มความสามารถในการสร้านวัตกรรมอาจเพิ่มในรูปแบบกลุ่มสาระการเรียนรู้
เพ่อื ใหน้ กั เรียนไดเ้ รยี นรูแ้ ละเขา้ ถึงกิจกรรมและการเรียนรู้ในรูปแบบนวัตกรรม

๔.๑.๔ การเพิ่มกิจกรรมส่งเสริมงานอาชีพควรหาจุดเด่นและความเป็นเอกลักษณ์ของงาน
อาชีพแต่ละอาชีพทช่ี ัดเจน

๔.๒ ดา้ นคณุ ลักษณะอนั พงึ ประสงคข์ องผเู้ รยี น
๔.๒.๑ ส่งเสริมและพัฒนานักเรียนบางกลุ่มที่ขาดความกระตือรือร้นในการเรียนรู้ และขาด

เปา้ หมายในการดำรงชวี ติ
๔.๒.๒ การอยู่ร่วมกันหลากหลายชาติพันธ์ ส่งผลให้นักเรียนส่วนน้อยมีพฤติกรรมที่ไม่พึง

ประสงค์เทา่ ทค่ี วร

๕. รอ่ งรอยหลกั ฐาน
๕.1 แบบประเมินคณุ ภาพผเู้ รียนดา้ นความสามารถในการอ่าน เขยี น สอ่ื สารและคดิ คำนวณ
๕.๒ แบบประเมินคุณภาพผู้เรียนดา้ นการคดิ วเิ คราะห์
๕ ๓ แบบรายงานสรุปผลสมั ฤทธข์ิ องผูเ้ รียน
4.4 โครงานคุณธรรม โครงการของชั้นมัธยมศึกษา ส่งผลให้ผู้เรียนชนะเลิศผลการประกวดโครงงาน

ในการแขง่ ขันรายการระดบั ชาติ
๕.5 โครงงานคอมพิวเตอร์ โครงงานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี และโครงงานผลิตภัณฑ์ต่าง ๆ

ของผ้เู รยี น
๕.6 แบบรายงานจำนวนผเู้ รยี นศึกษาต่อหลักสตู รทวศิ กึ ษา
5.7 แบบรายงานจำนวนผู้เรยี นศกึ ษาต่อหลักสูตรระยะสั้น
๕.8 แบบรายงานผลการประเมินคุณลกั ษณะอันพึงประสงค์ของผู้เรียน
๕.9 แบบรายงานผลการประเมินทักษะดำรงชวี ิต
๕.10 แบบบันทกึ การมีส่วนร่วมในกจิ กรรมตา่ ง ๆ
๕.11 แบบรายงานสุขภาวะทางรา่ งกาย และจติ สงั คม
5.12 แบบรายงานโครงการ/กิจกรรมตา่ งๆ
5.13 เกยี รติบัตร/โล่รางวลั การแข่งขนั ตา่ งๆ

มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบรหิ ารและการจดั การ

ระดบั คณุ ภาพ : ยอดเยยี่ ม

1. กระบวนการดำเนินงาน
โรงเรยี นไดจ้ ดั ประชุมเชงิ ปฏบิ ตั ิการทำแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา โดยผูม้ สี ่วนเกี่ยวข้องได้

ร่วมกันกำหนดวิสัยทัศน์ พันธกิจให้สอดคล้องกับผลการวิเคราะห์สถานภาพของโรงเรียน ข้อกฎหมายตาม
ระเบียบราชการ ขนบธรรมเนียมประเพณี การวิเคราะห์สังเคราะห์ข้อมูลสารสนเทศตามนโยบายของรั ฐ
ต้นสังกัด การเปลี่ยนแปลงต้านสังคม เศษฐกิจการเมือง ระดับนานาชาติ ระดับภูมิภาค ระดับประเทศ และ
ระดบั ทอ้ งถิน่ รวมถึงแผนพฒั นาการจัดการศึกษาสำหรับเด็กด้อยโอกาส และแผนพฒั นาคณุ ภาพชีวติ เด็กด้อย
โอกาส เป็นกรอบทิศทางการพัฒนาหรือปรับปรุงคุณภาพการศึกษาของโรงเรียนนำเสนอคณะกรรมการ
สถานศึกษาเพอื่ ใชเ้ ปน็ แนวทางการพฒั นาการศึกษาโดยกำหนดวสิ ยั ทศั น์และพนั ธกจิ ดงั น้ี

วสิ ัยทัศน์
โรงเรียนเป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้ ผู้เรียนก้าวทันเทคโนโลยี มีคุณภาพตามมาตรฐาน

การศึกษาพฒั นาโดยใชห้ ลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง
พนั ธกิจ
1. พฒั นาครู บุคลากร ใหเ้ ป็นบคุ คลแห่งการเรยี นรู้กา้ วทนั เทคโนโลยีดิจิทัล
๒. พัฒนาผูเ้ รยี นเกิดการเรยี นรู้ในการใช้เทคโนโลยีดจิ ิทลั อยา่ งมีคณุ ธรรมและสร้างสรรค์
๓. พัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาโดยน้อมนำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาใช้ในการ

จัดการเรยี นรู้
๔. ส่งเสริมให้ผู้บริหาร ครู บคุ ลากร และผ้เู รียน มคี ณุ ธรรม จรยิ ธรรม วัฒนธรรมและเป็นผู้มี

ส่วนเกี่ยวขอ้ ง น้อมนำหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียงมาใช้ในการพัฒนาดว้ ยระบบคุณภาพ

โรงเรียนกำหนดการดำเนินงานตามพันธกจิ โดยจดั ทำแผนปฏบิ ัติการประจำปี ท่ีสอดคล้องกบั
แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาเพื่อให้บรรลุเป้าหมายการจัดการศึกษา โดยสร้างความเข้าใจกับทุกกลุ่มงาน
ในการนำพันธกิจสู่การปฏบิ ัติในรูปของโครงการและกิจกรรมทีส่ นองมาตรฐานการศึกษา โดยนำวงจรคุณภาพ
PDCA , หลักการบริหารจัดการโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน (School Based Management : S8M ) และได้คิด
นวตั กรรมการบริหารงานภายในโรงเรยี นเพือ่ ใหก้ ารบริหารงานประสบความสำเรจ็ อยา่ งมีประสทิ ธภิ าพ โดยใช้
รูปแบบ TEAM* Model ในการขบั เคส่อื นระบบบริหารจัดการคุณภาพของสถานศึกษา โดยมีรายละเอยี ดตงั น้ี

(๑) T : Trainer หมายถึง หัวหน้ากลุ่มงาน เป็นการกระจายอำนาจการบริหารงานในสถานศึกษา
โดยการนำครแู ละบุคลากรทีม่ ีความรู้และประสบการณ์ข้ึนมาเปน็ หัวหนา้ คณะทำงาน ซึง่ ได้จดั ทำโครงสร้างการ
บริหารงานภายในสถานศึกษาแบ่งออกเป็น ๑๐ กลุ่มงาน คือ ๑) กลุ่มงานบริหารประถมศึกษา
๒) กลุ่มงานบริหารงานวชิ าการ ๓) กลมุ่ งานส่งเสริมวชิ าการ ๔) กลุ่มงานกจิ การ ๕) กลมุ่ งานบริหารงานบุคคล
๖) กลุ่มงานบริการ 7) กลุ่มงานแผนงานและงบประมาณ ๘) กลุ่มงานการเงิน บัญชี พัสดุและสินทรัพย์
๙) กลุ่มงานอำนวยการและ ๑๐) กลุ่มงานอาคารสถานที่และสิ่งแวดล้อม โดยมีการวางแผนร่วมกันอย่างเป็น
ระบบเพื่อนำไปสู่การปฏิบัติที่มีเป้าหมายตรงตามวัตถุประสงค์ของงาน เพื่อให้เกิดประสิทธิภาพและ
ประสทิ ธผิ ลมากท่ีสุด

(๒) E : Environment หมายถึง แหล่งเรียนรู้/สิ่งแวดล้อม เป็นการพัฒนาแหล่งเรียนรู้ใน
สถานศึกษา และทำให้เกิดส่ิงแวดล้อมท่ีเอ้ือต่อการเรียนร้วู ิถีพอเพียง โดยสามารถใช้เป็นสถานที่สำหรับผู้เรียน
บุคลากร ชุมซน สถานศึกษา และหน่วยงานต่าง ๆ ได้มาศึกษาหาความรู้ได้ทุกที่ภายในสถานศึกษา และยังมี

แหล่งเรียนรู้ภายในสถานศึกษาอกี มาก เช่น ศนู ย์การเรียนรู้โรงแรม โรงฝึกงานอาชพี แผนกชา่ ง แผนกคหกรรม
แผนกคอมพวิ เตอร์ ฐานกจิ กรรมศูนยก์ ารเรียนร้ตู ามหลกั ปรชั ญาชองเศรษกิจพอเพียง ดา้ นการศกึ ษา เป็นต้น

(๓) A : Active Learning หมายถึง การเรียนรู้แบบลงมอื ปฏิบัติจริง เปน็ การจดั การเรียนการสอน
แบบบรู ณาการหลักเศรษฐกิจพอเพยี งเข้ากบั ทุกรายวชิ าที่จดั การเรียนการสอน ทำให้ผู้เรยี นได้มีบทบาทในการ
แสวงหาความรู้จากอุทยาการเรียนรู้ และเรียนรู้อย่างมีปฏิสัมพันธ์ จนเกิดความรู้ความเข้าใจนำไปประยุกต์ใช้
ได้สามารถวิเคราะห์ สังเคราะห์ ประเมินค่า หรือสร้างสรรค์สิงต่าง ๆ สามารถพัฒนาตนเองเต็มความสามารถ
และยังชว่ ยในการปลูกฝังใหค้ รแู ละผเู้ รียนใช้ชีวิตในรปู แบบวิถพี อเพียง

(๔) M. : Man หมายถึง การบริหารบุคลากร ครูและบุคลากรภายในสถานศึกษาซึ่งถือว่าเปน็ ปัจจยั
หลักที่สำคัญที่สุด เพราะการพัฒนาหรือการดำเนินงานต่าง ๆ ต้องอาศัยครูและบุคลากรทุกคนในสถานศึกษา
ทง้ั ในดา้ นความคดิ การวางแผน การดำเนินการ โดยมีการจัดหนา้ ทปี่ ฏบิ ตั ิงานของครูและบุคลากรให้เหมาะสม
กับงานตรงตามความสามารถของแต่ละบุคคล พร้อมทั้งยังได้รับความร่วมมือที่ดีจากภาคีเครือข่ายผู้ปกครอง
และขุมชนในรูปแบบต่าง ๆ เช่น จากคณะกรรมการสถานศึกษา ฯลฯ จนทำให้เกิดการผลการพัฒนาองค์กร
อยา่ งมปี ระสิทธิภาพสงู สดุ จากความรว่ มมอื ในการทำงานของครแู ละบุคลากรภายในสถานศึกษา

(๕) M. : Money หมายถึง การบริหารงบประมาณ การบริหารจัดการงบประมาณมีการวางแผน
ปฏิบัติการเกี่ยวกับการใช้งบประมาณ จัดทำมาตรฐานภาระงานงบประมาณ มีการชี้แจงให้ครูและบุคลากร
ทางการศึกษาทราบ การมอบหมายงานให้รับผิดชอบโดยคำนึงถึงความรู้ความสามารถและความต้องการของ
สถานศึกษา ใช้งบประมาณตรงตามกรอบและวัตถุประสงค์ ถูกต้องตามระเบียบ มีระบบควบคุม ตรวจสอบ
ภายใน รายงานการใช้งบประมาณเป็นปัจจบุ นั และมีการประเมนิ ผลและนำผลไปปรับปรุง และในการจดั ต้งั คำ
ของบประมาณของแตล่ ะปี สถานศกึ ษาได้รับการจดั สรระบประมาณในทุกด้านอย่างเพยี งพอ สามารถวางแผน
บรหิ ารงบประมาณไดอ้ ยา่ งมีประสิทธิภาพ

(๖) M. : Materials หมายถึง การบริหารทรัพยากร มีการบริหารทรัพยากรอย่างคุ้มค่า โดยมีการ
วางแผนการทรพั ยากรทีเ่ ป็นวัสดุ อปุ กรณต์ ามความจำเป็นและความเหมาะสม สถานศึกษาไดจ้ ัดสรรทรัพยากร
ในทุก ๆ ด้านอย่างเพียงพอ ลดจำนวนทใ่ี ช้เกินความความจำเปน็ ออกให้มากที่สดุ เพ่ือท่จี ะมาชว่ ยในการพัฒนา
องค์กรหรือสถานศกึ ษาให้มคี วามกา้ วหน้าในทุกด้าน

(๗) M. : Manage ment หมายถึง กระบวนการจัดการ เป็นกระบวนการจัดการบริหารงานใน
สถานศึกษาโดยยึดหลักรปู แบบของ TEAM+ Model เพอื่ ให้การดำเนนิ งานท้งั หมดเป็นไปอยา่ งมีประสิทธิภาพ
และเกิดประสิทธิผลอย่างเต็มที่ โดยมีระบบการนิเทศ กำกับติดตามที่เป็นระบบอย่างต่อเนื่องซึ่งเป็นปัจจัยที่
สำคัญช่วยให้สถานศึกษาพัฒนาไปในทิศทางที่ตอ้ งการ ทั้งนี้โดยที่ผู้ปกครอง ขุมชน และหน่วยงานที่เกี่ยวขอ้ ง
มีบทบาทสำคัญเป็นอย่างย่งิ ต่อการดำเนินงานเพ่ือบรรลผุ ลตามเป้าหมาย

( ๘ ) Plus (+) : ร ะ บ บ เ ท ค โ น โ ล ย ี ส า ร ส น เ ท ศ ( Information and communications
technology : ICT) ในการพัฒนาสถานศึกษา นอกจากการดำเนินงานทั้ง ๔ องค์ประกอบ (TEAM) แล้ว
กระบวนการดำเนินงานเป็นปัจจัยสำคัญที่นำไปสู่การประสบความสำเร็จในการพัฒนาสถานศึกษาสู่ศูนย์การ
เรียนรู้ตามหลักปรัชญาของเศรษกิจพอเพียง ด้านการศึกษา ซึ่งในกระบวนการดำเนินงานในสถานศึกษา
ทั้งหมดได้ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ มาขับเคลื่อนสถานศึกษา คือ Information and communications
technology (ICT) หมายถึง การบริหารงานโดยการนำเทคโนโลยีสารสนเทศมาอำนวยความสะดวกในการ
ทำงานเพื่อให้ เกิดความรวดเร็วและมีข้อมูลสารสนเทศที่เที่ยงตรง น่าเชื่อถือ และตรวจสอบได้ทันที โดยใช้
ระบบ checkin rpk24 school ของสถานศกึ ษาคดิ คน้ ขึ้นมาในการจัดการข้อมลู สารสนเทศท้ังหมด

โดยผู้ที่เกี่ยวข้องวางแผนร่วมกันอย่างเป็นระบบ ทั้งการจัดทำแผนพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษา
การนำแผนไปปฏิบัติเพื่อพัฒนาคุณภาพการศึกษา มีการติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผลและปรับปรุงพัฒนา
งานอย่างต่อเนื่อง มีการบริหารอัตรากำลัง ทรัพยากรทางการศึกษาและระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน
มีระบบการนิเทศภายใน การนำข้อมูลมาใช้ในการพัฒนาบุคลากรและผู้ที่เกี่ยวข้องทุกฝ่ายอย่างมีส่วนร่วม
ในการวางแผน ปรบั ปรุง พฒั นาและรว่ มรบั ผิดชอบตอ่ ผลการจัดการศกึ ษา

โรงเรียนได้จัดทำและพัฒนาหลักสูตรที่เน้นคุณภาพนักเรียนรอบด้านตามหลักสูต รสถานศึกษา
เชื่อมโยงวถิ ชี วี ิตจรงิ และครอบคลุมทกุ กลมุ่ เปา้ หมายของนักเรียนดอ้ ยโอกาสทางการศกึ ษา ประกอบดว้ ย

๑) หลักสูตรสถานศกึ ษา พ.ศ. ๒๕๕๑ (ฉบับปรับปรุง ๒๕๖3)
๒) หลกั สูตรรายวิชาเพมิ่ เตมิ
๓) หลักสูตรทวศิ ึกษา
4) หลกั สตู รระยะสน้ั
โรงเรียนส่งเสริม สนับสนุน ให้ครูมีการพัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่อง โดยมีการประเมินตนเองทางด้าน
สมรรถะหลักและสมรรถนะสายงานของครูทั้ง ๑๑ ประเด็น เพื่อค้นหาจุดเด่นและจุดควรพัฒนาของตนเอง
นำมาจดั ทำแผนพัฒนาตนเองรายบุคคล (ID PLAN) ในช่วงก่อนปดิ ภาคเรียนทางโรงเรียนได้จดั อบรมให้ความรู้
ด้านวิชาการและวิชาชีพตามโครงการพัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษาของโรงเรียน นอกจากนี้คณะครูมี
การพัฒนาตามจุตอ่อนของตนเองด้วยวิธีการที่หลากหลาย เช่น การศึกษาผ่านสื่อออนไลน์ แหล่งเรียนรู้อื่นๆ
หรือจากผรู้ ู้ ผเู้ ชย่ี วชาญ เปน็ ตน้ เพอ่ื ให้ครูมคี วามเชี่ยวซาญทางวชิ าชีพโรงเรียนจึงได้กำหนดเป็นนโยบายจัดให้
มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้โดยใช้กระบวนชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ (PLC : Professional Learing
Community) ในช่วงสิ้นปีการศึกษาคณะครูมีการจัดทำรายงานผลการปฏิบัติงานของตนเองให้สอดคล้องกับ
แผนพัฒนาตนเองรายบคุ คล (ID PLAN) ทไ่ี ดจ้ ัดทำไว้ ประกอบการประเมินสมรรถนะครูทีส่ อดคล้องกับเกณฑ์
การประเมนิ วทิ ยฐานะตาม ว.๒๑ ปีการศกึ ษาละ ๑ คร้งั
โรงเรียนจัดสภาพแวดล้อมทางกายภาพทั้งภายในและภายนอกห้องเรียน และสภาพแวดล้อมทาง
สังคมที่เอื้อต่อการจัดการเรียนรู้ มีความปลอดภัยตามบริบทของโรงเรียนประจำอย่างมีความสุข โดยมี
กระบวนการบริหารงานอาคารสถานที่ ดงั นี้
๑) กำหนดแนวทาง วางแผนการบรหิ ารจัดการอาคารของโรงเรยี น
๒) ดูแลและพัฒนาอาคารอาคารประกอบของโรงเรียนให้อยู่ในสภาพที่มั่นคง ปลอดภัย
เหมาะสมพรอ้ มทีจ่ ะใช้ประโยชน์
3) ติดตามและตรวจสอบการใช้อาคารเรียนอาคารประกอบของสถานศึกษาเพื่อให้เกิดความ
คุม้ คา่ และเออ้ื ประโยชน์ตอ่ การเรียนรู้ของนักเรียน
เทคโนโลยีสารสนเทศ เพื่อการบริหารจัดการเอกสารสารและข้อมูลสนเทศ โดยคณะครูและบุคลากร
ของโรงเรียนไดร้ บั การอบรมการเร่อื งจดั ทำ E-Book ในรปู แบบออนไลน์ เพื่อนำเอกสารจดั เกบ็ ไวบ้ นช้ันหนังสือ
ของตนเองที่ได้กำหนดไว้ใน Website ของโรงเรียน ส่งผลให้ผู้บริหารสามารถการตรวจสอบเอกสาร
ประกอบการพิจารณาเรื่องต่าง ๆ ผ่านขั้นหนังสือของครูผู้สอนในรูปแบบออนไลน์ได้ การปรันปรุงระบบ
สารสนเทศโรงเรียนให้ครอบคลุมทุกฝ่ายเป็นปัจจุบันและง่ายต่อการเจ้าถึงและนำไปใช้ในการบริหาร และจัด
การศึกษา นอกจากนี้ยังได้นำเทคโนโลยีมาบริหารจัดการด้านพฤติกรรมของนักเรียน เพื่อช่วยการบริหารงาน
ของกลุ่มงานกิจการนักเรยี น ด้วยระบบการดูแลชว่ ยเหลอื นกั เรยี นโรงเรียนประจำ
เทคโนโลยีสารสนเทศ เพื่อการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน ประกอบด้วย การติดตั้งสมาร์ททีวี
สำหรบั การเรยี นการสอนทกุ หอ้ งเรียน การสอบกลางภาคและปลายภาคดว้ ยระบบ

จากการดำเนินส่งผลให้โรงเรียนเป็นที่ยอมรับจากหน่วยงานต่าง ๆ โดยได้รับเชิญเป็นวิทยากรเพ่ือ
ถ่ายทอดความรูเ้ รือ่ งระบบการใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศในการบรหิ ารจดั การของโรงเรียน

๒. ผลการคำเนินงาน : ระดับยอดเย่ียม
ผลการประเมินของคณะกรรมการประเมินคุณภาพภายใน ด้วยวิธีการตรวจสอบร่องรอย

หลักฐานการปฏิบัตงิ าน การสอบถามผูเ้ กย่ี วขอ้ ง สรปุ ว่า มีคณุ ภาพ ระดับ "ยอดเยีย่ ม" ซ่งึ สูงกวา่ คา่ เป้าหมายที่
กำหนด โดยมีรายละเอยี ดข้อมลู ของโรงเรียนดังน้ี

โรงเรียนมีเป้าหมายวิสัยทัศน์และพันธกิจที่สถานศึกษากำหนดชัดเจน สอดคล้องกับบริบท
ของสถานศึกษา ความต้องการชุมชน นโยบายรัฐบาล แผนการศึกษาแห่งชาติ เป็นไปได้ในการปฏิบัติ ทันต่อ
การเปลย่ี นแปลง

โรงเรียนมีระบบบริหารจัดการคุณภาพของสถานศึกษาที่ชัดเจนมีประสิทธิภาพ ส่งผลต่อ
คณุ ภาพตามมาตฐานการศกึ ษาของสถานศึกษา โดยความรว่ มมือของผูท้ ีม่ สี ่วนเก่ียวข้องทุกฝ่าย มกี ารนำข้อมูล
มาใชใ้ นการปรับปรุง พัฒนางานอย่างต่อเนื่อง และเปน็ แบบอย่างได้ ผทู้ ่ีมสี ว่ นเกยี่ วข้องร้อยละ 9o มีความพึง
พอใจในการบรหิ ารและการจดั การ

การดำเนินงานพัฒนาวิชาการที่เน้นคุณภาพผู้เรียนรอบด้ านตามหลักสูตรสถานศึกษา
และทุกกลุ่มเปา้ หมาย เช่อื มโยงกบั ชีวติ จริง และเป็นแบบอยา่ งได้

การพัฒนาครูและบุคลากรให้มีความเชี่ยวชาญทางวิชาชีพ และจัดให้มีชุมชนการเรียนรู้ทาง
วิชาชีพมาใช้ในการพัฒนางานและการเรียนรู้ของผู้เรียนให้สอดคล้องกับเกณฑ์การประเมินวิทยฐานะตา ม
ว.๒๑

สภาพแวดลอ้ มทางกายภาพท้ังภายในและภายนอกห้องเรยี น และสภาพแวดลอ้ มทางสังคมท่ี
เอื้อต่อการจดั การเรียนรู้ มคี วามปลอดภยั ตามบรบิ ทของโรงเรยี นประจำอย่างมคี วามสุข

โรงเรยี นมกี ารจัดระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพ่ือสนับสนุนการบรหิ ารจัดการและการจัดการ
เรยี นร้ทู เ่ี หมาะสมกับสภาพของสถานศกึ ษา

การสร้างขวัญและกำลังใจให้แก่ผู้บริหาร ครู บุคลากรทางการศึกษา และนักเรียนของ
โรงเรียน ทำให้ทุกฝ่ายเกิดความรู้สึกที่ดีต่อโรงเรียน ก่อให้เกิดกำลังใจในการปฏิบัติงาน อย่างเต็มกำลัง
ความสามารถ และเกิดความสมั พันธภาพที่ดีต่อองค์กร เช่น การมอบกระเช้าเยี่ยมไข้ การช่วยเหลือครอบครวั
ในกรณที ่เี สียชวี ิต การตรวจสุขภาพ การใหค้ า่ ตอบแทนแก่ครูบคุ ลากรทางการศึกษา และนักเรียนของโรงเรียน
ที่มีผลการปฏิบตั งิ านดเี ด่น

ตารางสรุปผลการประเมนิ มาตรฐานท่ี 2 กระบวนการบริหารและการจัดการ

มาตรฐาน / ประเดน็ การพิจารณา ค่าเป้าหมาย ผลการประเมนิ คา่ พฒั นาการ
ปี 2563 (รอ้ ยละ)

มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบรหิ ารและการจัดการ ดีเลิศ ยอดเยี่ยม เพิ่มขึ้น 1 ระดับ

2.1 การมเี ปา้ หมาย วสิ ัยทศั น์ และพนั ธกิจที่ ดเี ลิศ ยอดเยี่ยม เพ่ิมขึ้น 1 ระดับ
สถานศกึ ษากำหนดชดั เจน

๒.2 มีระบบการบรหิ ารจัดการคณุ ภาพของ ดเี ลศิ ยอดเย่ียม เพมิ่ ขึ้น 1 ระดบั
สถานศึกษา

มาตรฐาน / ประเดน็ การพจิ ารณา ค่าเป้าหมาย ผลการประเมนิ ค่าพัฒนาการ
ปี 2563 (รอ้ ยละ)
2.3 ดำเนนิ งานพัฒนาวิชาการทีเ่ นน้ คุณภาพผเู้ รยี น ยอดเย่ียม เพมิ่ ขึ้น 1 ระดับ
รอบดา้ นตามหลักสตู รสถานศึกษาและทุก ดเี ลิศ
กลมุ่ เปา้ หมาย ยอดเย่ียม เพมิ่ ขนึ้ 1 ระดับ
2.4 พัฒนาครแู ละบคุ ลากรใหม้ คี วามเช่ียวชาญทาง ดีเลศิ ยอดเยย่ี ม เพมิ่ ขึ้น 1 ระดบั
วชิ าชพี ดเี ลิศ ยอดเยี่ยม เพ่มิ ขน้ึ 1 ระดับ
2.5 จดั สภาพแวดล้อมทางกายภาพและสงั คมท่เี ออื้ ดีเลศิ ยอดเยี่ยม เพม่ิ ขึน้ 1 ระดบั
ต่อการจดั การเรยี นรู้อย่างมีคุณภาพ ดเี ลิศ
2.6 จัดระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพ่ือสนับสนนุ
การบริหารจดั การและการจัดการเรียนรู้
2.7 การบรหิ ารจัดการเชงิ บวก

๓. จดุ เด่น
๓.๑ มีเป้าหมาย วิสัยทัศน์ และพันธกิจไว้อย่างชัดเจน สอดคล้องกับบริบทของสถานศึกษา

ความต้องการของชุมชน ท้องถิ่น วัตถุประสงค์ของแผนการศึกษาแห่งชาติ นโยบายของรัฐบาลและของต้น
สงั กัดรวมทง้ั ทันตอ่ การเปลยี่ นแปลงของสงั คม

๓.๒ ผู้บริหารมีวิสัยทัศน์ ในการกระจายอำนาจให้ครูที่ประสบการณ์ในการบริหารจัดการ
สถานศกึ ษา ๑0 กลุ่มงาน และสามารถเชื่อมโยงนโยบายสู่การปฏบิ ัติไดอ้ ย่างเป็นรูปธรรม

3.๓ ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ (ICT) ในการปฏิบัติงานท่ีครอบคลุมภาระงาน มีการจัดจัดเกบ็
ข้อมูลสารสนเทศ ในการดำเนินงานด้านต่าง ๆ ที่สามารถลดจำนวนกระดาษ เกิดความรวดเร็ว และมี
ประสิทธภิ าพ

๓.๔ มีการบริหารจัดการด้านสภาพแวดล้อมทางกายภาพและสังคมที่เอื้อต่อการจัดการ
เรียนรู้

๔. จุดท่ีควรพฒั นา
๔.๑ ดำเนนิ การนิเทศ กำกบั ติดตาม ประเมนิ ผลใหต้ ่อเนอื่ งยัง่ ยนื ยงิ่ ขึ้น

๕. รอ่ งรอยหลกั ฐาน
๕.1 แผนพัฒนาคณุ ภาพการศกึ ษาระยะ ๓ ปี (พ.ศ.๒๕๖๒-๒๕๖๔)
๕.2 แผนปฏิบตั ิการประจำปกี ารศึกษา ๒๕๖3
๕.3 หลกั สูตรสถานศกึ ษา
๕ 4 ขอ้ มลู คณะศกึ ษาดงู านในโรงเรยี น

มาตรฐานที่ 3 กระบวนการจดั การเรียนการสอนท่เี นน้ ผูเ้ รียนเป็นสำคัญ

ระดับคณุ ภาพ : ยอดเยีย่ ม

1. กระบวนการดำเนินงาน
ปีการศึกษา ๒๕๖3 โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 24 จังหวัดพะเยา พัฒนากระบวนการ

จัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ โดยการขับเคลื่อนผ่านกระบวนพัฒนาครูและบุคลากรทางการ
ศึกษาตามหลักเกณฑ์และวิธีการประเมินวิทยฐานะแนวใหม่ (ว๒๑/๒๕๖๐) และต้องได้รับการประเมินผลการ
ปฏิบัติงานจากคณะกรรมการที่ได้รับการแต่งจากโรงเรียนทุกภาคเรียน เพื่อนำผลการประเมินไปวางแผน
พัฒนาตนเองต่อไป โดยมีวิธีการดงั ตอ่ ไปนี้

ด้านการจัดการเรียนการสอน ส่งเสริมให้ครูจัดกระบวนการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็น
สำคญั โดยการดำเนินงานโครงการ/กจิ กรรมอย่างหลากหลาย ได้แก่ การประชมุ ปฏิบัติการ ปรับปรุงหลักสูตร
สถานศึกษา ตามมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัดฯ (ฉบับปรับปรุงพ.ศ.๒๕๖3) ส่งเสริมให้ครูจัดการเรียนการ
สอนเน้นการปฏบิ ตั ิ (Active learning) ใหผ้ ูเ้ รียนผา่ นกระบวนการคดิ ปฏิบตั ิจริง เพอ่ื นำไปสูก่ ารเรียนรู้ท่ีลึกซึ้ง
และคงทน ตามมาตรฐานและตวั ช้ีวัดของหลักสูตรสถานศึกษา ให้นกั เรียนมสี ่วนร่วม ครูมีแผนการดการเรียนรู้
ท่สี ามารถนำไปใชจ้ ดั กิจกรรมได้จริง ครใู ช้ส่ือ และแหล่งเรยี นรู้ มีการบรหิ ารจัดการชนั้ เรียนบวก เพื่อให้เด็กรัก
การเรียนร้แู ละเรียนรูร้ ่วมกันอย่างมคี วามสขุ ครรู ่วมแลกเปลีย่ นเรยี นร้แู ละนำข้อมูลมารว่ มพัฒนาปรับปรุงการ
จัดการเรียนรู้และสอนตามแผน ครูผลิตนวัตกรรม แผนการจัดการเรียนรู้ อีกทั้งปรับโครงสร้างรายวิขา
หน่วยการเรียนรู้ลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ สัดส่วนคะแนนแต่ละหน่วย กำหนดคุณลักษณะอันพึ งประสงค์ท่ี
สอดคล้องกับหน่วยการเรียนรู้ สนับสนุนให้ครูจัดการเรียนการสอนที่สร้างโอกาสให้นักเรียนทุกคนมีส่วนร่วม
ได้ลงมือปฏิบัติจริงจนสรุปความรู้ใด้ด้วยตนเอง จัดการเรียนกรสอนที่เน้นทักษะการคิดผ่านรูปแบบการเรียน
การสอนแบบโครงงาน มีการสอดแทรกคณุ ธรรมจริยธรรมในรูปแบบของการจัดทำโครงงานคุณธรรม ครูใช้สื่อ
การเรียนการสอน นวัตกรรมและเทคโนโลยี ภูมิปัญญาท้องถิ่น มีการประเมินคุณภาพและประสิทธิภาพของ
จัดการเรียนการสอน ปีการศึกษาละ ๑ ครั้ง รวมถึงการกระตุ้นให้ครูนำกระบวนการวิจัยมาใช้ในการแก้ไข
ปัญหาช้ันเรยี น ปีการศึกษาละ ๑ เรอื่ ง

ด้านการบริหารจัดการชั้นเรียน ส่งเสริมสนับสนุนให้ครูได้รู้จักนักเรียนเป็นรายบุคคลโดยมีการจัด
กิจกรรม/โครงการเยี่ยมบ้านนักเรียนทุกปีการศึกษา มีการจัดทำรายงานสรุปการเยี่ยมบ้านนักเรียนเพื่อเป็น
สารสนเทศสำหรับระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียนอย่างมีประสิทธิภาพ จัดกิจกรรมHomeroom เพื่อสร้าง
สัมพันธภาพที่ดีระหว่างครูที่ปรึกษาและนักเรียนประจำชั้น มีการจัดเก็บข้อมูลนักเรียนอย่างเป็นระบบ
ครอบคลุมทุกด้าน (การเรียน สุขภาพ เศรษฐกิจ ครอบครัวและสังคม) มีการมอบหมายหน้าที่ให้นักเรียน
ประจำชั้นในเรื่องการดูแลป้องกันตนเองให้ห่างไกลจากสารเพติด สร้างภาวะผู้นำในชั้นเรียน เปิดโอกาสใน
นักเรียนได้มีส่วนร่วมในการบริหารจัดการชั้นเรียนอย่างเป็นระบบ ผ่านกระบวนการห้องเรียนสีขาว การจัด
ป้ายนิเทศในห้องเรียนเพื่อสรา้ งความรู้ต่าง ๆ ที่จำเป็น รวมถึงการจัดบรรยากาศการเรียนรู้ตามสถานที่ต่าง ๆ
ทั้งภายในหอ้ งเรียนและนอกห้องเรยี น

ด้านการพัฒนาตนเองและพัฒนาวิชาชีพ ครูมีกระบวนการพัฒนาสมรรถนะคนเองโดยจัดทำ
แผนการพัฒนาตนเอง (ID-Plan) และดำเนินการพัฒนาตนเองตามเผ่นอย่างเป็นระบบสอดคล้องกับสภาพการ
ปฏิบัติงานความต้องการจำเป็น นโยบายแผนกลยุทธข์ องหน่วยงานการศึกษาหรือส่วนราชการต้นสังกัด มีการ
แลกเปลี่ยนการเรียนรู้ร่วมกันในระดับสถานศึกษา หรือระดับเครือข่าย หรือระดับชาติ และแสดงบทบาทใน
ชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ (Professional Learning Community : PLC) ด้วยความสัมพันธ์แบบ
กลั ยาณมติ ร ซง่ึ สง่ ผลตอ่ คณุ ภาพผ้เู รียน

การนเิ ทศการจดั การเรยี นการสอนโรงเรียนราชประชานเุ คราะห์ 24 จงั หวัดพะเยา
ปีการศกึ ษา 2561 – 2563

ปีการศกึ ษา การนิเทศในช้นั เรยี น (ร้อยละ)

ภาคเรียนที่ 1 ภาคเรยี นที่ 2

2561 100 100

2562 100 100

2563 100 100

การจดั ทำแผนการจัดการเรยี นรู้โรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ 24 จงั หวัดพะเยา
ปีการศึกษา 2561 – 2563

ปีการศกึ ษา การจัดทำแผนการจดั การเรยี นรู้ (ร้อยละ)

ภาคเรียนท่ี 1 ภาคเรียนที่ 2

2561 100 100

2562 100 100

2563 100 100

การจัดทำวจิ ัยในชน้ั เรียนโรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 24 จงั หวัดพะเยา
ปกี ารศึกษา 2561 – 2563

ปกี ารศึกษา การจัดทำวิจัยในชน้ั เรยี น (ร้อยละ)

ภาคเรยี นท่ี 1 ภาคเรยี นท่ี 2

2561 100 100

2562 100 100

2563 100 100

๒. ผลการดำเนนิ งาน
จากการนิเทศการสอนการประเมินผลการปฏิบัติงานตามเกณฑ์มาตรฐานวิชาชีพครู

ว๒1/๒๕๖๐ และตรวจสอบร่องรอยหลักฐานประกอบการปฏิบัติงานของครูผู้สอนรายบุคคล สรุปว่า
ครรู อ้ ยละ 100 มผี ลการปฏิบัติงานระดบั ยอดเยี่ยม ซ่ึงสูงกว่าค่าเป้าหมายที่โรงเรยี นกำหนดตารางสรุปผล

การประเมนิ มาตรฐานท่ี ๓ กระบวนการจดั การเรยี นการสอนท่เี นน้ ผ้เู รยี นเป็นสำคญั

มาตรฐาน / ประเด็นการพิจารณา ค่าเป้าหมาย ผลการประเมิน คา่ พฒั นาการ
ปี 2563 (รอ้ ยละ)
เพ่ิมขึ้น 1 ระดบั
มาตรฐานที่ ๓ กระบวนการจดั การเรียนการสอน ดเี ลิศ ยอดเยี่ยม เพ่มิ ขน้ึ 1 ระดับ
เพ่ิมขนึ้ 1 ระดับ
ทเ่ี น้นผเู้ รยี นเปน็ สำคัญ (87.00) 100.00 เพิ่มขน้ึ 1 ระดบั
เพิ่มขึ้น 1 ระดบั
3.1 จดั การเรยี นรู้ผ่านกระบวนการคดิ และปฏิบัติ ดเี ลิศ (87) ยอดเยย่ี ม เพ่มิ ข้ึน 1 ระดับ
จริงและสามารถนำไปประยกุ ตใ์ ช้ในชีวิตได้ รอ้ ยละ 80 - 89 100.00

3.2 ใช้สือ่ เทคโนโลยีสารสนเทศ และแหล่งเรยี นรู้ที่ ดเี ลิศ (87) ยอดเยยี่ ม
เอ้อื ต่อการเรียนรู้ รอ้ ยละ 80 - 89 100.00

3.3 มกี ารบรหิ ารจดั การช้ันเรียนเชงิ บวก ดีเลศิ (87) ยอดเย่ยี ม
รอ้ ยละ 80 - 89 100.00

3.4 ตรวจสอบและประเมนิ ผู้เรียนอย่างเปน็ ระบบ ดีเลิศ (87) ยอดเย่ยี ม
และนำผลมาพฒั นาผู้เรยี น ร้อยละ 80 - 89 100.00

3.5 มีการแลกเปล่ียนเรยี นรแู้ ละใหข้ ้อมูลปอ้ นกลับ ดีเลศิ (87) ยอดเยี่ยม
เพ่อื ปรบั ปรุงและพฒั นาการจดั การเรียนรู้ รอ้ ยละ 80 - 89 100.00

๓. จุดเด่น
๓.๑ ครไู ดร้ บั โอกาสในการพฒั นาตนเองดา้ นวชิ าชพี อยา่ งต่อเนอื่ ง
3.๒ ครูนำเทคโนโลยีที่ทันสมัยมาใช้ในกระบวนการจัดการเรียนการสอนในชั้นเรียน เช่น

การใช้ Application , Google Form , Google sheet , Line , Facebook

๔. จุดที่ควรพัฒนา
๔.๑ พฒั นาชมุ ชนแหง่ การเรียนรูท้ างวชิ าชพี (PLC) ใหม้ ปี ระสิทธิภาพยง่ิ ขึ้น
๔.2 พัฒนากระบวนการวดั และประเมินผลท่ีหลากหลาย

๕. ร่องรอยหลักฐาน
๕.๑ แบบรายงานสรุปการนิเทศครูผ้สู อนตามแบบ ว ๒๑
๕.๒ แบบประเมนิ การสอนของครผู สู้ อน
๕.๓ แผนการจดั การเรยี นรขู้ องครูผู้สอนและบนั ทกึ หลงั การจัดการเรียนร้ขู องครผู ูส้ อน
๕.4 แบบรายงานผลสมั ฤทธ์ิของผู้เรยี น
๕.5 แบบสำรวจการสร้างและพฒั นาสือ่ นวัตกรรม เทคโนโลยที างการศกึ ษาของครผู ู้สอน
5.6 แบบเก็บข้อมูลการจัดระบบดูแลช่วยเหลือนกั เรยี น
๕.๙ แบบกำหนดการสอนของครผู ูส้ อน
๕.๑0 เอกสารประกอบการจัดการเรียนในชัน้ เรยี น
๕.๑๑ แบบรายงานวิจยั ในช้ันเรยี นของครูผูส้ อน
๕.๑๒ แบบรายงานการพัฒนาตนเอง (ID - Plan)
๕.๑๓ แบบรายงานการปฏิบตั ิงานของครผู ู้สอน
๕.๑๔ แบบรายงานสรุปการอบรมของครผู ู้สอน
๕.๑๕ แบบบันทึกชมุ ชนแหง่ การเรยี นรู้ทางวิชาชีพ

สว่ นท่ี 3

สรปุ ผลและแนวทางการพฒั นา

ผลการประเมินตนเองของสถานศึกษาถือเป็นข้อมูลสารสนเทศสำคัญที่สถานศึกษาจะต้องน ำไป
วิเคราะห์ สังเคราะห์ เพื่อสรุปนำไปสู่การเชือ่ มโยงหรือสะท้อนภาพความสำเร็จกับแผนพัฒนาคุณภาพการจัด
การศกึ ษาของสถานศึกษา และนำไปใชใ้ นการวางแผนพัฒนาคณุ ภาพการศึกษาของสถานศึกษา ดงั นน้ั จากผล
การดำเนินงานของสถานศึกษา สามารถสรุปผลการประเมินในภาพรวม และแนวทางการพัฒนาในอนาคต
เพื่อใหไ้ ด้มาตรฐานทีส่ งู ข้ึน ดังนี้

สรปุ ผล
1. คณุ ภาพผเู้ รยี น
๑.๑ ผลสัมฤทธทิ์ างการเรยี น
นักเรียนโรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 24 จังหวัดพะเยา มีความสามารถในการอ่าน

การเขียน การส่อื สาร และการคดิ คำนวณตามเกณฑ์ที่สถานศึกษากำหนดในแต่ละระดับชน้ั มคี วามสามารถใน
การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อการพัฒนาตนเองและสังคมในด้านการเรียนรู้ การสื่อสาร
การทำงาน อย่างสร้างสรรค์ และมีจริยธรรม และนักเรียนมีเจตคติที่ดีต่องานอาชีพ มีความรู้ ทักษะพื้นฐาน
ด้านงานอาชีพ เพื่อเป็นแนวทางในการประกอบอาชีพในอนาคตได้ พร้อมทั้งนักเรียนได้รับโอกาสในการเลือก
เรียนตามความถนัดและความสนใจเพื่อนำไปศึกษาตอ่ หรือประกอบอาชพี แต่ยังต้องการเพิ่มความสามารถใน
การอา่ น การเขยี น สอ่ื สาร คดิ คำนวณ ควรเพม่ิ กิจกรรมกดั กรองนกั เรียนทั้งระบบในการประเมินความสามารถ
ในการอ่าน การเขียน สื่อสาร คิดคำนวณ เพื่อการพัฒนาในจดที่ควรพัฒนา เพ่ิมความสามารถในการคิด
วิเคราะหค์ ิดอย่างมวี ิจารณญาณ อภิปรายแลกเปล่ียนความคิดเห็น และแก้ปัญหา ควรมกี ารนิเทศกำกับตดิ ตาม
สม่ำเสมอเพื่อนำผลไปพัฒนาในปีต่อไป เพิ่มความสามารถในการสร้างนวัดกรรมอาจเพิ่มในรูปแบบกลุ่มสาระ
การเรียนรู้เพื่อให้นักเรียนได้เรียนรู้และเข้าถึงกิจกรรมและการเรียนรู้ในรูปแบบนวัตกรรม และเพิ่มกิจกรรม
สง่ เสริมงานอาชีพควรหาจดุ เดนิ และความเป็นเอกลักษณ์ของงานอาชีพแตล่ ะอาชีพที่ชัดเจน

๑.๒ คณุ ลกั ษณะอันพึงประสงค์
นกั เรยี นโรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 24 จงั หวดั พะเยา มีคุณลักษณะและค่านิยมท่ีดีตามที่

กำหนดไว้ ในหลักสูตร คือ รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ ซื่อสัตย์สุจริต มีวินัย ไฝ่เรียนรู้ อยู่อย่างพอเพียง มุ่งม่ัน
ในการทำงาน รักความเป็นไทย มีจิตสาธารณะ มีทักษะการดำรงชีวิตในโรงเรียนประจำ และคุณลักษณะ
ตามอัตลักษณ์ของนักเรียนโรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 24 จังหวัดพะเยา คือ คุณธรรมดี มีภูมิปัญญาไทย
มคี วามภาคภูมิใจในท้องถิ่นและความเป็นไทย โดยมคี วามภาคภูมใิ จในวัฒนธรรมท้องถนิ่ ของตนเอง ได้เข้าร่วม
กิจกรรมหลักไตรรงค์ กิจกรรมวันสำคัญของ ชาติ ศาสนา และพระมหากษัตริย์ และร่วมอนุรักษ์วัฒนธรรม
ประเพณีทอ้ งถนิ่ ยอมรบั ทีจ่ ะอยู่รว่ มกันบนความแตกตา่ งที่หลากหลาย โดยอาศยั อยู่ในโรงเรยี นประจำอย่างไม่
สร้างปัญหา ไม่ทะเลาะวิวาทจนเกิดความขัดแย้ง เข้าร่วมกิจกรรมประเพณี และวัฒนธรรมทางชาติพันธ์ุ
รวมถึงการปฏิบัติตนอย่างเหมาะสมตามจารีตประเพณีที่ดีงาม และเกิดสุขภาวะทางร่างกาย และจิตสังคมที่ดี
เหมาะสมกับวัย คือ มีน้ำหนักส่วนสูงตามเกณฑ์การ เจริญโต มีสุขภาพจติที่ดี และร่วมกิจกรรมจิตอาสาตาม
โอกาสที่เหมาะสม แต่ยังต้องส่งเสริมและพัฒนานักเรียนบางกลุ่มที่ขาดความกระตือรือร้นในการเรียนรู้ และ
ขาดเป้าหมายในการดำรงชวี ิต กำกบั ดูแลการอยู่ร่วมกันหลากหลายชาติพันธ์ ท่ีอาจส่งผลให้นักเรียนบางส่วนมี
พฤติกรรมทไี่ ม่พึงประสงค์

๒. กระบวนการบรหิ ารและการจดั การ
โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 24 จังหวัดพะเยา มีเป้าหมาย วิสัยทัศน์ และพันธกิจไว้อย่าง

ชัดเจน สอดคลอ้ งกับบริบทของสถานศึกษา ความต้องการของชุมชน ท้องถ่นิ วตั ถุประสงค์ของแผนการศึกษา
แหง่ ชาติ นโยบายของรฐั บาลและของต้นสังกัด รวมทั้งทันต่อการเปลี่ยนแปลงของสังคม ผบู้ ริหารมีวิสยั ทัศน์ใน
การกระจายอำนาจให้ครูทีป่ ระสบการณ์ในการบรหิ ารจดั การสถานศึกษา ๑0 กลุ่มงาน และสามารถเชื่อมโยง
นโยบายสู่การปฏิบัติได้อย่างเป็นรูปธรรม ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ (ICT) ในการปฏิบัติงานที่ครอบคลุมภาระ
งาน มีการจัดจัดเก็บข้อมูลสารสนเทศ ในการดำเนินงานด้านต่าง ๆ ที่สามารถลดจำนวนกระดาษ เกิดความ
รวดเร็ว และมีประสิทธิภาพในการทำงาน มีการดำเนินงานพัฒนาวิซาการที่เน้นคุณภาพผู้เรียนรอบด้านตาม
หลักสูตรสถานศึกษาและทุกกลุ่มเป้าหมาย พัฒนาครูและบุคลากรให้มีความเชี่ยวชาญทางวิชาชีพ
จัดสภาพแวดล้อมทางกายภาพและสังคมที่เอื้อต่อการจัดการเรียนรู้ และจัดระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพ่ือ
สนับสนุนการบริหารจัดการและการจัดการเรียนรู้ แต่ยังต้องดำเนินการนิเทศ กำกับ ติดตาม ประเมินผลให้
ตอ่ เนอ่ื งยง่ั ยนื ย่ิงขึ้น

๓. กระบวนการจัดการเรยี นการสอนที่เนน้ ผเู้ รียนเปน็ สำคัญ
โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 24 จังหวัดพะเยา มีการพัฒนาหลักสูตรรายวิชาเพิ่มเติม

สำหรับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้นที่หลากหลาย ตรงตามความถนัดและความสนใจของผู้เรียนอย่างทั่วถึง
ครอบคลุมทุกกลุ่มเป้าหมาย มีการจัดทำหลักสูตรทวิศึกษา หลักสูตรอาชีพระยะสั้นและบันทึกข้อตกลงความ
ร่วมมือ (MOU) กับวิทยาลัยเทคนิคดอกคำใต้ ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) โรงเรียนมีการพัฒนา
หลักสูตรรายวิชาเพิ่มเติม สำหรับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลายที่หลากหลาย ตรงตามความถนัดและความสนใจ
ของผู้เรียนอย่างท่ัวถึงครอบคลุมทุกกลุ่มเป้าหมาย พร้อมทั้งครูได้รับโอกาสในการพัฒนาตนเองต้านวิชาชีพ
อย่างต่อเนื่อง ครูนำเทคโนโลยีที่ทันสมัยมาใช้ในกระบวนการจัดการเรียนการสอนในชั้นเรียน เช่น การใช้
Application , Google Form , Google sheet , Line , Facebook แต่ยังต้องพัฒนาชุมชนแห่งการเรียนรู้
ทางวิชาชพี (PLC) ให้มปี ระสิทธิภาพยิง่ ขึน้ พฒั นากระบวนการวิจยั มาใชใ้ นการแกป้ ัญหาด้านการจดั การเรียนรู้
ในชน้ั เรยี น และพัฒนากระบวนการวดั และประเมินผลท่ีหลากหลาย

แนวทางการพฒั นาสถานศึกษาในอนาคต
เพื่อพัฒนาคุณภาพการศึกษาและการบริหารจัดการของโรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 24

จังหวัดพะเยา ให้ดียิ่งขึ้นในปีการศึกษา 6๕๖4 โรงเรียนมีความจำเป็นต้องมีการขับเคลื่อนโครงการ/กิจกรรม
ท่นี ำไปส่เู ปา้ หมายตามวิสยั ทศั น์ พันธ์กจิ กลยทุ ธ์ และตัวชี้วัดความสำเรจ็ ของสถานศึกษา ซึง่ มรี ายละเอยี ดดงั นี้

๑. การพัฒนาคุณภาพผ้เู รียน
๑.๑ ดา้ นผลสัมฤทธ์ทิ างการเรยี นของผเู้ รียน
๑.๑.๑ การเพิ่มความสามารถในการอ่าน การเขียน สื่อสาร คิดคำนวณ ควรเพิ่มกิจกรรม

คัดกรองนักเรียนทั้งระบบในการประเมินความสามารถในการอ่าน การเขียน สื่อสาร คิดคำนวณ เพื่อการ
พัฒนาในจดุ ทคี่ วรพัฒนา

๑.๑.๒ การเพิ่มความสามารถในการคิดวิเคราะห์ คิดอย่างมีวิจารณญาณ อภิปราย
แลกเปล่ยี นความคิดเหน็ และแก้ปัญหา ควรมกี ารนิเทศกำกับติดตามสมำ่ เสมอเพื่อนำผลไปพฒั นาในปตี ่อไป

๑.๑.๓ การเพิ่มความสามารถในการสร้างนวัตกรรมอาจเพิ่มในรูปแบบกลุ่มสระการเรียนรู้
เพ่ือให้นกั เรียนไดเ้ รยี นรูแ้ ละเข้าถึงกิจกรรมและการเรยี นรู้ในรปู แบบนวัตกรรม

๑.๑.๔ การเพิ่มกิจกรรมส่งเสริมงานอาชีพควรหาจุดเด่นและความเป็นเอกลักษณ์ของงาน
อาชีพแต่ละอาชพี ทีช่ ดั เจน

1.๒ ด้านคณุ ลักษณะอันพึงประสงคข์ องผู้เรยี น
๑.๒.๑ ส่งเสริมและพัฒนานักเรียนบางกลุ่มที่ขาดความกระตือรือร้นในการเรียนรู้ และขาด

เป้าหมายในการดำรงชวี ิต
๑.๒.๒ การอยู่ร่วมกันหลากหลายชาติพันธ์ ส่งผลให้นักเรียนส่วนน้อยมีพฤติกรรมที่ไม่พึง

ประสงคเ์ ทา่ ทีค่ วร

2. การพัฒนากระบวนการบริหารและการจัดการ
2.1 ดำเนินการนเิ ทศ กำกบั ติดตาม ประเมนิ ผลใหต้ ่อเนอ่ื งย่ังยนื ย่ิงขน้ึ

3. การพัฒนากระบวนการจดั การเรยี นการสอนท่เี นน้ ผู้เรยี นเป็นสำคัญ
๓.๑ พัฒนาชุมชนแห่งการเรียนรูท้ างวชิ าชพี (PLC) ใหม้ ปี ระสิทธิภาพย่ิงขึน้
๓.๒ พฒั นากระบวนการวจิ ยั ในช้นั เรียนให้เป็นระบบ สามารถนำไปแก้ปัญหานกั เรียนได้จริง
๓.๓ พฒั นากระบวนการวัดและประเมนิ ผลท่หี ลากหลาย

ความโดดเดน่ ของสถานศึกษา

ผลสำเรจ็ ของนกั เรียน ด้านการส่งเสรมิ ความเปน็ เลศิ ทางวชิ าการ

โครงานวทิ ยาศาสตร์ กิจกรรม “Show &Share 2020 :สงิ่ ประดิษฐ์สมองกลฝังตัว” (แบบออนไลน์)
ระดบั ชน้ั มธั ยมศึกษาตอนปลาย (ระดับประเทศ) เร่ือง เครื่องให้อาหารไกอ่ ตั โนมตั ิ
ไดร้ บั รางวลั รองชนะเลิศอนั ดบั 2 เหรยี ญทอง

โครงานวิทยาศาสตร์ กิจกรรม “Show &Share 2020 :สิ่งประดิษฐส์ มองกลฝงั ตัว” (แบบออนไลน)์
ระดบั ช้นั มัธยมศกึ ษาตอนปลาย (ระดับประเทศ) เรอื่ ง ตู้ฟกั ไขร่ ะบบอตั โนมตั ิ
ได้รับรางวลั เหรียญทอง


Click to View FlipBook Version