The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by natchaphon, 2022-09-08 03:24:25

SAR64

SAR64_merged

(Self - Assessment Report : SAR)

ปกี ารศึกษา

สำนักงำนเขตพื้นท่กี ำรศึกษำมธั ยมศึกษำสุพรรณบรุ ี

รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา
(Self – Assessment Report : SAR)

ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๔

โรงเรยี นบ่อกรวุ ทิ ยา
ตำบลบ่อกรุ อำเภอเดมิ บางนางบวช จังหวดั สุพรรณบรุ ี

สำนักงานเขตพ้ืนทกี่ ารศกึ ษามธั ยมศกึ ษาสพุ รรณบรุ ี
สำนกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาข้ันพนื้ ฐาน
กระทรวงศกึ ษาธกิ าร

คำนำ

รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษาปีการศึกษา ๒๕๖๔ โรงเรียนบ่อกรุวิทยาฉบับน้ี
จัดทำข้ึนตามกฎกระทรวง การประกันคุณภาพการศึกษา พ.ศ. ๒๕๖๑ ข้อ ๓ ระบุให้สถานศึกษา
จดั สง่ รายงานผลการประเมนิ ตนเองให้แก่หนว่ ยงานต้นสงั กัดหรือหนว่ ยงานทกี่ ำกับดแู ลสถานศึกษาเป็น
ประจำทุกปีเพื่อรายงานผลการดำเนินงานตามมาตรฐานการศึกษาที่สะท้อนผลการพัฒนาคุณภาพ
การศึกษา ซึ่งเป็นผลสำเร็จจากการบริหารจัดการศึกษาที่สอดคล้องกับมาตรฐานการศึกษา ระดับ
การศึกษาขั้นพื้นฐาน ๓ มาตรฐานได้แก่คุณภาพของผู้เรียน กระบวนการบริหารและการจัดการ
กระบวนการจดั การเรียนการสอนทเ่ี น้นผูเ้ รียนเป็นสำคัญ เพื่อนำเสนรายงานผลการจัดการศึกษาในรอบ
ปีที่ผ่านมาต่อหน่วยงานต้นสังกัด หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ตลอดจนเผยแพร่ต่อสาธารณชนได้รับทราบ
และเตรียมความพร้อมในการรับการประเมินภายนอก โดยสำนักงานรับรองมาตรฐานการศึกษาและ
ประเมนิ คณุ ภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) ต่อไป

ขอขอบคณุ คณะครู ผูป้ กครอง นกั เรยี น คณะกรรมการสถานศกึ ษาขน้ั พนื้ ฐาน และ
ผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องทุกฝ่ายที่มีส่วนร่วมในการ จัดทำรายงานการ ประเมินตนเองของสถานศึกษาปี
การศึกษา ๒๕๖๔ ฉบับนี้ คณะผู้จัดทำหวังเป็นอย่างยิ่งว่าเอกสารรายงานฉบับนี้ จะเป็นประโยชน์ต่อ
การนำไปใชใ้ นการพัฒนาคณุ ภาพการศึกษาของโรงเรยี นบอ่ กรวุ ทิ ยา ในปกี ารศึกษา ๒๕๖๕ ต่อไป

...............................................
(นายวรรณดน สุขาทิพยพนั ธ์ุ)
ผ้อู ำนวยการโรงเรียนบ่อกรุวิทยา
วันที่ ๒๑ เมษายน ๒๕๖๕



สารบัญ

เรื่อง หนา้

ปกใน....................................................................................................................... ข

คำนำ ....................................................................................................................... ง

สารบญั ................................................................................................................... ๑

บทสรุปสำหรับผ้บู ริหาร ........................................................................................... ๒

ส่วนที่ ๑ ข้อมูลพืน้ ฐานของสถานศึกษา .................................................................. ๗
 ข้อมูลทั่วไป .........................................................................................................
 ขอ้ มลู ผ้บู ริหาร .................................................................................................... ๑๓
 ขอ้ มลู ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ................................................. ๑๓
 ข้อมูลนกั เรยี น .................................................................................................... ๑๕
 สรปุ ข้อมูลผลสัมฤทธิท์ างการเรียนระดบั สถานศกึ ษา ......................................... ๒๗
 ข้อมลู อาคารสถานที่ ........................................................................................... ๒๘
 ข้อมูลสภาพชุมชนโดยรวม ................................................................................. ๓๒
 โครงสรา้ งหลัดสตู รสถานศึกษา .......................................................................... ๓๕
 แหล่งเรียนรู้ภมู ิปญั ญาท้องถน่ิ ............................................................................
 ผลงานดเี ด่นในรอบปที ีผ่ า่ นมา ............................................................................ ๓๗
 ผลการประเมนิ คุณภาพภายในสถานศกึ ษาในปีที่ผา่ นมา ...................................
 ผลการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสาม .......................................................... ๓๘
 การนำผลการประเมินคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษามาใช้ในการปรบั ปรงุ ๔๒

และพัฒนาคุณภาพการศกึ ษาอยา่ งต่อเน่ือง ....................................................... ๔๒
 การพฒั นาคุณภาพการจดั การศกึ ษาตามแผนปฏบิ ัตกิ ารประจำปี ๔๒
๔๔
ของสถานศึกษา .................................................................................................. ๔๖
๔๘
สว่ นท่ี ๒ ผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา ..................................................... ๕๔
๖๗
ผลการประเมินคณุ ภาพภายในของสถานศกึ ษาตามมาตรฐานการศึกษา

ระดับการศึกษข้นั พ้นื ฐาน ...................................................................................

มาตรฐานที่ ๑ คุณภาพของผู้เรยี น ........................................................................

มาตรฐานที่ ๒ กระบวนการบรหิ ารและการจัดการ ...............................................

มาตรฐานท่ี ๓ กระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผูเ้ รียนเปน็ สำคัญ .............

สว่ นท่ี ๓ สรุปผล แนวทางการพัฒนา และความต้องการความช่วยเหลือ ................

สว่ นท่ี ๔ การปฏิบัติทเี่ ปน็ เลศิ ของสถานศึกษา .........................................................

ภาคนวก ..................................................................................................................



บทสรปุ สำหรบั ผู้บริหาร

ผูจ้ ดั ทำ : นายวรรณดน สุขาทพิ ยพันธ์ุ ผู้อำนวยการโรงเรียนบ่อกรุวิทยา

บทนำ

ช่ือโรงเรยี น บอ่ กรวุ ิทยา ทตี่ ้งั เลขที่ ๒๓๔/๓ หมู่ ๑ ตำบลบอ่ กรุ อำเภอเดิมบางนางบวช

จังหวัดสุพรรณบุรี สังกัด สำนักงานเขตพ้ืนที่การศกึ ษามัธยมศึกษาสุพรรณบุรี สำนักงานคณะกรรมการ

การศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ โทรศัพท์/โทรสาร : ๐๓๕-๕๗๕๑๙๑ อีเมล :

[email protected] เ ว ็ บ ไ ซ ต์ โ ร ง เ ร ี ย น http://www.borkruwittaya.ac.th

เปิดสอนระดับ ชั้นมัธยมศกึ ษาปที ี่ ๑ ถึงระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๖ และ ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ

ชนั้ ปที ี่ ๑ ถงึ ประกาศนียบตั รวชิ าชพี ชั้นปที ี่ ๓

- ผอู้ ำนวยการโรงเรยี น ช่อื – สกลุ นายวรรณดน สุขาทพิ ยพนั ธุ์

- จำนวนบคุ ลากรจำแนกตามประเภท/ตำแหน่ง และวฒุ ิการศึกษา

จำนวนบุคลากร (คน)

ประเภท/ตำแหนง่ ตำ่ กว่าปรญิ ญา ปริญญา ปริญญา ปริญญา รวม

ตรี ตรี โท เอก

๑. ผู้บริหารสถานศกึ ษา

- ผ้อู ำนวยการ ๑๑

- รองผู้อำนวยการ ๑๒

รวม ๒ ๒

๒. สายงานการสอน

- ข้าราชการครู ๑๒ ๙ ๑ ๒๒

- พนกั งานราชการ ๑ ๑

- อตั ราจา้ ง ๒๒

รวม - ๑๕ ๙ ๑ ๒๕

๓. สายงานสนับสนุน

- ข้าราชการ

- พนักงานจา้ งทั่วไป ๒ ๒

- ลูกจ้างประจำ ๑ ๑

- อ่ืน ๆ (ธรุ การ) ๑๑

รวม ๓ ๑ - -๓

รวมท้ังส้ิน ๓ ๑๖ ๙ ๑ ๒๙

- จำนวนนกั เรียนในโรงเรยี น ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๔ รวม ๔๑๘ คน



สภาพบรบิ ทโรงเรียนท่ีสะท้อนเอกลกั ษณ์ อตั ลักษณ์

๑) สภาพชุมชนรอบบริเวณโรงเรียนมีลักษณะ เป็นสังคมชนบท อยู่รวมกันเป็นครอบครัวมี
ประชากรประมาณ ๔,๐๐๐ คน บริเวณใกล้เคียงโดยรอบโรงเรียน ได้แก่ วัดบ่อกรุ วัดหนองกระทุ่ม
วัดทงุ่ กฐนิ เทศบาลตำบลบ่อกรุ องค์การบริหารสว่ นตำบลบ่อกรุ อาชพี หลักของชุมชน คอื เกษตรกรรม
โดยเฉพาะการทำไร่ อ้อย ส่วนใหญ่นับถือศาสนา พุทธ ประเพณี/ศิลปวัฒนธรรมท้องถิ่นที่เป็นที่รู้จัก
โดยทั่วไปได้แก่ประเพณียกธงสงกรานต์ ชาติพันธุข์ องคนในพื้นที่ เป็นลาวคร่ัง จึงมีวัฒนธรรมที่สืบทอด
กันมาคอื การแตง่ กายดว้ ยผา้ ซิ่นตีนแดง หรือผา้ ซน่ิ ตีนจก และภาษาลาวครงั่ ท่เี ป็นเอกลกั ษณ์ เป็นตน้

๒) ผู้ปกครองส่วนใหญ่ จบการศึกษาระดับชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี ๓ อาชีพหลัก คือ เกษตรกรรม
ส่วนใหญ่นับถือศาสนาพุทธ ฐานะทางเศรษฐกิจ/รายได้โดยเฉลี่ยต่อครอบครัว ต่อปี ๕๐,๐๐๐ บาท
จำนวนคนเฉลี่ยต่อครอบครัว ๕ คน

๓) โอกาสและข้อจำกัดของโรงเรยี น
- โรงเรียนอยู่ใกล้กับวัดบ่อกรุ มีศาลเจ้าพ่อดงไม้งาม และหลวงพ่อดำวัดบ่อกรุ เป็นเครื่องยึด
เหน่ยี วจติ ใจของประชาชนในหมู่บ้านบ่อกรุ
- โรงเรยี นไดร้ ับการสนบั สนนุ ช่วยเหลือจากเทศบาลตำบลบ่อกรุเพ่ือใช้ในการพฒั นาการศึกษา
- มีภูมิปัญญาท้องถิ่นที่เป็นแหล่งเรียนรู้ และมีชื่อเสียงระดับประเทศ คือ ผ้าทอมือ ผ้าซ่ิน
ตีนจก และผ้าขาวมา้ หลากสี เป็นตน้
- ชุมชนส่วนมากมีอาชีพเกษตรกรรม โดยเฉพาะการทำไร่อ้อย ไร่มัน และทำนา รายได้ส่วน
ใหญ่จงึ ไมแ่ นน่ อนข้นึ อยู่กับสภาพดินฟา้ อากาศในแต่ละปี
- ครอบครัวนักเรียนไม่สมบูรณ์ เนื่องจากบิดา-มารดาหย่าร้างกัน ทำให้บุตรอยูก่ ับปู่ย่าตายาย
ซง่ึ ชราภาพ
- ฐานะทางรอบครวั สว่ นมากมคี วามขดั สน บิดา-มารดามีอาชีพรับจา้ ง
- ผู้ปกครองไมม่ เี วลาให้กบั บตุ รหลาน เนอ่ื งจากภาวะเศรษฐกิจไม่พอเลยี้ งครอบครัว
- บิดา มารดาของนกั เรยี นไปทำงานทีอ่ ื่น จงึ มิไดอ้ ยดู่ แู ลนักเรยี น
โรงเรยี นอยู่ศนู ยก์ ลางของชมุ ชน มสี นามกีฬาท่ีสวยงาม จงึ เปน็ จุดท่ีชมุ ชนมาใช้งานเป็นประจำ
ทำให้ความสัมพันธ์และความร่วมมือช่วยเหลือระหว่างโรงเรียนกับชุมชนเป็นไปด้วยดี ทำให้ได้รับการ
ช่วยเหลือด้านงบประมาณในโครงการต่าง ๆ ทุกปี จากเทศบาลตำลบ่อกรุ นักเรียนที่มาเข้าเรียน
ผปู้ กครองสว่ นใหญ่มฐี านะยากจนและอย่หู ่างไกลจากโรงเรียน ผ้ปู กครองต้องประกอบอาชีพไม่มีเวลา
ให้กบั ลูกหลานและทางโรงเรียน ดงั นนั้ การสนับสนุนช่วยเหลือโรงเรียนโดยเฉพาะด้านงบประมาณจึงมี
จำกดั
สถานศึกษาได้ส่งเสรมิ ใหผ้ ู้เรียนบรรลุตามเป้าหมายวิสัยทัศน์ ปรัชญาและจดุ เน้นที่กำหนดข้ึน
โดยการจัดโครงการและกิจกรรมให้ผู้เรียนมีคุณธรรม จริยธรรม ส่งเสริมระเบียบวินัยนักเรียน พัฒนา
ศกั ยภาพผเู้ รียนตามมาตรฐานการศกึ ษา
ผู้เรียนเป็นผู้มีศีลธรรม คุณธรรม จริยธรรมมีระเบียบวินัย สามารถประพฤติตนได้เป็นอย่างดี
รักการอ่าน มีความใฝ่รู้ใฝ่เรียน รักการทำงาน มีทักษะการแสวงหาความรู้ด้วยตนเองจากแหล่งเรียนรู้
ตา่ ง ๆ รูจ้ กั ดูแลสขุ ภาพ มีสุขนสิ ยั สุขภาพกายและสุขภาพจิตท่ีดี มสี ัมมาคารวะ มีความซ่อื สัตย์ มีความ
รับผิดชอบรู้รักษ์ในศิลปะ วัฒนธรรม ประเพณีไทย และกล้าแสดงออกในเชิงสร้างสรรค์ มีความสนใจ



และเขา้ รว่ มกิจกรรมด้านกฬี า ดนตรี ศิลปะ อกี ท้งั ยงั เป็นผทู้ ร่ี ู้จักการปฏิบัติตนเพ่ือหลีกเลยี่ งภัยอันตราย
เบ้อื งตน้ ต่าง ๆ ตลอดจนภยั จากยาเสพตดิ และอบายมขุ

ครูมีความมุ่งมั่น มีความสามารถในการจัดการเรียนการสอน มีความรับผดิ ชอบ มีจรรยาบรรณ
ในวิชาชีพครู มีความสามารถและมีวุฒิการศึกษาตรงตามภาระหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย เข้ารับการ
อบรมพัฒนาความรู้อย่างต่อเนื่อง จัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญและส่งเสริมผู้เรียนให้
พัฒนาเต็มศักยภาพประเมินผลผู้เรียนตามสภาพจริง ครูใช้สื่อและนวัตกรรมทางเทคโนโลยีที่ทันสมัย
ทันต่อเหตุการณ์ในโลกยุคปัจจุบนั เอื้อต่อการเรียนรู้ของผู้เรียน และจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยมีการนำ
ภูมิปัญญาชาวบ้านเขา้ มามสี ่วนร่วมในการจัดการศึกษา

ผู้บริหารมีภาวะผู้นำสูง เป็นผู้ที่มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ มีวิสัยทัศน์ มีความมุ่งมั่นในการ
ทำงานและสามารถเป็นแบบอย่างท่ีดี เป็นที่ยอมรับทั้งในและนอกโรงเรียน มีการบริหารงานอย่างเป็น
ระบบสนับสนุนให้บุคลากรศึกษาต่อเพื่อพัฒนาตนเอง จัดให้มีระบบประเมินคุณภาพภายใน ส่งเสริม
ขวัญและกำลังใจในการปฏิบัติงาน มีโครงสรา้ งการบริหารและมอบหมายงานชัดเจน มีระบบการนิเทศ
ติดตาม และประเมินผลงานอย่างสม่ำเสมอ เปิดโอกาสให้ครูและชุมชนได้มีส่วนร่วมในการพัฒนา
โรงเรียน

ผลการประเมินตนเอง
๑. คณุ ภาพของสถานศึกษาอยูใ่ นระดับ ดเี ลศิ ทุกมาตรฐาน
๒. โรงเรียนบ่อกรุวิทยามีการจัดทำแผนพัฒนาคุณภาพเพื่อยกระดับคุณภาพให้ได้มาตรฐานท่ี
สูงขึ้น ทกุ โครงการทีจ่ ดั ทำบรรลตุ ามเปา้ หมายที่ต้งั ไว้ ทำให้มคี ณุ ภาพอยใู่ นระดบั ดีเลิศ ทุกมาตรฐาน
๓. โรงเรียนบ่อกรุวทิ ยามีจดุ เด่น จุดท่ีควรพฒั นา และข้อเสนอแนะเพื่อการพัฒนาคุณภาพ ดังน้ี

จุดเด่น
ดา้ นคุณภาพของผเู้ รยี น
ผู้เรียนส่วนใหญ่มีสขุ ภาพกายและสุขภาพจิตท่ีดี มีสุนทรียภาพ สืบสานการนำเพลงรำ

วงสุพรรณบุรีมาใช้ในการประกวดร่วมกับจังหวัดสุพรรณบุรี มีผลงานด้านศิลปะที่หลากหลายและ
สวยงาม เช่น การเขียนเครื่องเคลือบดินเผาด้วยลายน้ำทอง การวาดภาพในกิจกรรมต่าง ๆ เป็นต้น
มีคณุ ลกั ษณะสอดคล้องกับเอกลกั ษณ์ของสถานศกึ ษา คอื ยิม้ งา่ ย ไหว้สวย ช่วยเหลอื

ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนปีการศึกษา ๒๕๖๔ สูงขึ้นกว่าปีการศึกษา ๒๕๖๓
นกั เรยี นช้ันมัธยมศึกษาปีที่ ๓ นกั เรยี นชัน้ มัธยมศกึ ษาปที ่ี ๖ และระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพช้ันปีที่ ๓
จบการศกึ ษารอ้ ยละ ๑๐๐

ดา้ นกระบวนการบริหารและการจดั การ
ผู้บริหารมีภาวะผู้นำ มีความสามารถในการบริหารจัดการงานทั้ง ๔ กลุ่มงาน อย่าง

เปน็ ระบบมีความสัมพันธ์ท่ีดีกับชุมชน ได้รบั ความรว่ มมืออย่างดีจากคณะกรรมการสถานศึกษา มีการ
จดั สภาพแวดล้อมในโรงเรียนได้สวยงามสะอาดและถกู สขุ ลกั ษณะ

ด้านกระบวนการจดั การเรยี นการสอนท่เี นน้ ผู้เรยี นเป็นสำคญั
ครูมีความรับผดิ ชอบต้ังใจทำงานเน้นการจัดการเรยี นรู้แบบโครงงาน วิเคราะหข์ ้อมลู

ผู้เรียนเป็นรายบุคคล แล้วนำมาใช้ในการวางแผนการจัดการเรียนรู้ที่ท้าทายความสามารถของผู้เรียน
จดั บรรยากาศที่เอ้ือต่อการเรียนรู้ให้ผู้เรียนได้เรียนรู้จากประสบการณ์ตรง ฝกึ การปฏิบัติบันทึกหลังการ



สอนที่มีข้อมูลนำไปใช้ปรับปรุงการจัดการเรียนการสอน จัดสอนซ่อมเสริมพัฒนาผู้เรียนและจัดทำวิจัย
ในชั้นเรยี นเพอ่ื พฒั นากระบวนการจัดการเรยี นรูท้ ่เี น้นผเู้ รียนเปน็ สำคญั

จดุ ทคี่ วรพฒั นา
คุณภาพของผเู้ รียน
ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนของนักเรียนปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๔ สูงขนึ้ กวา่ ปีการศกึ ษา ๒๕๖๓

นกั เรียนชน้ั มัธยมศกึ ษาปีท่ี ๓ นักเรยี นชั้นมัธยมศกึ ษาปีที่ ๖ และระดับประกาศนียบตั รวิชาชีพชั้นปีที่ ๓
จบการศึกษาร้อยละ ๑๐๐ แต่การศึกษาต่อของนักเรียนยังไม่ครบทุกคน เนื่องจากสภาพความพร้อม
ของครอบครวั มีความขาดแคลนทนุ ทรพั ย์ ทีจ่ ะสง่ บุตรหลานเรยี นต่อในระดับมหาวิทยาลยั

ด้านกระบวนการบรหิ ารและการจดั การ
ไม่มี

ด้านกระบวนการจดั การเรียนการสอนที่เนน้ ผเู้ รียนเปน็ สำคัญ
การนำผลการประเมินแผนการจดั การเรียนรู้ การประเมินการจัดการเรียนรูไ้ ปพัฒนา

ครแู ตล่ ะคนยังไมเ่ ป็นระบบ

ข้อเสนอแนะ
คุณภาพของผเู้ รยี น
สถานศึกษาควรประชุมครูจัดทำแผนพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓

มัธยมศึกษาปีท่ี ๖ และระดับประกาศนยี บัตรวิชาชพี ช้นั ปีที่ ๓ จัดกจิ กรรมส่งเสริมให้ผเู้ รียนมีความใฝร่ ู้ โดย
จัดหาหนังสอื สง่ เสรมิ การคิดวิเคราะห์ให้หลากหลาย ฝึกฝนการเรียนรู้ด้วยตนเอง ตลอดจนสอบถามปัญหาและ
ความต้องการของผู้เรียน เพื่อให้นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๖ และระดับ
ประกาศนียบัตรวิชาชีพชน้ั ปีที่ ๓ ได้ศกึ ษาตอ่ มากข้ึน

ดา้ นกระบวนการบริหารและการจดั การ
ผู้บริหารจัดการบริหารการศึกษาตามบทบาทหน้าที่ได้อย่างมีประสิทธิภาพ แต่ควร

ส่งเสริมและสร้างบรรยากาศการทำงานให้คณะครูได้ใช้เทคโนโลยีในการจัดการเรียนการสอนเพื่อ
กระตุ้นความสนใจของผู้เรียนใหม้ ากขึ้น

ดา้ นกระบวนการจัดการเรียนการสอนท่เี น้นผเู้ รยี นเปน็ สำคญั
สถานศึกษาควรนำผลการประเมินแผนการจัดการเรียนรู้ ไปพัฒนาครูแต่ละคนให้

เขียนองค์ประกอบของแผนให้ครบตามหลักสูตรสถานศึกษาทั้งด้านความรู้ วัตถุประสงค์การเรียนรู้
เป้าหมาย สมรรถนะสำคญั ของผู้เรียน ใหค้ รูปรับปรงุ แผน วางแผนจดั การเรยี นรู้พัฒนาผเู้ รยี นให้มีทักษะ
การคิด การแก้ปัญหามากขึ้น โดยใช้กระบวนการจัดการเรียนรู้ให้หลากหลาย ได้แก่ การจัดการเรียนรู้
แบบกระบวนการแก้ปัญหา การตั้งคำถาม เช่น ปัญหาของเรื่องนี้คืออะไร จะมีวิธีแก้ปัญหาได้กี่วิธี การ
จัดการเรียนรู้แบบใช้ปัญหาเป็นฐาน การจัดการเรียนรู้แบบสร้างองค์ความรู้ โดยเปิดโอกาสให้ผู้เรียน
สงั เกตเพือ่ ให้มองเหน็ ปญั หาได้อย่างชดั เจน มปี ฏสิ ัมพันธ์กับผเู้ รียน แนะนำ ถามใหค้ ิดเพ่ือให้ค้นพบหรือ
สร้างความรู้ได้ด้วยตัวเอง สร้างแรงจูงใจใฝ่รู้ใฝ่เรียน ครูเป็นผู้ชี้แนะไม่ใช่ผู้ชี้นำ กระตุ้นให้ผู้เรียนคิด
มากกว่าการบอก ประเมินความคิดรวบยอดของผู้เรียน ตรวจสอบความคิดและทักษะการคิด ฝึกฝนให้
ผู้เรียนนำความรู้ไปประยุกต์ใช้ในกลุ่มสาระการเรียนรู้ที่มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนต่ำ ครูควรนำ



เทคโนโลยสี ารสนเทศมาใชเ้ พื่อเพิ่มประสิทธิภาพการเรียนการสอน เน้นให้นักเรียนได้ลงมือปฏิบัติสร้าง
ช้ินงานใหม้ ากขึ้น ครคู วรตรวจผลงานผู้เรียนโดยใหผ้ ู้เรียนแก้ไขข้อผิดพลาดทุกครั้งและควรวางเงื่อนไข
ทุกชิ้นงานอย่างชดั เจนให้ผเู้ รียนนำไปประเมนิ ความกา้ วหนา้ ของตนเอง และนำไปใช้ปรับปรงุ และพฒั นา
ตนเองเพื่อให้การวดั ผลประเมนิ ผลมีประสทิ ธภิ าพมากขึ้น

การปฏิบตั ิที่เป็นเลิศของสถานศึกษา (ความโดดเด่น)
ชอ่ื ผลงานที่เสนอประเมินความโดดเด่น (Best Practices) “BK SMARTER Model บอ่ เกดิ

แหง่ ความรู้ คคู่ วามด”ี

สรุปผลการประเมนิ คณุ ภาพภายในสถานศกึ ษา โรงเรยี นบอ่ กรุวิทยา ประจำปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๔
ตามที่โรงเรียนบ่อกรุวิทยา ได้ดำเนินการประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษา ประจำปี

การศึกษา ๒๕๖๔ ตามระบบการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ
โดยจัดทำรายงานประจำปีเสนอต่อหน่วยงานต้นสังกัด หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง และเสนอต่อสาธารณชน
เพื่อนำไปสู่การพัฒนาคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาและเพื่อรองรับการประเมินคุณภาพภายนอก
บัดนี้การดำเนินการประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษาเสร็จเรียบร้อยแล้ว จึงขอเสนอผลการประเมิน
คณุ ภาพภายในสถานศกึ ษา แสดงในตาราง สรุปผลไดด้ งั นี้

สรปุ ผลการประเมินภาพรวม
 กำลงั พัฒนา  ปานกลาง  ดี ✓ ดีเลศิ  ยอดเยีย่ ม

มาตรฐานการศึกษาระดบั การศกึ ษาขนั้ พ้ืนฐาน ระดับคุณภาพ
ดเี ลิศ
มาตรฐานท่ี ๑ คณุ ภาพของผ้เู รียน
๑.๑ ผลสมั ฤทธทิ์ างวชิ าการของผเู้ รยี น ดเี ลศิ
๑.๒ คุณลักษณะทีพ่ ึงประสงคข์ องผเู้ รียน ดเี ลศิ

มาตรฐานท่ี ๒ กระบวนการบริหารและการจดั การ

มาตรฐานท่ี ๓ กระบวนการจดั การเรยี นการสอนทเี่ นน้ ผู้เรียนเป็นสำคัญ





ส่วนท่ี ๑
ข้อมูลพืน้ ฐานของสถานศึกษา

๑. ข้อมูลท่วั ไป
ชือ่ โรงเรยี น บอ่ กรุวทิ ยา ท่ีต้ังเลขท่ี ๒๓๔/๓ หมู่ ๑ ตำบลบอ่ กรุ อำเภอเดิมบางนางบวช จงั หวัดสพุ รรณบรุ ี
รหัสไปรษณยี ์ ๗๒๑๒๐
สังกดั สำนกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขั้นพ้นื ฐาน
โทรศัพท์ ๐๓๕-๕๗๕๑๙๑ โทรสาร ๐๓๕-๕๗๕๑๙๑
e-mail : [email protected]
website : http://www.borkruwittaya.ac.th
เปดิ สอนระดับ ช้นั มัธยมศกึ ษาปที ี่ ๑ ถงึ ชัน้ มัธยมศกึ ษาปีท่ี ๖

และ ระดบั ประกาศนยี บัตรวิชาชีพช้ันปีที่ ๑ ถงึ ระดับประกาศนียบตั รวิชาชพี ชัน้ ปที ่ี ๓

๒. ข้อมูลผู้บรหิ าร
๑) ผู้อำนวยการโรงเรียน ชื่อ - สกุล นายวรรณดน สุขาทิพยพันธุ์ วุฒิการศึกษาสูงสดุ ปริญญาโท ศึกษา

ศาสตรมหาบณั ฑิต สาขาการบรหิ ารการศึกษา โทรศพั ท์ ๐๘๑-๙๐๗๔๔๔๓ อเี มล [email protected]
๒) รองผูอ้ ำนวยการโรงเรยี น (ตามมาตรฐานตำแหน่ง) จำนวน ๑ คน นางสาวฐิวนั กาญจณ์ วงษ์อำมาตร

วฒุ กิ ารศกึ ษาสูงสดุ ปรญิ ญาโท ครศุ าสตรมหาบัณฑติ สาขาการบริหารการศกึ ษา โทรศัพท์ ๐๙๗-๒๒๕๐๘๑๗ อีเมล
thiwankran๙๑๒๙@gmail.com

๓) ผู้ช่วยผู้อำนวยการ ชื่อ-สกุล นายปกรณ์สิทธิ์ อุ่นทรัพย์ วุฒิการศึกษาสูงสุด ปริญญาโท ศึกษาศาสตร
มหาบณั ฑติ สาขาบรหิ ารการศึกษา โทรศพั ท์ ๐๘๗-๑๖๖๙๙๗๙ อีเมล [email protected]

๔) ผู้ช่วยรองผู้อำนวยการ ชื่อ-สกุล นายมนัส อ่อนสำลี วุฒิการศึกษาสูงสุด ปริญญาตรี ครุศาสตรบัณฑิต
วิชาเอกอุตสาหกรรม โทรศพั ท์ ๐๘๑-๐๐๙๙๒๒๘ อีเมล [email protected]

๕) หัวหน้ากลมุ่ บริหารงาน จำนวน ๔ กลมุ่
๕.๑ ชื่อ-สกุล นายก้องภพ ธัญญเจริญ วุฒิการศึกษาสูงสุด ปริญญาตรี ศึกษาศาสตรบัณฑิต วิชาเอก

พลศึกษา โทรศัพท์ ๐๘๖-๐๒๘๗๒๙๑ อีเมล kongphop๙๙@hotmail.com รับผิดชอบหัวหน้ากลุ่มบริหารงาน
บคุ คล

๕.๒ ชื่อ-สกุล นายชัยวัฒน์ ภูผา วุฒิการศึกษาสูงสุด ปริญญาตรี ครุศาสตรบัณฑิต เอกสังคมศึกษา
โทรศพั ท์ ๐๙๐-๐๐๑๔๙๖๗ อเี มล [email protected] รับผิดชอบหวั หนา้ กลมุ่ บรหิ ารงานงบประมาณ

๕.๓ ชื่อ-สกุล นางสาวเบ็ญจมาศ รุ่งโรจน์ธีระ วุฒิการศึกษาสูงสุด ปริญญาโท ครุศาสตรมหาบัณฑิต
สาขาการบรหิ ารการศึกษา โทรศัพท์ ๐๘๖-๖๐๔๑๖๐๐ อีเมล [email protected] รับผดิ ชอบหัวหน้ากลุ่ม
บริหารงานทั่วไป

๕.๔ ชื่อ-สกุล นายณัชพล กาฬภักดี วุฒิการศึกษาสูงสุด ปริญญาเอก ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขา
เทคโนโลยสี ารสนเทศคุณภาพ โทรศัพท์ ๐๘๙-๘๓๖๙๓๒๓ อีเมล [email protected] รบั ผดิ ชอบ
หัวหน้ากลมุ่ บรหิ ารงานวชิ าการ



๓. ขอ้ มูลข้าราชการครแู ละบคุ ลากรทางการศกึ ษา
๓.๑ ข้าราชการครู พนักงานราชการ อัตราจา้ ง
ขา้ ราชการครู

ที่ ชอื่ – ช่ือสกลุ อายุ อายุ ตำแหน่ง วุฒิ วชิ าเอก สอนวชิ า/ชน้ั ภาระงานสอน
ราชการ /วทิ ย (ชม./สัปดาห)์
ฐานะ

๑ นายวรรณดน สขุ าทพิ ยพนั ธ์ุ ๓๖ ๑๓ คศ.๓ ป.โท บรหิ ารฯ - ๑๐
๒๕.๕
๒ นางสาวฐิวนั กาญจณ์ วงษ์อำมาตร ๓๕ ๗ คศ.๑ ป.โท บริหารฯ - ๑๗.๕
๒๙
๓ นายปกรณส์ ทิ ธ์ิ อุ่นทรพั ย์ ๖๐ ๓๘ คศ.๓ ป.โท บริหารฯ คณติ ศาสตร์ ๑๗.๕
๑๙
๔ นายมนสั ออ่ นสำลี ๕๙ ๓๗ คศ.๓ ป.ตรี อุตสาหกรรม การงานฯ
๕ นายณัชพล กาฬภักดี ๕๘ ๓๖ คศ.๓ ป.เอก เทคโนโลยีฯ คอมพวิ เตอร์ ๑๘.๕

๖ นางษิชณาก์ สวา่ งพนื้ ๕๙ ๓๖ คศ.๓ ป.โท บรหิ ารฯ สงั คมฯ ๒๐
๑๙
๗ นางสมหมาย ศรสี ขุ ๖๐ ๓๒ คศ.๓ ป.ตรี ภาษาองั กฤษ ภาษาอังกฤษ ๑๘

๘ นางสาวนนั ทิยา เอกคณาปราชญ์ ๔๗ ๒๑ คศ.๒ ป.โท การสอน ภาษาไทย ๑๘
ภาษาไทย
๒๐.๕
๙ นางสาวปนดา เพ็งรกั ษ์ ๕๓ ๑๓ คศ.๒ ป.โท คณิตศาสตร์ คณติ ศาสตร์
๒๕
๑๐ นางสาวเบญ็ จมาศ รุ่งโรจน์ธีระ ๔๕ ๑๑ คศ.๒ ป.โท บรหิ ารฯ เคมี
๒๐.๕
๑๑ นายกอ้ งภพ ธัญญเจริญ ๓๘ ๑๑ คศ.๒ ป.ตรี พลศกึ ษา พลศึกษา ๑๗
๒๗
๑๒ ว่าทีร่ ้อยตรีหญงิ บุษปศร ๓๕ ๘ คศ.๑ ป.โท บรหิ ารฯ คณิตศาสตร์ ๑๖
กาฬภักดี ๑๘.๕

๑๓ นางสาวอรอุมา น่ิงกลาง ๓๔ ๗ คศ.๑ ป.ตรี ชีวะฯ ชวี ะฯ ๑๓
๑๕
๑๔ ว่าท่ีรอ้ ยตรหี ญิง เรอื นขวญั ๓๐ ๕ คศ.๑ ป.โท เทคโนโลยี คอมพิวเตอร์ ๑๘
พลฤทธิ์ ๒๙ ๕ การศกึ ษา
๑๗
๑๕ นายเอกราช พาชัย คศ.๑ ป.ตรี ฟิสกิ ส์ ฟสิ กิ ส์

๑๖ นายจกั รพันธุ์ จติ รเพช็ ร์ ๒๘ ๕ คศ.๑ ป.ตรี ภาษาไทย ภาษาไทย

๑๗ นางธญั ญาเรศ จลุ ปานนท์ ๒๘ ๔ คศ.๑ ป.ตรี คอมพิวเตอร์ คอมพวิ เตอร์

๑๘ นายชัยวฒั น์ ภูผา ๒๙ ๕ คศ.๑ ป.ตรี สงั คมฯ สังคมฯ
๑๙ นางสาวณฐั ธิดา สัญชานนั ท์ ๒๙ ๔ คศ.๑ ป.ตรี วทิ ยาสาสตร์ วิทยาศาสตร์

๒๑ นางสาวมนัสนนั ท์ บุญเกิด ๔๖ ๔ คศ.๑ ป.โท บรหิ ารฯ คณิตศาสตร์

๒๒ วา่ ทร่ี ้อยตรีกฤษฎา ณ พทั ลุง ๔๖ ๒ คศ.๑ ป.ตรี ภาษาองั กฤษ องั กฤษ

๒๓ นางสนุ นั ทา พนั ธมุ ติ ร ๕๕ ๒๖ คศ.๓ ป.ตรี คหกรรม การงานฯ

๒๔ นายกัณฐภษ พาทยโฆษติ ๔๑ ๘ คศ.๑ ป.ตรี ดนตรศี ึกษา ศิลปะ

๒๕ นายวิทยา แกว้ เปย่ี ม ๕๐ ๒ ครู ป.โท พลศึกษา พลศึกษา
ผชู้ ว่ ย



พนกั งานราชการ/ครอู ัตราจา้ ง

ท่ี ชอ่ื – ชื่อสกลุ อายุ ตำแหน่ง วุฒิ สาขา ปฏบิ ัติหน้าท่ี จ้างด้วยเงิน

๑ นายศวิ กานต์ ทองไพรวรรณ ๓๙ พนักงาน ป.ตรี เกษตร ครู งบประมาณ

ราชการ

๒ นางสาวจุฑามาศ กาฬภกั ดี ๔๐ ครอู ตั ราจา้ ง ป.ตรี คหกรรม ครู ระดมทรพั ยฯ์

๓ นางสาวขวญั ฤทยั สนิ สอน ๒๕ ครอู ตั ราจา้ ง ป.ตรี คอมพวิ เตอร์ ครู งบประมาณ

๔ ครตู า่ งชาติ (Pema) ๔๐ ครอู ตั ราจา้ ง ป.ตรี ภาษาองั กฤษ ภาษาองั กฤษ ระดมทรพั ยฯ์

จำนวนครูทส่ี อนวชิ าตรงเอก ๒๕ คน คิดเป็นร้อยละ ๑๐๐ จำนวนครทู ่ีสอนตรงความถนัด - คน คดิ เปน็ ร้อยละ -

๓.๒ ข้าราชการ /พนกั งานจา้ ง /ลูกจ้าง (สนับสนนุ การสอน)

ท่ี ชือ่ – ช่ือสกุล อายุ ตำแหนง่ วฒุ ิ สาขา ปฏบิ ตั หิ นา้ ท่ี จา้ งดว้ ยเงนิ

๑ นางสาวอารรี ตั น์ รอดมาดี ๓๕ พนักงาน ป.ตรี บรหิ ารธุรกจิ ธุรการ งบประมาณ

๒ นางสาววรรตั น์ ภผู า ๓๐ พนกั งาน ม.๖ เจา้ หน้าท่ี ระดมทรพั ยากร
๓ นายสาเรงิ ขาวขา ๕๘ ลูกจา้ งประจา ม.๖ พนกั งานขบั รถ งบประมาณ

๔ นายอนัตพร จนั ทรพกั ดี ๓๕ พนกั งาน ม.๖ นกั การภารโรง ระดมทรพั ยากร



๓.๓ สรุปจำนวนบคุ ลากร
๓.๓.๑ จำนวนบุคลากรจำแนกตามประเภท/ตำแหน่ง และวุฒิการศึกษา

ประเภท/ตำแหนง่ จำนวนบคุ ลากร (คน) ปริญญาเอก รวม
ต่ำกว่าปริญญาตรี ปริญญาตรี ปรญิ ญาโท
๑. ผู้บริหารสถานศกึ ษา
- ผู้อำนวยการ ๑๑
- รองผ้อู ำนวยการ ๑๒
รวม ๒ ๒
๒. สายงานการสอน
- ขา้ ราชการครู ๑๒ ๙ ๑ ๒๒
- พนกั งานราชการ ๑ ๑
- อัตราจา้ ง ๒ ๒
๑๕ ๙
รวม - ๑ ๒๕

๓. สายงานสนบั สนนุ ๒ ๒
๑ ๑
- ขา้ ราชการ ๑๑
- พนกั งานจา้ งทว่ั ไป ๓ ๑ - -๓
- ลกู จ้างประจำ
- อนื่ ๆ (ธรุ การ)

รวม

รวมทั้งส้นิ ๓ ๑๖ ๙ ๑ ๒๙

จานวนบุคลากร

๔%
๑๐%

๓๑% ต่ำกวำ่ ปริญญำตรี
๕๕% ปรญิ ญำตรี
ปริญญำโท
ปริญญำเอก

๓.๓.๒ จำนวนครจู ำแนกตามกลุ่มสาระการเรยี นรู้ ๕

กล่มุ สาระการเรยี นรู้ จำนวน คิดเปน็ รอ้ ยละ จำนวนชว่ั โมงสอนเฉลี่ย
ชวั่ โมง/สัปดาห์
ภาษาไทย ๒ ๘.๐
คณติ ศาสตร์ ๔ ๑๖.๐ ของครภู ายในกลุ่มสาระฯ
วิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ๔ ๑๖.๐ ๑๘
สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ๒ ๘.๐ ๒๒
สขุ ศกึ ษาและพลศึกษา ๒ ๘.๐ ๒๕
ศลิ ปะ ๑ ๔.๐ ๒๕
การงานอาชพี ๔ ๑๖.๐ ๑๒
ภาษาตา่ งประเทศ ๒ ๘.๐ ๑๘
คอมพวิ เตอร์+ปวช. ๔ ๑๖.๐ ๑๒
รวมครูผูส้ อนทกุ กลุ่มสาระการเรียนรู้ ๒๕ ๑๐๐ ๒๖
๔๑
จานวนบุคลากรแยกตามกลุม่ สาระฯ ๑๙๙

คอมพิวเตอร+์ ปวช. ภาษาไทย ภาษาไทย
๑๖% ๘%
คณติ ศาสตร์
ภาษาตา่ งประเทศ คณิตศาสตร์
๘% ๑๖% วิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี

การงานอาชีพ วทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี สังคมศกึ ษา ศาสนา และ
๑๖% ๑๖% วฒั นธรรม
สขุ ศึกษาและพลศึกษา
สังคมศกึ ษา ศาสนา และ
ศลิ ปะ
ศลิ ปะ วัฒนธรรม
๔% ๘% การงานอาชพี

สุขศกึ ษาและพลศึกษา ภาษาต่างประเทศ
๘%
คอมพวิ เตอร์+ปวช.



๔. ขอ้ มูลนักเรียน (ณ วนั ท่ี ๑๐ มิถุนายน ๒๕๖๔)
จำนวนนักเรยี นในโรงเรียน ปีการศกึ ษา ๒๕๖๔ รวม ๔๑๘ คน จำแนกตามระดบั ชั้นทเ่ี ปิดสอนดงั น้ี

ระดบั ช้ันเรยี น จำนวนห้อง เพศ รวม เฉลย่ี ต่อห้อง
ชาย หญงิ
ม.๑
ม.๒ ๒ ๓๓ ๓๔ ๖๗ ๓๓.๕
ม.๓
รวม ๒ ๓๓ ๓๐ ๖๓ ๓๑.๕
ม.๔
ม.๕ ๒ ๔๑ ๓๑ ๗๒ ๓๖
ม.๖
รวม ๖ ๑๐๗ ๙๕ ๒๐๒ ๓๓.๖๗

ปวช.๑ ๑ ๑๓ ๒๐ ๓๓ ๓๓

ปวช.๒ ๑ ๗ ๑๙ ๒๖ ๒๖

ปวช.๓ ๑ ๘ ๑๖ ๒๔ ๒๔

รวม ๓ ๒๘ ๕๕ ๘๓ ๒๗.๖๗

๑ ๒๕ ๑๙ ๔๔ ๔๔

๑ ๑๗ ๒๗ ๔๔ ๔๔

๑ ๒๕ ๒๐ ๔๕ ๔๕

๓ ๖๗ ๖๖ ๑๓๓ ๔๔.๓๓

รวมทั้งหมด ๑๒ ๒๐๒ ๒๑๖ ๔๑๘ ๓๔.๘๓

จำนวนเด็กพิเศษในโรงเรยี น ชาย - คน หญงิ - คน รวม จำนวน - คน
อัตราสว่ นนักเรยี น : ครู = ๑๗ : ๑ ✓ เป็นไปตามเกณฑ์ ไมเ่ ปน็ ไปตามเกณฑ์

จานวนนักเรียนแยกตามระดับชนั้

๘๐ ๗๒

๗๐ ๖๗
๖๓

๖๐

๕๐ ๔๔ ๔๔ ๔๕

๔๐ ๓๓
๓๐ ๒๖ ๒๔

๒๐

๑๐


ม.๑ ม.๒ ม.๓ ม.๔ ม.๕ ม.๖ ปวช.๑ ปวช.๒ ปวช.๓



๕. ข้อมูลผลสัมฤทธิ์ทางการเรยี นระดับสถานศกึ ษา ปกี ารศึกษา ๒๕๖๔

ระดับการศึกษาขั้นพนื้ ฐาน

กลมุ่ สาระการ จำนวน จำนวนนักเรียนทีไ่ ด้ผลการเรียน ผลการ นักเรยี นที่ได้

เรียนรู้ นกั เรียน ๔ ๓.๕ ๓ ๒.๕ ๒ ๑.๕ ๑ เรยี น S.D ๓ ขึน้ ไป

๐ รวม เฉล่ีย จำนวน รอ้ ยละ

ภาษาไทย ๕๔๙ ๑๒๖ ๗๔ ๙๓ ๖๔ ๑๑๙ ๓๒ ๔ ๐ ๕๑๒ ๒.๙๑ ๔๘.๕๙ ๒๙๓ ๕๗.๒๓

คณติ ศาสตร์ ๕๔๙ ๑๘๓ ๙๙ ๗๕ ๔๓ ๕๑ ๒๙ ๓๕ ๑ ๕๑๖ ๓.๐๘ ๕๖.๒๕ ๓๕๗ ๖๙.๑๙

วทิ ยาศาสตรแ์ ละ ๙๓๘ ๒๐๕ ๑๐๔ ๑๐๘ ๑๑๖ ๑๒๘ ๗๓ ๘๗ ๕ ๘๒๖ ๒.๗๒ ๕๖.๐๔ ๔๑๗ ๕๐.๔๘

เทคโนโลยี

สังคมศกึ ษาฯ ๑,๖๐๑ ๕๔๓ ๒๖๑ ๒๖๖ ๑๓๓ ๒๑๗ ๔๑ ๕๓ ๒๐ ๑,๕๓๔ ๓.๑๑ ๑๗๒.๙๐ ๑,๐๗๐ ๖๙.๗๕

สุขศึกษาฯ ๕๔๙ ๓๐๖ ๑๐๗ ๗๘ ๑๙ ๑๖ ๑ ๐ ๑ ๕๒๘ ๓.๖๒ ๑๐๔.๘๔ ๔๙๑ ๙๒.๙๙

ศลิ ปะ ๕๔๙ ๑๙๑ ๓๔ ๔๘ ๑๑๙ ๕ ๑๔๔ ๐ ๐ ๕๔๑ ๒.๘๗ ๗๓.๙๕ ๒๗๓ ๕๐.๔๖

การงานอาชีพ ๕๔๙ ๒๑๔ ๕๗ ๙๖ ๓๙ ๗๔ ๑๔ ๔๕ ๖ ๕๔๕ ๓.๐๔ ๖๕.๘๙ ๓๖๗ ๖๗.๓๔

ภาษาตา่ งประเทศ ๕๔๙ ๑๑๗ ๙๗ ๘๖ ๕๔ ๕๖ ๓๖ ๑๐๑ ๐ ๕๔๗ ๒.๖๘ ๓๘.๙๙ ๓๐๐ ๕๔.๘๔

รวม ๕,๘๓๓ ๑๘๘๕ ๘๓๓ ๘๕๐ ๕๘๗ ๖๖๖ ๓๗๐ ๓๒๕ ๓๓

รอ้ ยละ ๑๐๐ ๓๒.๓๒ ๑๔.๒๘ ๑๔.๕๗ ๑๐.๐๖ ๑๑.๔๒ ๖.๓๔ ๕.๕๗ ๐.๕๗

ร้อยละของนักเรยี น

ผลการเรยี นระดบั ดี (๓) ขน้ึ ไป ๖๑.๑๗

ผ่านเกณฑข์ นั้ ต่า (๑) ถงึ ๓๓.๔๐
ค่อนขา้ งดี (๒.๕)

ไม่ผา่ นการประเมนิ ๐.๕๗



๑) ร้อยละของนกั เรียนท่มี เี กรดเฉลีย่ ผลสัมฤทธ์ิทางการเรยี นแต่ละรายวชิ าในระดับ ๓ ข้ึนไป ระดบั ชัน้
มธั ยมศกึ ษาปีท่ี ๑ – ๖ ปีการศึกษา ๒๕๖๔
รายวิชา (พืน้ ฐาน)

ระดบั ช้นั
ภาษาไทย
คณิตศาสตร์
ิวทยาศาสตร์
และเทคโนโลยี
สังคมศึกษา ฯ
ภาษาอังกฤษ
สุขศึกษาและ
พลศึกษา
ศิลปะ
การงานอา ีชพ

ม.๑ ๕๖ ๕๗ ๑๓๗ ๒๙๐ ๖๕ ๑๒๓ ๖๓ ๗๙
ม.๒ ๓๗ ๔๔ ๗๗ ๑๘๘ ๕๑ ๑๑๗ ๓๐ ๗๐
ม.๓ ๖๑ ๑๒๖ ๗๗ ๑๘๒ ๖๓ ๑๐๙ ๔๘ ๗๖
รวม ๑๕๔ ๒๒๗ ๒๙๑ ๖๖๐ ๑๗๙ ๓๔๙ ๑๔๑ ๒๒๕
ม.๔ ๕๔ ๕๒ ๔๔ ๑๗๗ ๔๔ ๕๒ ๔๔ ๕๔
ม.๕ ๔๒ ๔๒ ๓๘ ๑๔๕ ๓๙ ๔๕ ๔๒ ๔๗
ม.๖ ๔๓ ๓๖ ๔๔ ๘๘ ๓๘ ๔๕ ๔๖ ๔๑
รวม ๑๓๙ ๑๓๐ ๑๒๖ ๔๑๐ ๑๒๑ ๑๔๒ ๑๓๒ ๑๔๒
ร้อยละ ๘๗.๙๗ ๘๔.๙๗ ๘๒.๔๘ ๙๕.๓๕ ๗๖.๕๘ ๙๓.๔๒ ๘๘.๗๕
๘๖.๘๔

แผนภมู แิ สดงรอ้ ยละของนักเรยี นที่มเี กรดในระดบั ๓ ขึน้ ไป
ระดับมธั ยมศึกษาตอนตน้ และระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย ปกี ารศึกษา ๒๕๖๔

100 95.35 ๙ ๙๓.๒๔

87.97 84.97 86.84 88.75

90 82.48

76.58
80

70 62.53 59.78 58.45
60 36.25
50 43.5 43.18 46.02
40

30

20

10

0

มธั ยมศกึ ษำตอนตน้ มธั ยมศกึ ษำตอนปลำย



๒) ร้อยละของนักเรียนท่มี ีผลการประเมินการอ่าน คดิ วิเคราะห์ และเขียน ในระดับดี ขน้ึ ไป
ระดับชน้ั มธั ยมศึกษาปีที่ ๑ ถงึ ระดบั ชน้ั มัธยมศกึ ษาปีท่ี ๖ ปกี ารศึกษา ๒๕๖๔

ระดบั ชน้ั จำนวน ผลการประเมนิ ระดับดี ร้อยละ
นักเรียน ไมผ่ ่าน ผา่ น ดี ขึน้ ไป
ม.๑ ดีเยย่ี ม
ม.๒
ม.๓ ๖๗ ๗ ๖๐ ๖๗ ๑๐๐
รวม
ม.๔ ๖๓ ๕ ๕๘ ๖๓ ๑๐๐
ม.๕
ม.๖ ๗๒ ๓ ๖๙ ๗๒ ๑๐๐
รวม
๒๐๒ ๑๕ ๑๘๗ ๒๐๒ ๑๐๐
๑๐๐
๙๐ ๓๓ ๓๓ ๓๓ ๑๐๐
๘๐
๗๐ ๒๖ ๒๖ ๒๖ ๑๐๐
๖๐
๕๐ ๒๔ ๒๔ ๒๔ ๑๐๐
๔๐
๓๐ ๘๓ ๘๓ ๘๓ ๑๐๐
๒๐
๑๐ รอ้ ยละนกั เรียนทีม่ ผี ลการอ่าน คิดวเิ คราะห์ และเขียน ระดบั ดขี ้ึนไป
๐ ระดับมธั ยมศึกษาปีท่ี ๑ ถึง ระดบั มธั ยมศกึ ษาปที ี่ ๖ ปีการศกึ ษา ๒๕๖๔

๑๐๐ ๑๐๐ ๑๐๐ ๑๐๐ ๑๐๐ ๑๐๐

ม.1 ม.2 ม.3 ม.4 ม.5 ม.6

๑๐

๓) ร้อยละของนักเรยี นท่มี ีผลการประเมินคุณลักษณะอนั พึงประสงค์ ในระดับดี ขึน้ ไป
ระดบั ชั้นมธั ยมศึกษาปีที่ ๑ ถงึ ระดับช้นั มัธยมศึกษาปีท่ี ๖ ปีการศึกษา ๒๕๖๔

ระดับช้นั จำนวน ผลการประเมนิ ระดบั ดี ร้อยละ
นักเรยี น ผ่าน ดี ดเี ยี่ยม ขนึ้ ไป
ไมผ่ า่ น ๖๗ ๖๗ ๑๐๐
๖๓ ๖๓ ๑๐๐
ม.๑ ๖๗ ๗๒ ๗๒ ๑๐๐
ม.๒ ๖๓ ๒๐๒ ๒๐๒ ๑๐๐
ม.๓ ๗๒ ๓๓ ๓๓ ๑๐๐
รวม ๒๐๒ ๒๖ ๒๖ ๑๐๐
ม.๔ ๓๓ ๒๔ ๒๔ ๑๐๐
ม.๕ ๒๖ ๘๓ ๘๓ ๑๐๐
ม.๖ ๒๔
รวม ๘๓

รอ้ ยละของนกั เรียนทมี่ ผี ลการประเมนิ คณุ ลักษณะอันพึงประสงค์ ในระดบั ดี ข้นึ ไป
ระดบั ช้ันมัธยมศกึ ษาปที ี่ ๑ ถงึ ระดบั ชัน้ มัธยมศึกษาปีที่ ๖ ปีการศกึ ษา ๒๕๖๔

๑๐๐ ๑๐๐ ๑๐๐ ๑๐๐ ๑๐๐ ๑๐๐
๑๐๐

๙๐

๘๐

๗๐

๖๐

๕๐

๔๐

๓๐

๒๐

๑๐


ม.1 ม.2 ม.3 ม.4 ม.5 ม.6

๑๑

๔) รอ้ ยละของนักเรยี นทีม่ ีผลการประเมนิ สมรรถนะสำคญั ตามหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาข้ันพื้นฐาน
พุทธศักราช ๒๕๕๑ ปกี ารศึกษา ๒๕๖๔ ของผ้เู รยี นชนั้ มัธยมศกึ ษาปีที่ ๓ ในระดบั ผ่านขึน้ ไป

สมรรถนะสำคัญ ผลการประเมิน ระดบั ดี ร้อยละ
ผ่าน ดี ขน้ึ ไป ๑๐๐
ไม่ผา่ น ดเี ย่ียม ๑๐๐
๑๐๐
๑. ความสามารถ ๒ ๗๐ ๗๒ ๑๐๐
ในการส่ือสาร ๑๐๐
๑๐๐
๒. ความสามารถ ๖ ๖๖ ๗๒
ในการคดิ

๓. ความสามารถ ๖ ๖๖ ๗๒
ในการแก้ปัญหา

๔. ความสามารถใน ๗๒ ๗๒

การใชท้ กั ษะชวี ติ

๕. ความสามารถใน ๖ ๖๖ ๗๒
การใช้เทคโนโลยี

รวม ๒๐ ๓๓๐ ๓๕๐

ร้อยละของนักเรียนที่มีผลการประเมินสมรรถนะสาคัญตามหลักสูตร

แกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐานพุทธศักราช ๒๕๕๑

ปีการศึกษา ๒๕๖๔ ของผู้เรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓ ในระดับผ่านข้ึนไป
๑๐๐ ๑๐๐
๑๐๐ ๑๐๐ ๑๐๐

๑๐๐

๙๐

๘๐

๗๐

๖๐

๕๐

๔๐

๓๐

๒๐

๑๐



๑๒

๕) ร้อยละของนักเรยี นทม่ี ีผลการประเมินสมรรถนะสำคญั ตามหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐาน
พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ ปีการศึกษา ๒๕๖๔ ของผ้เู รียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๖ ในระดบั ผา่ นขึน้ ไป

สมรรถนะสำคัญ ผลการประเมิน ระดบั ดี ร้อยละ
ดีเยีย่ ม ขึ้นไป ๑๐๐
ไม่ผ่าน ผ่าน ดี ๒๔ ๒๔ ๑๐๐
๑๐๐
๑. ความสามารถ ๒๔ ๒๔ ๑๐๐
๑๐๐
ในการสื่อสาร ๒๔ ๒๔ ๑๐๐

๒. ความสามารถ ๒๔ ๒๔

ในการคิด ๒๔ ๒๔

๓. ความสามารถ ๑๒๐ ๑๒๐

ในการแก้ปญั หา

๔. ความสามารถใน

การใช้ทกั ษะชีวิต

๕. ความสามารถใน

การใช้เทคโนโลยี

รวม

ร้อยละของนักเรียนท่ีมีผลการประเมินสมรรถนะสาคัญตามหลักสูตร

แกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐานพุทธศักราช ๒๕๕๑

ปีการศึกษา ๒๕๖๔ ของผู้เรียนช้ันมัธยมศึกษาปีที่ ๖ ในระดับผ่านข้ึนไป
๑๐๐ ๑๐๐
๑๐๐ ๑๐๐ ๑๐๐

๑๐๐

๙๐

๘๐

๗๐

๖๐

๕๐

๔๐

๓๐

๒๐

๑๐



๑๓

๖) ข้อมูลนักเรยี นด้านอนื่ ๆ

ท่ี รายการ จำนวน (คน) คดิ เป็นร้อยละ
๑ จำนวนนักเรียนมีน้ำหนกั ส่วนสงู และสมรรถภาพทางกายตาม ๒๙๒ ๖๙.๘๕

เกณฑ์ รวมทั้งรจู้ กั ดูแลตนเองใหม้ คี วามปลอดภัย ๓๘๕ ๙๒.๑๑
๒ จำนวนนักเรียนทปี่ ลอดจากปัญหาทางเพศ ยาเสพติดและส่ิงมอม
--
เมา เชน่ สุรา บุหร่ี เครื่องด่มื แอลกอฮอล์ เกม ฯลฯ ๔๑ ๙.๘
๓ จำนวนนกั เรยี นทีม่ ีความบกพร่องทางรา่ งกาย/เรยี นร่วม --
๔ จำนวนนกั เรยี นมีภาวะทุพโภชนาการ --
๕ จำนวนนกั เรียนทีม่ ีปัญญาเลิศ --
๖ จำนวนนักเรียนที่ต้องการความช่วยเหลอื เป็นพเิ ศษ --
๗ จำนวนนักเรยี นทอ่ี อกกลางคัน --
๘ จำนวนนักเรยี นทมี่ เี วลาเรียนไม่ถงึ รอ้ ยละ ๘๐
๙ จำนวนนักเรยี นที่เรยี นซ้ำชัน้ ๗๒ ๑๐๐
๑๐ จำนวนนักเรยี นทีจ่ บหลักสตู ร ๒๔ ๑๐๐
๔๕ ๑๐๐
มัธยมศึกษาตอนตน้
มธั ยมศึกษาตอนปลาย
ระดบั ประกาศนยี บตั รวิชาชพี ชนั้ ปีที่ ๓

หมายเหตุ: รอ้ ยละของนักเรยี นทัง้ หมด

๖. ข้อมูลผลด้านอาคารสถานที่

ท่ี รายการ จำนวน
๑ อาคารเรียนแบบ๓๒๔ล/๒๗ จำนวน ๒๔ ห้องเรยี น ๑ หลงั
๒ อาคารเรียนแบบ ๐๐๖ ช่วั คราว จำนวน ๓ ห้อง ๑ หลงั
๓ อาคารหอประชมุ แบบ ๑๐๐/๒๗ ๑ หลงั
๔ อาคารโรงอาหาร ๑ หลงั
๕ อาคารโรงฝึกงานแบบ๑๐๒/๒๗ ๑ หลงั
๖ ห้องสว้ มนักเรยี นแบบห้องน้ำ ๘ ทีน่ ่ัง ๑ หลงั
๗ หอ้ งส้วมนกั เรียนแบบห้องน้ำ ๒ ท่นี ั่ง ๑ หลงั
๘ หอ้ งส้วมนักเรยี นแบบห้องนำ้ ๖ ที่นั่ง ๑ หลัง
๙ หอ้ งสว้ มนักเรียนแบบห้องนำ้ ๖ทน่ี ่งั ๑ หลงั
๑๐ บ้านพกั ครู บา้ นพักผ้บู รหิ ารมาตรฐานทั่วไป ๒ หลัง
๑๑ บา้ นพักครู บา้ นพักผู้บริหารแบบ ๒๐๒ ๒ หลัง
๑๒ บ้านพักครู บา้ นพักผบู้ ริหารแบบ ๒๐๒ก ๒ หลัง
๑๓ หอพักนกั เรยี นแบบบา้ นพัก ๘ คน ๔ หลงั
๑๔ สนามฟุตบอล ๑ สนาม

๑๔

ที่ รายการ จำนวน
๑๕ สนามบาสเก็ตบอล ๒ สนาม
๑๖ สนามฟุตซอล ๑ สนาม
๑๗ สนามเซปักตะกร้อ ๑ สนาม
๑๘ สนามเปตอง ๒ สนาม
๑๙ อาคารโรงน้ำด่ืม ๑ หลัง
๒๐ อาคารเรือนปกครอง ๑ หลงั
๒๑ อาคาร USO NET ๑ หลัง

๗. ข้อมูลผลสภาพชุมชนโดยรวม
๑) สภาพชุมชนรอบบริเวณโรงเรียนมีลักษณะ เป็นสังคมชนบท อยู่รวมกันเป็นครอบครัว มีประชากร

ประมาณ ๔,๐๐๐ คน สถานท่ีบริเวณใกล้เคียงโดยรอบโรงเรียน ไดแ้ ก่ วดั บ่อกรุ วดั หนองกระทุม่ วดั ทงุ่ กฐนิ เทศบาล
ตำบลบอ่ กรุ องคก์ ารบรหิ ารส่วนตำบลบ่อกรุ อาชีพหลักของชุมชน คือ เกษตรกรรม โดยเฉพาะการทำนาและไร่อ้อย
ส่วนใหญ่นับถือศาสนาพุทธ ประเพณี/ศิลปวัฒนธรรมท้องถิ่นที่เป็นที่รู้จักโดยทั่วไปได้แก่ประเพณียกธงสงกรานต์
ชาติพันธุ์ของคนในพื้นที่ คือ ลาวครั่ง จึงมีวัฒนธรรมการแต่งกายและภาษาพูดที่เป็นเอกลักษณ์ เช่น การทอ
ผา้ ขาวม้าห้าสี การทอผา้ ซิน่ และการพูดภาษาชาวลาวครั่ง เป็นต้น

๒) ผู้ปกครองส่วนใหญ่ จบการศึกษาระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓ อาชีพหลัก คือ เกษตรกรรมส่วนใหญ่นับ
ถือศาสนาพุทธ ฐานะทางเศรษฐกจิ /รายไดโ้ ดยเฉลีย่ ต่อครอบครัว ต่อปี ๕๐,๐๐๐ บาท จำนวนคนเฉล่ยี ต่อครอบครัว
๕ คน

๓) โอกาสและขอ้ จำกัดของโรงเรยี น
- โรงเรียนอยใู่ กล้กับวัดบอ่ กรุ มีศาลเจ้าพอ่ ดงไม้งาม และหลวงพอ่ ดำวัดบอ่ กรุ เป็นเครอื่ งยึดเหนย่ี วจิตใจ

ของประชาชนในหม่บู ้านบ่อกรุ
- โรงเรยี นไดร้ บั การสนบั สนนุ ช่วยเหลือจากเทศบาลตำบลบ่อกรุ
- มีภูมิปัญญาทอ้ งถิ่นทีเ่ ป็นแหล่งเรียนรู้ และมีชื่อเสยี งระดับประเทศ คือ ผ้าทอมือ ผ้าซิ่นตีนแดง ผ้าซ่ิน

ตีนจก และผา้ ขาวม้าห้าสี เปน็ ตน้
- ชุมชนส่วนมากมีอาชีพเกษตรกรรม โดยเฉพาะการทำไร่อ้อย ไร่มัน และทำนา รายได้ส่วนใหญ่จึงไม่

แนน่ อนข้นึ อยกู่ บั สภาพดนิ ฟา้ อากาศในแต่ละปี
- ครอบครัวนกั เรยี นบางสว่ นไม่ได้อยู่กบั บิดา มารดา เนอ่ื งจากบิดา-มารดาต้องไปทำงานอยู่ที่อน่ื และมี

การหยา่ ร้างกนั ทำใหบ้ ตุ รอยกู่ ับปูย่ ่าตายาย
- ฐานะทางครอบครวั ส่วนมากยงั มคี วามยากจน บิดา-มารดามีอาชีพรับจา้ ง
- ผู้ปกครองไมม่ ีเวลาใหก้ บั บตุ รหลาน เน่ืองจากภาวะเศรษฐกจิ รายไดไ้ มพ่ อเล้ียงครอบครัว
- บดิ า มารดาของนกั เรียนไปทำงานท่อี น่ื จึงมไิ ด้อย่ดู ูแลนักเรยี น

๑๕

๘. โครงสร้างหลักสูตรสถานศึกษา
โรงเรียนบอ่ กรุวิทยา จดั การเรียนการสอนตามหลักสตู รสถานศกึ ษา ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ัน

พน้ื ฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรับปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐) ดังน้ี

โครงสรา้ งหลักสตู รสถานศึกษาโรงเรยี นบอ่ กรวุ ิทยา (ปรับปรงุ ปี ๒๕๖๐) พทุ ธศักราช ๒๕๕๓

ช้นั มธั ยมศกึ ษาปที ี่ ๑

ภาคเรยี นที่ ๑ ภาคเรยี นท่ี ๒

รหัสวิชา ชือ่ วิชา ช่ัวโมง หน่วยกิต รหัสวิชา ชอ่ื วิชา ช่วั โมง หน่วยกิต

วชิ าพน้ื ฐาน ๔๔๐ ๑๑.๐ วชิ าพื้นฐาน ๔๔๐ ๑๑.๐

ท๒๑๑๐๑ ภาษาไทย ๖๐ ๑.๕ ท๒๑๑๐๒ ภาษาไทย ๖๐ ๑.๕

ค๒๑๑๐๑ คณติ ศาสตร์ ๖๐ ๑.๕ ค๒๑๑๐๒ คณติ ศาสตร์ ๖๐ ๑.๕

ว๒๑๑๐๑ วิทยาศาสตร์ ๖๐ ๑.๕ ว๒๑๑๐๓ วิทยาศาสตร์ ๖๐ ๑.๕

ว๒๑๑๐๒ วิทยาการคำนวณ ๔๐ ๑.๐ ว๒๑๑๐๔ การออกแบบเทคโนโลยี ๔๐ ๑.๐

ส๒๑๑๐๑ สังคมศกึ ษา ๔๐ ๑.๐ ส๒๑๑๐๔ สงั คมศกึ ษา ๔๐ ๑.๐

ส๒๑๑๐๒ พระพทุ ธศาสนา ๒๐ ๐.๕ ส๒๑๑๐๕ พระพทุ ธศาสนา ๒๐ ๐.๕

ส๒๑๑๐๓ ประวัติศาสตร์ ๒๐ ๐.๕ ส๒๑๑๐๖ ประวัตศิ าสตร์ ๒๐ ๐.๕

พ๒๑๑๐๑ สขุ ศกึ ษา ๒๐ ๐.๕ พ๒๑๑๐๒ สขุ ศกึ ษา ๒๐ ๐.๕

ศ๒๑๑๐๑ ศิลปศกึ ษา ๔๐ ๑.๐ ศ๒๑๑๐๒ ศลิ ปศึกษา ๔๐ ๑.๐

ง๒๑๑๐๑ การงานอาชีพ ๒๐ ๐.๕ ง๒๑๑๐๒ การงานอาชีพ ๒๐ ๐.๕

อ๒๑๑๐๑ ภาษาอังกฤษ ๖๐ ๑.๕ อ๒๑๑๐๒ ภาษาองั กฤษ ๖๐ ๑.๕

วิชาเพ่ิมเติม ๑๖๐ ๔.๐ วิชาเพมิ่ เตมิ ๑๖๐ ๔.๐

ค๒๑๒๐๑ คณิตศาสตร์ ๔๐ ๑.๐ ค๒๑๒๐๒ คณติ ศาสตร์ ๔๐ ๑.๐

อ๒๑๒๐๑ ภาษาอังกฤษ ๔๐ ๑.๐ อ๒๑๒๐๒ ภาษาองั กฤษ ๔๐ ๑.๐

พ๒๑๒๐๑ พลศกึ ษา ๒๐ ๐.๕ พ๒๑๒๐๒ พลศกึ ษา ๒๐ ๐.๕

อ๒๑๒๒๑ ภาษาองั กฤษเพ่อื การส่ือสาร ๔๐ ๑.๐ อ๒๑๒๒๒ ภาษาองั กฤษเพื่อการสอ่ื สาร ๔๐ ๑.๐

ส๒๑๒๖๑ รากเหงา้ ทอ้ งถนิ่ สุพรรณ ๑ ๒๐ ๐.๕ ส๒๑๒๖๒ รากเหง้าท้องถน่ิ สพุ รรณ ๒ ๒๐ ๐.๕

เลอื กอีก ๑ รายวิชา ๔๐ ๑.๐ เลือกอกี ๑ รายวชิ า ๔๐ ๑.๐

ง๒๐๒๒๑ ช่างขนมไทย ๔๐ ๑.๐ ง๒๐๒๒๒ ช่างถนอมอาหาร ๔๐ ๑.๐

ง๒๐๒๔๑ งานเกษตรพนื้ ฐาน ๔๐ ๑.๐ ง๒๐๒๔๒ การปลกู ผักทว่ั ไป ๔๐ ๑.๐

ง๒๐๒๖๑ ช่างเขียนตัวอกั ษร ๔๐ ๑.๐ ง๒๐๒๖๒ ช่างเขียนแบบ ๔๐ ๑.๐

กจิ กรรมพัฒนาผ้เู รียน ๖๐ กิจกรรมพฒั นาผู้เรียน ๖๐

* แนะแนว ๒๐ * แนะแนว ๒๐

* กิจกรรมนกั เรยี น * กจิ กรรมนักเรียน

- ลูกเสือ-เนตรนารี ๑๕ - ลูกเสือ-เนตรนารี ๑๐

- ชมุ นมุ วิชาการ ๒๐ - ชุมนมุ วิชาการ ๒๐

* กจิ กรรมเพื่อสงั คมและสาธารณประโยชน์ ๕ * กิจกรรมเพอ่ื สังคมและสาธารณประโยชน์ ๑๐

รวมเวลาทงั้ สิน้ ๗๐๐ ๑๖.๐ รวมเวลาท้งั สน้ิ ๗๐๐ ๑๖.๐

๑๖

โครงสร้างหลกั สูตรสถานศกึ ษาโรงเรยี นบอ่ กรุวิทยา (ปรับปรุง ปี ๒๕๖๐) พุทธศกั ราช ๒๕๕๓

ชั้นมธั ยมศึกษาปที ี่ ๒

ภาคเรียนที่ ๑ ภาคเรยี นท่ี ๒

รหสั วชิ า ช่อื วชิ า ชั่วโมง หนว่ ยกติ รหสั วชิ า ชอื่ วิชา ช่ัวโมง หน่วยกติ

วชิ าพน้ื ฐาน ๔๔๐ ๑๑.๐ วิชาพื้นฐาน ๔๔๐ ๑๑.๐

ท๒๒๑๐๑ ภาษาไทย ๖๐ ๑.๕ ท๒๒๑๐๒ ภาษาไทย ๖๐ ๑.๕

ค๒๒๑๐๑ คณิตศาสตร์ ๖๐ ๑.๕ ค๒๒๑๐๒ คณติ ศาสตร์ ๖๐ ๑.๕

ว๒๒๑๐๑ วิทยาศาสตร์ ๖๐ ๑.๕ ว๒๒๑๐๓ วิทยาศาสตร์ ๖๐ ๑.๕

ว๒๒๑๐๒ วทิ ยาการคำนวณ ๔๐ ๑.๐ ว๒๒๑๐๔ การออกแบบเทคโนโลยี ๔๐ ๑.๐

ส๒๒๑๐๑ สังคมศึกษา ๔๐ ๑.๐ ส๒๒๑๐๔ สังคมศกึ ษา ๔๐ ๑.๐

ส๒๒๑๐๒ พระพทุ ธศาสนา ๒๐ ๐.๕ ส๒๒๑๐๕ พระพุทธศาสนา ๒๐ ๐.๕

ส๒๒๑๐๓ ประวัติศาสตร์ ๒๐ ๐.๕ ส๒๒๑๐๖ ประวัติศาสตร์ ๒๐ ๐.๕

พ๒๒๑๐๑ สขุ ศกึ ษา ๒๐ ๐.๕ พ๒๒๑๐๓ สขุ ศกึ ษา ๒๐ ๐.๕

ศ๒๒๑๐๑ ศิลปศึกษา ๔๐ ๑.๐ ศ๒๒๑๐๒ ศิลปศึกษา ๔๐ ๑.๐

ง๒๒๑๐๑ การงานอาชีพ ๒๐ ๐.๕ ง๒๒๑๐๒ การงานอาชพี ๒๐ ๐.๕

อ๒๒๑๐๑ ภาษาองั กฤษ ๖๐ ๑.๕ อ๒๒๑๐๒ ภาษาองั กฤษ ๖๐ ๑.๕

วิชาเพม่ิ เตมิ ๑๔๐ ๓.๕ วิชาเพิ่มเติม ๑๔๐ ๓.๕

ค๒๒๒๐๑ คณิตศาสตร์ ๔๐ ๑.๐ ค๒๒๒๐๒ คณิตศาสตร์ ๔๐ ๑.๐

พ๒๒๒๐๑ พลศึกษา ๒๐ ๐.๕ พ๒๒๒๐๒ พลศึกษา ๒๐ ๐.๕

อ๒๒๒๐๑ ภาษาอังกฤษ ๔๐ ๑.๐ อ๒๒๒๐๒ ภาษาองั กฤษ ๔๐ ๑.๐

I๒๐๒๐๑ การศึกษาค้นควา้ และสร้างองค์ ๔๐ ๑.๐ I๒๐๒๐๒ การส่อื สารและการนำเสนอ ๔๐ ๑.๐

ความรู้

อ๒๒๒๒๑ ภาษาอังกฤษเพ่ือการสอื่ สาร ๒๐ ๐.๕ อ๒๒๒๒๒ ภาษาอังกฤษเพื่อการส่อื สาร ๒๐ ๐.๕

เลอื กอกี ๑ รายวชิ า ๔๐ ๑.๐ เลอื กอีก ๑ รายวิชา ๔๐ ๑.๐

ง๒๐๒๒๓ ชา่ งประดิษฐ์ของชำร่วย ๔๐ ๑.๐ ง๒๐๒๒๔ ชา่ งประดิษฐด์ อกไม้๑ ๔๐ ๑.๐

ง๒๐๒๔๓ ไมผ้ ลเศรษฐกิจทั่วไป ๔๐ ๑.๐ ง๒๐๒๔๔ การปลูกไมผ้ ล ๑ ๔๐ ๑.๐

ง๒๐๒๖๓ ผลิตภณั ฑ์จากวัสดุ ๔๐ ๑.๐ ง๒๐๒๖๔ ผลิตภณั ฑ์ภาพนนู ตำ่ ๔๐ ๑.๐

กิจกรรมพฒั นาผเู้ รียน ๖๐ กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ๖๐

* แนะแนว ๒๐ * แนะแนว ๒๐

* กจิ กรรมนกั เรยี น * กิจกรรมนักเรียน

- ลูกเสอื -เนตรนารี ๑๕ - ลูกเสอื -เนตรนารี ๑๐

- ชุมนุมวิชาการ ๒๐ - ชมุ นมุ วชิ าการ ๒๐

* กจิ กรรมเพอ่ื สังคมและสาธารณประโยชน์ ๕ * กจิ กรรมเพื่อสงั คมและสาธารณประโยชน์ ๑๐

- IS๓ การนำองคค์ วามรไู้ ปใชบ้ รกิ ารสงั คม -

รวมเวลาทงั้ ส้นิ ๗๐๐ ๑๖.๐ รวมเวลาทง้ั สน้ิ ๗๐๐ ๑๖.๐

๑๗

โครงสรา้ งหลกั สูตรสถานศกึ ษาโรงเรียนบอ่ กรวุ ิทยา (ปรับปรุง ปี ๒๕๖๐) พุทธศักราช ๒๕๕๓

ชน้ั มธั ยมศึกษาปที ี่ ๓

ภาคเรียนที่ ๑ ภาคเรียนที่ ๒

รหสั วิชา ชือ่ วชิ า ช่วั โมง หน่วยกิต รหสั วิชา ชือ่ วิชา ช่วั โมง หนว่ ยกิต

วชิ าพื้นฐาน ๔๔๐ ๑๑.๐ วิชาพนื้ ฐาน ๔๔๐ ๑๑.๐

ท๒๓๑๐๑ ภาษาไทย ๖๐ ๑.๕ ท๒๓๑๐๒ ภาษาไทย ๖๐ ๑.๕

ค๒๓๑๐๑ คณิตศาสตร์ ๖๐ ๑.๕ ค๒๓๑๐๒ คณติ ศาสตร์ ๖๐ ๑.๕

ว๒๓๑๐๑ วิทยาศาสตร์ ๖๐ ๑.๕ ว๒๓๑๐๓ วิทยาศาสตร์ ๖๐ ๑.๕

ว๒๓๑๐๒ วทิ ยาการคำนวณ ๔๐ ๑.๐ ว๒๓๑๐๔ การออกแบบเทคโนโลยี ๔๐ ๑.๐

ส๒๓๑๐๑ สงั คมศึกษา ๔๐ ๑.๐ ส๒๓๑๐๔ สงั คมศึกษา ๔๐ ๑.๐

ส๒๓๑๐๒ พระพทุ ธศาสนา ๒๐ ๐.๕ ส๒๓๑๐๕ พระพทุ ธศาสนา ๒๐ ๐.๕

ส๒๓๑๐๓ ประวัตศิ าสตร์ ๒๐ ๐.๕ ส๒๓๑๐๖ ประวัตศิ าสตร์ ๒๐ ๐.๕

พ๒๓๑๐๑ สขุ ศึกษา ๒๐ ๐.๕ พ๒๓๑๐๓ สขุ ศึกษา ๒๐ ๐.๕

ศ๒๓๑๐๑ ศลิ ปศกึ ษา ๔๐ ๑.๐ ศ๒๓๑๐๒ ศลิ ปศกึ ษา ๔๐ ๑.๐

ง๒๓๑๐๑ การงานอาชีพ ๒๐ ๐.๕ ง๒๓๑๐๒ การงานอาชีพ ๒๐ ๐.๕

อ๒๓๑๐๑ ภาษาอังกฤษ ๖๐ ๑.๕ อ๒๓๑๐๒ ภาษาองั กฤษ ๖๐ ๑.๕

วิชาเพม่ิ เติม ๑๔๐ ๓.๕ วิชาเพิม่ เตมิ ๑๔๐ ๓.๕

ค๒๓๒๐๑ คณิตศาสตร์ ๔๐ ๑.๐ ค๒๓๒๐๒ คณิตศาสตร์ ๔๐ ๑.๐

พ๒๓๒๐๑ พลศึกษา ๒๐ ๐.๕ พ๒๓๒๐๒ พลศึกษา ๒๐ ๐.๕

อ๒๓๒๐๑ ภาษาองั กฤษ ๔๐ ๑.๐ อ๒๓๒๐๒ ภาษาองั กฤษ ๔๐ ๑.๐

อ๒๓๒๒๑ ภาษาองั กฤษเพื่อการ ๔๐ ๑.๐ อ๒๓๒๒๒ ภาษาองั กฤษเพื่อการ ๔๐ ๑.๐

สื่อสาร ส่ือสาร

เลอื กอีก ๑ รายวชิ า ๔๐ ๑.๐ เลอื กอีก ๑ รายวิชา ๔๐ ๑.๐

ง๒๐๒๒๕ ผ้าทอพ้ืนบ้าน ๔๐ ๑.๐ ง๒๐๒๒๖ ช่างประดษิ ฐด์ อกไม้๒ ๔๐ ๑.๐

ง๒๐๒๔๕ การปลูกพืชลม้ ลกุ ๒ ๔๐ ๑.๐ ง๒๐๒๔๖ การปลูกไมผ้ ล ๒ ๔๐ ๑.๐

ง๒๐๒๖๕ โครงงาน ๑ ๔๐ ๑.๐ ง๒๐๒๖๖ โครงงาน ๒ ๔๐ ๑.๐

ง๒๐๒๘๕ ชา่ งเย็บย่ามและกระเปา๋ ๔๐ ๑.๐

กิจกรรมพฒั นาผู้เรยี น ๖๐ กจิ กรรมพัฒนาผู้เรยี น ๖๐

* แนะแนว ๒๐ * แนะแนว ๒๐

* กิจกรรมนักเรยี น * กจิ กรรมนักเรยี น

- ลกู เสอื -เนตรนารี ๑๕ - ลูกเสือ-เนตรนารี ๑๐

- ชุมนุมวชิ าการ ๒๐ - ชุมนมุ วิชาการ ๒๐

* กจิ กรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์ ๕ * กจิ กรรมเพอ่ื สงั คมและสาธารณประโยชน์ ๑๐

รวมเวลาทง้ั สิน้ ๖๘๐ ๑๕.๕ รวมเวลาท้งั สนิ้ ๖๘๐ ๑๕.๕

๑๘

โครงสรา้ งหลักสูตรสถานศึกษาโรงเรยี นบ่อกรวุ ิทยา (ปรับปรงุ ปี ๒๕๖๐) พุทธศกั ราช ๒๕๕๓
แผนการเรียน วิทยาศาสตร์ - คณติ ศาสตร์ ช้ันมัธยมศกึ ษาปีที่ ๔

ภาคเรียนที่ ๑ ภาคเรยี นที่ ๒

รหัสวชิ า ชอ่ื วิชา ชวั่ โมง หน่วยกติ รหสั วิชา ชือ่ วิชา ชั่วโมง หน่วยกิต
๒๘๐ ๗.๐
วิชาพื้นฐาน ๒๘๐ ๗.๐ วิชาพน้ื ฐาน ๔๐ ๑.๐
๔๐ ๑.๐
ท๓๑๑๐๑ ภาษาไทย ๔๐ ๑.๐ ท๓๑๑๐๒ ภาษาไทย ๔๐ ๑.๐
๒๐ ๐.๕
ค๓๑๑๐๑ คณิตศาสตร์ ๔๐ ๑.๐ ค๓๑๑๐๒ คณติ ศาสตร์ ๒๐ ๐.๕
๒๐ ๐.๕
ว๓๐๑๐๓ วิทยช์ วี ภาพ (ชวี วทิ ยา) ๔๐ ๑.๐ ว๓๐๑๐๖ การออกแบบและเทคโนโลยี ๒๐ ๐.๕
๒๐ ๐.๕
ส๓๑๑๐๑ สงั คมศกึ ษา ๒๐ ๐.๕ ส๓๑๑๐๔ สังคมศึกษา ๒๐ ๐.๕
๔๐ ๑.๐
ส๓๑๑๐๒ พระพุทธศาสนา ๒๐ ๐.๕ ส๓๑๑๐๕ พระพทุ ธศาสนา ๓๔๐ ๘.๕
๖๐ ๑.๕
ส๓๑๑๐๓ ประวัตศิ าสตร์ ๒๐ ๐.๕ ส๓๑๑๐๖ ประวตั ิศาสตร์ ๖๐ ๑.๕
๖๐ ๑.๕
พ๓๑๑๐๑ สขุ ศึกษาพลศกึ ษา ๒๐ ๐.๕ พ๓๑๑๐๒ สขุ ศึกษาพลศกึ ษา ๖๐ ๑.๕
๔๐ ๑.๐
ศ๓๑๑๐๑ ศลิ ปศึกษา ๒๐ ๐.๕ ศ๓๑๑๐๒ ศลิ ปศึกษา ๔๐ ๑.๐
๒๐ ๐.๕
ง๓๑๑๐๑ การงานอาชพี ๒๐ ๐.๕ ง๓๑๑๐๒ การงานอาชีพ
๖๐
อ๓๑๑๐๑ ภาษาอังกฤษ ๔๐ ๑.๐ อ๓๑๑๐๒ ภาษาอังกฤษ ๒๐

วิชาเพ่มิ เติม ๓๔๐ ๘.๕ วชิ าเพิ่มเตมิ ๑๐
๒๐
ค๓๑๒๐๑ คณติ ศาสตร์ ๖๐ ๑.๕ ค๓๑๒๐๒ คณติ ศาสตร์ ๑๐
๖๘๐ ๑๕.๕
ว๓๐๒๐๑ ฟิสิกส์ ๖๐ ๑.๕ ว๓๐๒๐๒ ฟสิ กิ ส์

ว๓๐๒๒๑ เคมี ๖๐ ๑.๕ ว๓๐๒๒๒ เคมี

ว๓๐๒๔๑ ชีววทิ ยา ๖๐ ๑.๕ ว๓๐๒๔๒ ชีววทิ ยา

ว๓๐๒๘๑ เทคโนโลยีสารสนเทศ ๑ ๔๐ ๑.๐ ว๓๐๒๘๒ เทคโนโลยสี ารสนเทศ ๒

อ๓๑๒๐๑ ภาษาอังกฤษ ๔๐ ๑.๐ อ๓๑๒๐๒ ภาษาองั กฤษ

ญ๓ ภาษาญี่ปุน่ ๑ ๒๐ ๐.๕ ญ๓๑๒๒๒ ภาษาญปี่ ่นุ ๒

๑๒๒๑

กจิ กรรมพัฒนาผเู้ รียน ๖๐ กจิ กรรมพฒั นาผู้เรียน

* แนะแนว ๒๐ * แนะแนว

* กจิ กรรมนกั เรียน * กจิ กรรมนักเรยี น

- ลกู เสอื -เนตรนารี ๑๐ - ลูกเสือ-เนตรนารี

- ชุมนุมวชิ าการ ๒๐ - ชมุ นุมวิชาการ

* กิจกรรมเพื่อสงั คมและสาธารณประโยชน์ ๑๐ * กจิ กรรมเพอ่ื สังคมและสาธารณประโยชน์

รวมเวลาท้ังสน้ิ ๖๘๐ ๑๕.๕ รวมเวลาท้งั สิ้น

๑๙

โครงสร้างหลกั สตู รสถานศกึ ษาโรงเรียนบอ่ กรวุ ิทยา (ปรับปรงุ ปี ๒๕๖๐) พทุ ธศักราช ๒๕๕๓
แผนการเรียน วิทยาศาสตร์ - คณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศกึ ษาปีท่ี ๕

ภาคเรยี นที่ ๑ ภาคเรยี นที่ ๒

รหสั วิชา ชือ่ วชิ า ชว่ั โมง หนว่ ยกิต รหสั วชิ า ชอื่ วิชา ชัว่ โมง หน่วยกิต

วชิ าพื้นฐาน ๒๘๐ ๗.๐ วชิ าพื้นฐาน ๒๘๐ ๗.๐

ท๓๒๑๐๑ ภาษาไทย ๔๐ ๑.๐ ท๓๒๑๐๒ ภาษาไทย ๔๐ ๑.๐

ค๓๒๑๐๑ คณิตศาสตร์ ๔๐ ๑.๐ ค๓๒๑๐๒ คณิตศาสตร์ ๔๐ ๑.๐

ว๓๐๑๐๒ วิทยก์ ายภาพ (เคมี) ๔๐ ๑.๐ ว๓๐๑๐๑ วิทยก์ ายภาพ (ฟิสิกส์) ๔๐ ๑.๐

ส๓๒๑๐๑ สังคมศึกษา ๒๐ ๐.๕ ส๓๒๑๐๔ สงั คมศกึ ษา ๒๐ ๐.๕

ส๓๒๑๐๒ พระพุทธศาสนา ๒๐ ๐.๕ ส๓๒๑๐๕ พระพทุ ธศาสนา ๒๐ ๐.๕

ส๓๒๑๐๓ ประวัตศิ าสตร์ ๒๐ ๐.๕ ส๓๒๑๐๖ ประวตั ศิ าสตร์ ๒๐ ๐.๕

พ๓๒๑๐๑ สขุ ศกึ ษาพละศกึ ษา ๒๐ ๐.๕ พ๓๒๑๐๒ สุขศึกษา ๒๐ ๐.๕

ศ๓๒๑๐๑ ศิลปศกึ ษา ๒๐ ๐.๕ ศ๓๒๑๐๒ ศลิ ปศึกษา ๒๐ ๐.๕

ง๓๒๑๐๑ การงานอาชพี ๒๐ ๐.๕ ง๓๒๑๐๒ การงานอาชีพ ๒๐ ๐.๕

อ๓๒๑๐๑ ภาษาองั กฤษ ๔๐ ๑.๐ อ๓๒๑๐๒ ภาษาอังกฤษ ๔๐ ๑.๐

วิชาเพ่มิ เติม ๓๖๐ ๙.๐ วิชาเพ่ิมเตมิ ๓๖๐ ๙.๐

ค๓๒๒๐๑ คณิตศาสตร์ ๖๐ ๑.๕ ค๓๒๒๐๒ คณิตศาสตร์ ๖๐ ๑.๕

ว๓๐๒๐๓ ฟสิ ิกส์ ๖๐ ๑.๕ ว๓๐๒๐๔ ฟิสิกส์ ๖๐ ๑.๕

ว๓๐๒๒๓ เคมี ๖๐ ๑.๕ ว๓๐๒๒๔ เคมี ๖๐ ๑.๕

ว๓๐๒๔๓ ชวี วทิ ยา ๖๐ ๑.๕ ว๓๐๒๔๔ ชีววทิ ยา ๖๐ ๑.๕

ว๓๐๒๘๓ เทคโนโลยสี ารสนเทศ ๓ ๔๐ ๑.๐ ว๓๐๒๘๔ เทคโนโลยีสารสนเทศ ๔ ๔๐ ๑.๐

อ๓๒๒๐๑ ภาษาอังกฤษ ๔๐ ๑.๐ อ๓๒๒๐๒ ภาษาองั กฤษ ๔๐ ๑.๐

I๓๐๒๐๑ การศกึ ษาคน้ คว้าและ ๔๐ ๑.๐ I๓๐๒๐๒ การสอ่ื สารและ ๔๐ ๑.๐

สรา้ งองคค์ วามรู้ การนำเสนอ

กจิ กรรมพัฒนาผเู้ รยี น ๖๐ กิจกรรมพฒั นาผ้เู รียน ๖๐

* แนะแนว ๒๐ * แนะแนว ๒๐

* กจิ กรรมนักเรียน * กิจกรรมนักเรียน

- ลูกเสอื -เนตรนารี ๑๐ - ลูกเสือ-เนตรนารี ๑๐

- ชุมนุมวชิ าการ ๒๐ - ชมุ นุมวิชาการ ๒๐

* กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์ ๑๐ * กิจกรรมเพือ่ สังคมและสาธารณประโยชน์ ๑๐

- I๓๐๒๐๓ -

การนำองค์ความรไู้ ปใชบ้ ริการสงั คม

รวมเวลาทั้งสิ้น ๗๐๐ ๑๖.๐ รวมเวลาท้ังสิ้น ๗๐๐ ๑๖.๐

๒๐

โครงสรา้ งหลักสูตรสถานศกึ ษาโรงเรยี นบ่อกรวุ ิทยา (ปรับปรุง ปี ๒๕๖๐) พุทธศกั ราช ๒๕๕๓
แผนการเรียน วทิ ยาศาสตร์ - คณิตศาสตร์ ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปีท่ี ๖

ภาคเรยี นที่ ๑ ภาคเรยี นที่ ๒

รหัสวชิ า ชอ่ื วิชา ชวั่ โมง หนว่ ยกิต รหสั วิชา ชอ่ื วิชา ช่วั โมง หน่วยกติ
๒๖๐ ๖.๕
วชิ าพ้ืนฐาน ๒๖๐ ๖.๕ วิชาพ้นื ฐาน ๔๐ ๑.๐
๔๐ ๑.๐
ท๓๓๑๐๑ ภาษาไทย ๔๐ ๑.๐ ท๓๓๑๐๒ ภาษาไทย ๔๐ ๑.๐

ค๓๓๑๐๑ คณติ ศาสตร์ ๔๐ ๑.๐ ค๓๓๑๐๒ คณติ ศาสตร์ ๒๐ ๐.๕
๒๐ ๐.๕
ว๓๐๑๐๔ โลกดาราศาสตร์และ ๔๐ ๑.๐ ว๓๐๑๐๕ วิทยาการคำนวณ ๒๐ ๐.๕
๒๐ ๐.๕
อวกาศ ๒๐ ๐.๕
๔๐ ๑.๐
ส๓๓๑๐๑ สงั คมศึกษา ๒๐ ๐.๕ ส๓๓๑๐๓ สงั คมศกึ ษา ๓๔๐ ๘.๕
๖๐ ๑.๕
ส๓๓๑๐๒ พระพทุ ธศาสนา ๒๐ ๐.๕ ส๓๓๑๐๔ พระพุทธศาสนา ๘๐ ๒.๐
๖๐ ๑.๕
พ๓๓๑๐๑ สขุ ศกึ ษาพลศึกษา ๒๐ ๐.๕ พ๓๓๑๐๒ สุขศึกษาพลศึกษา ๖๐ ๑.๕
๔๐ ๑.๐
ศ๓๓๑๐๑ ศลิ ปศกึ ษา ๒๐ ๐.๕ ศ๓๓๑๐๒ ศิลปศึกษา ๔๐ ๑.๐

ง๓๓๑๐๑ การงานอาชพี ๒๐ ๐.๕ ง๓๓๑๐๒ การงานอาชีพ ๖๐
๒๐
อ๓๓๑๐๑ ภาษาองั กฤษ ๔๐ ๑.๐ อ๓๓๑๐๒ ภาษาองั กฤษ
๑๐
วิชาเพ่ิมเติม ๓๔๐ ๘.๕ วิชาเพิ่มเติม ๒๐
๑๐
ค๓๓๒๐๑ คณิตศาสตร์ ๖๐ ๑.๕ ค๓๓๒๐๒ คณติ ศาสตร์ ๖๖๐ ๑๕.๐

ว๓๐๒๐๕ ฟสิ ิกส์ ๘๐ ๒.๐ ว๓๐๒๐๖ ฟิสิกส์

ว๓๐๒๒๕ เคมี ๖๐ ๑.๕ ว๓๐๒๒๖ เคมี

ว๓๐๒๔๕ ชวี วทิ ยา ๖๐ ๑.๕ ว๓๐๒๔๖ ชวี วิทยา

ว๓๐๒๘๕ เทคโนโลยสี ารสนเทศ ๕ ๔๐ ๑.๐ ว๓๐๒๘๖ เทคโนโลยีสารสนเทศ ๖

อ๓๓๒๐๑ ภาษาอังกฤษ ๔๐ ๑.๐ อ๓๓๒๐๒ ภาษาอังกฤษ

กจิ กรรมพัฒนาผูเ้ รียน ๖๐ กจิ กรรมพฒั นาผู้เรยี น

* แนะแนว ๒๐ * แนะแนว

* กิจกรรมนกั เรยี น * กิจกรรมนักเรยี น

- ลกู เสือ-เนตรนารี ๑๐ - ลกู เสือ-เนตรนารี

- ชุมนุมวชิ าการ ๒๐ - ชุมนุมวชิ าการ

* กิจกรรมเพือ่ สงั คมและสาธารณประโยชน์ ๑๐ * กจิ กรรมเพื่อสงั คมและสาธารณประโยชน์

รวมเวลาทง้ั สิน้ ๖๖๐ ๑๕.๐ รวมเวลาทงั้ ส้นิ

๒๑

แผนการเรียนภาคเรียนที่ 1 ปกี ารศึกษา 2564 (ปวช. 1)
หลักสูตรประกาศนยี บตั รวิชาชีพ พทุ ธศักราช 2562

ประเภทวิชาพาณชิ ยกรรม สาขาวิชาพาณชิ ยการ สาขางานคอมพวิ เตอร์ธรุ กจิ

1. หมวดสมรรถนะแกนกลาง

1.1 วิชาสมรรถนะแกนกลาง จานวน 8 หนว่ ยกติ

ลาดับที่ รหสั วิชา รายวชิ า ทฤษฎี ปฏิบตั ิ หนว่ ยกติ ช่ัวโมง ชั่วโมงรวม ช่ือผู้สอน

1 20000-1101 ภาษาไทยพน้ื ฐาน 2 0 2 2 40 กลุม่ สาระฯภาษาไทย

2 20000-1201 ภาษาองั กฤษในชวี ติ จริง 0 2 1 2 40 กลมุ่ สาระฯภาษาตา่ งประเทศ

3 20000-1401 คณติ ศาสตร์พน้ื ฐานอาชีพ 2 0 2 2 40 กลมุ่ สาระฯคณติ ศาสตร์

4 20000-1501 หน้าที่พลเมืองและศลี ธรรม 2 0 2 2 40 กลุ่มสาระฯสงั คมศกึ ษาฯ

5 20000-1601 ทกั ษะการดารงชวี ติ เพอ่ื สขุ ภาวะ 1 0 1 1 20 กลมุ่ สาระฯสขุ ศกึ ษาและพลศกึ ษา

2. หมวดสมรรถนะวิชาชีพ

2.1 สมรรถนะวิชาชีพพนื้ ฐาน จานวน 9 หนว่ ยกติ

ลาดับท่ี รหสั วิชา รายวิชา ทฤษฎี ปฏิบตั ิ หนว่ ยกติ ช่ัวโมง ชั่วโมงรวม ชื่อผู้สอน

6 20001-2001 คอมพวิ เตอรแ์ ละสารสนเทศเพอื่ งานอาชพี 1 2 2 3 60 งานหลกั สตู ร ปวช.

7 20200-1005 พมิ พด์ ดี องั กฤษเบ้ืองตน้ 0 4 2 4 80 งานหลกั สตู ร ปวช.

8 20200-1002 การบัญชเี บ้ืองตน้ 2 2 3 4 80 กลุม่ สาระฯคณติ ศาสตร์

9 20001-1002 พลงั งาน ทรัพยากรและสิง่ แวดลอ้ ม 2 0 2 2 40 กลมุ่ สาระฯวทิ ยาศาสตร์

2.2 สมรรถนะวิชาชีพเฉพาะ จานวน 5 หนว่ ยกติ

ลาดับท่ี รหสั วชิ า รายวชิ า ทฤษฎี ปฏิบัติ หนว่ ยกติ ช่ัวโมง ชั่วโมงรวม ชื่อผู้สอน

10 20204-2009 จริยธรรมและกฎหมายคอมพวิ เตอร์ 2 0 2 2 40 งานหลกั สตู ร ปวช.

11 20204-2004 หลกั การเขยี นโปรแกรม 2 2 3 4 80 งานหลกั สตู ร ปวช.

2.3 สมรรถนะวิชาชีพเลอื ก จานวน 2 หนว่ ยกติ

ลาดับที่ รหสั วชิ า รายวชิ า ทฤษฎี ปฏิบัติ หนว่ ยกติ ชั่วโมง ช่ัวโมงรวม ช่ือผู้สอน

12 20204-2101 อนิ เทอรเ์ น็ตในงานธรุ กจิ 1 2 2 3 60 งานหลกั สตู ร ปวช.

3. หมวดวิชาเลอื กเสรี

ลาดับที่ รหสั วิชา รายวชิ า ทฤษฎี ปฏิบัติ หนว่ ยกติ ชั่วโมง ช่ัวโมงรวม ช่ือผู้สอน

................

4. กจิ กรรมเสริมหลกั สตู ร

ลาดับที่ รหสั วชิ า รายวชิ า ทฤษฎี ปฏิบตั ิ หนว่ ยกติ ช่ัวโมง ช่ัวโมงรวม ชื่อผู้สอน

13 20000-2003 กจิ กรรมองคก์ รวชิ าชพี 1 0 2 * 2 40 กจิ กรรมพฒั นาผูเ้ รียน

14 20000-2001 กจิ กรรมลกู เสอื วสิ ามัญ 1 0 1 * 1 20 กจิ กรรมพฒั นาผูเ้ รียน

รวมจานวนช่ัวโมง ทฤษฏ/ี ปฏบิ ตั ิ/สัปดาห์ 33 ชั่วโมง 17 17 22 34 680

๒๒

แผนการเรียนภาคเรียนท่ี 2 ปกี ารศึกษา 2564 (ปวช.1)
หลักสูตรประกาศนยี บตั รวิชาชีพ พทุ ธศักราช 2562

ประเภทวิชาพาณชิ ยกรรม สาขาวิชาพาณชิ ยการ สาขางานคอมพวิ เตอร์ธรุ กจิ

1. หมวดสมรรถนะแกนกลาง

1.1 วิชาสมรรถนะแกนกลาง จานวน 8 หนว่ ยกติ

ลาดับท่ี รหสั วชิ า รายวิชา ทฤษฎี ปฏิบตั ิ หนว่ ยกติ ช่ัวโมง ชั่วโมงรวม ชื่อผู้สอน
1 20000-1102 2
2 20000-1502 ภาษาไทยเพอื่ อาชีพ 0 0 1 2 40 กล่มุ สาระฯภาษาไทย
3 20000-1404 0
4 20000-1301 ประวตั ศิ าสตรช์ าตไิ ทย 1 2 1 1 20 กล่มุ สาระฯสงั คมฯ
5 20000-1602 0
6 20000-1202 คณติ ศาสตรธ์ รุ กจิ บรกิ าร 2 2 2 2 40 กลมุ่ สาระฯคณติ ศาสตร์

วทิ ยาศาสตรเ์ พอื่ พฒั นาทักษะชีวติ 1 2 3 60 กลุ่มสาระฯวทิ ยาศาสตร์

เพศวถิ ีศกึ ษา 1 1 1 20 กลุม่ สาระฯสขุ ศกึ ษาและพลฯ

ภาษาองั กฤษฟงั -พดู 0 1 2 40 กลมุ่ สาระฯภาษาตา่ งประเทศ

2. หมวดวิชาสมรรถนะวิชาชีพ

2.1 สมรรถนะวิชาชีพพนื้ ฐาน จานวน 6 หนว่ ยกติ

ลาดับท่ี รหสั วิชา รายวชิ า ทฤษฎี ปฏบิ ตั ิ หนว่ ยกติ ช่ัวโมง ช่ัวโมงรวม ช่ือผู้สอน
7 20200-1003 2
8 20200-1004 การขายเบ้ืองตน้ 1 4 2 3 60 กลมุ่ สาระฯการงานอาชพี
9 20001-1005 0
พมิ พด์ ดี ไทยเบื้องตน้ 0 2 4 80 งานหลกั สตู ร ปวช.
ลาดับท่ี รหสั วิชา ปฏบิ ตั ิ
10 20204-2001 กฎหมายพาณชิ ย์ 2 2 2 2 40 กลมุ่ สาระฯสงั คมฯ
11 20204-2002 2
2.2 สมรรถนะวิชาชีพเฉพาะ รวม 6 หนว่ ยกติ
ลาดับที่ รหสั วิชา ปฏบิ ตั ิ
12 20204-2102 รายวิชา ทฤษฎี 2 หนว่ ยกติ ช่ัวโมง ช่ัวโมงรวม ชื่อผู้สอน

ระบบปฏบิ ัตกิ ารเบ้ืองตน้ 2 3 4 80 งานหลกั สตู ร ปวช.

คอมพวิ เตอรแ์ ละการบารงุ รกั ษา 2 3 4 80 งานหลกั สตู ร ปวช.

2.3 สมรรถนะวิชาชีพเลอื ก จานวน 2 หนว่ ยกติ

รายวิชา ทฤษฎี หนว่ ยกติ ชั่วโมง ช่ัวโมงรวม ชื่อผู้สอน

โปรแกรมประมวลผลคา 1 2 3 60 งานหลกั สตู ร ปวช.

3. หมวดวิชาเลอื กเสรี

ลาดับที่ รหสั วชิ า รายวิชา ทฤษฎี ปฏบิ ตั ิ หนว่ ยกติ ชั่วโมง ช่ัวโมงรวม ช่ือผู้สอน

…………………….

4. กจิ กรรมเสริมหลกั สตู ร

ลาดับที่ รหสั วิชา รายวชิ า ทฤษฎี ปฏิบตั ิ หนว่ ยกติ ชั่วโมง ชั่วโมงรวม ช่ือผู้สอน

13 20000-2004 กจิ กรรมองคก์ รวชิ าชีพ 2 0 2 * 2 40 กจิ กรรมพฒั นาผู้เรยี น

14 20000-2001 กจิ กรรมลกู เสอื วสิ ามัญ 1 0 1 * 1 20 กจิ กรรมพฒั นาผู้เรียน

รวมจานวนชั่วโมง ทฤษฏ/ี ปฏบิ ตั ิ/สัปดาห์ 34 ช่ัวโมง 13 21 20 34 680

๒๓

แผนการเรียนภาคเรียนท่ี 1 ปกี ารศึกษา 2565 (ปวช.2)
หลักสูตรประกาศนยี บตั รวิชาชีพ พทุ ธศักราช 2562

ประเภทวิชาพาณชิ ยกรรม สาขาวิชาพาณชิ ยการ สาขางานคอมพวิ เตอร์ธรุ กจิ

1. หมวดสมรรถนะแกนกลาง

1.1 วิชาสมรรถนะแกนกลาง จานวน 3 หนว่ ยกติ

ลาดบั ท่ี รหัสวิชา รายวิชา ทฤษฎี ปฏิบตั ิ หนว่ ยกติ ชว่ั โมง ช่ัวโมงรวม ช่ือผสู้ อน

1 20000-1303 วทิ ยาศาสตรเ์ พอื่ พฒั นาอาชพี ธรุ กจิ และบรกิ าร 1 2 2 3 60 กลุม่ สาระฯวทิ ยาศาสตร์

2 20000-1210 ภาษาองั กฤษสาหรบั งานธรุ กจิ 0 2 1 2 40 กลมุ่ สาระฯภาษาตา่ งประเทศ

2. หมวดวิชาสมรรถนะวิชาชีพ

2.1 สมรรถนะวิชาชีพพนื้ ฐาน จานวน 2 หนว่ ยกติ

ลาดบั ที่ รหัสวิชา รายวิชา ทฤษฎี ปฏิบตั ิ หนว่ ยกติ ชว่ั โมง ชั่วโมงรวม ช่ือผสู้ อน

3 20200-1001 เศรษฐศาสตรเ์ บื้องตน้ 2 0 2 2 40 กลุ่มสาระฯสงั คมศกึ ษาฯ

2.2 สมรรถนะวิชาชีพเฉพาะ จานวน 10 หนว่ ยกติ

ลาดบั ท่ี รหสั วิชา รายวิชา ทฤษฎี ปฏิบตั ิ หนว่ ยกติ ชวั่ โมง ชั่วโมงรวม ช่ือผสู้ อน

4 20204-2003 คณติ ศาสตร์คอมพวิ เตอร์ 1 2 2 3 60 กลุม่ สาระฯคณติ ศาสตร์

5 20204-2107 การเขยี นโปรแกรมภาษาคอมพวิ เตอร์ 2 2 3 4 80 งานหลกั สตู ร ปวช.

6 20204-2006 องคป์ ระกอบศลิ ป์สาหรับงานคอมพวิ เตอร์ 1 2 2 3 60 งานหลกั สตู ร ปวช.

7 20204-2005 เครือข่ายคอมพวิ เตอร์เบื้องตน้ 2 2 3 4 80 งานหลกั สตู ร ปวช.

2.3 สมรรถนะวิชาชีพเลอื ก จานวน 6 หนว่ ยกติ

ลาดบั ท่ี รหัสวิชา รายวิชา ทฤษฎี ปฏิบัติ หนว่ ยกติ ชวั่ โมง ช่ัวโมงรวม ช่ือผสู้ อน

8 20204-2110 โปรแกรมมัลตมิ ีเดยี 2 2 3 4 80 งานหลกั สตู ร ปวช.

9 20204-2105 โปรแกรมฐานข้อมูล 2 2 3 4 80 งานหลกั สตู ร ปวช.

3. หมวดวิชาเลอื กเสรี 1 หนว่ ยกติ

ลาดบั ที่ รหสั วิชา รายวิชา ทฤษฎี ปฏิบตั ิ หนว่ ยกติ ชว่ั โมง ช่ัวโมงรวม ช่ือผสู้ อน

10 20000-1506 เหตกุ ารณป์ ัจจุบนั 1 0 1 1 20 กลมุ่ สาระฯสงั คมศกึ ษาฯ

4. กจิ กรรมเสริมหลกั สตู ร

ลาดบั ที่ รหัสวิชา รายวิชา ทฤษฎี ปฏิบตั ิ หนว่ ยกติ ชว่ั โมง ช่ัวโมงรวม ชื่อผสู้ อน

11 20000-2002 กจิ กรรมลกู เสอื วสิ ามัญ 2 0 1 * 1 20 กจิ กรรมพฒั นาผู้เรียน

12 20000-2005 กจิ กรรมองคก์ ารวชิ าชีพ 3 0 2 * 2 40 กจิ กรรมพฒั นาผเู้ รยี น

รวมจานวนชั่วโมง ทฤษฏ/ี ปฏิบตั ิ/สัปดาห์ 31 ชั่วโมง 14 19 22 33 660

๒๔

แผนการเรียนภาคเรียนที่ 2 ปกี ารศึกษา 2565 (ปวช.2)
หลักสูตรประกาศนยี บตั รวิชาชีพ พทุ ธศักราช 2562

ประเภทวิชาพาณชิ ยกรรม สาขาวิชาพาณชิ ยการ สาขางานคอมพวิ เตอร์ธรุ กจิ

1. หมวดสมรรถนะแกนกลาง

1.1 วิชาสมรรถนะแกนกลาง จานวน 1 หนว่ ยกติ

ลาดบั ท่ี รหัสวิชา รายวิชา ทฤษฎี ปฏิบตั ิ หนว่ ยกติ ชวั่ โมง ช่ัวโมงรวม ชื่อผสู้ อน

1 20000-1206 ภาษาองั กฤษอนิ เทอร์เน็ต 0 2 1 2 40 กลุ่มสาระฯภาษาตา่ งประเทศ

2. หมวดวิชาสมรรถนะวิชาชีพ จานวน 4 หนว่ ยกติ

ลาดบั ที่ รหสั วิชา 2.1 สมรรถนะวิชาชีพพนื้ ฐาน ทฤษฎี ปฏิบัติ หนว่ ยกติ ชว่ั โมง ชั่วโมงรวม ชื่อผสู้ อน
รายวิชา
2 20001-1003 1 2 2 3 60 งานหลกั สตู ร ปวช.
3 20001-1001 ธรุ กจิ และการเปน็ ผปู้ ระกอบการ
อาชีวนามัยและความปลอดภยั 2 0 2 2 40 กลมุ่ สาระฯสขุ ศกึ ษาและพลฯ
ลาดบั ท่ี รหัสวิชา
2.2 สมรรถนะวิชาชีพเฉพาะ จานวน 3 หนว่ ยกติ
4 20204-2007 รายวิชา
ทฤษฎี ปฏิบัติ หนว่ ยกติ ชวั่ โมง ช่ัวโมงรวม ชื่อผสู้ อน
ลาดบั ท่ี รหสั วิชา โปรแกรมกราฟกิ
2 2 3 4 80 งานหลกั สตู ร ปวช.
5 20204-2103 2.3 สมรรถนะวิชาชีพเลอื ก
6 20204-2108 รายวิชา จานวน 9 หนว่ ยกติ
7 20204-2104
โปรแกรมตารางงาน ทฤษฎี ปฏิบตั ิ หนว่ ยกติ ชวั่ โมง ชั่วโมงรวม ช่ือผสู้ อน
การเขียนโปรแกรมเชิงวตั ถเุ บ้ืองตน้
โปรแกรมนาเสนอข้อมูล 2 2 3 4 80 งานหลกั สตู ร ปวช.

2 2 3 4 80 งานหลกั สตู ร ปวช.

2 2 3 4 80 งานหลกั สตู ร ปวช.

3. หมวดวิชาเลอื กเสรี จานวน 3 หนว่ ยกติ
รายวิชา
ลาดบั ท่ี รหัสวิชา ทฤษฎี ปฏิบตั ิ หนว่ ยกติ ชว่ั โมง ช่ัวโมงรวม ช่ือผสู้ อน
การพดู ภาษาไทยในงานอาชพี
8 20000-1104 อาเซยี นศกึ ษา 0 2 1 2 40 กลุ่มสาระฯภาษาไทย
9 20000-1505
10 20000-1604 พลศกึ ษาเพอ่ื พฒั นากายภาพเฉพาะทาง 1 0 1 1 20 กลมุ่ สาระฯสงั คมฯ

0 2 1 2 40 กลุ่มสาระฯสขุ ศกึ ษาและพลฯ

4. กจิ กรรมเสริมหลกั สตู ร

ลาดบั ท่ี รหสั วิชา รายวิชา ทฤษฎี ปฏิบัติ หนว่ ยกติ ชว่ั โมง ช่ัวโมงรวม ชื่อผสู้ อน

11 20000-2002 กจิ กรรมลกู เสอื วสิ ามัญ 4 0 1 * 1 20 กจิ กรรมพฒั นาผู้เรียน

12 20000-2006 กจิ กรรมองคก์ ารวชิ าชีพ 4 0 2 * 2 40 กจิ กรรมพฒั นาผู้เรียน

รวมจานวนช่ัวโมง ทฤษฏ/ี ปฏบิ ตั ิ/สัปดาห์ 33 ชั่วโมง 12 19 13 31 620

๒๕

แผนการเรียนภาคเรียนท่ี 1 ปกี ารศึกษา 2566 (ปวช.3)
หลักสูตรประกาศนยี บตั รวิชาชีพ พทุ ธศักราช 2562

ประเภทวิชาพาณชิ ยกรรม สาขาวิชาพาณชิ ยการ สาขางานคอมพวิ เตอร์ธรุ กจิ

1. หมวดสมรรถนะแกนกลาง

1.1 วิชาสมรรถนะแกนกลาง จานวน 1 หนว่ ยกติ

ลาดบั ที่ รหสั วิชา รายวิชา ทฤษฎี ปฏิบัติ หน่วยกิจ ชว่ั โมง ช่ัวโมงรวม ชื่อผสู้ อน

1 20000-1205 ภาษาองั กฤษสถานประกอบการ 0 2 1 2 40 กลุม่ สาระฯภาษาตา่ งประเทศ

ลาดบั ที่ รหัสวิชา 2. หมวดวิชาสมรรถนะวิชาชีพ

ลาดบั ที่ รหัสวิชา 2.1 สมรรถนะวิชาชีพพน้ื ฐาน

ลาดบั ที่ รหัสวิชา รายวิชา ทฤษฎี ปฏิบัติ หน่วยกิจ ชว่ั โมง ช่ัวโมงรวม ชื่อผสู้ อน

ลาดบั ท่ี รหสั วิชา …………………………….

2 20204-8001 2.2 สมรรถนะวิชาชีพเฉพาะ

รายวิชา ทฤษฎี ปฏิบัติ หน่วยกิจ ชว่ั โมง ช่ัวโมงรวม ช่ือผสู้ อน

…………………………

2.3 สมรรถนะวิชาชีพเลอื ก

รายวิชา ทฤษฎี ปฏิบัติ หน่วยกิจ ชวั่ โมง ช่ัวโมงรวม ชื่อผสู้ อน

…………………………

2.4 ฝกึ ประสบการณ์สมรรถนะวิชาชีพ 4 หนว่ ยกติ

รายวิชา ทฤษฎี ปฏิบัติ หน่วยกิจ ชว่ั โมง ช่ัวโมงรวม ชื่อผสู้ อน

ฝกึ งาน * * 4 30 600 งานหลกั สตู ร ปวช.

3. หมวดวิชาเลอื กเสรี จานวน 0 หนว่ ยกติ

ลาดบั ที่ รหัสวิชา รายวิชา ทฤษฎี ปฏิบัติ หน่วยกิจ ชวั่ โมง ช่ัวโมงรวม ชื่อผสู้ อน

....................................

4. กจิ กรรมเสริมหลกั สตู ร

ลาดบั ที่ รหสั วิชา รายวิชา ทฤษฎี ปฏิบัติ หน่วยกิจ ชวั่ โมง ชั่วโมงรวม ชื่อผสู้ อน
0 2 4 32 640
....................................

รวมจานวนชั่วโมง ทฤษฏ/ี ปฏบิ ตั ิ/สัปดาห์ 32 ช่ัวโมง

๒๖

แผนการเรียนภาคเรียนที่ 2 ปกี ารศึกษา 2566 (ปวช.3)
หลักสูตรประกาศนยี บตั รวิชาชีพ พทุ ธศักราช 2562

ประเภทวิชาพาณชิ ยกรรม สาขาวิชาพาณชิ ยการ สาขางานคอมพวิ เตอร์ธรุ กจิ

1. หมวดสมรรถนะแกนกลาง

1.1 วิชาสมรรถนะแกนกลาง จานวน 1 หนว่ ยกติ

ลาดบั ท่ี รหัสวิชา รายวิชา ทฤษฎี ปฏิบตั ิ หนว่ ยกติ ชว่ั โมง ชั่วโมงรวม ช่ือผสู้ อน

1 20000-1208 ภาษาองั กฤษเตรียมความพรอ้ มเพอ่ื การทางาน 0 2 1 2 40 กลุ่มสาระฯภาษาตา่ งประเทศ

2. หมวดวิชาสมรรถนะวิชาชีพ

ลาดบั ท่ี รหสั วิชา 2.1 สมรรถนะวิชาชีพพนื้ ฐาน ทฤษฎี ปฏิบตั ิ หนว่ ยกติ ชวั่ โมง ชั่วโมงรวม ชื่อผสู้ อน
รายวิชา
ลาดบั ที่ รหัสวิชา
…………………………….
2 20204-2008
2.2 สมรรถนะวิชาชีพเฉพาะ จานวน 3 หนว่ ยกติ
ลาดบั ที่ รหัสวิชา
รายวิชา ทฤษฎี ปฏิบตั ิ หนว่ ยกติ ชว่ั โมง ชั่วโมงรวม ชื่อผสู้ อน
3 20204-2112
การสรา้ งเวบ็ ไซต์ 2 2 3 4 80 งานหลกั สตู ร ปวช.
ลาดบั ที่ รหัสวิชา
2.3 สมรรถนะวิชาชีพเลอื ก จานวน 3 หนว่ ยกติ
4 20204-8501
รายวิชา ทฤษฎี ปฏิบัติ หนว่ ยกติ ชว่ั โมง ช่ัวโมงรวม ช่ือผสู้ อน

การพฒั นาโปรแกรมบนอปุ กรณพ์ กพาเบื้องตน้ 2 2 3 4 80 งานหลกั สตู ร ปวช.

2.4 ฝกึ ประสบการณ์สมรรถนะวิชาชีพ 4 หนว่ ยกติ

รายวิชา ทฤษฎี ปฏิบัติ หนว่ ยกติ ชวั่ โมง ช่ัวโมงรวม ชื่อผสู้ อน

โครงงาน * * 4 8 160 งานหลกั สตู ร ปวช.

3. หมวดวิชาเลอื กเสรี จานวน 9 หนว่ ยกติ
รายวิชา
ลาดบั ท่ี รหสั วิชา ทฤษฎี ปฏิบตั ิ หนว่ ยกติ ชวั่ โมง ช่ัวโมงรวม ช่ือผสู้ อน
โปรแกรมสาเรจ็ รูปทางสถติ ิ
5 20204-2106 การผลติ สื่อสิง่ พมิ พ์ 2 2 3 4 80 งานหลกั สตู ร ปวช.
6 20204-2109 โปรแกรมสรา้ งภาพเคลอ่ื นไหว
7 20204-2111 2 2 3 4 80 งานหลกั สตู ร ปวช.

2 23 80 งานหลกั สตู ร ปวช.

4. กจิ กรรมเสริมหลกั สตู ร

ลาดบั ที่ รหัสวิชา รายวิชา ทฤษฎี ปฏิบตั ิ หนว่ ยกติ ชว่ั โมง ชั่วโมงรวม ช่ือผสู้ อน

8 20000-2007 กจิ กรรมสง่ เสริมคณุ ธรรม จริยธรรม 0 2 * 2 40 กจิ กรรมพฒั นาผเู้ รยี น

รวมจานวนชั่วโมง ทฤษฏ/ี ปฏิบตั ิ/สัปดาห์ 32 ช่ัวโมง 10 14 16 28 640

๒๗

๙. แหล่งเรยี นรู้ ภมู ิปญั ญาท้องถิ่น
๑. ห้องสมุด หอ้ งสมุดมีพ้นื ทีข่ นาด ๑๐๐ ตารางเมตร หนงั สือในห้องสมุดมจี ำนวน ๑๕,๐๐๐ เลม่ มวี ารสาร

๗ เล่ม มีหนังสือพิมพ์ ให้บริการจำนวน ๑ ฉบับ/วัน การสืบค้นหนังสือและ มีจำนวนนักเรียนที่ใช้ห้องสมุด เฉล่ีย
๕๐ คน ต่อวัน คิดเปน็ รอ้ ยละ ๑๑.๙๖ ของนักเรียนท้ังหมด

๒. ห้องปฏบิ ัตกิ าร มที งั้ หมด ๗ ห้อง จำแนกเป็น
๑) ห้องปฏิบัตกิ ารวิทยาศาสตร์ จำนวน ๓ หอ้ ง
๒) หอ้ งปฏิบัติการคอมพิวเตอร์ จำนวน ๔ ห้อง
๓) หอ้ งปฏิบัตกิ ารทางภาษา จำนวน ๑ ห้อง
๔) หอ้ งปฏิบตั ิการคณิตศาสตร์ จำนวน ๑ หอ้ ง
๕) หอ้ งดนตรี/นาฏศลิ ป์ จำนวน ๑ หอ้ ง
๖) ห้องสังคม จำนวน ๑ ห้อง
๗) หอ้ งสมดุ จำนวน ๑ ห้อง

๓. เคร่อื งคอมพิวเตอร์ มีท้ังหมด จำนวน ๙๐ เคร่ือง จำแนกเป็น
๑) ใช้เพอื่ การเรยี นการสอน จำนวน ๗๕ เคร่ือง
๒) ใช้เพ่อื สนบั สนนุ การบริหารสถานศกึ ษา (สำนักงาน) จำนวน ๑๕ เคร่ือง

๔. แหลง่ เรยี นรูภ้ ายในโรงเรียน สถติ กิ ารใชจ้ ำนวนครั้ง/ปี

แหล่งเรียนรู้ภายใน ๘๐
ช่ือแหล่งเรยี นรู้ ๖๙
๖๐
๑. หอ้ งสมุด ๗๘
๒. หอ้ งคอมพวิ เตอร์ ๕๒
๓. ห้องศลิ ปะ
๔. ห้องปฏบิ ตั กิ ารวิทยาศาสตร์
๕. ห้องปฏบิ ตั กิ ารทางคณติ ศาสตร์

๕. แหลง่ เรียนรภู้ ายนอกโรงเรียน สถติ กิ ารใช้
จำนวนครั้ง/ปี
แหลง่ เรียนรภู้ ายนอก
ช่อื แหล่งเรียนรู้ ๑๐

๑. ศูนย์ผ้าทอบ้านทงุ่ กฐนิ ๒
๒. ศนู ยผ์ ้าทอบา้ นบอ่ กรุ ๒
๓. ศาลเจา้ พ่อดงไมง้ าม ๒
๔. วดั บอ่ กรุ ๒
๕. วดั ทุง่ กฐนิ ๒
๖. วดั หนองกระทุ่ม ๒
๗. วัดลำพนั บอง ๒
๘. วัดสระบวั กำ่
๙. โรงพยาบาลส่งเสริมตำบลบ่อกรุ

๒๘

๖. ภูมิปัญญาท้องถ่ิน ปราชญ์ชาวบ้าน ผู้ทรงคุณวุฒิ วิทยากร ที่สถานศึกษาเชิญมาใหค้ วามร้แู ก่ครู นกั เรียน
(ในปกี ารศึกษาท่ีรายงาน)

ที่ ชือ่ -สกุล ใหค้ วามรู้เรอื่ ง จำนวนคร้งั /ปี
๑ นายแมน ขุมทอง จำนวน ๒ ครง้ั /ปี
๒ นางแวน่ กาฬภักดี การป้องกันโรคโควิด 19 จำนวน ๓ ครง้ั /ปี
๓ นางประเทือง กาฬภกั ดี ผ้าทอพื้นบา้ น จำนวน ๑ ครง้ั /ปี
๔ นางยม ผลวฒั นะ ผ้าทอพ้นื บา้ น จำนวน ๑ คร้งั /ปี
๕ นายอ่มิ กาฬภักดี ผ้าทอพืน้ บา้ น จำนวน ๑ ครั้ง/ปี
๖ พระครูโกมทุ สุวรรณาภรณ์ จักสาน/ไม้กวาด จำนวน ๑ ครง้ั /ปี
ประเพณี วัฒนธรรมของ
๗ พระครใู บฏกี าอาทิตย์ อินทมุณี ลาวคร่งั จำนวน ๓ ครง้ั /ปี
ธรรมะยามเชา้

๑๐. ผลงานดเี ดน่ ในรอบปีท่ีผา่ นมา
๑. ผลงานดีเดน่ ของสถานศึกษา

ลำดับ ระดับรางวัล ชือ่ รางวัลท่ไี ดร้ บั วนั ท่ีได้รบั หน่วยงานท่ีให้
กระทรวงศกึ ษาธกิ าร
๑ กระทรวงศกึ ษาธิการ โล่ประกาศเกยี รตคิ ุณ “โรงเรยี น
สำนกั งานศึกษาธกิ ารสุพรรณบุรี
ดไี มม่ ีอบายมุข” ระดบั ประเทศ
สำนักงานคณะกรรมการ
(ร่นุ ๕) การศึกษาข้ันพื้นฐาน
กระทรวงศึกษาธิการ
๒ สำนกั งานศึกษาธิการ รางวลั ชนะเลิศ การประกวด

สพุ รรณบุรี เพลงรำวงสุพรรณบุรี ระดับช้ัน

มธั ยมศึกษาตอนปลาย

๓ สำนกั งาน โรงเรยี นคุณธรรม สพฐ. ระดับ

คณะกรรมการ ๒ ดาว “กิจกรรมโรงเรียนดตี ้อง

การศึกษาขน้ั พืน้ ฐาน มีทย่ี นื ”

๒. ผลงานดเี ด่นของผู้บริหาร

ลำดับ ระดบั รางวัล ชือ่ รางวัลที่ได้รับ วนั ท่ไี ดร้ ับ หน่วยงานทใี่ ห้

๑ คณะกรรมการ โลเ่ ชดิ ชเู กียรติและ ประกาศเกียรติคุณ คณะกรรมการการศึกษาขนั้

การศึกษาขั้น บตั ร ประเภท กรรมการและเลขานกุ าร พนื้ ฐาน

พนื้ ฐาน สถานศึกษาขนั้ พืน้ ฐานดเี ดน่

๒ คณะกรรมการ รางวลั ต้นแบบนวตั กรรมสร้างสรรค์คนดี คณะกรรมการการศึกษาขั้น
การศกึ ษาข้ัน ดา้ นการบรหิ ารเพือ่ ส่งเสรมิ คุณธรรม พืน้ ฐาน

พืน้ ฐาน ระดบั สำนกั งานเขตพน้ื ที่การศกึ ษา
ภายใตโ้ ครงการคุณธรรม สพฐ.

๒๙

ลำดบั ระดับรางวัล ชอื่ รางวัลทีไ่ ด้รับ วันทไี่ ดร้ ับ หนว่ ยงานท่ีให้

๓ คณะกรรมการ รางวลั ต้นแบบนวัตกรรม คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
การศึกษาขนั้ สรา้ งสรรคค์ นดี ด้านการบรหิ าร

พ้นื ฐาน เพื่อสง่ เสริมคุณธรรม ระดบั

สำนักงานเขตพน้ื ท่ีการศึกษา

ภายใต้โครงการคุณธรรม สพฐ.

๔ สำนกั งานเขต ผอู้ ำนวยการสถานศึกษาดีเดน่ สำนักงานเขตพนื้ ที่การศึกษา
พ้ืนท่ี สำนกั งานเขตพ้นื ท่ีการศึกษา มัธยมศึกษาสพุ รรณบรุ ี

การศกึ ษา มัธยมศกึ ษาสพุ รรณบรุ ี สำนักงานเขตพืน้ ที่การศึกษา
มัธยมศึกษา มัธยมศึกษาสพุ รรณบุรี
สพุ รรณบุรี

๕ สำนักงานเขต ผบู้ รหิ ารดีเย่ยี ม “๑๐,๐๐๐ ครุ ุ
พนื้ ท่ี ชน คนคณุ ธรรม ” โครงการ

การศึกษา โรงเรยี นคณุ ธรรม สพฐ. ระดบั
มธั ยมศกึ ษา สำนักงานเขตพนื้ ท่ีการศึกษา
สุพรรณบุรี

๓. ผลงานดเี ด่นครู ระดับรางวัล ชอื่ รางวัลท่ีไดร้ บั วันทีไ่ ดร้ บั หนว่ ยงานทใ่ี ห้

ลำดับ ครู ระดับเขต ครผู ้สู อนดเี ดน่ ๑๖ ม.ค. สำนักงานเขตพน้ื ท่ีการศึกษา
๑ นางสาวเบ็ญจมาศ พน้ื ท่ี ๖๕ มธั ยมศึกษาสุพรรณบุรี
รงุ่ โรจนธ์ รี ะ สำนกั งานเขตพ้นื ที่การศึกษา
๒ นางสาวณฐั ธิดา ระดบั เขต ครผู ู้สอนดเี ดน่ ๑๖ ม.ค. มธั ยมศึกษาสุพรรณบรุ ี
สญั ชานนั ท์ พืน้ ที่ ๖๕ สำนักงานเขตพืน้ ท่ีการศึกษา
๓ นายชยั วฒั น์ ภผู า มธั ยมศกึ ษาสุพรรณบรุ ี
ระดับเขต ครผู สู้ อนดเี ดน่ ๑๖ ม.ค. สำนกั งานเขตพนื้ ท่ีการศึกษา
๔ นางธญั ญาเรศ พนื้ ท่ี ๖๕ มัธยมศึกษาสพุ รรณบรุ ี
จลุ ปานนท์
ระดับเขต รางวลั ชนะเลศิ
พื้นที่ เหรียญทอง การ

ประกวดส่ือ
นวตั กรรมการเรียน

การสอน (Online)

ประเภทสือ่ คลิปวดี โิ อ
การสอน

๓๐

ลำดับ ครู ระดับรางวลั ชือ่ รางวัลทีไ่ ด้รบั วันทไ่ี ดร้ บั หน่วยงานท่ีให้
๕ ว่าทร่ี ้อยตรหี ญิง
เรอื นขวญั พลฤทธ์ิ ระดับเขต เหรียญทอง สำนักงานเขตพน้ื ที่การศึกษา
พน้ื ท่ี การประกวดสอื่ มัธยมศึกษาสพุ รรณบรุ ี
๖ นางสาวขวญั ฤทยั
สนิ สอน นวตั กรรมการเรยี น
การสอน (Online)
๗ วา่ ทร่ี ้อยตรหี ญิง ประเภท
เรือนขวญั พลฤทธิ์
สือ่ คอมพวิ เตอรช์ ่วย
๘ นายเอกราช พาชัย สอน (CAI)

ระดับเขต เหรียญทอง สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา
พืน้ ที่ การประกวดสอ่ื มัธยมศึกษาสุพรรณบรุ ี
นวตั กรรมการเรียน
สำนักงานเขตพน้ื ที่การศึกษา
การสอน (Online) มัธยมศกึ ษาสุพรรณบุรี
ประเภทสอื่ ใบงาน
ออนไลน์

ระดบั เขต ครูผู้สอนดเี ยีย่ ม
พ้นื ที่ “๑๐,๐๐๐ คุรชุ น
คนคณุ ธรรม”
โครงการโรงเรียน
คณุ ธรรม สพฐ.
ระดบั สำนกั งานเขต
พน้ื ทก่ี ารศึกษา

ประจำปีการศึกษา
๒๕๖๔

ระดับเขต ครูผ้สู อนดเี ย่ยี ม สำนกั งานเขตพนื้ ท่ีการศึกษา
พนื้ ที่ “๑๐,๐๐๐ คุรชุ น มัธยมศกึ ษาสพุ รรณบรุ ี
คนคุณธรรม”

โครงการโรงเรยี น
คุณธรรม สพฐ.
ระดับสำนกั งานเขต

พื้นทกี่ ารศกึ ษา
ประจำปกี ารศึกษา
๒๕๖๔

๓๑

ลำดบั ครู ระดบั รางวลั ช่อื รางวัลท่ีได้รบั วนั ที่ได้รบั หน่วยงานทีใ่ ห้
๙ นางธญั ญาเรศ
จุลปานนท์ สำนกั งาน ครผู ูส้ อนดเี ยีย่ ม สำนักงานเขตพ้นื ที่การศึกษา
เขตพืน้ ท่ี “๑๐,๐๐๐ ครุ ุชน มัธยมศึกษาสุพรรณบรุ ี
๑๐ นายชยั วฒั น์ ภูผา
การศึกษา คนคุณธรรม”
มธั ยม โครงการโรงเรียน
ศึกษา คุณธรรม สพฐ.

สุพรรณบุรี ระดบั สำนกั งานเขต
พ้ืนที่การศึกษา
ประจำปกี ารศึกษา

๒๕๖๔

สำนักงาน ครผู ูส้ อนดีเยีย่ ม สำนักงานเขตพนื้ ท่ีการศึกษา
มัธยมศึกษาสพุ รรณบรุ ี
เขตพ้ืนท่ี “๑๐,๐๐๐ ครุ ชุ น
การศึกษา คนคณุ ธรรม”
มัธยม โครงการโรงเรียน

ศึกษา คุณธรรม สพฐ.
สุพรรณบรุ ี ระดบั สำนักงานเขต

พนื้ ท่กี ารศึกษา

ประจำปีการศกึ ษา
๒๕๖๔

๔. ผลงานดเี ดน่ นักเรยี น
รองชนะเลิศอันดับ ๒ เหรียญทอง การประกวดสื่อการสอน โดยศูนย์พัฒนาวิชาการระดับประกาศนียบัตร

วิชาชีพ จังหวัดสุพรรณบุรี สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาสุพรรณบุรี ผลงานนักเรียน ปวช. ประเภท
โปสเตอร์“ อยู่อย่างปลอดภัยในสถานการณ์โควิด-19” ได้แก่ นางสาวชนิกา แก้วโกมล ครูผู้ฝึกซ้อม นางธัญญาเรศ
จุลปานนท์

รางวัลชมเชย เหรียญทองแดง การประกวดสื่อการสอน โดยศูนย์พัฒนาวิชาการระดับประกาศนียบัตร
วิชาชีพ จังหวัดสุพรรณบุรี สำนักงานเขตพืน้ ท่ีการศึกษามัธยมศึกษาสุพรรณบุรี ผลงานนักเรยี น ปวช. ประเภทคลปิ
วีดีโอ “เทคนคิ ทเ่ี ด็กบญั ชคี วรมใี นการเรยี นยุคโควิด-19” ไดแ้ ก่ นางสาวอรปรญี า แย้มเย้อื น ครูผูฝ้ ึกซอ้ ม นายปกรณ์
สิทธิ์ อุน่ ทรพั ย์

รางวัลชมเชย เหรียญทองแดง การประกวดสื่อการสอน โดยศูนย์พัฒนาวิชาการระดับประกาศนียบัตร
วิชาชีพ จังหวัดสุพรรณบรุ ี สำนักงานเขตพื้นทีก่ ารศึกษามัธยมศึกษาสุพรรณบุรี ผลงานนกั เรยี น ปวช. ประเภทคลิป
วีดีโอ รีวิวสินค้า “ยอดขายทะลุล้าน เพราะการรีวิว" ได้แก่ นางสาวจุฑามาศ มะหิงษา และนางสาวจุฑารัตน์
มะหงิ ษา ครผู ู้ฝึกซอ้ ม วา่ ท่รี อ้ ยตรหี ญิงเรอื นขวญั พลฤทธ์ิ และนางสาวขวญั ฤทัย สนิ สอน

รางวัลเหรียญทอง การเขียนเรียงความ ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย นางสาวณิชาภัทร กาฬภักดี ช้ัน
มัธยมศึกษาปีที่ ๖ โดยศูนย์พัฒนาวิชาการกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย จังหวัดสุพรรณบุรี สำนักงานเขตพื้นท่ี
การศึกษามธั ยมศกึ ษาสุพรรณบุรี ครูผฝู้ กึ ซอ้ ม นางสาวนนั ทยิ า เอกคณาปราชญ์

๓๒

รางวัลเหรียญเงิน การอ่านทำนองเสนาะ ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย นางสาวภาพิมล กาฬภักดี
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๖ โดยศูนย์พัฒนาวิชาการกลุม่ สาระการเรียนรู้ภาษาไทย จังหวัดสุพรรณบุรี สำนักงานเขตพื้นท่ี
การศึกษามธั ยมศึกษาสุพรรณบรุ ี ครผู ู้ฝกึ ซอ้ ม นางสาวนนั ทยิ า เอกคณาปราชญ์

รางวลั เหรยี ญทองแดง คัดลายมอื ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย นางสาวอจั จมิ า ทองจนั ทร์ ชน้ั มัธยมศกึ ษา
ปีที่ ๔ โดยศูนย์พัฒนาวิชาการกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย จังหวัดสุพรรณบุรี สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา
มธั ยมศกึ ษาสุพรรณบุรี ครผู ฝู้ กึ ซ้อม นายจกั รพันธุ์ จติ รเพ็ชร์

๑๑. ผลการประเมินคุณภาพภายในสถานศกึ ษาในปีทผี่ า่ นมา ปีการศกึ ษา ๒๕๖๓
ระดับการศกึ ษาขนั้ พื้นฐาน

สรปุ ผลการประเมนิ ภาพรวม

 กำลงั พัฒนา  ปานกลาง  ดี  ดีเลศิ  ยอดเยย่ี ม

มาตรฐาน / ประเดน็ พิจารณา ระดับคณุ ภาพ
มาตรฐานท่ี ๑ คุณภาพของผู้เรยี น ดี
มาตรฐานท่ี ๒ กระบวนการบรหิ ารและการจัดการ
มาตรฐานที่ ๓ กระบวนการจัดการเรียนการสอนท่ีเน้นผ้เู รียนเปน็ สำคญั ดเี ลศิ
ดีเลศิ

จุดเดน่
ผู้เรียนมีทักษะและสุขนิสัยในการดูแลสุขภาพ การเล่นกีฬาและการออกกำลังกาย มีน้ำหนักส่วนสูงและ

สมรรถภาพทางกายตามเกณฑ์มาตรฐาน รู้จักป้องกันและหลีกเลี่ยงจากสิ่งเสพติดให้โทษ รู้จักหลีกเลี่ยงต่อความ
รุนแรง โรคภัย อบุ ตั เิ หตุและปัญหาทางเพศ เหน็ คณุ ค่าในตัวเองและกลา้ แสดงออก มคี วามซาบซงึ้ เหน็ คณุ ค่าในงาน
ศลิ ปะและดนตรี ผู้เรียนเป็นคนดี มีคุณธรรม จรยิ ธรรม มีความกตัญญตู ่อพ่อแมผ่ ู้มีพระคุณ มกี ิริยามารยาทท่ีดี เอ้ือ
อาทรผู้อนื่ ยอมรับในความคดิ เห็นและวฒั นธรรมที่แตกต่าง ปฏิบตั ิตนตามกฎระเบียบวินยั ของสถานศึกษา ตระหนัก
รู้คุณค่า และร่วมกันอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม มีจิตใจที่ดีงามในการรู้จักและปฏิบัติตนในการเป็นผู้ให้ มีจิตอาสาที่จะทำ
ความดีต่อสังคมและผู้ที่อ่อนแอกว่าโดยไม่หวังสิ่งตอบแทนและมีสัมพันธ์ที่ดีต่อชุมชน ตระหนักและเข้าใจในการ
ดำเนินชีวิตตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ตลอดจนขยันหมั่นเพียรเรียนรู้และฝึกทักษะต่าง ๆ ผู้เรียน
สามารถเรียนรู้ได้ด้วยตนเอง และสามารถเรียนรู้ร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีความสุข สนุกกับการเรียนรู้ สามารถใช้
ห้องสมุด ห้องคอมพิวเตอร์ (อินเทอร์เน็ต) ในการสืบค้นข้อมูลได้ทั้งในและนอกสถานศึกษา อีกทั้งมีทักษะในการ
อ่าน การฟัง การดู การพูด การเขียน การคิดวิเคราะห์ สังเคราะห์ ประเมินค่า และตั้งคำถามเพื่อค้นคว้าหาความรู้
เพิ่มเติม สามารถเรียนรู้ร่วมกันเป็นกลุ่ม แลกเปลี่ยนความคิดเห็นเพื่อการเรียนรู้ระหว่างกัน ใช้เทคโนโลยีในการ
เรียนรู้ และนำเสนอผลงานไดอ้ ยา่ งมีประสทิ ธภิ าพ

ผ้เู รียนสามารถคิดสรปุ ความ มีความคิดรเิ ร่ิมสรา้ งสรรค์ สามารถตัดสินใจแก้ปญั หาได้อย่างมีเหตุผลผู้เรียน
มีความรู้ความสามารถและทักษะที่จำเป็นต่อหลักสูตรไปใช้ในการพัฒนาตัวเอง พัฒนาสังคมและนำไปประกอบ
อาชีพ เข้าศึกษาในสถานศึกษาขั้นสงู ต่อไป ผู้เรียนมีความสามคั คี ยอมรับคำเสนอแนะ มีเจตคติที่ดีต่อการทำงานจงึ
ทำงานดว้ ยความสนุก มีความรว่ มมือกัน สามารถทำงานร่วมกันได้สำเร็จ

โรงเรียนมีการบริหารและการจัดการอยา่ งเป็นระบบ โรงเรียนได้ใช้เทคนคิ การประชุมท่ีหลากหลายวิธี เชน่
การประชุมแบบมีส่วนร่วม การประชุมระดมสมอง การประชุมกลุม่ การประชุมดว้ ยระบบออนไลน์ เพื่อให้ทุกฝา่ ยมี
ส่วนร่วมในการกำหนดวิสัยทัศน์ พันธกิจ เป้าหมาย ที่ชัดเจน มีการปรับแผนพัฒนาคุณภาพ การจัดการศึกษา

๓๓

แผนปฏิบัติงานประจำปี ที่สอดคล้องกับผลการจัดการศึกษา สภาพปัญหาความต้องการพัฒนา และนโยบายการ
ปฏริ ปู การศึกษา ทมี่ ุ่งเน้นการพัฒนาให้ผู้เรียนมีคณุ ภาพตามมาตรฐานการเรยี นรตู้ ามหลักสูตรสถานศึกษา ครูผู้สอน
สามารถจัดการเรียนรู้ได้อย่างมีคุณภาพ มีการดำเนินการนิเทศ กำกับ ติดตาม ประเมินผล การดำเนินงาน และ
จัดทำรายงานผลการจัดการศึกษา เพื่อใช้เป็นฐานในการวางแผนพัฒนาคุณภาพสถานศึกษา เน้นการสร้างความ
เข้าใจและให้ความรู้ด้านการประกันคุณภาพการศึกษากับคณะครู บุคลากร ทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้องที่ชัดเจนเป็น
ประโยชน์ในการพัฒนาคุณภาพการศึกษา การดำเนินงาน ประกันคุณภาพภายในของโรงเรียนเน้นการมีส่วนร่วม
ดำเนินการในรปู ของคณะกรรมการ สร้างวฒั นธรรมองค์กร การประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษาให้กับบุคคล
ท่ีเก่ียวขอ้ งทุกระดบั

ครูมีความตั้งใจ มุ่งมั่นในการพัฒนาการสอน โดยจัดกิจกรรมให้นักเรียนได้เรียนรู้ โดยการคิดได้ปฏบิ ัตจิ ริง
มีการใชว้ ธิ ีการและแหล่งเรียนรู้ท่ีหลากหลาย ใหน้ ักเรียนแสวงหา ความรู้จากส่ือเทคโนโลยีด้วยตนเองอย่างต่อเน่ือง
นักเรียนมีส่วนรว่ มในการจัดบรรยากาศ สภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการเรียนรู้และผลงานวิจัยในช้ันเรียนของครูทุกคน
ไดร้ บั การตรวจ ประเมินพร้อมทง้ั ใหค้ ำแนะนำจากผชู้ ำนาญการ

จุดควรพฒั นา
โรงเรียนควรพัฒนาฝึกฝนสุขนิสัยการดูแลสุขภาพและออกกำลังกายอยู่เสมอ อย่างน้อยสัปดาห์ละ ๓-๔

วัน ๆ ละประมาณ ๓๐ นาที เหน็ คุณคา่ ในศลิ ปะ ดนตรีจนเป็นนสิ ัยในชีวิตประจำวนั สามารถสร้างผลงานในการเข้า
ร่วมกิจกรรมด้านศิลปะ ดนตรี นาฏศิลป์ กีฬา นันทนาการตามจินตนาการได้เหมาะสมตามวัย ควรมีการสอดแทรก
คุณธรรม จริยธรรมและระเบียบวนิ ัยในเรือ่ งของจิตอาสา เพื่อให้นักเรยี นได้รู้จักการเป็นผู้ให้ สร้างจิตอันเปน็ กศุ ล
เสยี สละความสุขเพ่ือผู้ทยี่ ากไร้ การทำประโยชนต์ ่อผู้อนื่ โดยไมห่ วังสิ่งตอบแทนการรู้จักช่วยเหลือผู้อ่ืนที่ไม่ใช่พ่ีน้อง
หรอื ญาติมติ ร เพ่อื นักเรียนจะได้เป็นผู้มีจิตใจทีด่ ีงามในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน และสถานศึกษาควรให้มี
การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ทางภูมิปัญญาท้องถิ่นเกี่ยวกับศิลปวัฒนธรรมประจำท้องถิ่นเพื่อให้ผู้เรียนตระหนักและร่วม
อนุรักษ์ภูมิปัญญาท้องถิ่น น้อมนำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาใช้ในการดำเนินชีวิตให้เกิดประโยชน์สูงสุด
ส่งเสริมให้ครูและนักเรียนได้ตระหนักถึงการดูแลสุขภาพด้วยการมีโภชนาการที่ดี ตลอดจนส่งเสริมทักษะทางด้าน
ศลิ ปะ ดนตรี และกฬี าใหก้ ับนักเรียนอย่างทัว่ ถงึ

สง่ เสรมิ นักเรยี นใหม้ ีความรบั ผิดชอบ สร้างชน้ิ งานให้มคี ณุ ภาพมากยิ่งขน้ึ โดยมีครเู ปน็ ท่ปี รึกษาใหค้ ำแนะนำ
ให้มกี ารจัดทำโครงการรักการอ่านอยา่ งต่อเนื่อง มีการพฒั นาโครงการอ่าน-เขยี นคลอ่ ง เพอ่ื ใหผ้ ู้เรยี นมคี วามสามารถ
ในการอ่านสรุปใจความสำคัญแปลความ ตีความ คิดวิเคราะห์ คิดสังเคราะห์ ตั้งคำถามจากเรื่องที่อ่านได้ จัดทำ
แหล่งการเรยี นรู้ พฒั นาระบบงานห้องสมุดใหม้ คี วามทนั สมัย ส่งเสริมให้ครูจดั การเรียนการสอนหลากหลายโดยเน้น
ให้จัดกิจกรรมการเรียนรู้ตามตัวชี้วัด ใช้เทคโนโลยีเพื่อเพิ่มความน่าสนใจของเนื้อหาและเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
นอกจากนส้ี ง่ เสรมิ ใหผ้ ู้เรียนสามารถสืบค้นข้อมูลจากแหลง่ เรยี นรู้ตา่ ง ๆ ทั้งภายในและภายนอกโรงเรียน รายงานผล
และนำเสนอผลของการสืบค้นข้อมูลตา่ ง ๆ โดยผ่านเทคโนโลยใี หม้ ากยิ่งขนึ้ โรงเรียนควรกำหนดแผนพัฒนาครู เพ่ือ
ยกระดบั ความสามารถในการจดั การเรียนรู้ที่เนน้ ทักษะการคดิ ให้มากขึ้น เพ่อื พฒั นานักเรียนในเรือ่ งกระบวนการคิด
อย่างเป็นระบบ มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์และแก้ปัญหาได้อย่างสมเหตุสมผล สร้างสรรค์งานที่เกิดประโยชน์ต่อ
ตนเองและส่วนรวมให้มากยิ่งขึ้น สนับสนุนงานด้านการประกอบอาชีพแบบครบวงจรเพื่อเป็นการน้อมนำหลัก
ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง นอกจากนี้ควรเน้นในเรื่องการสอนแบบบูรณาการใน ทุกกลุ่มสาระ เพื่อเป็นการ
ลดภาระงานของนักเรียน และได้เรียนรู้การทำงานร่วมกัน รู้จักการวางแผนงานอย่างมีประสิทธิภาพ มีการนิเทศ
การสอนของครูอย่างเป็นระบบ รวมทั้งมีการทดสอบผู้เรียนด้านการคิด เพื่อประเมินความสามารถด้านการคิดของ
นักเรียนตามที่กำหนดในหลักสูตรออกมาเป็นภาพรวม (ร้อยละ) ของโรงเรียน โรงเรียนควรกำหนดแผนการพัฒนา
ครู เพอื่ ยกระดับความสามารถในการจัดการเรยี นการสอนที่เน้นทักษะ การคดิ วเิ คราะห์และการไดป้ ฏิบัติจริง เพ่ือ

๓๔

พัฒนานักเรียนให้รู้จักการคิด วิเคราะห์ ความคิดสร้างสรรค์ เพื่อนำไปใช้ได้ในชีวิตประจำวันต่อไป ผู้เรียนขาด
ความคิดสร้างสรรค์ในการออกแบบผลงานใหม่ ๆ ขาดการพัฒนาตนเองโดยใชส้ ่ือเทคโนโลยี แหลง่ เรียนรู้ในท้องถิ่น
ภมู ปิ ญั ญาท้องถ่นิ มีความขยัน ความอดทน ความตงั้ ใจในการทำงานน้อย

โรงเรียนควรสร้างความตระหนักให้กับบุคลากรในการปฏิบัติงาน เปิดโอกาสให้ครู นักเรียน ผู้ปกครอง
ชุมชนและหน่วยงานอื่นได้รับรู้ข้อมูลสารสนเทศของโรงเรียนเพิ่มมากขึ้น การรายงานผลการปฏิบัติงานควรเป็นไป
ตามระยะเวลาท่กี ำหนด เพอ่ื นำผลไปพัฒนา ปรับปรงุ ศกั ยภาพครู บุคลากรอย่างต่อเนอ่ื งและเป็นระบบ

ควรนำภูมิปัญญาท้องถิ่นให้เข้ามามีส่วนร่วมในการจัดกิจกรรมให้นักเรียนได้เรียนรู้ และการให้ข้อมูล
ยอ้ นกลับแก่นกั เรียนทนั ทีเพ่ือนกั เรยี นนำไปใช้พฒั นาตนเอง

แนวทางการพฒั นาสถานศึกษาในอนาคต
จัดทำแผนพฒั นาส่งเสรมิ ให้ผูเ้ รียนมีทักษะทางวชิ าการ วิชาชีพ ให้ผู้เรียนพฒั นาได้อย่างเตม็ ศกั ยภาพโดยเนน้

ผู้เรียนเป็นสำคัญ และส่งเสริมพัฒนาครูในการเพิ่มประสิทธิภาพการสอนทั้งด้านหลักสูตร การจัดการเรียนการสอน
การวดั ผลประเมนิ นำนวัตกรรมมาใชใ้ นการแกป้ ัญหาการเรยี นการสอน

ความตอ้ งการและการชว่ ยเหลือ
๑. การสนับสนุนงบประมาณด้านอาคารเรียนเนื่องจากห้องเรียนไม่เพียงพอต่อการจัดการเรียนรู้ ของ

นักเรียน
๒. ความช่วยเหลือด้านงบประมาณค่าสาธารณูปโภค วัสดุครุภัณฑ์ สื่อ ICT เพื่อใช้ในการจัดการเรียนการ

สอน และการดแู ลบำรงุ รกั ษาสอ่ื เทคโนโลยี
๓. มีความต้องการให้มีการจัดอบรม เทคนิคการสอนทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้ เพื่อพัฒนาศักยภาพครูและ

พัฒนาการเรยี นการสอน การวัดและประเมนิ ผล การวิจยั ในชั้นเรียนและมาตรฐานวชิ าชพี ครู
๔. ความช่วยเหลือด้านวิทยากรจากองค์กรภายนอกและวิทยากรท้องถิ่นในการร่วมมือจัดการศึกษา ให้

โรงเรยี นเป็นโรงเรียนชนั้ นำและพัฒนาศักยภาพในการเรยี นรู้ของนกั เรียน
๕. การสนับสนุนด้านการจัดภูมิทัศน์ บรรยากาศ และการซ่อมบำรุงอาคารสถานที่ เพื่อเอื้อต่อการเรียนรู้

ของนกั เรยี น

๓๕

๑๒. ผลการประเมินภายนอกรอบสาม
ระดบั การศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐาน

ผลการประเมนิ คณุ ภาพภายนอกรอบสาม (พ.ศ. ๒๕๕๔ - ๒๕๕๘) ระดบั การศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐาน

จากสานกั งานรบั รองมาตรฐานและประเมนิ คณุ ภาพการศกึ ษา (องคก์ ารมหาชน)

เมอ่ื วนั ท่ี ๒๗ – ๒๙ มกราคม ๒๕๕๗ มผี ลการประเมนิ ดงั น้ี

ระดบั การศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐาน น้าหนัก คะแนน ระดบั

(มธั ยมศกึ ษา) (คะแนน) ท่ีได้ คณุ ภาพ

กลุ่มตวั บง่ ชีพ้ ้นื ฐาน

ตวั บง่ ชท้ี ่ี ๑ ผเู้ รยี นมสี ขุ ภาพกายและสขุ ภาพจติ ทด่ี ี ๑๐.๐๐ ๙.๓๕ ดมี าก

ตวั บง่ ชท้ี ่ี ๒ ผเู้ รยี นมคี ณุ ธรรม จรยิ ธรรมและค่านยิ มทพ่ี งึ ประสงค์ ๑๐.๐๐ ๙.๖๔ ดมี าก

ตวั บง่ ชท้ี ่ี ๓ ผเู้ รยี นมคี วามใฝ่รู้ และเรยี นรอู้ ยา่ งตอ่ เน่อื ง ๑๐.๐๐ ๘.๙๖ ดี

ตวั บง่ ชท้ี ่ี ๔ ผเู้ รยี นคดิ เป็น ทาเป็น ๑๐.๐๐ ๘.๙๕ ดมี าก

ตวั บง่ ชท้ี ่ี ๕ ผลสมั ฤทธทิ์ างการเรยี นของผเู้ รยี น ๒๐.๐๐ ๙.๕๔ พอใช้

ตวั บง่ ชท้ี ่ี ๖ ประสทิ ธผิ ลของการจดั การเรยี นการสอนทเ่ี น้นผเู้ รยี นเป็นสาคญั ๑๐.๐๐ ๙.๐๐ ดมี าก

ตวั บง่ ชท้ี ่ี ๗ ประสทิ ธภิ าพของการบรหิ ารจดั การและการพฒั นาสถานศกึ ษา ๕.๐๐ ๔.๕๐ ดมี าก

ตวั บ่งชท้ี ่ี ๘ พฒั นาการของการประกนั คณุ ภาพ ภายในโดยสถานศกึ ษาและ ๕.๐๐ ๔.๖๘ ดมี าก

ตน้ สงั กดั

กล่มุ ตวั บ่งชี้อตั ลกั ษณ์

ตวั บ่งชท้ี ่ี ๙ ผลการพฒั นาใหบ้ รรลตุ ามปรชั ญา ปณธิ าน พนั ธกจิ และ ๕.๐๐ ๕.๐๐ ดมี าก

วตั ถปุ ระสงคข์ องการจดั ตงั้ สถานศกึ ษา

ตวั บ่งชท้ี ่ี ๑๐ ผลการพฒั นาตามจุดเน้นและจุดเดน่ ทส่ี ่งผลสะทอ้ นเป็น ๕.๐๐ ๕.๐๐ ดมี าก

เอกลกั ษณ์ของสถานศกึ ษา

กลุ่มตวั บง่ ชีม้ าตรการส่งเสริม

ตวั บง่ ชท้ี ่ี ๑๑ ผลการดาเนนิ งานโครงการพเิ ศษเพ่อื ส่งเสรมิ บทบาทของ ๕.๐๐ ๕.๐๐ ดมี าก

สถานศกึ ษา

ตวั บ่งชท้ี ่ี ๑๒ ผลการส่งเสรมิ พฒั นาสถานศกึ ษาเพ่อื ยกระดบั มาตรฐาน รกั ษา ๕.๐๐ ๔.๐๐ ดี

มาตรฐาน และพฒั นาสคู่ วามเป็นเลศิ เพ่อื ใหส้ อดคลอ้ งกบั แนวทางการปฏริ ปู

การศกึ ษา

คะแนนรวม ๑๐๐.๐๐ ๘๓.๖๒ ดี

การรบั รอองมาตรฐานสถานศกึ ษา ระดบั ประถมศึกษาและมธั ยมศึกษา

• ผลคะแนนรวมทุกตวั บง่ ชี้ ตงั้ แต่ ๘๐ คะแนนข้นึ ไป  ใช่  ไมใ่ ช่

• มตี วั บง่ ชี้ที่ได้ระดบั ดีขึน้ ไปอยา่ งน้อย ๑๐ ตวั บง่ ชี้ จาก ๑๒ ตวั บง่ ชี้  ใช่  ไมใ่ ช่

• ไมม่ ีตวั บ่งชี้ใดท่ีมีระดบั คณุ ภาพต้องปรบั ปรงุ หรอื ต้องปรบั ปรงุ เรง่ ด่วน  ใช่  ไมใ่ ช่

สรปุ ผลการจดั การศกึ ษาระดบั การศกึ ษาขนั้ พ้ืนฐานของสถานศกึ ษาในภาพรวม

 สมควรรบั รองมาตรฐานการศกึ ษา  ไม่สมควรรบั รองมาตรฐานการศกึ ษา

๓๖

ขอ้ เสนอแนะจากผลการประเมนิ คณุ ภาพภายในและภายนอก
จุดเด่น จุดที่ควรพัฒนา และข้อเสนอแนะจากการติดตามตรวจสอบคุณภาพภายในของสถานศึกษา โดย

สถานศกึ ษา หรือหนว่ ยงานต้นสังกดั
จดุ เดน่

๑. ผู้เรียนมีสุขภาพกายและสุขภาพจิตที่ดี มีคุณธรรมจริยธรรม และค่านิยมที่พึงประสงค์ มีความใฝ่รู้ และ เรียนรู้
อย่างต่อเนอ่ื ง สามารถคดิ เป็นทําเปน็

๒. สถานศึกษามพี ฒั นาการของการประกนั คณุ ภาพภายในโดยสถานศกึ ษาและตน้ สงั กดั
๓. สถานศึกษามีผลการพัฒนาให้บรรลุตามปรัชญา ปณิธาน/วิสัยทัศน์ พันธกิจ และวัตถุประสงค์ของ การจัดต้ัง
สถานศึกษา มีผลการพัฒนาตามจดุ เน้นและจุดเด่นที่ส่งผลสะท้อนเป็นเอกลักษณ์ของสถานศึกษา จัดทํา โครงการพิเศษเพือ่
ส่งเสริมบทบาทของสถานศึกษา และผลการส่งเสริมพัฒนาสถานศึกษาเพื่อยกระดับมาตรฐาน รักษามาตรฐาน และพัฒนาสู่
ความเป็นเลิศที่สอดคล้องกับแนวทางการปฏิรูปการศึกษา
จุดที่ควรพฒั นา
๑. ผูเ้ รียนมีผลสัมฤทธท์ิ างการเรียนต่ำกว่าระดับดีในทกุ กลมุ่ สาระการเรียนรู้
๒. ผบู้ ริหารขาดการวางแผนการนเิ ทศติดตามการจดั การเรียนการสอนของครู ใหค้ รูทําเผนการสอนทุกวชิ าทสี่ อน การ
ตรวจแผนการสอน และการบันทึกหลังสอน โดยเฉพาะเน้นการจัดกิจกรรมการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสําคัญ ติดตามให้มีการ
จัดหา ผลิตสื่อและใช้สื่อ และแหล่งเรียนรู้ให้เกิดประโยชน์สูงสุดในการจดั การเรียนการสอนไม่ ครอบคลุมทุกกลุ่มสาระการ
เรียนรู้ วางระบบการกํากับติดตามให้งานบริหารทั่วไปบรรลุเป้าหมายยังไม่ชัดเจน ส่งเสริม และกระตุ้นให้คณะกรรมการ
สถานศกึ ษามีสว่ นร่วมบริหารงานหลักตามโครงสร้าง และมกี ารประชุมกรรมการ สถานศกึ ษายังนอ้ ย
๓. สถานศึกษายังขาดการนําผลการประเมินครูผู้สอนไปพัฒนาครูแต่ละคนอย่างเป็นระบบ ครูผู้สอนจัดระบบ การ
เรยี นการสอน โดยใหผ้ เู้ รยี นมีสว่ นร่วม มกี ารกาํ หนดเปา้ หมายท่ีต้องการให้เกิดขน้ึ กบั ผู้เรยี นดา้ นความรู้ ทักษะ กระบวนการ
ทเ่ี ป็นความคิดรวบยอด หลักการและความสมั พนั ธ์ รวมทงั้ คุณลักษณะทพ่ี งึ ประสงคย์ ังไม่ชัดเจน

ขอ้ เสนอแนะเพ่อื การพฒั นาตามกฎกระทรวงวา่ ดว้ ยระบบ หลักเกณฑ์ และวิธกี ารประกนั คุณภาพการศึกษา พ.ศ. ๒๕๕๓
๑. ด้านผลการจัดการศกึ ษา

ผู้เรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนอยู่ในระดับคุณภาพต้องปรับปรุง สถานศึกษาโดยฝ่ายวิชาการและกลุ่มสาระการ
เรียนรู้ ควรดําเนินการปรับปรุงเร่งด่วน โดยคณะครูแต่ละกลุ่มสาระการเรียนรู้ ควรวิเคราะห์แนวทางแก้ไข จัดทําแผนงาน/
โครงการพฒั นาผูเ้ รยี นใหเ้ ปน็ ระบบวงจรคุณภาพ PDCA
๒. ด้านการบริหารจดั การศกึ ษา

๑) ผู้บริหารควรร่วมกับฝ่ายวชิ าการวางแผนการนเิ ทศ ติดตามอย่างเป็นระบบ ให้ครูทําแผนการสอน ทุกกลุ่มสาระท่ี
สอน มีบันทึกหลังสอน ควรจัดกิจกรรมที่หลากหลายให้ผู้เรียนมีส่วนร่วม เน้นการใช้สื่อและแหล่งเรียนรู้ ให้เกิดประโยชน์
สงู สดุ

๒) สถานศึกษาควรวางแผนการกํากบั ตดิ ตามการบริหารทวั่ ไปให้มผี ้รู ับผดิ ชอบชัดเจน ดําเนินการเป็น ระบบ PDCA มี
ร่องรอยหลักฐานการปฏิบัติ โดยเฉพาะการติดตามการดําเนินการตามแผนตรวจสอบการบรรลุ ความสําเร็จอย่างมีหลักฐาน
และตามสภาพจริง

๓) สถานศึกษาควรวางแผนทําปฏิทินกําหนดให้มีการประชุมคณะกรรมการสถานศึกษาให้มีจํานวนครั้ง การประชุม
เปน็ ไปตามเกณฑท์ ี่กาํ หนด และให้กรรมการมสี ่วนร่วมในการเสนอแนะ แสดงความคดิ เหน็ ในการพัฒนา สถานศึกษาอยา่ งเตม็
ศกั ยภาพ และนําความคิดเหน็ ไปปฏบิ ตั ติ ามความเหมาะสม

๓๗

๓. ดา้ นการจดั การเรยี นการสอนที่เนน้ ผเู้ รยี นเป็นสาคญั
๑) ครูควรจัดทําแผนกระบวนการจัดการเรียนรู้ตามกลุ่มสาระการเรียนรู้ที่สอนตามหลักสูตรสถานศึกษา ปี ๒๕๕๓

และควรจัดทําบนั ทกึ หลังสอน ผลการสอนทุกครง้ั ให้เปน็ ปจั จบุ นั
๒) ครูควรเน้นใหผ้ เู้ รยี นมสี ่วนรว่ มในการวางแผนการเรยี น มกี ารกาํ หนดเป้าหมายท่ตี ้องการให้เกดิ ขึ้น กบั ผู้เรียน ด้าน

ความรู้ ทักษะกระบวนการทเี่ ปน็ ความคดิ รวบยอด หลักการและความสัมพนั ธ์ รวมทัง้ คุณลักษณะ ทพี่ ึงประสงค์
๓) ครูควรนาํ ปัญหาและอปุ สรรคมาศกึ ษา ค้นคว้า วิจยั เพอื่ พัฒนาสอ่ื และกระบวนการจดั การเรียนรู้ ทีเ่ นน้ ผ้เู รยี นเปน็

สาํ คัญ
๔) สถานศึกษาควรพัฒนาครูทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้ให้จัดทําแผนกระบวนการเรียนรู้ของผู้เรียนให้เป็น ระบบวงจร

คุณภาพ PDCA และพัฒนาครูให้มีความสามารถนําสื่อและเทคโนโลยีมาใช้ประกอบการเรียนการสอน ให้เหมาะสมกับการ
เรยี นรูข้ องแตล่ ะกลมุ่ สาระการเรยี นรู้
๔. ด้านการประกันคณุ ภาพภายใน

สถานศึกษาควรมีการประกันคุณภาพภายในโดยสถานศึกษาอย่างต่อเนื่อง และประสานความร่วมมือกับต้นสังกัดใน
การติดตามและประเมินผล เพื่อสามารถสะท้อนผลการดําเนินงานและนํามาปรับปรุงพัฒนาคุณภาพ การศึกษาให้มี
ประสทิ ธภิ าพมากยง่ิ ข้นึ

นวตั กรรมหรือตวั อยา่ งการปฏบิ ตั ทิ ีด่ ี (Good Practice) ของสถานศึกษาที่เป็นประโยชน์ตอ่ สังคม
ชอื่ ผลงานที่เสนอประเมนิ ความโดดเดน่ (Best Practices) BK SMARTER Model “บ่อเกดิ แหง่ ความรู้

คคู่ วามด”ี

๑๓. การนำผลการประเมินคณุ ภาพการศึกษาของสถานศึกษามาใช้ในการปรบั ปรุงและพัฒนาคุณภาพ
การศึกษาอยา่ งต่อเนื่อง

จากผลการดำเนินงาน โครงการ และกิจกรรมต่างๆ ส่งผลให้สถานศึกษาจัดการพัฒนาคุณภาพการศึกษา
ประสบผลสำเร็จตามที่ตั้งเป้าหมายไว้ในแต่ละมาตรฐาน จากผลการประเมินสรุปว่าได้ระดับดีเลิศ ทั้งน้ี เพราะ
มาตรฐานท่ี ๑ คุณภาพผู้เรียน อยู่ในระดับดีเลิศ มาตรฐานท่ี ๒ กระบวนการบริหารและการจัดการ อยู่ในระดับดี
เลศิ มาตรฐานท่ี ๓ กระบวนการจัดการเรยี นการสอนท่เี น้นผ้เู รียนเปน็ สำคญั อย่ใู นระดับดเี ลศิ

ทั้งน้ี สถานศึกษามีการจัดกิจกรรมพัฒนาคุณภาพผู้เรียนอย่างหลากหลายที่เป็นไปตามปัญหาและความ
ต้องการพัฒนาตามสภาพของผู้เรียน สอดคล้องกับจุดเน้นของสถานศึกษาและสภาพของชุมชนท้องถิ่น จนมีผลการ
พัฒนาคณุ ภาพของผเู้ รยี นอยใู่ นระดับดีเลิศ ผู้เรียนมีความสามารถในการอา่ นและเขยี น การส่ือสารท้งั ภาษาไทยและ
ภาษาองั กฤษ ความสามารถในการคดิ คำนวณ การใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารได้ดี และมีความประพฤติ
ด้านคุณธรรมจริยธรรม ค่านิยมและคุณลักษณะตามที่สถานศึกษากำหนดปรากฏอย่างชัดเจน ดังที่ปรากฏผล
ประเมนิ ในมาตรฐานที่ ๑

ในดา้ นกระบวนการบรหิ ารจดั การของผูบ้ รหิ ารสถานศึกษามผี ลประเมินในรายมาตรฐานอยู่ในระดับ ดีเลิศ
สถานศกึ ษามีการวางแผน ออกแบบกิจกรรมและดำเนินงานตามแผนทเ่ี กดิ จากการมสี ่วนร่วม ใช้ผลการประเมินและ
การดำเนินงานที่ผ่านมาเป็นฐานในการพัฒนา และสอดคล้องกับเป้าหมายการพัฒนา ตรวจสอบผลการดำเนินงาน
และการปรับปรงุ แกไ้ ขงานให้ดขี ึ้นอยา่ งต่อเน่ือง

ครูจัดกระบวนการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญมีผลประเมินอยู่ในระดับดีเลิศ วิเคราะห์ ออกแบบ
และจัดการเรียนรู้ที่เป็นไปตามความต้องการของหลักสูตร และบริบทสถานศึกษา พัฒนากิจกรรมการเรียนรู้ ใช้สื่อ
การเรียนรู้ ติดตามตรวจสอบและช่วยเหลือนักเรียนเพื่อพัฒนาและแก้ปัญหารายบุคคล และการประเมินผลจาก
สภาพจริงในทุกข้นั ตอน

๓๘

โรงเรียนบอ่ กรวุ ิทยาไดน้ ำผลการประเมนิ มาใช้ในการวางแผนตามแนวทางการประกนั คุณภาพการศึกษา ดงั นี้
๑. การดำเนินงานตามองค์ประกอบของระบบประกันคุณภาพภายใน เพื่อการพัฒนาคุณภาพศึกษาให้

ดำเนินไปอย่างต่อเนื่อง ตามขั้นตอน PDCA (Plan-Do-Check-Act) จัดทำโครงการตามแผนปฏิบัติการจำนวน ๖๗
โครงการ สอดคลอ้ งกับวสิ ยั ทศั น์ พนั ธกิจ เปา้ หมายทโี่ รงเรยี นกำหนด

๒. มีการประกาศใช้มาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐานและกำหนดค่าเป้าหมายตามมาตรฐานการศึกษาของ
โรงเรียนเพื่อการประกันคุณภาพภายใน นำผลการประเมินมาปรับปรุงและวางแผนการดำเนินงาน เพื่อแก้ปัญหา
และสามารถพัฒนาการเรียนการสอนใหเ้ กิดประสิทธภิ าพ

๓. จดั ระบบการเรียนการสอนท่เี นน้ ผูเ้ รียนเปน็ สำคญั ส่งเสรมิ ให้ผู้เรียนเกิดทักษะชวี ิตในการประกอบอาชพี
สามารถพฒั นาศักยภาพของผู้เรียนได้อย่างเตม็ ท่ี

๔. คณะกรรมการสถานศึกษาขน้ั พนื้ ฐานและผ้มู สี ่วนเกย่ี วข้องทุกฝา่ ย มสี ่วนรว่ มในการวางแผนดำเนินงาน และ
ปรบั ปรงุ พัฒนา และเผยแพร่ประชาสมั พนั ธผ์ ลความสำเรจ็ ของโรงเรียนอย่างต่อเนอื่ งทุกปี

๑๔. การพฒั นาคุณภาพจัดการศึกษาตามแผนปฏิบัตกิ ารประจำปีของสถานศกึ ษา

๑. การบริหารจดั การศกึ ษา
โรงเรียนบ่อกรุวิทยาแบ่งโครงสร้างการบริหารงานเป็น ๔ กลุ่ม ได้แก่ กลุ่มบริหารงานวิชาการ กลุ่ม
บริหารงานงบประมาณ กลุ่มบริหารงานบุคคล กลุ่มบริหารงานทั่วไป ผู้บริหารยึดหลักการบริหาร/เทคนิคการ
บรหิ ารแบบมีสว่ นรว่ มโดยพัฒนาตามกระบวนการ P D C A

โครงสร้างการบรหิ ารงานโรงเรียน

ผ้อู ำนวยการสถานศึกษา

คณะกรรมการสถานศกึ ษาขั้นพ้นื ฐาน

รองผู้อำนวยการสถานศึกษา

กลมุ่ บริหาร กลมุ่ บริหาร กลมุ่ บริหาร กลมุ่ บริหาร
งานวชิ าการ งานงบประมาณ งานบคุ คล งานทั่วไป

๓๙

๒. วสิ ยั ทศั น์ พันธกจิ ยทุ ธศาสตร์ กลยุทธ์ จุดมงุ่ หมายเพื่อการพัฒนา อตั ลักษณ์ และเอกลักษณ์ของ
สถานศึกษา

วสิ ัยทศั น์โรงเรียน
มุ่งจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน ให้มีคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษา พัฒนาสู่สากลบนพื้นฐานของความเป็น

ไทย

พนั ธกจิ โรงเรยี น
๑. พฒั นาคณุ ภาพดา้ นการจัดการเรยี นรู้เน้นผเู้ รียนเป็นสำคัญ
๒. พฒั นาหลักสูตรให้เหมาะสมกับผู้เรยี นเพ่ือยกระดับผลสมั ฤทธิ์ทางการเรียนและใหผ้ ู้เรียนมีความพร้อมสู่

ประชาคมอาเซียนและสากลบนพ้ืนฐานของความเปน็ ไทย
๓. ส่งเสรมิ การจดั กิจกรรมทป่ี ลกู ฝังคณุ ธรรมจริยธรรมและคา่ นิยมอันดบี นพ้ืนฐานของความเป็นไทย
๔. ส่งเสริมการจดั กจิ กรรมเพอ่ื พฒั นาสขุ ภาพกายและสขุ ภาพจติ ทดี่ ี
๕. พัฒนาครูและบุคลากรให้มีคุณภาพเป็นมืออาชีพ รักการเรียนรู้ รักองค์กร และพัฒนาองค์กรให้เป็น

องคก์ รแห่งการเรยี นรู้
๖. พัฒนาระบบบรหิ ารจดั การของสถานศกึ ษาใหม้ ปี ระสิทธภิ าพพร้อมก้าวสปู้ ระชาคมอาเซยี นและสู่สากล
๗. พัฒนาผู้เรียนใหม้ ีทกั ษะในการดำรงชีวติ ตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง
๘. ปรบั ปรงุ ซ่อมแซมและพัฒนาอาคารสถานท่ี ภูมิทัศน์ แหล่งเรยี นร้ใู ห้เออ้ื ต่อการเรียนรู้
๙. สนับสนุนการจัดทำสื่อ นวัตกรรม สื่อเทคโนโลยี และวิจัยเพื่อพัฒนาคุณภาพการจัดการเรียนรู้และ

พัฒนาคุณภาพการปฏิบตั ิงาน
๑๐. ทำข้อตกลงความร่วมมือ (MOU) และสร้างเครือข่ายทางการศึกษากับหน่วยงานต่างๆ เพื่อระดม

ทรัพยากรทางการศกึ ษาและพัฒนาองค์กรใหเ้ ขม้ แขง็

เป้าประสงคโ์ รงเรยี น
๑. ผเู้ รียนเปน็ คนดี มีคุณธรรมจรยิ ธรรมตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง
๒. ผ้เู รียนมีความรูต้ ามหลักสตู ร มีผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนสงู ขน้ึ และมศี กั ยภาพเป็นพลโลก
๓. ครูมคี วามสามารถจดั การเรยี นรไู้ ดอ้ ย่างมีประสิทธิภาพ
๔. สถานศึกษามรี ะบบการบรหิ ารจดั การที่มปี ระสทิ ธิภาพและเป็นองค์กรแหง่ การเรยี นรู้
๕. สถานศกึ ษามีเครือข่ายการศกึ ษาทเ่ี ข้มแข็ง ทุกภาคสว่ นเข้ามามีส่วนร่วมในการจดั การศกึ ษา
๖. ผู้เรียนเห็นคุณค่าของแหล่งเรียนรู้ภูมิปัญญา ประเพณี วัฒนธรรมและอาชีพท้องถิ่น ร่วมกันอนุรักษ์

และสบื ทอด

กลยทุ ธ์โรงเรยี น
กลยุทธ์ที่ ๑ ปลูกฝังและสร้างเสริมคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของผู้เรียนให้เป็นคนดี มีคุณธรรมจริยธรรม

ตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง
กลยุทธ์ที่ ๒ เร่งพัฒนาคุณภาพการจัดการเรียนรู้เพื่อยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและให้ผู้เรียนพร้อม

เขา้ สู่ประชาคมอาเซียนและสสู่ ากล
กลยทุ ธท์ ่ี ๓ พฒั นาผเู้ รยี นดา้ นความสขุ สนุ ทรยี ภาพด้านศลิ ปะ นาฏศลิ ป์ ดนตรี กีฬาและวัฒนธรรม

๔๐

กลยุทธ์ที่ ๔ พัฒนาบุคลากรและนักเรียนให้รักการเรียนรู้ รักองค์กร และร่วมพัฒนาองค์กรให้เป็นองค์กร
แห่งการเรียนรู้

กลยุทธ์ท่ี ๕ พฒั นาระบบบริหารจดั การใหม้ ีระเบียบ มีประสิทธภิ าพและไดม้ าตรฐาน
กลยุทธท์ ี่ ๖ สรา้ งเครอื ขา่ ยการศึกษาให้เข้มแข็งและสง่ เสริมการมสี ว่ นรว่ มของทกุ ภาคส่วน
กลยทุ ธ์ท่ี ๗ ส่งเสริมการใชแ้ หลง่ เรยี นรภู้ ูมิปญั ญา ประเพณี วัฒนธรรมและอาชีพท้องถิน่

จดุ มุ่งหมายเพอ่ื การพัฒนาในอนาคต
๑. ปรบั การจดั การเรยี นรู้ เปลี่ยนการสอน การวัดประเมินผล เพอื่ พัฒนาทักษะในการเรยี นรู้ ความสามารถ

ในการคิดวิเคราะห์ และสร้างเสริมแรงจูงใจเพื่อประสบผลสำเร็จในการเรียนรู้รวมทั้งปรับปรุงวิธีการวัดและ
ประเมินผลผู้เรียนโดยการใช้วิธีการที่หลากหลายลดสาระการเรียนเนื้อหาให้ผู้เรียนได้เรียนรู้โดยการปฏิบัติจริง ฝึก
การคิด วิเคราะห์ การแก้ปัญหาให้มากขึ้น การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเป็นเครื่องมือของครูเพื่อเพิ่มคุณภาพและ
ประสิทธิภาพการสอนและการจัดการศึกษาและเป็นเครื่องมือของผู้เรียนในการศึกษาค้นคว้าหาความรู้แก่ตนเอง
นำไปสู่การเรียนรู้ตลอดชีวิต นอกจากนี้ยังจัดระบบการเรียนการสอนให้ยืดหยุ่น หลากหลาย สอดคล้องกับ
กลุ่มเป้าหมายทุกกลุ่มรวมทั้งผู้ที่มีพื้นฐานที่แตกต่างกัน ผู้ด้อยโอกาส ผู้มีความสามารถพิเศษ ให้ได้รับการพัฒนา
อย่างเหมาะสมตามศักยภาพ โดยมุ่งใหเ้ รียนได้รับการพฒั นาเต็มตามศกั ยภาพและเหมาะสมในแต่ละช่วงวัย มีความ
พร้อมในการเรยี นรู้ มนี สิ ยั ใฝร่ ู้ ใฝ่เรียน มคี วามสามารถคิด วิเคราะห์ และแกป้ ัญหาอย่างเป็นระบบ มที กั ษะพน้ื ฐานท่ี
จำเปน็ ทัง้ ทางวิชาการและวชิ าชีพ มผี ลสัมฤทธ์ิทางการเรยี นสูงข้นึ ในทกุ ระดับ

๒. จดั ทำฐานขอ้ มลู ผู้เรียนและโรงเรียนตามจุดเน้นของโรงเรยี น เพ่อื รายงานความก้าวหน้าของผู้เรียนตาม
จดุ เน้นของสถานศึกษา ศึกษาบรบิ ทใน/นอกโรงเรียนเพ่ือจัดทำแหล่งเรียนรู้ (สถานที่/บคุ คล) ทบทวนเกณฑ์การวัด
และประเมินผล รวมทั้งปรับปรุงวิธีการวัดและประเมินผลผู้เรียนโดยการใช้วิธีการที่หลากหลาย ปรับหลักสูตร
กระบวนการเรียนการสอน โดยลดสาระการเรียนเนื้อหา ให้ผู้เรียนได้เรียนรู้โดยการปฏิบัติจรงิ ฝึกการคิด วิเคราะห์
และการแก้ปัญหาให้มากขนึ้ ส่งเสริมฝึกอบรมครปู ระจำการในการจัดการเรียนรทู้ ีส่ ง่ เสริมการคิดวิเคราะห์ และทักษะ
กระบวนการคิดพัฒนาครูประจำการและบุคลากรทางการศึกษา โดยใช้โรงเรยี นเปน็ ฐาน (School based) ให้ทั่วถึง
ตอ่ เนือ่ ง และก้าวทนั กบั การเปลี่ยนแปลงและความต้องการในการพัฒนาการศึกษา การพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศ
เพอ่ื การศึกษา เพื่อให้มีการใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศเป็นเครื่องมือของครูเพื่อเพ่ิมคณุ ภาพประสิทธิภาพการสอนและ
การจัดการศึกษาส่งเสริมการนำเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้ในการเพิ่มคุณภาพและประสิทธิภาพการสอนของครู
พฒั นาครูและบคุ ลากรทางการศึกษาให้สามารถใช้และพฒั นาบทเรียนผ่านสอื่ อิเล็กทรอนกิ ส์ไดอ้ ย่างมีประสิทธภิ าพ

๓. ด้านหลักสตู ร จัดการปฏิรูปหลักสูตรให้ต่อเน่ือง เชื่อมโยง มีความสมดุลในเนือ้ หาสาระทั้งท่ีเป็นวิชาการ
วิชาชีพ และวิชาว่าด้วยความเป็นมนุษย์ และให้มีการบูรณาการเนื้อหาหลากหลายที่มีประโยชน์ต่อการดำรงชีวิต
ได้แก่ เนื้อหาเกี่ยวกับตนเองและความสัมพันธ์ระหว่างตนเองกับสังคม เนื้อหาวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี การ
บำรุงรักษา ใช้ประโยชน์จากธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม เนื้อหาเก่ียวกับศาสนา ศิลปะ วัฒนธรรม ภูมิปัญญาไทย
เนื้อหาความรู้และทักษะด้านคณิตศาสตร์และภาษา เน้นการใช้ภาษาไทยอย่างถูกต้อง เนื้อหาความรู้และทักษะใน
การประกอบอาชีพและการดำรงชีวติ อย่างมคี วามสขุ กระบวนการเรียนรู้ให้ผู้เรียนทุกคนมีความสามารถเรยี นรูแ้ ละ
พัฒนาตนเองได้ โดยถือว่าผู้เรียนมีความสำคัญที่สุด กระบวนการจัดการศึกษาเน้นส่งเสริมให้ผู้เรียนสามารถพัฒนา
ตามธรรมชาติและเต็มตามศักยภาพ และเป็นการเรียนรู้อย่างต่อเนื่องตลอดชีวิต ด้านการจัดการเรียนรู้ มีการจัด
เนอื้ หาทีส่ อดคล้องกับความสนใจ ความถนัดของผู้เรยี น ให้มกี ารเรียนรจู้ ากประสบการณแ์ ละฝึกนิสยั รักการอ่าน จัด
ให้มีการฝึกทักษะกระบวนการและการจัดการ มีการผสมผสานเนื้อหาสาระด้านต่างๆ อย่างสมดุล จัดการส่งเสริม
บรรยากาศการเรียนเพื่อใหเ้ กิดการเรยี นรู้และรอบรู้ จดั ให้มีการเรยี นรไู้ ด้ทุกเวลา ทกุ สถานทแ่ี ละให้ชุมชนมีส่วนร่วม
จัดการเรียนรู้ด้วย ด้านการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ เพื่อให้สอดคล้องกับการจัดการเรียนรู้โดยเน้นผู้เรียนเป็น

๔๑

สำคัญ จะต้องประเมินผู้เรียนตามสภาพจริง โดยการใช้วิธีการประเมินผู้เรียนหลายวิธี ได้แก่ การสังเกตพฤติกรรม
การเรียนและการร่วมกิจกรรม การใช้แฟ้มสะสมงาน การทดสอบ การสัมภาษณ์ ควบคู่ไปกับกระบวนการเรียนการ
สอน ผู้เรียนจะมีโอกาสแสดงผลการเรียนรู้ได้หลายแบบ ไม่เพียงแต่ความสามารถทางผลสัมฤทธิ์การเรียนซึ่งวัดได้
โดยแบบทดสอบเท่านั้น การวัดและการประเมินผลการเรียนรู้แบบนี้แสดงให้เห็นความแตกต่างอันเกิดจากผลการ
พัฒนาตนเองของผเู้ รยี นในด้านต่าง ๆ ไดช้ ัดเจนมากข้นึ

๔. สถานศึกษามีกิจกรรมประชาสัมพันธ์เพื่อสร้างความเข้าใจให้บุคลากรในสถานศึกษาและชุมชนเห็น
ความสำคัญในการจัดการศึกษาร่วมกัน จัดกิจกรรมให้บริการชุมชนอย่างเหมาะสม ร่วมกิจกรรมของชุมชนอย่าง
สม่ำเสมอ เน้นให้ชุมชนมีส่วนร่วมในกิจกรรมของโรงเรียน จัดแผนงานเพื่อส่งเสริมความสัมพันธ์และความร่วมมือ
กับชุมชนในการพัฒนาการศึกษา จดั กิจกรรมการเรียนรู้ท่ีหลากหลายและเชื่อมโยงกับชีวิตจริง โดยเน้นให้ผู้เรียนได้
ลงมือปฏิบัติจริงเพื่อให้เกิดทักษะการค้นคว้าหาความรู้และการปรับตัว และทักษะในการทำงานได้ด้วยตนเ อง นำ
แหล่งเรียนรู้และภูมิปัญญาท้องถิ่นมาใช้ในการเรียนการสอน มีผู้รับผิดชอบหรือจัดหน่วยงานรับผิดชอบในการ
ส่งเสริมความสัมพันธ์และความร่วมมือกับชุมชนในการพัฒนาการศึกษาที่ชัดเจน มีระเบียบรองรับการส่งเสริม
ความสัมพันธ์และความร่วมมือกับชุมชนในการพัฒนาการศึกษา มีการประเมินระบบและกลไกในการส่งเสริม
ความสัมพันธ์และความร่วมมือกับชุมชนในการพัฒนาการศึกษา และนำผลการประเมินมาใช้ในการตัดสินใจ
ปรับปรุงระบบและกลไกในการสร้างความสัมพันธ์และความร่วมมือกับชุมชนในการพัฒนาการศึกษา นอกจากน้ี
สถานศกึ ษาเป็นศนู ยก์ ลางในการประสานงานกับหน่วยงานอนื่ ๆ ในชุมชนและสร้างเครือขา่ ยความสัมพนั ธก์ บั ชมุ ชน

อตั ลกั ษณข์ องสถานศึกษา
ยมิ้ งา่ ย ไหว้สวย ช่วยเหลอื


Click to View FlipBook Version