14
พืชสมุนไพรประจาำ ถ่ินและภูมิปัญญาการประยุกตใ์ ชส้ าำ หรบั การแพทยพ์ ืน้ บ้าน
ในจังหวดั ชายแดนภาคใต้
Local Herbal and Wisdom of Application in Thai Traditional Medicine,
Bordering Provinces of Southern Thailand
สพุ ัฒน์ ศรสี วัสดิ์ ปร.ด. (Supath Srisawat, Ph.D.)1
พนม สุขจนั ทร์ ปร.ด. (Phnom Sukchan, Ph.D.)2
จารุวรรณ ประดับแสง วท.ม. (Charuwan Pradabsang, M.Sc.)1
สมนึก ลิ้มเจริญ ศศ.ม. (Somnuk Limchareon, M.A.)3
บทคดั ยอ่
การวจิ ยั นีเ้ ปน็ การศึกษาเชิงสำารวจภาคตดั ขวาง (Cross-sectional study) ในเร่ืองชนิดของพืชสมนุ ไพรประจำาถิน่
ความร้แู ละภูมิปัญญาการประยกุ ตใ์ ช้สำาหรับการแพทยพ์ ้ืนบ้านในท้องถ่ินจงั หวดั ชายแดนใต ้ เปรยี บเทียบสรรพคุณและการ
ใช้สมนุ ไพรจาำ แนกตามอาการ กล่มุ อาการและกล่มุ โรคสำาคญั เกบ็ ข้อมูลโดยใช้แบบสอบถามในประชาชนและการสมั ภาษณ์
ปราชญผ์ ้ทู รงภูมิปญั ญาการแพทย์พน้ื บ้าน ในเขตชมุ ชนและหม่บู ้าน ของอาำ เภอระแงะ จงั หวดั นราธิวาส วิเคราะห์ข้อมลู ใช้สถิติ
เชิงพรรณา โดยใช้จาำ นวน รอ้ ยละ สดั ส่วนและค่าเฉลี่ย
ผลการศกึ ษาพบว่า มีพชื สมุนไพรหลายชนดิ ทนี่ ิยมนำามาใชใ้ นรกั ษาโรคหรือกล่มุ อาการผิดปกตขิ องร่างกายและ
แตล่ ะชนดิ ที่นาำ มาใช้จะมีสรรพคณุ หลายอย่าง แตจ่ ะมชี ่ือเรยี กของชนิดและพันธพุ์ ชื สมุนไพรทีแ่ ตกต่างจากท้องถน่ิ อื่นๆ และ
ยังพบว่ามีเพียงไม่กช่ี นิดท่ีนำามาใชก้ ับโรคหรือกลุ่มอาการทีเ่ หมอื นกัน ประชาชนมีความรู้เรอ่ื งการใช้พชื สมนุ ไพรรกั ษาโรคอยู่
ในเกณฑ์ที่ดี และสนใจในเร่อื งการใชส้ มุนไพร ภูมิปญั ญาการใชพ้ ชื สมุนไพรมักเป็นเรอ่ื ง การบำาบดั รักษาอาการป่วยพื้นฐานใน
ชีวติ ประจาำ วนั ซึ่งเป็นอาการ กลมุ่ อาการและโรคทไี่ ม่รุนแรงนักคอื ทอ้ งผูก ทอ้ งเสีย แผลในกระเพาะ ไอ เจ็บคอ ขบั เสมหะ
ควรศกึ ษารว่ มในมิตทิ างสงั คมและวัฒนธรรม ความเปน็ อย ู่ คตคิ วามเช่อื หลกั ศาสนาของชมุ ชน ซึ่งเป็นองค์
ประกอบสาำ คัญการแพทยพ์ ื้นบ้านในทอ้ งถิ่นนั้นๆ เพอ่ื ทจี่ ะไดส้ ามารถอนุรกั ษภ์ มู ปิ ัญญาแพทย์พืน้ บ้านนีไ้ ว้ต่อไป
คำาสำาคัญ : การแพทย์พ้นื บา้ น, สมุนไพรทอ้ งถิ่น
Abstract
This cross-sectional study is aimed to explore the availability of the herbal types and their application
wisdoms on Thai traditional medicine in rural areas of the southernmost areas of Thailand. The study focused
on the knowledge, the effects of each herb in the treatment of respective symptom or disease and comparison
on similarity and dissimilarity of in each kind of actual herb which usually used by the rural communities.
Questionnaire and interview was used to collect the data among common population and rural herbal special-
ist in Ra-ngae district, Narathiwat province subsequently. The collected data were analyzed using descriptive
statistic that include the frequency, percent, proportion and mean.
1 อาจารย์ คณะวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์
2 อาจารย์ คณะแพทยศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั นราธวิ าสราชนครินทร์
3 อาจารย ์ วทิ ยาลยั เกษตรและเทคโนโลยีนราธิวาส มหาวทิ ยาลัยนราธวิ าสราชนครนิ ทร ์
15
The study found that various kinds of herbal plants were used for treatment of illness by local
people. The diversity of each herbal to treat the diseases also reported. Interestingly it was found the differ-
ences of naming of same plant in different study areas which are effective to treat the same disease. The
knowledge of herbal application was considered at a very good level. Additionally, they satisfied in herb
using and believed in traditional medicine. The wisdom of traditional medicine discipline reported to apply
familiar local herb for common illness such as abnormal digestion, respiration system, diarrhea, constipa-
tion, cough, sore throat and phlegm relief.
Due to the effect of society and cultural dimension involved to human behavior and health believe,
the future study should expand and cover entire aspect of traditional medicine. The proper understanding
in traditional medicine discipline and reservation of the valuable ancient heritage of Thai traditional medi-
cine for the next generation are highly recommended.
Keywords : Traditional medicine, Thai local herb
บทนาำ
มนษุ ยเ์ รารจู้ กั ใชส้ มนุ ไพรในดา้ นการบาำ บดั รกั ษาโรคมานานหลายพนั ป ี เรม่ิ ตง้ั แตย่ คุ นแี อนเดอรท์ ลั ในประเทศอริ กั
พบหลกั ฐานวา่ มกี ารใชส้ มนุ ไพรจากการขดุ คน้ หลมุ ฝงั ศพ ทเ่ี มก็ ซโิ กกพ็ บวา่ ชาวอนิ เดยี แดงรจู้ กั ใชต้ น้ ตะบองเพชร (Peyate) เปน็
ยาฆา่ เชอ้ื และรกั ษาบาดแผลไมน่ อ้ ยกวา่ 4,000 ปมี าแลว้ สว่ นชาวสเุ มเรยี นไดเ้ ขา้ มาตง้ั รกรากอาศยั อย ู่ ณ บรเิ วณแมน่ าำ้ ไทกรสิ
และยเู ฟรตสิ ปจั จบุ นั กพ็ บประวตั แิ ละหลกั ฐานการใชส้ มนุ ไพร เชน่ ฝน่ิ ชะเอม ไทม ์ และมสั ตารด์ และตอ่ มาชาวบาบโิ ลเนยี นได้
ใชส้ มนุ ไพรเพม่ิ เตมิ จากชาวสเุ มเรยี น ไดแ้ ก ่ ใบมะขามแขก หญา้ ฝรง่ั ลกู ผกั ช ี อบเชย และกระเทยี ม ในยคุ ตอ่ มาอยี ปิ ตโ์ บราณมี
ตาำ ราสมนุ ไพรทเ่ี กา่ แกค่ อื Papytus Ebers ซง่ึ เขยี นเมอ่ื 1,600 ป ี กอ่ นครสิ ตศกั ราช ซง่ึ ในตาำ รานไ้ี ดก้ ลา่ วถงึ ตาำ ราสมนุ ไพรมากกวา่
800 ตาำ รบั และสมนุ ไพรมากกวา่ 700 ชนดิ เชน่ วา่ นหางจระเข ้ เวอรม์ วดู (warmwood) เปปเปอรม์ นิ ต ์ ละหงุ่ เปน็ ตน้ รปู แบบ
ในการเตรียมยาในสมัยนั้น ได้แก่ การต้ม การชง ทำาเป็นผง กลั่น เป็นเม็ด ทำาเป็นยาพอก เป็นขี้ผึ้ง (Sonnedecker, 1976;
Gennaro, 1990) หลังจากสมุนไพรได้เจริญรุ่งเรืองในอียิปต์แล้ว ก็ได้มีการสืบทอดกันมาทั้งในแถบยุโรปและแอฟริกา เช่น
เยอรมนั โปรตเุ กส สวเี ดน และโปแลนด ์ ในแถบเอเซยี ตามบนั ทกึ ประวตั ศิ าสตรพ์ บวา่ มกี ารใชส้ มนุ ไพรทอ่ี นิ เดยี กอ่ น แลว้
สบื ทอดมาทจ่ี นี มะละกา และประเทศไทย จนพฒั นาเปน็ ภมู ปิ ญั ญาเพอ่ื การรกั ษาโรคทเ่ี ปน็ เอกลกั ษณข์ องตนเอง
การแพทย์พื้นบ้านหรือแพทย์แผนไทยเป็นภูมิปัญญาที่ใช้ดูแลสุขภาพและรักษาโรคภัยของคนไทยมาช้านาน ซึ่ง
มกี ารถ่ายทอดภูมปิ ญั ญาจากรนุ่ สู่รุ่น ผสมผสานกบั วัฒนธรรมในท้องถน่ิ การแพทย์แผนไทยประกอบดว้ ยองค์ความรู้ และ
ภมู ปิ ญั ญาหลายดา้ นทงั้ การนวด อบ ประคบ ซงึ่ ภมู ปิ ญั ญาการใช้สมุนไพรเพ่ือการรกั ษาโรคก็เป็นองค์ความร้ทู ่ีได้รับการ
สืบทอดมาจนปัจจุบนั ซง่ึ แตล่ ะภมู ภิ าคกม็ ลี กั ษณะทางภมู ปิ ระเทศทแ่ี ตกตา่ งกนั พชื สมนุ ไพรจงึ มคี วามแตกตา่ งหลากหลายกนั
ตามพน้ื ท ่ี ดงั นน้ั พชื สมนุ ไพรไทยมบี ทบาทสาำ คญั อยา่ งหนง่ึ ในการรกั ษาโรคมาแตค่ รง้ั โบราณ การใชส้ มนุ ไพรจงึ มวี วิ ฒั นาการและ
พฒั นาการองคค์ วามรมู้ าอยา่ งตอ่ เนอ่ื ง ดว้ ยเหตนุ ท้ี ส่ี มนุ ไพรไทยจงึ ไมไ่ ดใ้ ชเ้ พยี งเพอ่ื รกั ษาความเจบ็ ปว่ ยเทา่ นน้ั แตม่ คี ณุ คา่ ตอ่
สขุ ภาพทง้ั รา่ งกายและจติ ใจ (สมภพ ประธานธรุ ารกั ษแ์ ละคณะ, 2548; เออ้ื ม ณ สงคราม, ม.ป.ป.) แมว้ า่ ประเทศไทยไดม้ กี ารนาำ
สมนุ ไพรมาใชใ้ นการบาำ บดั รกั ษาความเจบ็ ปว่ ยมาเปน็ เวลานาน แตเ่ มอ่ื มกี ารนาำ การแพทยแ์ บบตะวนั ตกเขา้ มาใชเ้ มอ่ื รอ้ ยปที ผ่ี า่ น
แลว้ ภมู ปิ ญั ญาดา้ นสมนุ ไพรของไทยกไ็ ดถ้ กู ละเลยและถกู ครอบงาำ โดยการรกั ษาแบบแพทยแ์ ผนใหม ่ จนทาำ ใหก้ ารใชย้ าสมนุ ไพร
ไมเ่ ปน็ นยิ ม ซง่ึ ทาำ ใหค้ วามรใู้ นเรอ่ื งพชื สมนุ ไพรไทยไมไ่ ดร้ บั การพฒั นาอยา่ งตอ่ เนอ่ื งและการสบื ทอดตอ่ ไป
16
ปจั จบุ นั มผี ู้ให้ความสนใจและใช้ยาสมุนไพรมากข้นึ โดยกระทรวงสาธารณสขุ มนี โยบายส่งเสริมการใชป้ ระโยชนจ์ าก
สมุนไพรในงานสาธารณสุขมลู ฐาน (ประกาศกระทรวงสาธารณสขุ , 2551) ตามพระราชบญั ญตั ิค้มุ ครองและส่งเสริมภูมปิ ัญญา
แพทย์แผนไทย ใหม้ กี ารคมุ้ ครองภมู ปิ ญั ญาดา้ นการใชส้ มนุ ไพรทร่ี ะบไุ วใ้ นพระราชบญั ญตั คิ มุ้ ครองและสง่ เสรมิ ภมู ปิ ญั ญาแพทย์
แผนไทย ป ี พ.ศ. 2542 มหาวทิ ยาลยั และสถาบนั ตา่ งๆไดท้ าำ การวจิ ยั พชื สมนุ ไพรอยา่ งตอ่ เนอ่ื ง และประชาชนทว่ั ไปกไ็ ดห้ นั มาให้
ความสาำ คญั กบั การใชย้ าสมนุ ไพร (ศภุ ยา วทิ กั ษบตุ ร, 2544; กมลชนก ศรนี วล, 2544; คนงึ นติ ย ์ ชน่ื คา้ , 2547; สภุ าภรณ ์ ปติ พิ ร,
2552; โกมาตร จงึ เสถยี รทรพั ยแ์ ละคณะ, 2547) และมกี ารปลกู พชื สมนุ ไพรกนั อยา่ งแพรห่ ลาย เนอ่ื งจากยาสมนุ ไพรเปน็
ทรพั ยากรทห่ี าไดใ้ นทอ้ งถน่ิ ปลอดภยั กว่าการใชย้ าแผนปัจจบุ ันสามารถสง่ เสรมิ ใหผ้ ลติ เปน็ อตุ สาหกรรมในครัวเรอื น และธุรกิจ
ชมุ ชนได้ (สาำ นักงานเลขาธิการ สภาการศกึ ษา กระทรวงศกึ ษาธิการ, 2548) อนั จะทำาใหเ้ กดิ การพ่ึงตนเองดา้ นสขุ ภาพอนามัย
ของคนในชาตลิ ดการนาำ เขา้ ผลิตภัณฑย์ าจากตา่ งประเทศ และการปลกู พชื สมนุ ไพรยังมีส่วนชว่ ยใหส้ ิ่งแวดล้อมของชมุ ชนดขี นึ้
อกี ดว้ ย (อรุณพร อฐิ รตั น์ และคณะ 2546; เกศรนิ มณนี ูน, 2544)
แตอ่ ยา่ งไรกต็ าม การใชป้ ระโยชนข์ องสมนุ ไพรในประเทศไทยแมม้ กี ารใชม้ าอยา่ งยาวนานแตก่ ย็ งั ไมเ่ ปน็ ทก่ี วา้ งขวาง
และแพรห่ ลายในหมปู่ ระชาชน โดยเฉพาะการแพทยพ์ น้ื บา้ นและภมู ปิ ญั ญาการใชส้ มนุ ไพรในเขตพน้ื ท ่ี 3 จงั หวดั ชายแดนภาคใต้
ทม่ี อี ยมู่ ากมายหลายอยา่ งอกี ทง้ั เปน็ พน้ื ทท่ี อ่ี ดุ มสมบรู ณแ์ ละหลากหลายในแงพ่ ชื พนั ธส์ุ มนุ ไพร แตก่ อ็ ยใู่ นลกั ษณะทก่ี ระจดั กระจาย
ไมเ่ ปน็ จดั เกบ็ และบนั ทกึ ไวอ้ ยา่ งเปน็ รปู แบบ รวมทง้ั ไมม่ กี ารถา่ ยทอดองคค์ วามรแู้ กร่ นุ่ ตอ่ มา จงึ มแี ตจ่ ะเลอื นหายไปทลี ะเลก็ ละนอ้ ย
จนมโี อกาสทจ่ี ะสญู หายและสาบสญู ไปในทส่ี ดุ งานวจิ ยั นจ้ี งึ ไดด้ าำ เนนิ การจดั การรวบรวมพชื สมนุ ไพรประจาำ ถน่ิ และภมู ปิ ญั ญา
การใชส้ มนุ ไพรในจงั หวดั ชายแดนภาคใต ้ เพ่ือทีจ่ ะทำาให้ประชาชนทราบถงึ ประโยชน์ของการแพทย์พ้ืนบ้าน และสง่ เสริมการใช้
สมนุ ไพรที่มีในท้องถ่นิ อยา่ งแพรห่ ลายต่อไป รวมถงึ การทจี่ ะได้ถา่ ยทอดความรู้ให้แก่คนรุ่นตอ่ ไปด้วย เปน็ การสนบั สนุนการนาำ
ภูมปิ ัญญาท้องถิน่ มาประยกุ ต์ใช้ในการพฒั นาชวี ติ ความเป็นอยูข่ องชุมชนอย่างตอ่ เนอ่ื ง เพอื่ การดำารงอยขู่ องการแพทย์พ้ืนบ้าน
และการใชพ้ ืชสมนุ ไพรทมี่ อี ยใู่ นเขตพ้ืนท่ี 3 จังหวัดชายแดนภาคใต้ใหค้ งอยตู่ ลอดไป
วตั ถปุ ระสงค์ของการวิจัย
วัตถปุ ระสงคท์ ั่วไป
เพอ่ื ศึกษาชนดิ ของพชื สมุนไพรประจำาถิน่ และภูมิปัญญาการใช้สมนุ ไพรท้องถน่ิ ของจงั หวดั ชายแดนภาคใต้
วัตถุประสงคเ์ ฉพาะ
1. เพื่อศึกษาสำารวจความรู้เรื่องการใช้พืชสมุนไพรในการรักษาโรคในกลุ่มประชาชนที่อาศัยอยู่ในท้องถิ่นและชุมชน
ของจังหวดั นราธวิ าส
2. เพอ่ื ศกึ ษาสรรพคณุ ของพชื สมนุ ไพรประจาำ ถน่ิ ทน่ี าำ มาใชใ้ นการรกั ษาโรคทพ่ี บไดบ้ อ่ ยในชวี ติ ประจาำ วนั ในประชาชน
จงั หวัดนราธิวาส
3. เพอ่ื ศกึ ษาความแตกตา่ งหลากหลายของชนดิ พชื สมนุ ไพรประจาำ ถน่ิ ทน่ี าำ มาใชใ้ นการรกั ษาแยกตามรายกลมุ่ อาการ
และโรคท่พี บบ่อย ในจังหวัดนราธวิ าสกับพืชสมุนไพรในท้องถนิ่ อน่ื ในประเทศไทย
ระเบียบวิธีการวจิ ยั
เป็นการวิจยั คร้งั นี้เป็นการศกึ ษาวิจัยเชงิ สำารวจแบบภาคตดั ขวาง (Cross-sectional study) โดยการวจิ ัยครัง้ น้มี ุง่
ศึกษาการใช้สมนุ ไพรของประชาชนไทยในจงั หวัดชายแดนใต ้ โดยการจัดสาำ รวจพชื สมุนไพรทีน่ ิยมใชใ้ นจงั หวดั นราธวิ าส และ
สรรพคุณของสมุนไพรที่ประชาชนนยิ มนาำ มาใช้ในพนื้ ทีโ่ ดยการจำาแนกการรักษาตามกลุ่มอาการและกลุม่ โรคสำาคญั นอกจาก
นนั้ ยงั ทาำ การสอบถามการใชส้ มุนไพรจากประชาชนและปราชญ์ผทู้ รงภูมิปญั ญาการแพทย์พื้นบ้านในท้องถนิ่
17
พืน้ ท่ีวจิ ยั ประชากรและกลุม่ ตวั อยา่ ง
การศึกษาวิจัยนด้ี าำ เนนิ การศกึ ษาในพ้ืนท่ีทีม่ กี ารใช้สมุนไพรในชุมชน โดยผวู้ จิ ัยคดั เลือกพน้ื ที่วจิ ัยในเขตชนบทของ
อำาเภอระแงะ จงั หวดั นราธวิ าส และคดั เลือกพื้นท่ีที่มขี อ้ มลู รายงานว่า มีปราชญ์ทอ้ งถนิ่ หรอื ผู้ทรงภมู ปิ ัญญาการแพทยพ์ ืน้ บา้ น
ทีม่ กี ารใชส้ มนุ ไพรอยูใ่ นหมบู่ า้ นซงึ่ คัดเลอื กมาได้จำานวน 3 ชมุ ชนและ 5 หมู่บา้ น รวม 8 แหง่ ศึกษาขอ้ มลู ปฐมภูมิเบ้ืองตน้ จาก
ประชาชนทีไ่ ดร้ บั การคัดเลอื กเปน็ กล่มุ เปา้ หมายจากพ้นื ทศ่ี ึกษา ซง่ึ ตัวอย่างศึกษาในกล่มุ ประชาชนจะตอ้ งมอี ายุ 20 ปีขึ้นไปและ
อาศยั อยพู่ น้ื ทห่ี มบู่ า้ นชมุ ชนทค่ี ดั เลอื กน ้ี มกี ารสมุ่ คดั เลอื กแบบเฉพาะเจาะจงแบบโควตา หมบู่ า้ นละ 60 คน จาำ นวน 480 คน และ
กลุม่ ทส่ี องคอื กลมุ่ ปราชญท์ ้องถิน่ หรือผู้ทรงภูมิปญั ญาการแพทย์พนื้ บา้ น ท่ีใช้สมนุ ไพรในการรักษาโรคประชาชนในหมบู่ ้าน
ชมุ ชนน้นั ๆ โดยการคดั เลอื กทุกคนที่มีช่อื เสยี งและมีประสบการณใ์ นการรกั ษาโรคแกป่ ระชาชนในชุมชนมาไม่น้อยกวา่ 10 ป ี
จาำ นวน 4 คนรวมท้ังศึกษาขอ้ มลู ทตุ ิยภมู จิ ากเอกสาร ตำารา และงานวจิ ัยท่ีเกีย่ วขอ้ ง
เครือ่ งมือท่ีใชใ้ นวจิ ยั
เคร่ืองมอื ในการเกบ็ รวบรวมขอ้ มลู แบ่งเป็น เชงิ ปริมาณคอื แบบสอบถาม ซึ่งประกอบด้วย ข้อมูลท่ัวไปของกลุม่ เปา้
หมาย ความรูแ้ ละประสบการณ์ในการใชส้ มนุ ไพร ในการรักษาโรคตามกล่มุ อาการและกลุม่ โรคสาำ คัญ ขอ้ มลู เชงิ คุณภาพ โดย
รวบรวมขอ้ มลู ท่ไี ด้จากกระบวนการศึกษาในสภาพความเปน็ จริง ที่ดาำ เนินการในกลมุ่ ปราชญ์ทอ้ งถน่ิ หรือผทู้ รงภมู ิปญั ญาทีใ่ ช้
การแพทยพ์ ้ืนบ้าน โดยการใช้การสมั ภาษณ์กึ่งโครงสร้าง (Interview) ซง่ึ ประกอบดว้ ย ชนดิ และช่ือพชื สมุนไพรประจาำ ถ่ินทม่ี ี
ในชมุ ชน สรรพคณุ ลักษณะการใชพ้ ืชสมุนไพรประจาำ ถนิ่ น้ัน
การสรา้ งและตรวจสอบเครอ่ื งมอื ในการวจิ ยั 1) การหาความเทย่ี งตรง (Validity) โดยอาศยั แนวคดิ ทฤษฎ ี และงาน
วจิ ยั ทเ่ี กย่ี วขอ้ งในประเดน็ ทเ่ี กย่ี วขอ้ งกบั งานวจิ ยั และนาำ แบบสอบถาม และแบบสมั ภาษณท์ ส่ี รา้ งขน้ึ ปรกึ ษากบั ผทู้ รงคณุ วฒุ ิ เพอ่ื
ตรวจสอบ และแกไ้ ขใหม้ คี วามเทย่ี งตรงดา้ นเนอ้ื หา (content validity) โดยการหาคา่ ดชั นคี วามสอดคลอ้ ง (Index of Item-
Objective Congruence: IOC) ของชดุ คาำ ถาม ไดค้ า่ ระหวา่ ง 0.6-8.0 2) การหาความเชอ่ื มน่ั (Reliability) เปน็ การทดสอบ
ความเชอ่ื ถอื ไดข้ องเครอ่ื งมอื โดยผวู้ จิ ยั ไดน้ าำ แบบสอบถาม และแบบสมั ภาษณท์ ผ่ี า่ นการตรวจสอบจากผทู้ รงคณุ วฒุ ิ ไปทาำ การ
ทดลองใชก้ บั กลมุ่ ตวั อยา่ งทม่ี ลี กั ษณะใกลเ้ คยี งกบั กลมุ่ เปา้ หมายทจ่ี ะศกึ ษา เพอ่ื นามาเปรยี บเทยี บ และตรวจสอบความถกู ตอ้ ง
และความนา่ เชอ่ื ถอื ของขอ้ มลู รวมทง้ั ทดสอบเบอ้ื งตน้ กบั กลมุ่ เปา้ หมายเพอ่ื นาำ มาหาจดุ บกพรอ่ ง และแกไ้ ขใหถ้ กู ตอ้ งมากทส่ี ดุ
โดยการคาำ นวณสมั ประสทิ ธแ์ิ อลฟา่ ของครอนบาค (Cronbach Alpha Coefficient Reliability) ของชดุ คาำ ถาม ไดเ้ ทา่ กบั 0.82
การเกบ็ รวบรวมและวเิ คราะห์ข้อมูล
ผู้วิจยั ได้ประสานความร่วมมือกับผ้นู ำาท้องถ่ินในการรวบรวมข้อมูลความรู้เรอ่ื งสมุนไพรในทอ้ งถ่นิ การใช้สมุนไพร
ในกลุม่ ประชาชนและปราชญ์ทอ้ งถิ่นหรอื ผูท้ รงภูมิปัญญาด้านสมนุ ไพรในทอ้ งถิน่ ซึ่งมขี ั้นตอนวธิ กี ารวิจยั ต้ังแต่ข้ันเตรยี ม
การ เป็นการเตรียมข้อมลู ทีใ่ ช้ในการวิจยั ค้นหาประวัตคิ วามเป็นมาและสภาพท่วั ไปของชุมชนในจงั หวดั นราธิวาส เพื่อรวบรวม
ข้อมูลต้นทุนทางสังคมในชุมชนด้านภูมิปญั ญาพ้นื บ้านในการดแู ลสุขภาพของชุมชน และทรพั ยากรธรรมชาติดา้ นสมนุ ไพร
ที่มอี ย่แู ละยงั ใชป้ ระโยชน์ไดใ้ นชมุ ชนในจงั หวัดนราธิวาส ขน้ั ดำาเนนิ เก็บขอ้ มลู การวจิ ัย เกบ็ ข้อมลู จากกลมุ่ ตัวอย่างในพ้ืนท่ ี
โดยทำาการสอบถามข้อมลู โดยวธิ สี มั ภาษณ์ และใหต้ อบแบบสอบถาม นอกจากนั้นแลว้ ยังได้มีการเก็บรวมรวมขอ้ มลู จากการ
ค้นควา้ เอกสาร และงานวิจยั ทีเ่ กยี่ วขอ้ งในเรอื่ งตา่ งๆ ทัง้ แนวคดิ ทฤษฎี ทเ่ี กี่ยวขอ้ ง เพอ่ื ให้ขอ้ มูลเรือ่ งชนิดของสมุนไพรมีความ
ถูกต้องน่าเช่ือถือ จงึ ตรวจสอบชนิดของสมุนไพรโดยนักพฤกษศาสตร์ผู้เชีย่ วชาญ
18
วิเคราะห์ข้อมูลใช้สถติ ิเชิงพรรณา โดยใช้จาำ นวน ร้อยละ สดั สว่ นและค่าเฉลย่ี เพื่ออธบิ ายคุณลักษณะทัว่ ไปของผู้
ใชส้ มุนไพร ความรู้ในเรื่องการใช้สมุนไพร ชนิดและสรรพคุณของสมุนไพรโดยการจำาแนกการรักษาตามกลุ่มอาการและ
กลุ่มโรคสำาคัญ และการใช้การพรรณาเปรยี บเทยี บชนดิ ของพชื สมนุ ไพรท่เี ป็นภูมิปญั ญาดา้ นสมนุ ไพรทแ่ี ตกต่างจากทอ้ งถิ่นอ่ืน
วิเคราะห์เปรียบเทียบชนดิ ของสมุนไพรและตาำ ราสมนุ ไพรในการรักษาโรคของพื้นทช่ี ุมชนจังหวดั นราธวิ าสกบั ท้องถน่ิ อ่ืน
ผลการวจิ ัย
จากการศกึ ษาข้อมลู ทว่ั ไปของกลมุ่ ตัวอยา่ งทใ่ี หส้ มั ภาษณซ์ ึ่งเปน็ ประชาชนในจงั หวัดนราธวิ าส ทั้งหมดจำานวน 500
คน มีลักษณะดังน้ ี ส่วนใหญ่เปน็ เพศหญงิ (รอ้ ยละ 84.0) สถานภาพสมรสแล้ว (ร้อยละ 58.0) มีอายอุ ยใู่ นช่วงตาำ่ กวา่ 25 ป ี
มากทสี่ ดุ (ร้อยละ 27.2) รองลงมาคือชว่ งอายุ 36-45 ป ี (รอ้ ยละ 25.6) และช่วงอาย ุ 26-35 ป ี (ร้อยละ 24.2) ตามลาำ ดบั โดย
เฉลี่ยมีรายได้หลักตอ่ เดอื น ตา่ำ กวา่ 4,000 บาท (ร้อยละ 93.0) ดงั ตารางท่ ี 1
1. ข้อมูลความรใู้ นการใชส้ มุนไพรรักษาโรคของประชาชน
ขอ้ มลู ความรู้ในการใช้สมุนไพรรกั ษาโรคของประชาชนโดยแบง่ ตามกลมุ่ อาการของโรคทสี่ ำาคญั ดงั น้ ี กลมุ่ อาการ
ปวดไข้และเมอื่ ย พบวา่ ประชาชนสว่ นใหญย่ ังไมม่ ีความรใู้ นเรอื่ งการนาำ สมุนไพรมาใช ้ (มากกวา่ รอ้ ยละ 80) ในกลุ่มตัวอย่างทมี่ ี
ความรู้พบวา่ พืชสมนุ ไพรที่ใช้ในการรกั ษาอาการไข ้ ตวั รอ้ น คอื ใบฟ้าทะลายโจร มีสดั ส่วนมากที่สดุ (ร้อยละ 70.8) สว่ นอาการ
ไขท้ ับระดู นยิ มใช้หมากอ่อนในการรักษา(ร้อยละ 62.2) กลุม่ อาการ/โรคทางเดินอาหาร พบว่าประชาชนส่วนใหญย่ งั มีความรู้
ในเร่อื งการนาำ สมุนไพรมาใชร้ กั ษาโรคทอ้ งผกู ทอ้ งเดนิ หรือ ท้องเสียและแผลในกระเพาะอาหาร (มากกว่ารอ้ ยละ 80) โดยส่วน
ใหญ่นยิ มใช้กล้วยน้าำ หว้าสุก ใบฝรั่งและเหงา้ ขม้นิ ชนั (ร้อยละ 87.4, 91.5, 96.5) ตามลาำ ดับ สว่ นอาการอาหารเป็นพษิ มีเพียง
สดั ส่วนสองในสามทมี่ คี วามรใู้ นเร่อื งการนาำ สมนุ ไพรมาใชร้ ักษาโรค (รอ้ ยละ 64.2)และใช้นำา้ มะพรา้ ว (รอ้ ยละ 96.9) แต่ในเรอ่ื ง
การรกั ษาอาการโรครดิ สดี วงทวาร มกี ลมุ่ ตวั อยา่ งน้อยมากท่ีจะมคี วามรู้ในเร่อื งการนาำ สมนุ ไพรมาใชร้ ักษาโรคดังกลา่ ว (ร้อยละ
7.6) ส่วนกลุ่มทม่ี ีความร้สู ว่ นใหญก่ เ็ ลือกใชพ้ ชื สมุนไพรกระชายในการรักษา (รอ้ ยละ 84.2)
กลมุ่ อาการและโรคทางเดินหายใจ พบวา่ กลมุ่ ตวั อย่างมีความรู้ในเร่ืองการนาำ สมุนไพรมาใชร้ กั ษาอาการไอ เจบ็ คอ
มากทสี่ ดุ (ร้อยละ 97.4) รองลงมาเปน็ ความรเู้ รื่องสมนุ ไพรท่ีขบั เสมหะ คลนื่ ไส้ อาเจยี น (ร้อยละ 62.8, 34.8) ตามลาำ ดบั ส่วน
กลุ่มตวั อยา่ งที่มีความรู้เรือ่ งสมนุ ไพรทใี่ ชแ้ กอ้ าการหืดหอบมีน้อยมาก (รอ้ ยละ 9.8) โดยทส่ี มุนไพรมาใช้รักษาอาการไอ เจ็บคอ
และขบั เสมหะน้ัน เกือบท้งั หมดนยิ มใช้ก็คือ สมุนไพรนำ้ามะนาวมากท่สี ดุ (รอ้ ยละ 95.5) ตามลำาดับ และสมนุ ไพรทนี่ ยิ มใช้มาก
ทสี่ ดุ เพอ่ื รกั ษาอาการคล่นื ไส ้ อาเจยี น และอาการหดื หอบ คอื สมนุ ไพรผวิ มะกรดู , ใบกระเพรา (ร้อยละ 95.4, 87.8) ตามลาำ ดับ
กลมุ่ อาการอกั เสบ/ติดเช้ือ ซึง่ จะพบวา่ ลักษณะการอักเสบหรือติดเชื้อท่ีมีสาเหตุมาจากเชือ้ แบคทเี รยี ไวรัส เช้ือ
ราหรือไมโคไฟตอนและปรสติ รวมการรักษาอาการแผลไฟไหม้ นำ้าร้อนลวก ซึง่ พบว่ากลุ่มตัวอยา่ งจะมีความรูใ้ นเรื่องการใช้
สมนุ ไพรมีการรักษาอาการแผลไฟไหม้ นำา้ ร้อนลวกมากท่สี ุด (รอ้ ยละ 62.8) โดยการใช้ว่านหางจระเข้ (รอ้ ยละ 95.5) สว่ นความ
รู้ในเรื่องการใชส้ มุนไพรเพือ่ ถา่ ยพยาธิ กลาก เกลอ้ื น โรคเรมิ หรืองสู วัด มีเป็นสดั ส่วนทค่ี ่อนขา้ งน้อย (ร้อยละ 36.2, 31.6,
14.6) โดยสว่ นใหญ่มกั จะเลือกใชส้ มนุ ไพรเพอ่ื บาำ บดั รักษาโรคและอาการคอื เมล็ดกระถนิ , เหงา่ ข่า, ใบพล ู (รอ้ ยละ 89.5, 64.5,
78.1) ตามลำาดับ ดงั รายละเอยี ดในตารางท่ ี 1
19
ตารางท่ี 1 ขอ้ มูลจาำ นวน รอ้ ยละของกลมุ่ ตวั อย่างในเรือ่ งความรู้ในการใช้สมุนไพรรักษาโรค
อาการ / โรค ไมม่ ีความรู้ มีความรู้ สมุนไพรที่ใช้ จำานวน
กล่มุ อาการไข้ / ปวด / เมื่อย จำานวน (ร้อยละ) จาำ นวน (ร้อยละ) (ร้อยละ)
1. อาการไข ้ ตวั รอ้ น 68(70.8)
2. ไขท้ ับระดู 404(80.8) 96(19.2) ใบฟ้าทะลายโจร 28(29.2)
410(82.0) เถาบอระเพ็ด 56(62.2)
กล่มุ อาการ/โรคทางเดนิ อาหาร 18(20.0)
3. ทอ้ งผกู 90(18.0) หมากออ่ น 16(17.8)
4. ท้องเสยี ไหมข้าวโพด 360(87.4)
5.อาหารเปน็ พิษ ใบพรกิ ไทย 39(9.5)
6. แผลในกระเพาะ 13(3.1)
7. ริดสีดวงทวาร 88(17.6) 412(82.4) กลว้ ยนำ้าหว้าสกุ 419(91.5)
42(8.4) 458(91.6) ใบชุมเห็ดเทศ 27(5.9)
กลุ่มอาการ/โรคทางเดนิ หายใจ 179(35.8) 321(64.2) เนื้อในฝักมะขาม 12(2.6)
8. หอบ หดื 100(20.0) 400(80.0) ใบฝรั่ง 311(96.9)
9. ไอ เจบ็ คอ 462(92.4) 38(7.6) ใบกระท่อม 7(2.2)
10. คลน่ื ไส ้ อาเจียน เปลือกผลทบั ทิม 3(0.9)
11. ขบั เสมหะ น้ำามะพรา้ ว 386(96.5)
ใบรางจืด 9(2.2)
ใบฝร่ัง 5(1.3)
เหงา้ ขม้ินชัน 32(84.2)
กล้วยนาำ้ หว้าดิบ 3(7.9)
แก่นขี้เหลก็ 3(7.9)
กระชาย 43(87.8)
เถาเพ็ชรสังฆาต 3(6.1)
อัคคที วารท้ังห้า 3(6.1)
478(98.2)
451(90.2) 49(9.8) ใบกระเพรา 5(1.0)
13(2.6) 487(97.4) ใบหนมุ านประสานกาย 4(0.8)
326(65.2) 174(34.8) ดอกสารถี 166(95.4)
186(37.2) 314(62.8) นาำ้ มะนาว 7(4.0)
ใบฟ้าทะลายโจร 1(0.6)
ผลพรกิ ไทย 300(95.5)
ผิวมะกรดู 11(3.5)
ผลยอ 3(1.0)
ผลมะขามป้อม
นำา้ มะนาว
เนื้อในฝักมะขาม
ผลมะแวง้ เคลือ
20
ตารางท่ี 1 (ตอ่ ) ขอ้ มลู จาำ นวน ร้อยละของกลมุ่ ตวั อย่างในเรื่องความรูใ้ นการใช้สมุนไพรรกั ษาโรค
อาการ / โรค ไม่มคี วามรู้ มีความรู้ สมุนไพรที่ใช้ จาำ นวน
กลุ่มอาการอักเสบ/ติดเชอ้ื จำานวน (ร้อยละ) จาำ นวน (ร้อยละ) (ร้อยละ)
12. โรคเริม(งสู วดั ) 57(78.1)
13. แผลไฟไหม ้ น้าำ รอ้ นลวก 427(85.4) 73(14.6) ใบพลู 9(12.3)
14. กลาก เกลอื้ น 186(37.2) 314(62.8) พยายอ 7(9.6)
15. ถ่ายพยาธิ 342(68.4) 158(31.6) เนอื้ ในเมล็ดหมาก 300(95.5)
319(63.8) 181(36.2) ว่านหางจระเข้ 11(3.5)
นา้ำ มันมะพร้าว 3(1.0)
เกลือ 102(64.5)
เหงา่ ขา่ 54(34.2)
หวั กระเทยี ม 2(1.3)
ใบทองพันชัง่ 162(89.5)
เมล็ดกระถิน 18(10.0)
ใบสวาด 1(0.5)
ผลเล็บมอื นาง
2. ขอ้ มูลชนดิ ของพชื สมุนไพรทีป่ ระชาชนในท้องถิ่นและชมุ ชน
จากการรวบรวมข้อมลู ชนดิ ของพชื สมนุ ไพรที่ประชาชนในท้องถิน่ และชมุ ชน ของจังหวัดนราธิวาสนยิ มใช้รกั ษาโรค
โดยการแบ่งกลมุ่ อาการและโรคต่างๆ ได้เป็น 7 กลุ่มคือ 1.) กลุม่ อาการปวดไข้และปวดเม่อื ย 2.) กลุ่มอาการและโรคทางเดนิ
หายใจ 3.) กลุ่มอาการ/โรคทางเดินอาหาร 4.) กลุ่มอาการอักเสบและติดเชื้อ 5.) กลุ่มอาการและโรคผิดปกติของขบวนการ
เมตาบอลซิ มึ 6.) กลมุ่ อาการผิดปกตจิ ากการตง้ั ครรภ์และคลอด 7.) กลุม่ อาการผิดปกตอิ นื่ ๆ ซ่ึงพบว่าโรคหรอื อาการเฉพาะใน
กลุ่มอาการและโรคประชาชนมักใช้สมุนไพรบำาบัดรักษาท้ังชนิดใดชนิดหน่ึงที่เฉพาะเจาะจงและผสมผสานสมุนไพรหลายชนิด
ตงั้ แต่หน่งึ ชนิดขน้ึ ไปจนถึงจาำ นวนหกชนดิ ดังรายละเอยี ดในตารางท ่ี 2
ตารางที่ 2 แสดงขอ้ มูลชนิดของพืชสมุนไพรทีป่ ระชาชนในทอ้ งถน่ิ และชุมชน ของจังหวดั นราธวิ าสนยิ มใช้รักษาโรคต่างๆ
โรค/กลมุ่ อาการ สมุนไพรที่ใช้
กล่มุ อาการปวด / เมือ่ ย / ไข้ น้าำ มะดัน, ยางสบดู่ ำา
ปวดหวั หวั คราดหวั แหวน
ปวดฟัน ใยตะเปาะแลแม
ปวดตามข้อ ต้นลูกใตใ้ บ
ไข้ทับระดู พรกิ ไทย, นา้ำ มนั มะพร้าว
ปวดเมือ่ ย
21
ตารางที่ 2 (ต่อ) แสดงข้อมูลชนิดของพชื สมนุ ไพรท่ีประชาชนในท้องถน่ิ และชุมชน ของจังหวดั นราธวิ าสนิยมใช้รักษาโรคต่างๆ
โรค/กลุ่มอาการ สมุนไพรทีใ่ ช้
กลมุ่ อาการ/โรคทางเดนิ หายใจ เปลอื กนุน่
หอบหดื เปลอื กมะยม, มะขาม
ไอเจ็บคอ
กลุ่มอาการ/โรคทางเดนิ อาหาร ละมดุ
ทอ้ งเสีย ใบเมกอ
คล่นื ไส้ อุจจาระรว่ ง มะมว่ งหิมพานต,์ ขา่ นา้ำ ผงึ้ , ขม้นิ
โรคกระเพาะ ผักบงุ้ , นำา้ ซาวข้าวเหนียว
อาหารเปน็ พิษ ใบฝร่งั , ใบกระทอ่ ม, มะละกอสุก
ท้องผูก ยอดต้นยอ
ทอ้ งอดื ใบองนุ่ นาำ้ ผ้งึ
ริดสีดวง
กลุม่ อาการอักเสบ/ติดเช้ือ ใบพฒุ ตาล, ใบเสง้ เลก็
ฝ ี เมลด็ ถว่ั ลนั เตา, ยางปลกี ลว้ ย, เมล็ดรางสาด
เรมิ ว่านหางจระเข้
นาำ้ ร้อนลวก นำ้าใบผกั บงุ้
ตาแดง ลำาเทง(ผกั กดู แดง)
ฝีในทอ้ ง เปลอื กมะยม
ปากแตก
กลุ่มอาการและโรคผิดปกตขิ องขบวนการเมตาบอลิซึม ใบสะเดา, ส้มแขก, ใบจะฆาฆอ (ใบบวั บก), ใบมะยม,
ความดนั โลหิตสงู
รากต้นยอ, ผักชี
โรคเบาหวาน ใบกระทอ่ ม, ใบหนวดแมว
กล่มุ อาการผดิ ปกติจากการตัง้ ครรภ์และคลอด รากตูแยมอมิง ใบโคลงเคลง
ชักมดลกู รากเสง้ เล็ด
คลอดง่าย
กลุ่มอาการผิดปกตอิ ่ืนๆ เมลด็ กระถนิ , มะพรา้ ว, รากพล,ู รากเมย่ี ง, สะตอต้ม
ถา่ ยพยาธิ ใบน้อยหน่า
เหา ใบพกิ ุล ข้าวสาร ขมนิ้
ฝา้ รากมะล ิ
งกู ัด
22
3. การเปรียบเทยี บความแตกตา่ งของชนดิ พืชสมุนไพรประจำาถน่ิ กบั พืชสมุนไพรในท้องถิ่นอ่นื ในประเทศไทย
การเปรยี บเทยี บความแตกตา่ งของชนดิ พชื สมนุ ไพรประจาำ ถน่ิ กบั พชื สมนุ ไพรในทอ้ งถน่ิ อน่ื ในประเทศไทย ทน่ี าำ มาใช้
ในการรกั ษาโรคทพ่ี บบอ่ ย ในกลุ่มอาการปวดไขแ้ ละปวดเมอ่ื ย กล่มุ อาการ/โรคทางเดนิ หายใจ กลมุ่ อาการ/โรคทางเดินอาหาร
กลมุ่ อาการอักเสบ/ตดิ เชอ้ื กลุ่มอาการและโรคผิดปกติของขบวนการเมตาบอลิซึม กลุ่มอาการผดิ ปกตจิ ากการตั้งครรภแ์ ละ
คลอด และกลมุ่ อาการผิดปกติอื่นๆโดยภาพรวมพบว่าชนดิ ของพชื สมุนไพรมีความแตกตา่ งกนั อย่างชดั เจน ยกเว้นในรายโรค
แยกตามรายกลมุ่ อาการและโรค จะพบว่ามชี นดิ ของพชื สมนุ ไพรที่มีความเหมอื นกันอยู่บ้าง คือ ความดนั โลหติ สูง ในกลุม่
อาการและโรคผิดปกตขิ องขบวนการเมตาบอลสิ มึ ทีน่ ยิ มใชใ้ บจะฆาฆอหรือใบบวั บก และการกาำ จัดโรคเหา ในกลมุ่ อาการผิด
ปกตอิ ื่นๆ ทท่ี นี่ ยิ มใชใ้ บนอ้ ยหน่า ในการบาำ บดั รกั ษา นอกจากน้ันแลว้ ยังพบวา่ มีภมู ิปญั ญาท่ีใชด้ ูแลสขุ ภาพและรักษาโรคภยั
โดยการใช้พชื สมุนไพรของประชาชนในท้องถ่ินทแี่ ตกตา่ งจากท้องถ่นิ อนื่ ๆ คอื หอบหดื ฝี เริม ฝใี นท้อง ปากแตก ชักมดลกู
คลอดงา่ ย ฝา้ และงูกัด ดังตารางท ่ี 3
ตารางที่ 3 ขอ้ มูลแสดงเปรียบเทียบความแตกต่างของชนิดพชื สมนุ ไพรประจาำ ถ่ินกบั พชื สมุนไพรในท้องถ่นิ อืน่ ในประเทศไทย
ท่ีนำามาใช้ในการรักษาแยกตามรายกลุ่มอาการและโรคท่พี บบ่อย
โรค/กล่มุ อาการ สมนุ ไพรที่ใชใ้ นท้องถ่ิน สมนุ ไพรที่ใช้ในทอ้ งถิ่นอน่ื
กลุม่ อาการปวดไข้/ ปวดเมอ่ื ย
นาำ้ มะดัน, ยางสบดู่ าำ ,ตน้ ลกู ใตใ้ บ, หวั คราด แคดอกขาวและแดง, ท้าวยายมอ่ ม, วา่ นธรณี
กลุ่มอาการ/โรคทางเดนิ หายใจ หวั แหวน, ใยตะเปาะแลแม, พริกไทย, นำ้ามัน สาร, บอระเพ็ด, ประคาำ ดีควาย, พิมเสนตน้ ,
หอบหดื มะพร้าว มะปราง, ยา่ นาง,สะเดา
ไอเจบ็ คอ
เปลือกนุ่น -
กลมุ่ อาการ/โรคทางเดนิ อาหาร เปลือกมะยม, มะขาม จิก, ชะเอมไทย, ปบี , ไพล, มะแว้งเครอื ,
ท้องเสยี มะแว้งต้น,มะกรดู , มะดัน, มะขามป้อม,
คลืน่ ไส ้ อจุ จาระร่วง มะนาว, มะอึก, ลาำ โพงดอกขาว, หนมุ าน
โรคกระเพาะ ประสานกาย
อาหารเปน็ พษิ
ท้องผูก ละมุด กระทือ, กระชาย, กระทอ้ น,
ใบเมกอ ทบั ทิม, บานไม่รโู้ รย, เปลา้ นอ้ ย
มะมว่ งหมิ พามต,์ ข่า นาำ้ ผงึ้ , ขมนิ้ ฝร่ัง, เพกา, ฟา้ ทะลายโจร, มะเด่ือไทย, โมก
ผักบงุ้ , นา้ำ ซาวข้าวเหนียว หลวง, โมกมัน
ใบฝรงั่ , ใบกระท่อม, มะละกอสุก มังคุด
กาฬพฤกษ์, คนู , จำาปา, ชุมเห็ดเทศ,
ตองแตก, บานเยน็ ,ผักกาดขาว, มะขามแขก,
แมงลัก, วา่ นหางชา้ ง, สมั เช้า, สมอไทย
23
ตารางท่ี 3 (ตอ่ ) ขอ้ มลู แสดงเปรยี บเทยี บความแตกตา่ งของชนดิ พชื สมนุ ไพรประจาำ ถน่ิ กบั พชื สมนุ ไพรในทอ้ งถน่ิ อน่ื ในประเทศไทย
ท่ีนำามาใช้ในการรกั ษาแยกตามรายกล่มุ อาการและโรคทพ่ี บบ่อย
โรค/กลุ่มอาการ สมนุ ไพรท่ใี ชใ้ นทอ้ งถน่ิ สมนุ ไพรทใ่ี ช้ในทอ้ งถนิ่ อน่ื
กลุ่มอาการ/โรคทางเดนิ อาหาร ยอดตน้ ยอ กานพลู, กระวาน, กมุ่ น้ำา, ดปี ลี,เทพธาโร,
ท้องอืด ใบอง่นุ , น้าำ ผงึ้ พรกิ ไทย, ไพล, มะรมุ ,เรว่ , วานน้าำ , โหระพา,
ใบพฒุ ตาล, ใบเส้งเล็ก อบเชยเทศ, อบเชยตน้
รดิ สดี วง เมลด็ ถว่ั ลนั เตา, ยางปลกี ลว้ ย, เมลด็ รางสาด ขลู่, ครอบฟันสี, เพชรสังฆาต, วา่ นหางจระเข,้
ว่านหางจระเข้ อคั คีทวาร
กลมุ่ อาการอกั เสบ/ติดเช้ือ นำ้าใบผักบ้งุ -
ฝี ลำาเทง(ผกั กดู แดง) -
เรมิ เปลอื กมะยม ว่านหางจระเข้
น้ำาร้อนลวก ใบสะเดา, สม้ แขก, ใบจะฆาฆอ (ใบบัวบก), ข้าวสารเถา, ตะลงิ ปลิง, เตา่ รา้ ง, เปราะ
ตาแดง ใบมะยม, รากตน้ ยอ, ผักชี หอมแดง, หูเสือ
ฝีในท้อง ใบกระทอ่ ม, ใบหนวดแมว -
ปากแตก -
กล่มุ อาการและโรคผิดปกติของขบวนการเม รากตูแยมอมิง, ใบโคลงเคลง
ตาบอลสิ มึ รากเส้งเลด็ กาหลง, ระย่อยนอ้ ย, บวั บก, มะขาม
ความดนั โลหิตสูง เมล็ดกระถนิ , มะพร้าว, รากพลู, รากเม่ียง, กระแตไต่ไม้, ชะพล,ู โทงเทง, บุก, สัก,
โรคเบาหวาน สะตอตม้ อิทนลิ น้าำ
ใบน้อยหนา่
กลมุ่ อาการผิดปกตจิ ากการต้งั ครรภแ์ ละ ใบพกิ ลุ ข้าวสาร ขม้ิน -
คลอด รากมะลิ -
ชกั มดลกู แกว้ , ทบั ทมิ , มะเกลือ, มะขาม, มะเฟือง,
คลอดงา่ ย มะหาด, เล็บมอื นาง
กลุ่มอาการผิดปกตอิ ื่นๆ กระทกรก, นอ้ ยหนา่ , บวบขม, มะระข้นี ก,
ถา่ ยพยาธิ มะเขอื มอญ, ยาสูบ, หนอนตายอยาก, ผกา
เหา กรอง
-
ฝา้ -
งกู ดั
24
การอภปิ รายผล
ความรเู้ รอ่ื งการใชพ้ ชื สมนุ ไพรในการรกั ษาโรคในกลมุ่ ประชาชนทอ่ี าศยั อยใู่ นทอ้ งถน่ิ และชมุ ชนของ จงั หวดั นราธวิ าส
จะเหน็ ไดว้ า่ กลมุ่ ประชาชนในพน้ื ทจ่ี ะมคี วามรอู้ ยใู่ นเกณฑด์ ี และมแี นวโนม้ ทด่ี ใี นเรอ่ื งการใชส้ มนุ ไพรในโอกาสขา้ งหนา้ ตอ่ ไป
สอดคลอ้ งกบั การศกึ ษาขององคก์ ารอนามยั โลก (WHO, 1999) ทร่ี ายงานวา่ กระแสการใชส้ มนุ ไพรกาำ ลงั เปน็ ทน่ี ยิ มทว่ั โลก โดย
เฉพาะประเทศทก่ี าำ ลงั พฒั นาไมว่ า่ จะเปน็ ประเทศในทวปี แอฟรกิ า เอเซยี หรอื ลาตนิ อเมรกิ า พบวา่ ประชาชนกวา่ รอ้ ยละ 80 ใน
ทวปี แอฟรกิ าใชร้ ะบบการแพทยพ์ น้ื บา้ นทใ่ี ชส้ มนุ ไพรเปน็ หลกั สาำ หรบั ประเทศทพ่ี ฒั นาแลว้ กพ็ บวา่ การใชพ้ ชื สมนุ ไพรกาำ ลงั มกี าร
ขยายตวั อยา่ งรวดเรว็ ซง่ึ องคก์ ารอนามยั โลกประมาณการวา่ ตลาดยาสมนุ ไพรของโลกมมี ลู คา่ ตอ่ ป ี มากกวา่ 60 พนั ลา้ นเหรยี ญ
สหรฐั อเมรกิ าและมแี นวโนม้ สงู ขน้ึ ทกุ ป ี นอกจากนน้ั ยงั สอดคลอ้ งกบั ผลการศกึ ษาการใชส้ มนุ ไพรในชนบทภาคใต ้ (อรณุ พร
อฐิ รตั นแ์ ละคณะ, 2532; อรณุ พร อฐิ รตั นแ์ ละคณะ, 2543) ทพ่ี บวา่ ชาวชนบทภาคใตน้ ยิ มใชส้ มนุ ไพรในการรกั ษาพยาบาล รอ้ ยละ
73.8 โดยมากกวา่ ครง่ึ หนง่ึ ไดร้ บั ความรเู้ รอ่ื งการใชส้ มนุ ไพรทน่ี าำ มาใชใ้ นการรกั ษาโรคจากเพอ่ื นบา้ นและแหลง่ อน่ื และรจู้ กั ใช้
สมนุ ไพรหลากหลายรวม 44 ชนดิ เพอ่ื รกั ษาโรคและกลมุ่ อาการตา่ งๆจาำ นวน 13 โรคและกลมุ่ อาการ และสอดคลอ้ งกบั ผลการ
ศกึ ษาการใชส้ มนุ ไพรทท่ี าำ การศกึ ษาในพน้ื ทอ่ี น่ื ๆ ในประเทศไทย (เอ้ือม ณ สงคราม, ไม่ระบุปี; เกศริน มณนี นู , 2544; พิสิฏฐ์
บญุ ไชย, 2552; ยุทธนา ทองบญุ เกอ้ื , 2551; เสาวณีย ์ กุลสมบรู ณ์, รุจินาถ อรรถสษิ ฐ, 2550)
ภูมิปัญญาแพทย์พื้นบ้านเร่ืองการใช้พืชสมุนไพรของประชาชนในท้องถิ่นในการศึกษานี้มีความรู้มากท่ีสุดพบว่า
เกยี่ วข้องกับการบำาบดั รักษาอาการปว่ ยพน้ื ฐานทป่ี ระสบอยู่เปน็ ประจาำ คอื กลุ่มอาการหรอื โรคทางเดนิ อาหาร กลมุ่ อาการหรือ
โรคทางเดนิ หายใจ เชน่ ท้องผกู ท้องเสยี แผลในกระเพาะ ไอ เจ็บคอ ขับเสมหะ เป็นต้น ซึง่ จะเหน็ ไดว้ า่ อาการและโรคต่างๆ น้นั
เป็นอาการทไ่ี มร่ นุ แรงนกั โดยจะเลอื กใชพ้ ชื สมนุ ไพรในครวั เรอื นหรอื มอี ยรู่ อบรว้ั รมิ บา้ นทพ่ี กั อาศยั เปน็ สว่ นใหญ ่ ซง่ึ สอดคลอ้ ง
กบั วถิ ชี วี ติ ประชาชนตามทอ้ งถน่ิ ชนบททส่ี ว่ นใหญม่ อี าชพี เกษตรกรรมและวฒั นธรรมการชว่ ยเหลอื ซง่ึ กนั และกนั นอกจากการ
ใหก้ ารรกั ษาดว้ ยสมนุ ไพรตามภมู ปิ ญั ญาแพทยพ์ น้ื บา้ นนแ้ี ลว้ ผปู้ ว่ ยเองกส็ ามารถชว่ ยเหลอื ตวั เองเพอ่ื บรรเทาอาการของโรค โดย
การอาศยั การพกั ผ่อนเพ่อื ฟกั ฟื้นร่างกาย แต่จากผลการศึกษานี ้ พบวา่ ประชาชนยงั ขาดความร้กู ารใชพ้ ชื สมนุ ไพรของประชาชน
ในเรือ่ งการรักษาอาการปวดหวั ตัวร้อนเป็นไข ้ เป็นหวัด ปวดเมื่อย ซึ่งเป็นอาการของโรคทม่ี กั เกิดข้ึนในการใช้ชวี ติ ประจาำ วัน
การทำางานเชน่ เดียวกัน แตอ่ ย่างไรกต็ าม การบาำ บดั รกั ษาอาการปวดหัว ตัวร้อนเป็นไข้ เป็นหวดั ปวดเม่อื ยดังกลา่ วนี้ เปน็ ไปได้
ว่าประชาชนในท้องถ่นิ นอี้ าจจะใช้ภมู ิปญั ญาแพทย์พ้ืนบา้ นอย่างอ่ืนๆ เชน่ การนวด ประคบ ซ่ึงทาำ ไดง้ า่ ยกวา่ ในการใช้แพทยท์ าง
เลอื ก
พนั ธพ์ุ ชื สมนุ ไพรประจาำ ถน่ิ ทน่ี าำ มาใชใ้ นการรกั ษาโรค ทเ่ี ปน็ ภมู ปิ ญั ญาพน้ื บา้ นในจงั หวดั นราธวิ าสและความแตกตา่ ง
หลากหลายของชนดิ พชื สมุนไพรประจาำ ถิน่ ทน่ี ำามาใช้ในการรกั ษาแยกตามรายกลุม่ อาการและโรคทพี่ บบอ่ ย ซึ่งจะเปน็ การ
เปรียบเทียบภูมิปัญญาพ้ืนบ้านในจังหวัดนราธิวาสกับพืชสมุนไพรในท้องถิ่นอ่ืนในประเทศไทยท่ีได้ถูกรวบรวมไว้เป็นเอกสาร
หนงั สือ (สุนทรี สิงหบตุ รา, 2535) ประเด็นแรกจะเหน็ ได้ว่าพชื สมนุ ไพรท่นี ำามาใช้รักษาโรคหรือกล่มุ อาการผดิ ปกตขิ องรา่ งกาย
ในทอ้ งถ่ินน้ี ยังไมห่ ลากหลายมากนกั ค่อนข้างจะใชพ้ ชื สมนุ ไพรในเชงิ เดยี่ วๆ กบั อาการใดๆ ที่เปน็ อยูซ่ ึ่งจะมคี วามแตกต่าง
จากภมู ิปัญญาแพทยพ์ นื้ บา้ นในทอ้ งถนิ่ อ่นื เชน่ ในกลมุ่ ของอาการปวดไข้/ ปวดเม่อื ย, ไอเจ็บคอ, ทอ้ งผูก, ท้องเสยี , ท้องอดื ,
ริดสีดวง ในกลมุ่ อาการ/โรคทางเดินอาหาร, ตาแดง, โรคความดนั โลหิตสงู และโรคเบาหวาน ในกลุ่มอาการและโรคผดิ ปกตขิ อง
ขบวนการเมตาบอลซิ มิ และกลมุ่ อาการผดิ ปกตอิ ่ืนๆ (สนุ ทร ี สิงหบตุ รา, 2535; Oben, et al., 2006) นอกจากนัน้ แล้วยังพบว่า
มีความแตกต่างและหลากหลายเม่อื เทียบการภมู ปิ ัญญาการแพทยพ์ น้ื บา้ นในทอ้ งถน่ิ อน่ื ๆ เช่น ภาคกลาง ภาคตะวันออกเฉียง
เหนอื (ยทุ ธนา ทองบญุ เกอ้ื , 2551; พสิ ฏิ ฐ ์ บุญไชย, 2552; คนึงนติ ย ์ ชน่ื คา้ , 2547) รวมท้ังพืน้ ทห่ี ลายๆแห่งในภาคใต้ (เกศรนิ
มณนี นู , 2544)
25
ประเด็นทีส่ องชนดิ ของพืชสมุนไพรทน่ี ำามาใชจ้ ะเห็นไดว้ ่าพชื สมนุ ไพรทนี่ าำ มาใช้รกั ษาโรคหรือกลุ่มอาการผิดปกติของ
รา่ งกายในท้องถิน่ น ี้ ค่อนขา้ งจะแตกต่างกันมากซึ่งเหน็ ไดว้ า่ มเี พยี งสมุนไพรไมก่ ่ชี นิดทีน่ าำ มาใชก้ บั โรคหรอื กลุม่ อาการทเ่ี หมือน
กนั กับเอกสารหลกั ฐานท่ีรวบรวมไวท้ ว่ั ทกุ ท้องถ่ินของประเทศไทย (สุนทรี สิงหบุตรา, 2535) กล่าวคอื กลุ่มอาการและโรคผดิ
ปกตขิ องขบวนการเมตาบอลซิ ึม คอื โรคความดนั โลหติ สงู ที่จะใชใ้ บบัวบกหรือใบจะฆาฆอในภาษามลายพู น้ื ท้องถนิ่ ซ่ึงจาก
เอกสารหลักฐานพบว่า ใบบัวบกจะมีสาร คาโรทีนอยด์ ฟลาโวนอยด์ โปรแอนโทรไซยาตินิน คาเตซิน เทอร์ปิน และ Asiatic
acid, Madecassic acid ท่ีสามารถลดความดนั โลหิตได ้ (ลลิตา ธรี ะสิร,ิ 2542) รวมทัง้ การใชใ้ บหญา้ หนวดแมวหรอื ฟ้าทะลาย
โจรในการรักษาโรคเบาหวาน ซ่งึ มีผลการศึกษาทีส่ อดคลอ้ งกันคือ การศกึ ษาฤทธิโ์ ปรออกซิแดนทข์ องสารสกดั ฟ้าทะลายโจร
ต่อระดับกลตู าไธโอนในเซลล์เมด็ เลอื ดแดงของมนษุ ย์ ซึ่งมีผลต่อการต้านการอกั เสบ ส่งเสริมระบบประสาท ระบบภูมิค้มุ กัน
(Cheunsombat at el., 2005) การใช้ว่านหางจระเข้ในการบาำ บัดรักษาไฟไหม้นำ้ารอ้ นลวก ซึ่งสอดคล้องกับขอ้ มูลการศึกษาที่
พบว่า วนุ้ ในใบวา่ นหางจระเขม้ สี ารเคมอี ยู่หลายชนิด เชน่ Aloe-cmidin, Aloesin, Aloin, สารประเภท glycoprotein ท่มี ีช่อื
วา่ Aloctin A เปน็ Anti-inflammatory ซึ่งสมานรักษาแผลและปอ้ งกันการตดิ เชื้อได้ดี (Davis, Kabbani, Maro, 1987;
Davis et al., 1989; Davis, 1991; สนุ ทรี สิงหบุตรา. 2535) และใชใ้ บนอ้ ยหนา่ ในการกำาจัดเหาซงึ่ เปน็ ปรสิต พบวา่ ในใบ
และเมลด็ ของน้อยหน่าจะมีสารสำาคญั สามารถกำาจดั ปรสิตชนดิ นีไ้ ดท้ ัง้ ตัวแกแ่ ละไขค่ อื annonin, neoannonin, squamocin,
annonareticin, squamostatin E และ squamostatin B1 และflavonoid (ผาณิตตา คงแคลว้ และคณะ, 2539; จรยิ าพร
บญุ สุข และคณะ, 2539; ชนิกา คลา้ ยมงคล และคณะ, 2539) แตอ่ ย่างไรกต็ าม การศึกษานี้ยังเป็นการศกึ ษาสาำ รวจขน้ั ตน้ ท่ี
ดำาเนินการอยู่ในเขตชุมชนหรือพ้ืนท่ีท่ีค่อนข้างกำาจัดและมีกลุ่มประชากรเป้าหมายท่ีให้ข้อมูลไม่มากนักอาจทำาให้ผลการศึกษา
ไมค่ รอบคลมุ ในทกุ ลกั ษณะของกลมุ่ อาการและโรค ชอ่ื ชนดิ พนั ธส์ุ มนุ ไพรทเ่ี รยี กแตกตา่ งกนั และขบวนการขน้ั ตอนการไดม้ าซง่ึ
ขอ้ มลู อาจจาำ เปน็ ตอ้ งใชก้ ารสงั เกตแบบการมสี ว่ นรว่ มทต่ี อ้ งใชร้ ะยะเวลาทม่ี ากขน้ึ นอกจากนน้ั แลว้ การศกึ ษาในมติ ทิ างสงั คมและ
วฒั นธรรมการเปน็ อยขู่ องชมุ ชนทอ้ งถน่ิ ควบคดู่ ว้ ย ซง่ึ วถิ ชี วี ติ และความเปน็ อย ู่ คตคิ วามเชอ่ื หลกั ศาสนาจะเปน็ องค์ประกอบ
สำาคญั การแพทยพ์ ้นื บา้ นทจ่ี ะเขา้ ใจในทกุ บรบิ ททีเ่ ป็นเครือขา่ ยโยงใยในท้องถ่นิ นัน้ ๆ
สรปุ และข้อเสนอแนะ
จากการศึกษานี้พบวา่ ประชาชนในพนื้ ท่ีจะมคี วามรู้เรื่องการใช้พชื สมุนไพรในการรักษาโรคอยู่ในเกณฑท์ ดี่ ี และมี
แนวโนม้ ทดี่ ีในเร่อื งการใช้สมนุ ไพรในโอกาสข้างหนา้ ตอ่ ไป ภมู ปิ ญั ญาแพทย์พื้นบ้านเรอื่ งการใชพ้ ชื สมนุ ไพรของประชาชนใน
ท้องถิ่นนีม้ คี วามรมู้ ากที่สุดในเร่อื งการบาำ บัดรักษาอาการป่วยพ้นื ฐานทป่ี ระสบอย่ชู ีวติ ประจำาวนั คอื ท้องผูก ท้องเสยี แผลใน
กระเพาะ ไอ เจ็บคอ ขบั เสมหะ ซ่ึงจะเห็นไดว้ า่ อาการและโรคตา่ งๆ น้ันเป็นอาการทไี่ ม่รนุ แรงนัก พชื สมุนไพรที่นาำ มาใชใ้ นรักษา
โรคหรือกลุม่ อาการผิดปกตขิ องรา่ งกายในท้องถิน่ น ี้ ค่อนขา้ งจะแตกตา่ งกนั จากท้องถนิ่ อืน่ ๆอยู่มากซงึ่ เหน็ ไดว้ ่ามเี พยี งสมนุ ไพร
ไมก่ ่ีชนดิ ท่นี าำ มาใช้กับโรคหรอื กลุ่มอาการทีเ่ หมอื นกัน การศึกษาในครง้ั ตอ่ ไปควรศกึ ษาร่วมในมิติทางสงั คมและวัฒนธรรมการ
เป็นอยูค่ ตคิ วามเชื่อ หลกั ศาสนาของชุมชนทอ้ งถิน่ ควบคู่ด้วย ซึ่งเปน็ องค์ประกอบสำาคญั ทางการแพทยพ์ ื้นบา้ นท่จี งึ จะเขา้ ใจใน
ทกุ บริบทท่ีเปน็ เครือข่ายโยงใยในทอ้ งถนิ่ นัน้ ๆ เพ่อื ที่จะไดส้ ามารถอนุรักษ์ภูมิปญั ญาแพทย์พ้นื บ้านนไี้ วต้ ่อไป
กิตติกรรมประกาศ
การศกึ ษาวจิ ยั นไ้ี ดร้ บั ทนุ สนบั สนนุ การวจิ ยั จากเครอื ขา่ ยการวจิ ยั ภาคใตต้ อนลา่ ง สาำ นกั งานคณะกรรมการอดุ มศกึ ษา
(สกอ.) และคณะผู้วิจัยขอขอบคุณ ผู้นำาชุมชน ผู้นำาศาสนาและแพทย์พื้นบ้าน ทุกท่านที่ให้ความร่วมมือและอำานวย
ความสะดวกในระหว่างการเก็บรวบรวมข้อมูล สุดท้ายคณะผู้วิจัยขอขอบคุณนักพฤกษศาสตร์จากศูนย์รวบรวมพันธุ์พืช
26
ทใ่ี หก้ ารชว่ ยเหลอื ในการตรวจสอบรายงานความถกู ตอ้ งของขอ้ มลู สมนุ ไพร และผทู้ ม่ี สี ว่ นเกย่ี วขอ้ งทกุ ทา่ นทใ่ี หค้ วามอนเุ คราะห์
ชว่ ยเหลอื การดาำ เนนิ การวจิ ยั จนทาำ งานวจิ ยั สาำ เรจ็ ลลุ ว่ งไปไดด้ ว้ ยดี
รายการอา้ งองิ
กมลชนก ศรนี วล. (2544). ฤทธต์ิ า้ นการอกั เสบของตาำ รบั ยาสมนุ ไพร. โครงการพเิ ศษนเ้ี ปน็ สว่ นหนง่ึ ของการศกึ ษาตามหลกั สตู ร
ปรญิ ญาเภสชั ศาสตรบณั ฑติ คณะเภสชั ศาสตร ์ มหาวทิ ยาลยั มหดิ ล.
เกศริน มณนี ูน. (2544). พฤกษศาสตรพ์ ้นื บา้ นของชนเผ่าซาไกในจังหวดั ตรัง พทั ลุง และยะลา. ภาควิชาพฤกษศาสตร์
คณะวทิ ยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครนิ ทร.์
โกมาตร จงึ เสถยี รทรพั ย ์ มาล ี สทิ ธเิ กรยี งไกร ราตร ี ปน่ิ แกว้ วรญั ยา เพช็ รคง และชาตชิ าย มกุ แสง. (2547). ชาตพิ นั ธก์ุ บั การแพทย.์
กรงุ เทพฯ : บรษิ ทั เคลด็ ไทยจาำ กดั .
คนึงนิตย์ ชื่นค้า. (2547). การรวบรวมความรู้ด้านการวินิจฉัยโรคและแนวทางการรักษาทางการแพทย์พื้นบ้านในจังหวัด
ฉะเชิงเทรา. สถาบันแพทยแ์ ผนไทย.
จรยิ าพร บญุ สุข ศริ ิวรรณ อธคิ มกุลชยั วันด ี กฤษณพนั ธ์ พมิ ลพรรณ พทิ ยานกุ ลู เอมอร โสมนะพนั ธ์ุและอุษาวด ี ถาวระ.
(2539). การประเมนิ ประสทิ ธผิ ลของตาำ รบั ครมี หมกั ผมสารสกดั เมลด็ นอ้ ยหนา่ ตอ่ เหา. โครงการพเิ ศษ คณะเภสชั ศาสตร์
มหาวิทยาลยั มหิดล.
ชนิกา คลา้ ยมงคล ชนกิ า วรรณเสวก วันดี กฤษณพนั ธ์ พิมลพรรณ พทิ ยานุกูล สรุ างค ์ แนวกาำ พล และอษุ าวดี ถาวระ. (2539).
การศึกษาฤทธิ์ของครีมหมักผมสารสกัดเมล็ดน้อยหน่าต่อไข่เหา. โครงการพิเศษ คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัย
มหิดล.
ประกาศกระทรวงสาธารณสขุ . (2551). เรือ่ งแผนจดั การเพ่อื คมุ้ ครองสมนุ ไพรในพนื้ ท่ีเขตอนุรกั ษ์ภผู ากดู จังหวดั มกุ ดาหาร
ตามพระราชบญั ญตั คิ ้มุ ครองและสง่ เสริมภูมิปญั ญาการแพทยแ์ ผนไทย พระราชบัญญัติคมุ้ ครองและส่งเสรมิ
ภูมิปญั ญาแพทยแ์ ผนไทย 2542. กรงุ เทพฯ : กระทรวงสาธารณสุข.
ผาณติ ตา คงแคลว้ พรทพิ ย์ สทุ ธเิ จรญิ พร พมิ ลพรรณ พทิ ยานุกูล วันด ี กฤษณะพนั ธ์. (2539). การต้งั ตาำ รบั ครมี หมกั ผมจาก
สารสกัดเมลด็ นอ้ ยหนา่ . โครงการพิเศษ คณะเภสชั ศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยมหิดล.
พสิ ิฏฐ ์ บุญไชย. (2552). ความรู้ ความเชื่อในการใช้สมุนไพรรกั ษาสขุ ภาพของชาวผูไ้ ทย จงั หวดั ยโสธร. บทคัดยอ่ งานวิจัย
ภูมิปัญญาทอ้ งถ่นิ ด้านสุขภาพอีสาน.
ยุทธนา ทองบญุ เก้ือ. (2551). ความหลากหลายและการใช้ประโยชน์พืชสมุนไพรในวนอทุ ยานถา้ำ เพชร-ถาำ้ ทอง อาำ เภอตาคลี
จงั หวัดนครสวรรค์. สาำ นกั งานบรหิ ารพน้ื ทอ่ี นุรกั ษท์ ี่ 12 (นครสวรรค)์ กรมอทุ ยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พชื .
ลลิตา ธีระสิริ. (2542). ผักพืน้ บ้าน: อาหารต้านโรค. ใน เพญ็ นภา ทรพั ย์เจรญิ และคณะ (บรรณาธิการ) รวมบทความวชิ าการ
ผกั พืน้ บ้าน อาหารพื้นเมือง 4 ภาค. สถาบันการแพทย์แผนไทย กรมการแพทย ์ กระทรวงสาธารณสขุ . กรุงเทพฯ :
องค์การสงเคราะห์ทหารผา่ นศกึ .
ศภุ ยา วทิ ักษบุตร. (2544). ปจั จยั ทีม่ ีผลตอ่ การดาำ รงอยขู่ องหมอสมุนไพรพน้ื บา้ น กรณีศกึ ษา อาำ เภอโคกศรสี ุพรรณ จงั หวัด
สกลนคร. บทคดั ย่องานวิจยั ภมู ปิ ัญญาท้องถ่นิ ดา้ นสุขภาพอีสาน.
สมภพ ประธานธุรารกั ษ์ พรอ้ มจติ ศรลัมพ์ นพมาศ สุนทรเจรญิ นนท ์ และธีรเดช อทุ ัยวทิ ยารัตน.์ (2548). ศึกษาทบทวนการ
พัฒนามาตรการด้านวิจยั และการจัดการความรู้เพื่ออนุรักษ์ พัฒนาและค้มุ ครองภมู ปิ ัญญาไทย สขุ ภาพวถิ ีไทย.
สถาบนั วิจัยระบบสาธารณสุข.
27
สำานกั งานเลขาธิการสภาการศกึ ษา กระทรวงศึกษาธกิ าร. (2548). แหล่งเรียนรูข้ องชุมชนดีเดน่ . กรงุ เทพฯ: ดกี ารพมิ พ.์
เสาวณีย์ กลุ สมบูรณ์ รจุ ินาถ อรรถสิษฐ. (2550). สถานภาพและทศิ ทางการวิจัยภมู ปิ ัญญาพื้นบา้ นดา้ นสุขภาพ. กรงุ เทพฯ :
องคก์ ารสงเคราะห์ทหารผา่ นศกึ .
สุภาภรณ์ ปิติพร. (2552). บันทึกของแผ่นดิน 1 หญา้ ยา สมนุ ไพร ใกลต้ ัว. พมิ พค์ รง้ั ที่ 2. กรุงเทพฯ : มูลนธิ ิโรงพยาบาล
เจา้ พระยาอภัยภูเบศร.
สภุ าภรณ ์ ปติ ิพร. (2552). บันทึกของแผ่นดนิ 2 ผัก เป็นยา รกั ษา ชีวติ . กรงุ เทพฯ : มลู นธิ โิ รงพยาบาล เจ้าพระยาอภัยภเู บศร.
สนุ ทรี สิงหบตุ รา. (2535). สรรพคณุ สมุนไพร 200 ชนิด. กรุงเทพฯ : บรษิ ทั คณุ 39.
อรณุ พร อฐิ รตั น ์ เพชรนอ้ ย สงิ หช์ า่ งชยั . (2532). การสาำ รวจการใชส้ มนุ ไพรในชนบทภาคใตภ้ ายใตโ้ ครงการสาธารณสขุ มลู ฐาน.
บทคัดย่องานวิจยั มหาวทิ ยาลยั สงขลานครนิ ทร ์ วิทยาเขตหาดใหญ.่
อรุณพร อิฐรัตน์ เพชรน้อย สงิ หช์ ่างชัย ภคั วิภา คุโรปกรณพ์ งศ ์ ณรงค์ศกั ด ์ิ สงิ หไ์ พบลู ยพ์ ร ปราณ ี รตั นสุวรรณ และโสภา คามี.
(2543). พฤตกิ รรมและความพร้อมในการใชส้ มุนไพรตามโครงการสาธารณสขุ มูลฐานของบุคลากรทางการแพทย์
ในจงั หวดั ภาคใตข้ องประเทศไทย. สงขลานครินทร์เวชสาร, 18(2), 93-103.
อรุณพร อิฐรัตน์ และคณะ (2546). โครงการพฒั นาวัตถุดบิ สมุนไพรจังหวัดสงขลา. รางวลั งานวิจัยบริการชมุ ชนยอดเย่ียม
ปี 2546 มหาวทิ ยาลยั สงขลานครนิ ทร.์
เอือ้ ม ณ สงคราม. (ม.ป.ป.). ตาำ ราสบื ทอดภมู ิปญั ญาท้องถ่ิน เร่ืองสมุนไพรไทยในชมุ ชนตำาบลนาเกตุ. สาำ นักงานกองทุน
สนับสนนุ การสร้างสุขภาพ.
Cheunsombat, W., Banjerdpongchai, R., Rattanapanone, V. & Punwong, D. (2005). Prooxidant effect of
extract from Androgrphis paniculata nees on glutathione levels in human erythrocytes. Chiang Mai
Med Bull, 44(1), 13-19.
Davis, H., Kabbani, M. & Maro, P. (1987). Aloe vera and wound healing. J Am Podiatr Med Assoc, 77(4),
165-9.
Davis, H., Leitner, G., Russo, M. & Byrne, E. (1989). Wound healing. Oral and topical activity of Aloevera.
J Am Podiatr Med Assoc, 79(11), 559-62.
Davis, H., Parker, L., Samson, T. & Murdoch, P. (1991). Isolation of a stimulatory system in an Aloe extract.
J Am Podiatr Med Assoc, 81(9), 473-8.
Gennaro, A.R. (1990). Remington’s Pharmaceutical Sciences. Mack Publishing Company.
Oben, J., Kuate, D., Agbor, G., Momo, C. & Talla, X. (2006). The use of a Cissus quadrangularis formulation
in the management of weight loss and metabolic syndrom. Lipids in Health and Disease, 5, 24.
Sonnedecker, G. (1976). Kremers and Urdang’s History of Phaymacy. Lippincott Company.
World Health Organization (WHO). (1999). monographs on selected medicinal plants. Geneva : World Health
Organization.