The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

ทฤษฎีและพัฒนาการทางภาษาของเด็กปฐมวัย

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by benjawanarty, 2021-04-29 01:31:24

ทฤษฎีและพัฒนาการทางภาษาของเด็กปฐมวัย

ทฤษฎีและพัฒนาการทางภาษาของเด็กปฐมวัย

เดก็ ปฐมวยั เรียนรู้ภาษา จากสิ่งแวดล้อมใกล้ตวั ทงั้ สิ่งแวดล้อมที่บ้าน และโรงเรียน
เด็กจะเรียนรู้การฟังและการพดู ก่อน เพราะการฟังและการพดู เป็ นของค่กู นั เป็ นพืน้ ฐาน ทาง
ภาษา กล่าวคือ เมื่อฟังแล้วก็ย่อมต้องพดู สนทนาโต้ตอบได้การเรียนภาษาของเด็กปฐมวยั ไม
จาเป็ นต้องอาศยั การสอนอย่างเป็ นทางการหรือตามหลกั ไวยกรณ์แต่จะเป็ นการเรียนรู้ จาก
การมีปฏิสมั พนั ธ์กบั คนรอบข้างหรือสงิ่ แวดล้อมรอบตวั หรือเป็นการสอนแบบธรรมชาติ

ทฤษฎเี กย่ี วกบั การเรียนรู้ภาษา

การเรียนรู้ภาษาของเดก็ ปฐมวยั มีหลายทฤษฎีที่ควรกล่าวอา้ งถึงมีดงั น้ี
1. ทฤษฎขี องนักพฤติกรรมศาสตร์ (The Behaviorist View)

ทฤษฎีน้ีมีความเช่ือเกี่ยวกบั การเรียนรู้ภาษาของเดก็ โดยกล่าววา่ การเรียนรู้ภาษาของเดก็ เป็นการ
เรียนรู้ที่เกิดข้ึน จากผลการปรับส่ิงแวดลอ้ มของแต่ละบุคคลท่ีมีอยใู่ นตนเอง ในขณะที่เดก็
เจริญเติบโตข้ึนเร่ือย ๆแรงเสริมในทางบวกจะถกู นามาใชเ้ ม่ือภาษาของเดก็ ใกลเ้ คียง หรือถกู ตอ้ ง
ตามภาษาผใู้ หญ่ซ่ึงนกั พฤติกรรมศาสตร์มีความเช่ือเก่ียวกบั การเรียนภาษาของเดก็ คือ

1. เดก็ เกิดมาโดยมีศกั ยภาพในการเรียนรู้ ซง่ึ เป็นสว่ นหนง่ึ ของการถ่ายทอด
ทางกรรมพนั ธ์ุ โดยปราศจากความสามารถพิเศษทางด้านการเรียนทางใดทางหนงึ่
2. การเรียนรู้ ซงึ่ รวมถึงการเรียนภาษาเกิดขนึ ้ โดยการที่สิง่ แวดล้อมเป็นผ้ปู รับพฤติกรรมผ้เู รียน
3. พฤตกิ รรมทวั่ ไปรวมทงั้ พฤตกิ รรมภาษา ถกู ปรับโดยแรงเสริมจาก การตอบสนองท่ีเกิดขนึ ้ จากสิง่ เร้า
4. ในการปรับพฤติกรรมที่ซบั ซ้อนอยา่ งเช่นภาษา จะมีกระบวนการเลือกหรือทาให้การตอบสนอง
เฉพาะเจาะจงขนึ ้ โดยผา่ นการใช้แรงเสริมทางบวก ถงึ แม้วา่ การตอบสนองทว่ั ไปและชนิดง่าย ๆ จะได้
แรงเสริมทางบวกตงั้ แต่เริ่มต้น แตก่ ารให้แรงเสริมในระยะหลงั ๆ จะถกู นามาใช้กบั การตอบสนองที่
ซบั ซ้อนและใกล้เคียงกบั เป้ าหมายทางพฤตกิ รรมสงู สดุ

2. ทฤษฎสี ภาวะตดิ ตวั โดยกาเนิด (The Nativist View)
ทฤษฎีน้ีมีความเช่ือเก่ียวกบั กฎธรรมชาติ หรือกฎเกี่ยวกบั สิ่งท่ีเป็นมาแต่กาเนิด

โดยมีความคิดเห็นเก่ียวกบั การเรียนรู้ภาษาของเดก็ แตกต่างจากนกั พฤติกรรมศาสตร์สองประการสาคญั
คือ
1. การใหค้ วามสาคญั ต่อองคป์ ระกอบภายในบุคคลเกี่ยวกบั การเรียนรู้ภาษา
2. การแปลความบทบาทขององคป์ ระกอบทางส่ิงแวดลอ้ มในการเรียนรู้ภาษา

3. ทฤษฎีของนักสังคมศาสตร์ (The Socialist View)

นักทฤษฎีสังคมหรือทฤษฎีวัฒนธรรมจะให้ ความสนใจเกี่ยวกับผลกระทบของ
ส่ิงแวดล้อมทางภาษาของผ้ใู หญ่ท่ีมีต่อพฒั นาการทางภาษาของเด็ก ผลการวิจยั กล่าวว่า วิธีการ
ที่ผ้ใู หญ่หรือพ่อแม่ปฏิบตั ิต่อเด็กมีผลต่อพฒั นาการทางภาษา และพฒั นาการทางสติปัญญาของ
เด็ก วิธีการเหล่านี ้ ได้แก่ การอ่านหนังสือให้เด็กฟัง การสนทนาระหว่างรับประทานอาหาร
การแสดงบทบาทสมมตุ ิ การสนทนา เป็นต้น

4. ทฤษฎพี ฒั นาการทางสตปิ ัญญาของเพยี เจท์ (Piaget Theory)

เพยี เจท์ (Piaget) เชื่อวา่ การเรียนรู้ภาษาเป็นผลจากความสามารถทางสติปัญญาเดก็
เรียนรู้จากการมีปฏิสมั พนั ธ์กบั โลกรอบตวั ของเขา เดก็ จะเป็นผปู้ รับสิ่งแวดลอ้ มโดยการใชภ้ าษาของ
ตนดงั ตวั อยา่ งต่อไปน้ี

1. เดก็ มีอิทธิพลต่อวธิ ีการที่แม่พดู กบั เขา จากผลการวจิ ยั ปรากฏวา่ แม่จะพดู กบั ลูกแตกต่างไปจากพดู
กบั ผอู้ ่ืน เพ่ือรักษาการมีปฏิสมั พนั ธ์ต่อกนั แม่จะพดู กบั เดก็ เลก็ ๆต่างจากเดก็ โตและผใู้ หญ่ จะพดู
ประโยคที่ส้นั กวา่ ง่ายกวา่ เพ่ือการสื่อสารท่ีมีความหมาย

2. เดก็ ควบคุมสิ่งแวดลอ้ มทางภาษา เพือ่ ไดข้ อ้ มลู ท่ีถูกตอ้ งเดก็ ตอ้ งการคน้ พบวา่ เสียงท่ีไดย้ นิ มี
ความหมายอยา่ งไร มีโครงสร้างเพอื่ องคป์ ระกอบพ้ืนฐานอะไร

3 . ก า ร ใ ช้ ส่ิ ง ข อ ง ห รื อ บุ ค ค ล เ ป็ น ส่ิ ง ส า คัญ ใ น ก า ร ส ร้ า ง ค ว า ม เ ข้ า ใ จ พื ้น ฐ า น ว่ า
ผ้ใู หญ่เห็นหรือได้ยินเขาพูด เด็กอาจเคลื่อนไหวตวั หรือ จบั ขว้าง ปา บีบ ของเล่นเพื่อสร้างความ
เข้าใจเพ่ือเป็ นพืน้ ฐาน และความจาเป็ นของความเจริญทางภาษา การเรียนรู้เกี่ยวกับตนเอง
เก่ียวกบั ผ้อู ่ืน เกี่ยวกบั สง่ิ ของ เก่ียวกบั เหตแุ ละผล เกี่ยวกบั สถานที่ มิติ เกี่ยวกบั การเกิดขนึ ้ ซา้ ๆ ของ
กิริยาและสิ่งของ มีส่วนช่วยให้เด็กแสดงออกทางภาษาอย่างมีความหมาย นั่นคือเด็กต้องมี
ปฏิสมั พนั ธ์ระหว่างตนเองกบั ส่ิงต่าง ๆ ในสง่ิ แวดล้อม

5. ทฤษฎขี องนักจติ วทิ ยาภาษาศาสตร์ (Psycholinguistics Theory)
ทฤษฎีน้ีชอมสก้ี (Chomskey, 1960 ; อา้ งถึงใน สุภาวดี ศรีวรรธนะ, 2542 : 36)
กล่าวว่า การเรียนรู้ภาษาเป็ นเร่ืองซับซ้อนซ่ึงจะตอ้ งคานึงถึงโครงสร้างภาษาในตวั เด็กดว้ ยเพราะ
บางคร้ังเด็กพดู คาใหม่โดยไม่ไดร้ ับแรงเสริมมาก่อนเลย เขาอธิบายการเรียนรู้ภาษาของเด็กว่าเมื่อเด็ก
ไดร้ ับประโยค หรือกลุ่มคาต่าง ๆ เขา้ มาเด็กจะสร้างไวยกรณ์ข้ึน โดยใชเ้ ครื่องมือการเรียนรู้ภาษาท่ีติด
ตวั มาแต่กาเนิด ซ่ึงไดแ้ ก่อวยั วะเก่ียวกบั การพดู การฟัง นอกจากน้ี เลน็ เบอร์ก (Lenneberg) ยงั
เป็ นผหู้ น่ึงที่เสนอทฤษฎีแนวน้ีโดยมีความเช่ือว่า มนุษยม์ ีอวยั วะ ที่พร้อมสาหรับการเรียนรู้ภาษา ถา้
สมองส่วนน้ีชารุด หลงั จากวยั รุ่นตอนตน้ (อายปุ ระมาณ12 ปี ) จะทาใหก้ ารเรียนรู้ภาษาใหม่ไดย้ าก

ทฤษฎเี ก่ียวกับพัฒนาการทางภาษา

1. ทฤษฎีความพึงพอใจแห่งตน (The Autism Theory หรือ Austistic Theory)
ทฤษฎีน้ีถือวา่ การเรียนรู้การพดู ของเดก็ เกิดจากการเลียนเสียงอนั เน่ืองจากความพึงพอใจท่ีไดก้ ระทา
เช่นน้นั โมวเ์ รอร์ (Mower) เช่ือวา่ ความสามารถในการฟัง และความเพลิดเพลินกบั การไดย้ ิน
เสียงของผอู้ ื่นและตนเองเป็นส่ิงสาคญั ต่อพฒั นาการทางภาษา
2. ทฤษฎีการเลียนแบบ (The Imitation Theory) เลวสิ (Lawis)
ไดศ้ ึกษาและเช่ือว่า พฒั นาการทางภาษาน้นั เกิดจากการเลียนแบบ ซ่ึงอาจเกิดจากการมองเห็นหรือ
การไดย้ ินเสียงการเลียนแบบของเด็กเกิดจากความพอใจ และความสนใจของตวั เด็กเอง ปกติช่วง
ความสนใจของเดก็ น้นั ส้ันมากเพ่ือท่ีจะชดเชยเด็กจึงตอ้ งมีส่ิงเร้าซ้า ๆ กนั การศึกษากระบวนการใน
การเลียนแบบภาษาพดู ของเด็กพบวา่ จุดเริ่มตน้ เกิดข้ึนเม่ือพ่อแม่เลียนแบบเสียงของเด็กในระยะเล่น
เสียงหรือในระยะที่เดก็ กาลงั เรียนรู้การออกเสียง

3. ทฤษฎีเสริมแรง (Reinforcement Theory)
ทฤษฎีนีอ้ าศยั จากหลกั ทฤษฎี การเรียนรู้ซงึ่ ถือวา่ พฤตกิ รรมทงั้ หลายถกู สร้างขนึ ้ โดยอาศยั การวาง
เงื่อนไข ไรน์โกลต์ (Rhiengold) และคณะได้ศกึ ษาพบวา่ เดก็ จะพดู มากขนึ ้ เมื่อได้รางวลั หรือ
ได้รับการเสริมแรง

4. ทฤษฎีการรับรู้ (Motor Theory of Perception) ลเิ บอร์แมน (Liberman)
ตงั้ สมมตฐิ านไว้ว่า การรับรู้ทางการฟังขนึ ้ อยกู่ บั การเปลง่ เสยี ง จงึ เห็นได้วา่ เดก็ มกั จ้องหน้าเวลา
เราพดู ด้วยการทาเชน่ นีอ้ าจเป็นเพราะเดก็ ฟัง และพดู ซา้ กบั ตวั เอง หรือหดั เปลง่ เสียง
โดยอาศยั การอ่านริมฝี ปาก แล้วจงึ เรียนรู้คา

5. ทฤษฎีความบงั เอิญจากการเล่นเสียง (Babble Buck) ซ่ึงธอร์นไดค์ (Thorndike)

เป็นผคู้ ิดโดยอธิบายวา่ เม่ือเดก็ กาลงั เล่นเสียงอยนู่ ้นั เผอิญมีเสียงบางเสียงไปคลา้ ยกบั เสียงท่ีมี
ความหมายในภาษาพดู ของพอ่ แม่ พอ่ แม่จึงใหก้ ารเสริมแรงทนั ที ดว้ ยวธิ ีน้ีจึงทาใหเ้ ดก็ เกิด
พฒั นาการทางภาษา

6. ทฤษฎีชีววทิ ยา (Biological Theory) เลน็ เบิร์ก (Lenneberg)

เชื่อวา่ พฒั นาการทางภาษามีพ้ืนฐานทางชีววทิ ยาเป็นสาคญั กระบวนการท่ีคนพดู ไดข้ ้ึนอยกู่ บั
อวยั วะในการเปล่งเสียง เดก็ จะเร่ิมส่งเสียงออ้ แอ้ และพดู ไดต้ ามลาดบั

7. ทฤษฎีการใหร้ างวลั ของพอ่ แม่ (Mother Reward Theory) ดอลลาร์ด
(Dollard)และมิลเลอร์ (Miller)

เป็นผคู้ ิดทฤษฎีน้ี โดยย้าเกี่ยวกบั บทบาทของแม่ในการพฒั นาภาษาของเดก็ วา่ ภาษาท่ีแม่ใชใ้ นการ
เล้ียงดูเพอื่ เสนอความตอ้ งการของลูกน้นั เป็นอิทธิพลท่ีทาใหเ้ กิดภาษาพดู แก่ลกู

พฒั นาการทางภาษาของเดก็ ปฐมวัย

• ข้นั แรกเริ่ม (Pre language) เดก็ อายหุ น่ึงเดือนถึงสิบเดือน
จะมีความสามารถจาแนกเสียงต่าง ๆ ได้ แต่ยงั ไม่มีความสามารถควบคุมการออกเสียง เดก็ จะทาเสียง
ออ้ แอห้ รือเสียงแสดงอารมณ์ต่าง ๆ เดก็ จะพฒั นาการออกเสียงข้ึนเรื่อย ๆ จนใกลเ้ คียงกบั เสียงใน
ภาษาจริง ๆ มากข้ึนตามลาดบั เรียกวา่ เป็นคาพดู เทียม (Pseudowore) พอ่ แม่ที่ต้งั ใจฟังและพดู
ตอบจะทาใหเ้ ดก็ เพ่มิ ความสามารถในการส่ือสารมากยง่ิ ข้ึน

ข้นั ที่ 1 (10 – 18 เดือน) เดก็ จะควบคุมการออกเสียงคาท่ีจาได้
สามารถเรียนรู้คาศพั ทใ์ นการสื่อสารถึง 50 คา คาเหล่าน้ีจะเก่ียวขอ้ งกบั คน สตั ว์ สิ่งของ หรือเร่ืองราว
ในส่ิงแวดลอ้ ม การท่ีเดก็ ออกเสียงคาหน่ึงหรือสองคา อาจมีความหมายรวมถึงประโยคหรือวลี
ท้งั หมดการพดู ชนิดน้ีมีชื่อเรียกวา่ Holphrastic Speech

ข้นั ที่ 2 (18 – 24 เดือน) การพดู ข้นั น้ีจะเป็นการออกเสียงคาสองคาและวลีส้นั ๆมีชื่อ
เรียกวา่ Telegraphic Speech คลา้ ย ๆ กบั โทรเลข คือมีเฉพาะคาสาหรับสื่อความหมายเดก็
เรียนรู้คาศพั ทม์ ากข้ึนถึง 300 คา รวมท้งั คากิริยาและคาปฏิเสธเดก็ จะสนุกสนานกบั การพดู คนเดียวใน
ขณะท่ีทดลองพดู คาและโครงสร้างหลาย ๆ รูปแบบ

ขนั้ ท่ี 3 (24 – 30 เดือน) เดก็ จะเรียนรู้ศพั ท์เพิ่มขนึ ้ ถงึ 450 คา วลีจะยาวขนึ ้ พดู
ประโยคความเดยี วสนั้ ๆ มีคาคณุ ศพั ท์รวมอยใู่ นประโยค

ขนั้ ที่ 4 (30 – 36 เดอื น) คาศพั ท์จะเพมิ่ มากขนึ ้ ถึง 1,000 คา ประโยคเริ่มซบั ซ้อนขนึ ้
เดก็ ที่อยใู่ นส่งิ แวดล้อมที่สง่ เสริมพฒั นาการทางภาษาจะแสดงให้เห็นถงึ ความเจริญงอกงาม
ทางด้านจานวนศพั ท์และรูปแบบของประโยคอยา่ งชดั เจน

ขนั้ ที่ 5 (36 – 50 เดอื น) เดก็ สามารถสอื่ สารอย่างมีประสิทธิภาพใครอบครัว
และผ้คู นรอบข้าง จานวนคาศพั ท์ที่เดก็ รู้มีประมาณ 2,000คา เดก็ ใช้โครงสร้างของประโยคหลาย
รูปแบบ เดก็ จะพฒั นาพืน้ ฐานการสอื่ สารด้วยวาจาอย่างมนั่ คงและเร่ิมต้นเรียนรู้ภาษาเขียน

ไดแ้ บ่งข้นั ตอนของพฒั นาการทางภาษาของเดก็ เป็น 7 ระยะคือ

1. ระยะเปะปะ (Randon Stage หรือ Prelinguistic Stage) อายแุ รกเกิด ถึง 6 เดือน

2. ระยะเลียนแบบ (Imitation Stage) อายุ 1 – 2 ปี

3. ระยะขยาย (The Stage of Expansion) อายุ 2 – 4 ปี

ปัจจัยท่ีมีอทิ ธพิ ลต่อพฒั นาการทางภาษา

1.วฒุ ิภาวะ เมื่อเดก็ มีความเจริญข้ึนตามลาดบั ความสามารถในการพดู การเขียนยอ่ มตามมานบั ต้งั แต่
อายุ 15 เดือน ข้ึนไปแลว้ เดก็ จะใชภ้ าษาพดู มากข้ึนตามลาดบั จนกระทง่ั อายุ 36 เดือน จะสามารถใช้
คาพดู 376 คาต่อวนั และเมื่ออายุ 48 เดือน จะพดู ได้ 397 คาต่อวนั
2. ส่ิงแวดลอ้ ม ถา้ หากพอ่ แม่ ผปู้ กครองสนใจ เอาใจใส่ พยายามพร่าสอนใหเ้ ดก็ พดู คุย และหดั อ่าน
หดั เขียนอยตู่ ลอด เดก็ จะมีความพร้อมทางภาษามาก
3. การเขา้ ใจความหมายภาษาท่ีใชพ้ ดู ถา้ อยใู่ นวงแคบศพั ทก์ พ็ ้ืน ๆ ธรรมดา
แต่ถา้ หากอยใู่ นชุมชนท่ีกวา้ งใหญ่ เดก็ กส็ ามารถเขา้ ใจคา ประโยค วลีท่ีมีความหมายต่าง ๆไดด้ ี
ฉะน้นั การพดู อะไรกต็ ามท่ีเดก็ เพยี งแต่เลียนคาพดู เลียนเสียงพดู
4. การใหม้ ีพฒั นาการท้งั หมด (Develope as a Whole) เราจะตอ้ งใหเ้ ดก็ มีรูปร่าง
ที่ดี หนา้ ตาสดใส สะอาดกายใจ สมองกต็ อ้ งใหด้ ี สุขภาพสมบรู ณ์ และสงั คมกต็ อ้ งดี จึงจะ
ทาใหเ้ ดก็ มีความเจริญทางภาษาไดด้ ี
5. ข้นั ตอนและการจดั ช้นั เรียน การจดั โรงเรียนแบบไม่มีช้นั แต่อาศยั ความสามารถทางภาษาเป็นแนว
กน็ ่าจะไดล้ องจดั ใหเ้ ป็นท่ีแพร่หลายต่อไปหลกั สูตรและข้นั ตอนการสอนบางบทกน็ ่าจะสบั เปล่ียนไป
ไดต้ ามระดบั ความสามารถและความพร้อมของนกั เรียน

6. การมีสว่ นร่วม (Participation) กิจกรรมใด ๆ ก็ตามเดก็ ๆ ควรมีสว่ นร่วมทกุ ครัง้ ทกุ คน

ปัจจัยทมี่ ีอทิ ธิพล

ต่อพฒั นาการทางภาษาของเดก็ วา่ ควรประกอบดว้ ยสิ่งสาคญั 2 ประการคือ
1. สถานภาพทางเศรษฐกิจและสงั คม การศึกษาและถ่ินที่อยขู่ องบิดา มารดา
อนั เนื่องมาจากการแบ่งชนช้นั ไม่เท่าเทียมกนั ในสงั คม
2. ขนาดครอบครัว เพศ และอายุ เป็นส่วนที่มีอิทธิพลต่อพฒั นาการทางภาษา

จติ วทิ ยาการเรียนรู้ของเดก็ ปฐมวยั

โดยมีขอบข่ายที่สาคญั 3 ประการคือ
1. ศึกษาถึงธรรมชาติของการเรียนรู้ กระบวนการเรียนรู้ ตลอดถึงธรรมชาติของการคิด การจา และ
การลืม
2. ศึกษาถึงเชาวน์ปัญญา ความถนดั ความสนใจ และทศั นคติ ซ่ึงเป็นองคป์ ระกอบสาคญั สาหรับการ
เรียนรู้
3. ศึกษาถึงบุคลิกภาพ การปรับตวั และวธิ ีการปรับพฤติกรรม

ความสัมพนั ธ์ของภาษากับการคดิ

นกั การศึกษาและนกั จิตวทิ ยาไดศ้ ึกษาทฤษฎีท่ีเกี่ยวขอ้ งกบั การเรียนรู้ภาษาไวห้ ลายทฤษฎี
เช่นทฤษฎีของนกั พฤติกรรมศาสตร์ ทฤษฎีสภาวะติดตวั โดยกาเนิด ทฤษฎีของนกั สงั คมศาสตร์ทฤษฎี
พฒั นาการทางสติปัญญาและทฤษฎีของนกั จิตวิทยาภาษาศาสตร์ ซ่ึงทุกทฤษฎีสรุปไดว้ ่าการเรียนรู้
ทางภาษาเกิดจากความพร้อมทางดา้ นร่างกาย สติปัญญาการมีปฏิสมั พนั ธก์ บั สิ่งแวดลอ้ มการเสริมแรง
พฒั นาการทางภาษาเกิดข้ึนจากความพึงพอใจแห่งตน การเลียนแบบ การไดร้ ับการเสริมแรง ฯลฯ
พฒั นาการทางภาษาของเด็กในระยะแรกประมาณ 1 เดือน เด็กสามารถจาแนกเสียงต่าง ๆ ไดแ้ ละจะ
พฒั นากา้ วหนา้ ข้ึนเร่ือย ๆจนประมาณ 4 – 5 ปี เด็กจะสามารถส่ือสารไดอ้ ยา่ งมีประสิทธิภาพปัจจยั
หรือองคป์ ระกอบท่ีมีอิทธิพลต่อพฒั นาการทางภาษาของเด็ก ไดแ้ ก่ วฒุ ิภาวะ สิ่งแวดลอ้ มสถานภาพ
ทางสงั คม ฯลฯ อยา่ งไรกต็ ามเดก็ ปฐมวยั จะเรียนรู้ภาษาไดด้ ี เม่ือเดก็ มีความพร้อมซ่ึงความพร้อมของ
เด็กสามารถสอนหรือเตรียมให้แก่เด็กไดโ้ ดยการจดั ประสบการณ์ท่ีเหมาะสมให้แก่เด็กนอกจากน้ี
นักจิตวิทยาได้ให้แนวคิดไวว้ ่าภาษาและการคิดมีความสัมพนั ธ์สอดคลอ้ งกนั อย่างใกลช้ ิดเพราะ
มนุษยเ์ มื่อมีการสื่อสารจะเกบ็ ขอ้ มูลต่าง ๆ โดยวธิ ีการจาเด็กอายขุ วบคร่ึงเริ่มมีพฒั นาการของภาษาใน
ส่วนท่ีรับเสียงและเปล่งเสียงพดู แต่การพดู จะพฒั นาค่อนขา้ งชา้ กวา่ การฟัง


Click to View FlipBook Version