The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

แนวทางการเตรียมการเปิดภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2564 ภายใต้สถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคโควิด-19

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by racha1, 2021-11-22 10:41:56

แนวทางการเตรียมการเปิดภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2564 ภายใต้สถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคโควิด-19

แนวทางการเตรียมการเปิดภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2564 ภายใต้สถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคโควิด-19

แนวทางการเตรยี มการเปิดภาคเรยี นท่ี ๒ ปีการศกึ ษา ๒๕๖๔
ภายใตส้ ถานการณ์การแพรร่ ะบาดของ

โรคตดิ เชอ้ื ไวรสั โคโรนา ๒๐๑๙ (COVID-19)

โรงเรยี นบางปะอนิ “ราชานุเคราะห์ ๑”

สาํ นกั งานเขตพน้ื ทก่ี ารศกึ ษามธั ยมศกึ ษาพระนครศรอี ยธุ ยา

โรงเรยี นบางปะอนิ “ราชานุเคราะห ๑”

คำนำ

แนวทางการเตรยี มการเปดภาคเรยี นที่ ๒ ปก ารศึกษา ๒๕๖๔ ภายใตส ถานการณการแพรระบาดของ
โรคติดเช้อื ไวรสั โคโรนา ๒๐๑๙ (COVID-19) เลม น้ี โรงเรยี นบางปะอนิ “ราชานุเคราะห ๑” จัดทำขึ้นเพอ่ื ใหใช
เปนแนวทางในการปฏิบัติงานสำหรับเตรียมความพรอมกอนเปดภาคเรียนที่ ๒ ปการศึกษา ๒๕๖๔
เพื่อสรางความม่ันใจใหแกนักเรียน ผูปกครอง และประชาชนท่ัวไปวาโรงเรียนบางปะอิน “ราชานุเคราะห ๑”
มแี นวทางการสรา งความปลอดภัยใหก ับนักเรียนกอ นการเปดภาคเรียนที่ ๒ ปการศึกษา ๒๕๖๔ และระหวา งท่ี
จัดการเรียนการสอนในสถานศึกษา ซึ่งสอดคลองกับมาตรการที่กระทรวงสาธารณสุข และ
กระทรวงศกึ ษาธกิ ารกำหนด

โรงเรียนบางปะอิน “ราชานุเคราะห ๑” หวังเปนอยางยิ่งวา แนวทางการเตรียมการเปด
ภาคเรียนที่ ๒ ปการศึกษา ๒๕๖๔ ภายใตสถานการณการแพรระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙
(COVID-๑๙) เลมนี้จะเปนประโยชนต อ ครู บุคลากร และนักเรียน ในการเปดเรียนภาคเรียนท่ี ๒ ปการศึกษา
๒๕๖๔ ภายใตสถานการณการแพรระบาดของโรคตดิ เชื้อไวรสั โคโรนา ๒๐๑๙ (COVID-๑๙)

ขอบคุณคณะทำงานและผูมีสวนเกี่ยวของทุกทานที่ไดรวมกันจัดทำแนวทางการเตรียมการเปด
ภาคเรียนที่ ๒ ปการศึกษา ๒๕๖๔ ภายใตสถานการณการแพรระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙
(COVID-19) เลม น้ี จนสำเร็จดวยดี

โรงเรียนบางปะอิน “ราชานเุ คราะห ๑”

สารบญั

เรื่อง หนา

คำนำ

สารบัญ

สว นท่ี ๑ ความรูเบือ้ งตน ทค่ี วรรู

วคั ซนี Pfizer………………………………………………………………………………………………………………………. ๑

วคั ซนี Sinopharm……………………………………………………………………………………………………………… ๒

โรงเรยี น Sandbox : safety Zone in School……………………………………………………………………... ๓

สว นที่ ๒ แนวปฏบิ ัตกิ ารเตรียมการกอนเปด ภาคเรยี น

การประเมนิ ความพรอมกอนเปดเรยี น............................................................................................... 5

การเตรยี มการกอนเปดภาคเรียน.................................................................................................... ๑๑

สวนท่ี 3 แนวปฏบิ ัติระหวางเปด ภาคเรยี น

กรณีเปดเรยี นไดตามปกติ (Onsite)................................................................................................ ๑๙

กรณโี รงเรียนไมส ามารถเปด เรยี นไดต ามปกต.ิ ................................................................................ 2๔

สวนที่ 4 แนวทางการจัดการเรียนการสอนในสถานการณการแพรระบาดของโรคติดเชื้อไวรัส

โคโรนา ๒๐๑๙ (COVID-19)

รูปแบบการจดั การเรียนการสอนในสถานการณการแพรระบาดของโรคติดเชอ้ื ฯ........................... ๒๖

สว นที่ 5 แผนเผชิญเหตุ ๒๙

สวนที่ 6 บทบาทของบุคลากรและหนว ยงานท่เี ก่ยี วของ

บทบาทของนักเรียน....................................................................................................................... ๓๕

บทบาทของครแู ละบุคลากรทางการศึกษา..................................................................................... ๓๕

บทบาทของผบู ริหารสถานศกึ ษา.................................................................................................... ๓๗

บทบาทของผูปกครองนักเรยี น....................................................................................................... ๓๘

บทบาทขององคกรสนบั สนนุ .......................................................................................................... ๔๐

โรงเรยี นบางปะอิน “ราชานเุ คราะห ๑”

ส่วนที่ ๑

ความรู้
เบอื้ งต้นที่ควรรู้

โรงเรยี นบางปะอิน “ราชานเุ คราะห ๑”

สว นท่ี ๑
ความรูเบอ้ื งตนท่คี วรรู

การเปดภาคเรียนท่ี ๒ ปก ารศึกษา ๒๕๖๔ รัฐบาลโดยกระทรวงสาธารณสขุ และกระทรวงศกึ ษาธิการ
เรงดำเนนิ การสรา งความรคู วามเขาใจใหแกประชาชน ๒ เร่อื งทสี่ ำคญั และนำสูการปฏิบัติ ไดแก การรณรงคให
นักเรียนอายุ ๑๒ - ๑๘ ป เขารับการฉีดวัคซีน Pfizer และใหสถานศึกษาปฏิบัติตามมาตรการ Sandbox :
Safety Zone in School อยางเครงครัด จึงเปนสิ่งจำเปนสำหรับนักเรียน ครู บุคลากรทางการศึกษา และ
บุคคลที่เกี่ยวของ จะตองรับรูและสามารถเขารับการฉีดวัคซีน Pfizer และปฏิบัติตามมาตรการไดอยาง
เครง ครัด สำนักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขัน้ พนื้ ฐาน

นอกจากวัคซีน Pfizer ที่รัฐนำมาใหกับนักเรียนอายุ ๑๒-๑๘ ป เขารับการฉีดแลว ยังมีวัคซีน
ทางเลอื กอกี หนง่ึ ยหี่ อ ไดแก Sinopharm ทีร่ าชวิทยาลัยจฬุ าภรณด ำเนนิ การฉีดวคั ซีนใหแกเด็ก และเยาวชน
อายุระหวาง ๑๐-๑๘ ป ในโครงการ VACC 2 School ดังนั้น เพื่อใหความรูเบื้องตน โรงเรียนบางปะอิน
“ราชานุเคราะห ๑” จึงขอนำเสนอขอมูลที่ควรรูของ วัคซีน Pfizer วัคซีน Sinopharm และมาตรการ
Sandbox : Safety Zone in School พอสงั เขป ดังนี้
๑. วัคซนี Pfizer

ในสถานการณก ารแพรร ะบาดของเช้ือไวรสั โคโรนา ๒๐๑๙ (COVID-19) ชวงปท ่ีผานมาและปจจุบันมี
การกลาวถึง เกี่ยวกับการฉีดวัคซีน (COVID-19 Vaccines) กันมากมาย โดยเฉพาะการเรงสราง “ภูมิคุมกัน
หมู” ซึ่งจำเปนตองอาศัยวัคซีนที่มีประสิทธิภาพเขาชวย มีวัคซีนที่ผานการรองรับจากองคการอนามัยโลก
(WHO) และทุกประเทศไดเลือกและนำมาใหประชาชนรับการฉีด วัคซีน (COVID-19 Vaccines) มีหนาท่ี
สำคัญ คือ การเพิ่มประสิทธิภาพในการเขาไปเพิ่มจำนวน และเสริมความแข็งแรงของภูมิคุมกันใหพรอมเขา
ทำลายสิ่งแปลกปลอม หรือไวรัสชนิดตางๆ ที่แฝงเขามาในรางกายไดในทันทีซึ่งถือเปนอาวุธชิ้นสำคัญที่ชวย
ยับยั้งความรุนแรง หมายรวมถึงชวยลดอัตราการติดเชื้อและการเสียชีวิตของประชาชน ปจจุบันวัคซีนที่ผาน
การรองรับจากองคการอนามัยโลก (WHO) มีหลายยี่หอมีประสิทธิภาพในการทำหนาที่แตกตางกัน
(โรงพยาบาลวชิ ยั เวชอินเตอรเ นชน่ั แนล, ๖ ตลุ าคม ๒๕๖๔) ไดแก

๑. Pfizer ผลิตโดยประเทศสหรฐั อเมรกิ า มปี ระสทิ ธิภาพ 95%
๒. Moderna ผลติ โดยประเทศสหรฐั อเมรกิ า มีประสิทธิภาพ 94.5%
๓. Johnson and Johnson ผลิตโดยประเทศสหรฐั อเมรกิ า มปี ระสทิ ธิภาพ 66%
๔. AstraZeneca ผลิตโดยประเทศอังกฤษ มีประสิทธภิ าพ 65%
๕. Covishield ผลิตโดยประเทศอนิ เดยี มีประสทิ ธภิ าพ 72%
๖. Sinovac ผลิตโดยประเทศจนี มีประสทิ ธภิ าพ >50%
๗. Sinopharm ผลติ โดยประเทศจีน มีประสิทธภิ าพ 79-86%

โรงเรยี นบางปะอิน “ราชานุเคราะห ๑” ๑

สำหรับวัคซีนที่รัฐบาลโดยกระทรวงสาธารณสุขอนุมัติใหฉีดกับนักเรียนอายุระหวาง ๑๒-๑๘ ป นั้น
Pfizer ซึ่งองคก ารอนามัยโลก (WHO) ไดร บั รองการใชว ัคซีน Pfizer เมื่อวันที่ ๓๑ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๖๓ และ
ประเทศไทยโดยองคการอาหารและยา (อย.) ขึ้นทะเบียนเมื่อวันที่ ๒๔ มิถุนายน พ.ศ. ๒๕๖๔ กำหนดให
สามารถฉีดวัคซีน Pfizer ใหแกนักเรียน นักศึกษา อายุระหวาง ๑๒ - ๑๘ ป ดังนั้น รัฐบาลโดยกระทรวง
สาธารณสุข และกระทรวงศึกษาธิการกำหนด Kick Off การฉีดวัคซีน Pfizer ใหแก นักเรียนนักศึกษาอายุ
ระหวาง ๑๒ - ๑๘ ป ในวันที่ ๔ ตุลาคม ๒๕๖๔ เพอ่ื เตรียมความพรอ มใหกับสถานศึกษามีความปลอดภัย และ
นักเรียนไดรับวัคซีนอยางครบถวนเพื่อรองรับการเปดภาคเรียนที่ ๒ ปการศึกษา ๒๕๖๔ ในรูปแบบ Onsite
วนั ที่ ๑ พฤศจิกายน ๒๕๖๔ ซ่ึงสอดคลองกบั ราชวิทยาลยั กมุ ารแพทยแ หงประเทศไทย (๒๒ กันยายน ๒๕๖๔)
ไดต ิดตามขอมูลดา นประสทิ ธิภาพ และความปลอดภัยของวัคซีนโควดิ -๑๙ ในเดก็ และวัยรนุ โดยคำนึงถึงความ
ปลอดภัย และประโยชนทางดานสุขภาพของเด็กเปนสำคัญ และไดแนะนำใหฉีดวัคซีนที่ไดรับการรับรองโดย
สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา (อย.) ใหใชกับเด็กและวัยรุนต้ังแตอายุ ๑๒ ปขึ้นไป ซึ่งขณะนี้มีชนิด
เดยี วที่มีในประเทศไทยคอื วัคซนี Pfizer

วัคซีน Pfizer เปนวัคซีนชนิดเอ็มอารเอ็นเอ (mRNA Vaccine) กระตุนการสรางภูมิคุมกันไดดี
(Antigen) ใหรางกายรูจักกับเชื้อโรคโควิด ๑๙ หลังจากฉีดวัคซีนไฟเซอรเข็มที่ ๒ แลว จะมีประสิทธิภาพใน
การปองกันโรคโควิด ๑๙ สูงถึง ๙๑.๓% ในชวง ๗ วันถึง ๖ เดือน หลังฉีดปองกันความรุนแรงของโรคได
๑๐๐% ปองกันการติดเชื้อมีอาการที่ ๙๔% ปองกันการติดโรค ๙๖.๕% ปองกันการเสียชีวิต ๙๘ - ๑๐๐%
นอกจากนี้ยังมีประสิทธิภาพในการปองกันโควิด๑๙ สายพันธุอังกฤษ หรืออัลฟา ไดถึง ๘๙.๕% ปองกันโควดิ
๑๙ สายพนั ธแุ อฟริกาใต หรือเบตา ไดถ งึ ๗๕% งานวจิ ัยของหนวยงานสาธารณสุขอังกฤษ พบวา วัคซนี Pfizer
มปี ระสทิ ธภิ าพ ๘๘% ในการปองกนั การปว ยแบบมีอาการจากไวรสั เดลตา หรอื อินเดีย

การรับวัคซีน Pfizer รบั การฉีดทง้ั หมด ๒ เขม็ โดยเข็มที่ ๒ หา งจากเข็มแรก ๒๑-๒๘ วนั ใชว ิธีการ
ฉีดเขากลามเนื้อแขนดานบน ภูมิคุมกันจะเริ่มเกิดหลังจากฉีดวัคซีนไฟเซอรไปแลว ๑๒ วัน แตภูมิคุมกันจะ
ทำงานเต็มที่หลังจากฉีดครบ ๒ เข็มหลังการฉีดวัคซีนเข็ม ๑ หรือเข็ม ๒ ผูรับการฉีดอาจมีผลขางเคียงบางแต
ไมรนุ แรง (โรงพยาบาลวชิ ยั เวชอนิ เตอรเ นชน่ั แนล, ๖ ตุลาคม ๒๕๖๔)
๒. วคั ซีน Sinopharm

วัคซีน Sinopharm เปนวัคซีนชนิดเชื้อตาย ผลิตโดยสถาบันชีววัตถุแหงปกกิ่ง (Beijing Institute of
Biological Products: BIBP) นำเขาโดย บริษัท ไบโอจีนีเทค จำกัด ไดรับการอนุมัติขึ้นทะเบียนในประเทศ
ไทยเมื่อวันที่ ๒๘ พฤษภาคม ๒๕๖๔ มีขอบงใชสำหรับฉีดเพื่อกระตุนใหรางกายสรางภูมิคุมกันในผูที่มีอายุ
ต้งั แต ๑๘ ปขน้ึ ไป ฉีดคร้งั ละ ๑ โดส จำนวน ๒ คร้งั หา งกัน ๒๑ - ๒๘ วัน ในประเทศไทยวคั ซนี Sinopharm
เปนวัคซีนทางเลือกที่กระจายใหแกองคกร นิติบุคคล รวมถึงบุคคลธรรมดาผานราชวิทยาลัยจุฬาภรณ ตั้งแต
วันที่ ๒๐ มิถนุ ายน จนถงึ ปจ จบุ ัน เปน จำนวนทงั้ สิ้น ๑๕ ลานโดส โดยทผ่ี านมาเปนการฉดี ใหแ กผูท่ีมีอายุตั้งแต
๑๘ ปข ้นึ ไป

วัคซีน Sinopharm อยูในระหวางการพิจารณาขอมูลเรื่องการกระตุนภูมิคุมกัน ประสิทธิภาพและ
ความปลอดภยั ในเด็ก และขณะนีส้ ำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา (อย.) ยังไมไดร ับรองใหใ ชในเด็ก

โรงเรียนบางปะอนิ “ราชานเุ คราะห ๑” ๒

และวยั รุน (ราชวทิ ยาลัยกมุ ารแพทยแหงประเทศไทย,๒๒ กันยายน ๒๕๖๔) ซ่งึ สอดคลอ งกับราชวิทยาลัยจุฬา
ภรณ (ชนาธิป ไชยเหล็ก,๒๑ กันยายน ๒๕๖๔) กลาววา การฉีดวัคซีน Sinopharm ในกลุมอายุต่ำกวา๑๘ ป
จะตองไดรับการอนุมัติขึ้นทะเบียนจากสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา (อย.) กอน ถึงแมจะเปนชนิด
เชื้อตาย แตก็จำเปนตองมีขอมูลการวิจัยในระยะที่ ๓ ซึ่งเปนระยะที่มีการศึกษาทั้งความปลอดภัยและ
ประสิทธิผลของวัคซีนรองรับ และในเมื่อสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา (อย.) ยังไมอนุมัติ การฉีด
วัคซีน Sinopharm ใหกับนักเรียนอายุ ๑๐-๑๘ ป เปนเพียงโครงการวิจัยของราชวิทยาลัยจุฬาภรณเทานั้น
โดยวันที่ ๒๐ กันยายน ๒๕๖๔ ศาสตราจารย นายแพทย นิธิ มหานนท เลขาธิการราชวิทยาลัยจฬุ าภรณฯ ได
เปดโครงการ “VACC 2 School” ณ ศูนยฉีดวัคซีนตัวเลือกซิโนฟารม บมจ.โทรคมนาคมแหงชาติ ถ.แจง
วัฒนะ เขตหลักสี่ กรุงเทพฯ ฉีดวัคซีนใหกับนักเรียนกวา ๒,๐๐๐ คน และจะดำเนินการฉีดจนถึงกลางเดือน
ตุลาคม โดยมีสถานศึกษาในกรุงเทพฯ และปริมณฑล สมัครเขารวมโครงการรวม ๑๓๒ โรง คิดเปนจำนวน
นกั เรยี นท้ังหมด ๑๐๘,๐๐๐ คน
๒. โรงเรยี น Sandbox : Safety Zone in School

กระทรวงศึกษาธิการ รวมกับกระทรวงสาธารณสุข โดยกรมอนามัย (นายแพทยสุวรรณชัยวัฒนายิ่ง
เจริญชัย อธิบดีกรมอนามัย) มีการนำรองเปดการเรียนการสอนแบบ Onsite ตามมาตรการSandbox Safety
Zone in School ในโรงเรียนประเภทพักนอน มีการดำเนินการระหวางวันที่ ๑ เมษายน - ๑๑ กันยายน
๒๕๖๔ ซึ่งมีการแบงโซนคัดกรอง โซนกักกันผูสัมผัสเสย่ี ง และโซนปลอดภัยสีเขียว รวมกับมาตรการตาง ๆ มี
การติดตามและประเมินผล พบวาไดผลดี แมพบผูติดเชื้อเปนการสัมผัสกับผูติดเชื้อภายนอกและตรวจจับได
นับไดวาเปนระยะที่ ๑ ที่ประสบผลสำเร็จ จึงเตรียมขยายผลในโรงเรียนแบบ ไป - กลับ และโรงเรียน
พักนอน - ไปกลับ ในภาคเรียนที่ ๒ ปการศึกษา ๒๕๖๔ เปนระยะที่ ๒ โดยมาตรการจะเขมขนกวาระยะที่ ๑
เนน ๖ มาตรการหลัก ๖ มาตรการเสริม และ ๗ มาตรการเขมงวดสำหรับสถานศึกษา (ไทยรัฐออนไลน,
๑๕ กนั ยายน ๒๕๖๔ )

ดังนั้น ภาคเรียนที่ ๒ ปการศึกษา ๒๕๖๔ สถานศึกษาของรัฐและสถานศึกษาของเอกชนทุกแหงท้ัง
แบบพักนอน แบบไป-กลับ แบบพักนอน-ไปกลับ และลักษณะอื่น ๆ จะเปดใหมีการเรียนการสอนตามปกติ
แบบ Onsite ได สถานศึกษาจะตองดำเนินการตามมาตรการที่เขมขน โดยเนน ๖ มาตรการหลัก
๖ มาตรการเสรมิ และ ๗ มาตรการเขม งวดสำหรับสถานศึกษาอยา งเครง ครัด

โรงเรยี นบางปะอิน “ราชานเุ คราะห ๑” ๓

ส่วนท่ี ๒

แนวปฏิบตั ิการเตรียมการ
ก่อนเปิ ดภาคเรียน

โรงเรยี นบางปะอนิ “ราชานุเคราะห ๑”

สว นท่ี ๒
แนวปฏบิ ตั ิการเตรยี มการกอ นเปดภาคเรยี น

การเตรียมการกอนการเปดเรียน มีความสำคัญอยางมากเนื่องจากมีความเกี่ยวของกับการปฏิบัติตน
ของนักเรียน ครู และบุคลากร เพื่อปองกันไมใหมีการติดเชื้อโรคโควิด-๑๙ ตัดความเสีย่ ง สรางภูมิคุม กัน และ
สรางความปลอดภัยแกทุกคน โรงเรียนบางปะอิน “ราชานุเคราะห ๑” จึงกำหนดใหมีแนวปฏิบัติการ
เตรียมการกอ นเปดภาคเรียน ๖ ขั้นตอน ดังนี้

๑. สถานศึกษาตองประเมินความพรอมกอนเปดภาคเรียน โดยใชแบบประเมินตนเองในระบบ
Thai Stop Covid Plus ตัวยอ TSC+ ของกรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข ถาผลการประเมินเปนสีเขียว
ใหเปดเรียนได สีเหลืองใหประเมินซ้ำ ถาผานใหเปดเรียนได ถาผลการประเมินเปนสีแดง จะตองเตรียม
สถานศึกษาจนกวาผลการประเมินจะเปนสีเขียวหรือสีเหลือง หากยังคงมีผลการประเมินเปนสีแดงใหรายงาน
ตอ ผูบังคบั บัญชาตามลำดับชน้ั เพ่ือจะไดป ระสาน สง เสรมิ สนบั สนนุ ใหสถานศึกษามีความพรอมกอนเปดภาค
เรยี น

๒. ครูและบุคลากรทางการศึกษาตองไดรับการฉีดวัคซีนครบโดส รอยละ ๘๕ ขึ้นไป ตามประกาศ
กระทรวงศึกษาธกิ าร ลงวันท่ี ๒๐ กนั ยายน ๒๕๖๔

๓. นักเรียนและผูปกครองควรไดรับการฉีดวัคซีนตามมาตรการของกระทรวงสาธารณสุขโดยเฉพาะ
สถานศกึ ษาทอี่ ยใู นพื้นทค่ี วบคมุ สูงสุด (พนื้ ที่สแี ดง) และพ้นื ทีค่ วบคุมสงู สดุ และเขม งวด (พ้นื ทส่ี แี ดงเขม )

๔. สถานศึกษานำผลการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษาเสนอตอ ท่ปี ระชุมคณะกรรมการสถานศึกษา
ขั้นพน้ื ฐาน เพอื่ พิจารณาใหค วามเห็นชอบใหเปดภาคเรยี น และนำผลการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษาที่ผาน
ความเห็นชอบจากคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน รายงานตอสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา สำนักงาน
เขตพื้นที่การศึกษาประสานสำนักงานศึกษาธิการจังหวัดเพื่อนำเรื่องเสนอตอคณะกรรมการโรคติดตอจังหวัด
เพือ่ พจิ ารณาอนมุ ัติใหเ ปดเรยี นได

๕. สถานศกึ ษาท่ีไดรับอนุมัตจิ ากคณะกรรมการโรคติตตอจงั หวดั ใหเปด เรียนได ใหสถานศึกษาปฏิบัติ
ตามมาตรการที่กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุขกำหนด โดยเนน ๖ มาตรการหลัก ๖ มาตรการเสริม และ
๗ มาตรการเขม งวด อยา งเครง ครัด

๖. สถานศึกษารายงานผลการเตรียมความพรอมกอนเปดภาคเรียนตอผูบังคับบัญชาตามลำดับชั้น
ภายในวันท่ี ๒ พฤศจิกายน ๒๕๖๔

โรงเรยี นบางปะอนิ “ราชานเุ คราะห ๑” ๕

๑. การประเมินความพร้อมก่อนเปิ ดภาคเรยี น
กระทรวงสาธารณสุข โดยกรมอนามัย ไดส รา งเครื่องมือสำหรับสถานศกึ ษาประเมินตนเองในระบบ

Thai Stop Covid Plus ตัวยอ TSC+ เพื่อใหสถานศึกษาเตรยี มความพรอ มกอนเปด เรียน ภาคเรยี นท่ี ๒
ปก ารศกึ ษา ๒๕๖๔ ลิงกระบบ https://stopcovid.anamai.moph.go.th/th/school

แบบประเมินตนเองดังกลาว ประกอบดวย ๖ มิติ ๔๔ ขอ สถานศึกษาจะตองผานการประเมินท้ัง

๔๔ ขอ ตามข้ันตอนการประเมนิ ตนเอง ดังภาพ

โรงเรียนบางปะอนิ “ราชานุเคราะห ๑” ๖

ชอ่ื สถานศกึ ษา

- โรงเรยี นบางปะอนิ “ราชานเุ คราะห ๑”

ช่ือ-สกุล ผบู ริหารสถานศกึ ษา นายประจวบโชค สรอยสม

สังกดั สำนักงานเขตพืน้ ที่การศกึ ษามัธยมศึกษา (สพม.) จงั หวดั พระนครศรีอยธุ ยา

นกั เรียน ๒,๑๒๕ คน ครูและบคุ ลากรทางการศึกษา ๑๒๔ คน รวม ๒,๒๔๙ คน

เลขที่ ๒๑๔ หมู ๖ ตำบล บา นเลน อำเภอ บางปะอนิ จังหวัด พระนครศรีอยธุ ยา

เบอรโทรมอื ถือทต่ี ิดตอได 035 261 922

E-mail : [email protected]

เกณฑก ารประเมนิ ตนเอง

ขอ ประเด็น มี ไมมี หมายเหตุ

มิติท่ี ๑ ความปลอดภยั จากการลดการแพรเชอื้ โรค

๑ มีการจัดเวนระยะหา ง อยา งนอย 1 - 2 เมตร เชน ท่ีน่ังในหอ งเรยี นทน่ี งั่ ใน 
โรงอาหาร ท่ีน่งั พัก จดุ ยนื รบั -สงสิ่งของ/อาหาร พรอมติดสญั ลกั ษณแสดง
ระยะหา งอยา งชัดเจน หรือไม
๒ มมี าตรการใหน ักเรยี น ครู บุคลากร และผูเ ขามาติดตอในสถานศกึ ษาตอง 

สวมหนา กากผา หรอื หนากากอนามัย 100% ตลอดเวลาท่ีอยูในสถานศึกษา 
หรอื ไม 
๓ มีจุดลางมือดว ยสบแู ละน้ำ หรือจดั วางเจลแอลกอฮอลส ำหรับใชท ำความ 
สะอาดมือ อยา งเพยี งพอและใชง านไดสะดวก หรือไม
๔ มมี าตรการคัดกรองวดั อุณหภูมใิ หกบั นักเรียน ครู บคุ ลากร และผูเ ขา มา
ตดิ ตอ ทุกคน กอนเขาสถานศึกษา หรือไม
๕ มีมาตรการใหล ดการทำกิจกรรมรวมกลุม คนจำนวนมาก และหลีกเล่ียง การ
เขาไปในพน้ื ที่ท่ีมีคนจำนวนมากหรอื พน้ื ท่เี สย่ี งที่มีการแพรระบาดของโรค
หรอื ไม
๖ มีการทำความสะอาดพนื้ ผวิ สมั ผสั รวมทกุ วนั เชน ราวบันได ลกู บดิ -มอื จับ 

ประตู โตะ เกา อ้ี หรือไม
๗ มีมาตรการใหนักเรยี น ครู และบคุ ลากร รบั ผิดชอบดูแลตนเอง มีวนิ ยั ซอื่ สตั ย 
ตอตนเอง ปฏบิ ตั ิตามมาตรการอยา งเครง ครัด และไมป ดบังขอมลู กรณสี มั ผัส
ใกลชดิ กบั ผูต ิดเช้ือหรือผูส ัมผัสเสย่ี งสงู หรอื ไม 
๘ มมี าตรการใหน กั เรียน ครู และบุคลากร กินอาหารดว ยการใชช อนสว นตวั
ทุกครง้ั และงดการกนิ อาหารรวมกัน หรอื ไม
๙ มีมาตรการสงเสริมใหกนิ อาหารปรุงสกุ ใหมรอน และจัดใหบรกิ ารอาหาร

ตามหลักสุขาภิบาลและหลกั โภชนาการ หรอื ไม

โรงเรียนบางปะอิน “ราชานเุ คราะห ๑” ๗

ขอ ประเด็น มี ไมม ี หมายเหตุ

มิตทิ ่ี ๑ ความปลอดภัยจากการลดการแพรเช้ือโรค

๑๐ มกี ารจัดระบบใหนกั เรยี น ครู บคุ ลากร และผูเขามาติดตอในสถานศึกษาทุก 

คน ลงทะเบียนไทยชนะตามที่รฐั กำหนดดว ย app ไทยชนะ หรือ

ลงทะเบียนบันทึกการเขา - ออกอยา งชดั เจน หรอื ไม

๑๑ มจี ดุ ลางมือดว ยสบูและนำ้ หรือจัดวางเจลแอลกอฮอลสำหรับใชทำความ 

สะอาดมือ อยางเพยี งพอและใชงานไดสะดวก หรือไม

๑๒ มกี ารจัดระบบการตรวจสอบ ดแู ล และเฝา ระวงั นักเรยี น ครู บุคลากรหรือผู 

ที่มาจากพื้นทีเ่ สย่ี ง เพ่อื เขา สูกระบวนการคดั กรอง หรือไม

๑๓ มมี าตรการใหนักเรียน ครู หรือบุคลากรทม่ี ีประวตั สิ มั ผสั ใกลชิดกบั ผตู ดิ เชอื้ 

หรอื ผูส ัมผัสเสี่ยงสงู กักกันตวั เอง ๑๔ วนั หรอื ไม

๑๔ มกี ารปรับปรงุ หองเรียนใหมสี ภาพการใชง านไดด ี เปด ประตูหนาตางระบาย 

อากาศ ถา ยเทสะดวก กรณีใชเครอื่ งปรับอากาศ กำหนดเวลาเปด – ปด

ประตหู นา ตา งระหวา งเวลาพักเท่ยี งหรือไมมกี ารเรียน การสอนและทำความ

สะอาดอยา งสม่ำเสมอ หรือไม

๑๕ มีการทำความสะอาดหองเรยี น หองเรียนรว ม เชน หองคอมพวิ เตอร 

หองดนตรี อปุ กรณกีฬา และอุปกรณทใ่ี ชใ นการเรียนการสอน กอ นและ

หลงั ใชงานทกุ คร้ัง หรือไม

๑๖ มีการจดั สภาพแวดลอมบรเิ วณภายในสถานศึกษาใหส ะอาดและปลอดภยั มี 

การจัดการขยะท่ีเหมาะสม รวมถึงการดูแลความสะอาดหองสวม หรอื ไม

๑๗ มีมาตรการสงเสริมใหน กั เรียน ครู และบคุ ลากร รจู ักและหมัน่ สังเกตอาการ 

เส่ียงจาก โรคโควดิ -๑๙ เชน ไข ไอ นำ้ มกู เจบ็ คอ คอแหง ออนเพลยี หายใจ

ลำบาก หายใจเร็ว เจ็บแนน หนา อก เสยี การดมกลน่ิ ล้ินไมร ับรส ตาแดง มีผ่นื

ทองเสยี หรอื ไม

๑๘ มีมาตรการใหนกั เรียน ครู และบคุ ลากร ประเมนิ ความเสยี่ งของตนเอง ผาน 

Thai save Thai (TST) อยา งตอเน่ือง หรือไม

๑๙ มีมาตรการเฝา ระวังตรวจคัดกรอง ดว ย Antigen Test Kit (ATK) ตาม 

แนวทางท่กี ำหนด หรือไม

๒๐ มีมาตรการสนับสนนุ ใหครู บุคลากร และฝา ยสนับสนุน (Support Staff) 

เขาถงึ การฉดี วัคซีน มากกวารอยละ ๘๕ หรอื ไม

โรงเรยี นบางปะอนิ “ราชานุเคราะห ๑” ๘

ขอ ประเด็น มี ไมม ี หมายเหตุ
มิตทิ ่ี ๒ การเรยี นรู 
๒๑ มีการติดปา ยประชาสมั พันธก ารปฏิบัติตนเพอื่ สุขอนามัยปลอดภยั จากโรค 

โควดิ -๑๙ หรือไม (เชน เวน ระยะหางระหวา งบคุ คล (D) สวมหนากากผา 
หรอื หนากากอนามัย (M) วธิ ลี างมอื ท่ีถกู ตอง (H) เปนตน)

๒๒ มกี ารจัดการเรียนการสอนเก่ียวกับโรคและการปองกนั การแพรระบาดของ
โรคโควิด-๑๙ สอดคลองตามวยั ของผูเรียน หรอื ไม 

๒๓ มีการจดั หาสือ่ ความรูการปอ งกันการแพรระบาดของโรคโควดิ - ๑๙ สำหรบั 
ประกอบการเรียนการสอน การเรียนรูนอกหองเรยี นในรูปแบบของส่ือ 

๒๔ มกี ารจัดกิจกรรมพฒั นาผูเรยี นตามวยั ใหม ีความคิดสรางสรรคนวตั กรรม
สขุ ภาพ และแลกเปลย่ี นเรียนรบู ทเรียนการปองกันการแพรระบาดของ
โรคโควดิ ๑๙ โดย ศกึ ษาคน ควา จากแหลงความรูท างวชิ าการ
ดานสาธารณสุขหรือแหลงขอมูลเชอ่ื ถือได หรอื ไม

๒๕ มนี ักเรยี นแกนนำดา นสุขภาพหรือผพู ิทักษอนามยั โรงเรียนอยา งนอย
หองเรยี นละ ๒ คน เปน จติ อาสา อาสาสมคั รเปน ผูช ว ยครูอนามยั ทำหนา ที่
ดแู ลชว ยเหลอื เฝาระวงั คดั กรองสขุ ภาพ และงานอนามยั โรงเรยี น หรอื ไม

มิติที่ ๓ การครอบคลุมถงึ เด็กดอยโอกาส
๒๖ มีการจดั เตรยี มหนากากผาหรอื หนา กากอนามยั สำรองสำหรับนกั เรยี น

ทีต่ องการใช หรอื ไม

๒๗ มีมาตรการสนบั สนนุ อุปกรณของใชสขุ อนามยั สวนบุคคลในการปองกนั การ
แพรร ะบาดของโรคโควิด ๑๙ สำหรบั กลมุ เปราะบาง หรือไม

๒๘ มมี าตรการสงเสริมใหน ักเรียน อายุ 12-18 ป กลมุ เสย่ี งทีม่ ีนำ้ หนักมาก มี

โรคประจำตัว 7 กลุมโรค หรอื กลุมเปาหมาย เขาถึงการฉีดวัคซนี ปอ งกัน

โควิด-19 ตามแนวทางทร่ี ฐั กำหนด หรือไม
๒๙ มีมาตรการคัดกรองวัดอณุ หภูมิ ตรวจ ATK เวน ระยะหาง ทำความสะอาด

ที่พกั เรือนนอน และจดั สภาพแวดลอมใหถ ูกสุขลักษณะ และมตี ารางเวร
ทำความสะอาดทุกวนั หรอื ไม (กรณีมีท่ีพักหรอื เรือนนอน)

๓๐ มมี าตรการคัดกรองวดั อณุ หภูมิ ตรวจ ATK เวนระยะหา ง ทำความสะอาด
สถานท่แี ละจัดสภาพแวดลอ มใหสอดคลองกับขอ บัญญัตกิ ารปฏิบตั ิ ดา น
ศาสนกจิ และมตี ารางเวรทำความสะอาดทุกวันหรอื ไม (กรณีมีสถานท่ี ปฏบิ ัติ
ศาสนากจิ )

โรงเรียนบางปะอนิ “ราชานเุ คราะห ๑” ๙

ขอ ประเด็น มี ไมม ี หมายเหตุ
มติ ทิ ี่ ๔ สวสั ดภิ าพและการคุมครอง 
๓๑ มแี ผนเผชิญเหตแุ ละแนวปฏบิ ัตริ องรบั กรณมี ผี ูต ิดเชื้อในสถานศกึ ษา หรือ 

ในชมุ ชน และมีการซักซอมการปฏิบัติอยางเขมงวด หรอื ไม 

๓๒ มกี ารสือ่ สารประชาสมั พนั ธขอมลู ขาวสารการติดเชื้อและการปฏิบตั ติ น
อยางเหมาะสม เพ่อื ลดการรังเกียจและการตตี ราทางสงั คม 
(Social stigma) ตอ ผตู ดิ เช้อื โควดิ -๑๙ หรือผูสมั ผสั เสย่ี งสงู หรือไม

๓๓ มีแนวปฏิบตั กิ ารจดั การความเครียดของครูและบคุ ลากร หรอื ไม

๓๔ มีการสำรวจตรวจสอบประวัติเสีย่ งและการกกั ตวั ของนักเรยี น ครู และ
บุคลากร กอนเปดภาคเรียน และเขามาเรยี น เพ่ือการเฝา ระวังตดิ ตาม 
หรือไม 

๓๕ มีเอกสารคมู ือมาตรฐานการปฏิบตั งิ านเปนขนั้ ตอน (SOP) ประจำหอง 
พยาบาล เกีย่ วกับแนวปฏบิ ตั ิการปอ งกัน และกรณีพบผสู มั ผัสเสยี่ งสงู
หรอื ผตู ดิ เชือ้ ยนื ยันในสถานศึกษาหรอื ในชมุ ชน หรือไม

มติ ิที่ ๕ นโยบาย
๓๖ มนี โยบายเนนการปฏบิ ัตติ ามมาตรการสขุ อนามยั สวนบุคคล 6 มาตรการ

หลกั (DMHT-RC) ๖ มาตรการเสริม (SSET-CQ) เปนลายลักษณอักษร
หรอื มหี ลักฐานชดั เจน หรอื ไม

๓๗ มีนโยบายการเฝาระวงั คัดกรอง ตัดความเสยี่ ง และสรางภมู ิคมุ กนั ดว ย
๓T1V (TSC Plus , Thai Save Thai , ATK , Vaccine) และถอื ปฏบิ ัติได
หรือไม

๓๘ มนี โยบายเขมควบคุมดูแลการเดนิ ทางไป-กลับของนักเรยี นใหม ีความ
ปลอดภัย (Seal Route) หรือไม

๓๙ นโยบายตามมาตรการการปองกันแพรร ะบาดของโรคโควดิ -๑๙ ใน
สถานศกึ ษา สอดคลองตามบรบิ ทพ้ืนที่ และมีการสือ่ สารประชาสัมพันธ
ใหนกั เรยี น ครู และบุคลากร รับทราบอยา งท่วั ถงึ หรอื ไม

๔๐ นโยบายการบรหิ ารจัดการการปองกนั การแพรกระจายเชอื้ โรคบนรถ
รบั - สงนักเรยี น อาทิ ทำความสะอาดภายใน – นอกรถกอนและหลังใช
งาน เวน ระยะหา งท่ีน่งั มปี า ยสัญลักษณแ สดงท่ีนัง่ ชัดเจน สวมหนากากผา
หรอื หนา กากอนามัยขณะอยูบนรถ มีเจลแอลกอฮอลบนรถ และงด – ลด
การพูดคุย หยอกลอเลนกนั บนรถ หรอื ไม (กรณีรถรบั – สง นกั เรยี น)

โรงเรยี นบางปะอิน “ราชานุเคราะห ๑”

ขอ ประเด็น มี ไมม ี หมายเหตุ

มติ ทิ ี่ ๖ การบริหารการเงิน

๔๑ มีแผนการใชง บประมาณสำหรบั เปนคาใชจ า ยในการดำเนนิ การปอ งกัน 

การแพรระบาดของโรคโควิด-๑๙ ในสถานศกึ ษา หรือไม

๔๒ มีการจดั หาวสั ดุอปุ กรณปองกันโรคโควิด-๑๙ เชน ATK หนา กากผาหรือ 

หนา กากอนามัย เจลแอลกอฮอล สบู อยา งเพียงพอ หรือไม

๔๓ มีการบริหารจัดการการเงนิ เพื่อดำเนินกจิ กรรมการปอ งกนั การแพร 

ระบาดของโรคโควิด-๑๙ ตามความจำเปนและเหมาะสม หรอื ไม

๔๔ มีการจัดหาบคุ ลากรทำหนา ที่เฝาระวัง ตรวจสอบ สอดสองดูแลสขุ ภาพ 

นกั เรยี น และจดั การสภาพแวดลอมในสถานศึกษาในชว งสถานการณโควดิ -๑๙

ผลการประเมิน

Ranking เกณฑป ระเมนิ
สีเขียว ผานท้งั หมด 44 ขอ
สีเหลอื ง ผานขอ 1 - 20 ทกุ ขอ
สแี ดง แตไมผาน ขอ 21 - 44 ขอใดขอ หนงึ่
ไมผ าน ขอ 1 - 20 ขอใดขอหนึ่ง

การแปลผล
• สเี ขียว หมายถงึ โรงเรียนสามารถเปดเรียนได
• สเี หลอื ง หมายถึง โรงเรียนสามารถเปดเรยี นได แตต องดำเนนิ การปรบั ปรงุ ใหเปน ไปตามมาตรฐานที่กำหนด
• สีแดง หมายถงึ โรงเรียนไมส ามารถเปดเรยี นได ตอ งดำเนนิ การปรับปรุงใหเปน ไปตามมาตรฐานท่ีกำหนด
และ/หรือประเมินตนเองซ้ำ จนกวาจะผา นท้งั หมดโรงเรยี นสามารถเปดเรยี นได

โรงเรียนบางปะอนิ “ราชานเุ คราะห ๑” ดำเนินการประเมนิ ความพรอ มสถานศกึ ษา สะอาด ปลอดภยั
ปองกันโรค COVID – 19 ประเภท สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ.) ผานเว็บไซต TSC+
และรายงานการติดตามการประเมินผลผา น MOECOVID ผา นมาตรฐานครบ ๔๔ ขอ

โรงเรยี นบางปะอิน “ราชานเุ คราะห ๑” ๑๐

๒. การเตรียมการกอ นเปดภาคเรยี น
สถานศึกษาดำเนินการตามประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง หลักเกณฑการเปดโรงเรียนหรือ

สถาบันการศึกษาตามขอกำหนดตามความในมาตรา ๙ แหง พระราชกำหนดการบริหารราชการในสถานการณ
ฉุกเฉิน พ.ศ.๒๕๔๘ (ฉบับที่ ๓๒) ลงวันที่ ๒๐ กันยายน ๒๕๖๔ กำหนดมาตรการ Sandbox : Safety Zone
in School

แผนงานตามมาตรการ Sandbox : Safety Zone in School ประเภทไป - กลับ
โรงเรียนบางปะอิน “ราชานุเคราะห ๑”

หลกั เกณฑใ นการปฏิบตั อิ ยา งเครงครัด ๔ องคป ระกอบ ดงั นี้
๑. องคประกอบดานกายภาพ ลกั ษณะอาคารและพื้นท่โี ดยรอบอาคารของโรงเรยี น ประกอบดวย

๑.๑ พ้ืนที/่ อาคารสนบั สนุนการบริการ
๑.๒ พ้นื ที/่ อาคารเพือ่ จัดการเรียนการสอน
โดยจัดอาคารและพ้ืนทโ่ี ดยรอบใหเ ปน พืน้ ที่ปฏิบตั งิ านทปี่ ลอดภัย และมพี ื้นท่ีทเี่ ปน Covid free Zone
มมี าตรการทเี่ ขมงวดในการปองกันการแพรระบาดของเชื้อไวรสั โคโรนา ๒๐๑๙ (COVID-19)
๒. องคป ระกอบดา นการมีสวนรวม เปนไปตามความสมัครใจของทุกฝาย โดยโรงเรยี นดำเนินการใน
รูปแบบ Sandbox: Safety Zone in School มีการประชุมหารือรวมกันของคณะกรรมการสถานศึกษาข้ัน
พื้นฐาน ครูและบุคลากร ผูปกครอง ผูนำชุมชน และมีมติใหความเห็นชอบรวมกันในการจัดพื้นที่การเรยี นการ
สอนในรูปแบบ Sandbox: Safety Zone in School ตลอดภาคการศึกษา นำเสนอผานสำนักงานเขตพื้นที่
การศึกษามัธยมศึกษาพระนครศรีอยุธยา แลวขอความเห็นชอบจากคณะกรรมการโรคติดตอจังหวัด
พระนครศรีอยุธยา
๓. องคประกอบดานการประเมินความพรอมสูการปฏิบัติ โรงเรียนเตรียมการประเมินความพรอม
ดังน้ี
๓.๑ โรงเรยี น
๑) โรงเรียนดำเนินการประเมินความพรอมสถานศึกษา สะอาด ปลอดภัย ปองกันโรค
COVID – 19 ประเภท สำนกั งานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐาน (สพฐ.) ผา นเว็บไซต TSC+ และรายงาน
การตดิ ตามการประเมินผลผา น MOECOVID ผา นมาตรฐานครบ ๔๔ ขอ
๒) จดั ใหม ีสถานท่ีแยกกักตวั ในโรงเรียน (School Isolation) หรอื พื้นท่แี ยกกักตัวชั่วคราว ที่
หองพยาบาลของโรงเรียน รวมไปถงึ จดั ทำแผนเผชิญเหตุสำหรบั รองรับการดูแลรกั ษาเบอ้ื งตน กรณีนกั เรียน ครู
หรือบุคลากรในสถานศึกษามีการติดเชื้อโควิด-๑๙ หรือผลตรวจคัดกรองหาเชื้อเปนบวก มีการซักซอมอยาง
เครงครัด โดยรวมมอื กับสาธารณสุขอำเภอบางปะอนิ และโรงพยาบาลบางปะอินดูแลอยา งใกลช ิด

โรงเรียนบางปะอิน “ราชานุเคราะห ๑” ๑๑

๓) ควบคุมดูแลการเดินทางระหวางบานกับโรงเรียนอยางเขมขน โดยหลีกเลี่ยงการเขาไป
สัมผสั ในพน้ื ท่ีตาง ๆ ตลอดเสนทางการเดนิ ทาง โดยแจงและใหความรกู ับผขู ับรถโดยสารประจำทางปฏิบัติตาม
มาตรการการแพรร ะบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (COVID-19)

๔) จัดพื้นที่บริเวณปอมยามหนาโรงเรียนใหเปนจุดคัดกรอง (Screening Zone) ผานกลอง
ตรวจจับอุณหภูมิดวยระบบ AI ลางมือดวยเจอแอลกอฮอล และลงทะเบียนผานไทยชนะ เปนทั้งจุดรับ-สง
ส่ิงของ ซงึ่ เปนการจำแนกนักเรยี น ครู บคุ ลากร ผูปกครองและผมู าตดิ ตอ ท่เี ขา มาในโรงเรยี น

๕) มีแผนรับการติดตามประเมินความพรอมของคณะกรรมการอำนวยการเผาระวังและ
ปองกนั การแพรร ะบาดของโรคติดเชื้อไวรสั โคโรนา ๒๐๑๙

๓.๒ นกั เรยี น ครู และบุคลากร
๑) ครู และบุคลากร ไดรับการฉีดวัคซีนครบโดส รอยละ ๙๕.๙๗ นักเรียนไดรับวัคซีน รอย

ละ ๘๙.๐๘ ตามมาตรการของกระทรวงสาธารณสุข โดยโรงเรียนบางปะอิน “ราชานุเคราะห ๑” อยูในพื้นที่
ควบคมุ สูงสดุ (พนื้ ทส่ี ีแดง)

๒) นักเรียน ครู และบุคลากรในโรงเรียนมีการทำกิจกรรมรวมกันในรูปแบบ Small Bubble
และหลกี เลี่ยงการทำกิจกรรมขามกลุมกนั

๓) ถานักเรียน ครู และบุคลากรมีอาการเขาขาย (Inclusion Criteria) กับการติดเชื้อ
โควิด ๑๙ หรือสัมผัสกลุมเสี่ยงสูงใหดำเนินการตรวจคัดกรองหาเชื้อดวยวิธี ATK เบื้องตน โดยเฉพาะกลุมที่
ไมไดรับวัคซีนตามเกณฑพรอมทั้งรายงานผลการตรวจกับสาธารณสุขอำเภอบางปะอินและ
โรงพยาบาลบางปะอินทนั ที และปฏบิ ตั ติ ามแผนเผชิญเหตกุ รณีมีผลตรวจเปน บวก

๔. องคป ระกอบดานการดำเนนิ การของโรงเรยี น ระหวางภาคการศกึ ษาดำเนินการ ดงั น้ี
๔.๑ จัดการเรียนการสอนรูปแบบผสมผสาน (Hybrid) แบงกลุมและสลับกลุมนักเรียน โดยนักเรียน
เลขที่คูเรียนวันคู นักเรียนเลขที่คี่เรียนวันคี่ นักเรียนที่มาโรงเรียนใหเรียนตามตารางปกติ สวนนักเรียนที่ไม
ไดม าโรงเรียนใหเรยี นผา นแพลตฟอรม Racha 1 online
๔.๒ นักเรียน ครู และบุคลากรที่อยูในพื้นที่ตองประเมิน Thai Save Thai (TST) ทุกวันจันทร วันพุธ
และวันศุกร (สัปดาหละ ๓ ครั้ง) โดยครูที่ปรึกษาใชคาบโฮมรูม ควบคุมดูแลนักเรียนใหประเมินผาน
Thai Save Thai และรวบรวมขอมูลสงคณะกรรมการอำนวยการและการเฝาระวังการแพรระบาดของ
โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (COVID-19) ตามแผนเผชิญเหตุในสถานการณการแพรระบาดของ
โรคตดิ เชือ้ ไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (COVID-19)
๔.๓ นักเรียน ครู และบุคลากรในสถานศึกษาสุมตรวจคัดกรองหาเชื้อดวยวิธี ATK เบื้องตน เปน
ระยะๆ ตามแนวทางของคณะกรรมกรรมการควบคุมโรคระดบั จงั หวัดกำหนด
๔.๔ ปฏิบัติตามมาตรการสุขอนามยั สว นบุคคลอยา งเขมขน ไดแ ก ๖ มาตรการหลัก (DMHT-RC) และ
๖ มาตรการเสรมิ (SSET-CQ)
๔.๕ นักเรียน ครู และบุคลากร ลงทะเบียนผานไทยชนะกอนเขา-ออกสถานศึกษา และรวมไปถึงการ
เดนิ ทางเขา ไปในสถานทีต่ า ง ๆ ทุกคร้งั

โรงเรยี นบางปะอนิ “ราชานุเคราะห ๑” ๑๒

๔.๖ ปฏบิ ัตติ ามแนวทาง ๗ มาตรการเขมงวดสำหรับสถานศึกษาประเภทไป-กลับอยา งเครงครัด ดงั นี้
๔.๖.๑ ประเมินความพรอ มสถานศึกษา สะอาด ปลอดภยั ปอ งกนั โรค COVID – 19 ประเภท

สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ.) ผานเว็บไซต TSC+ และรายงานการติดตามการ
ประเมินผลผา น MOECOVID โดยถือปฏิบตั ิอยางเขมขน ตอเน่อื ง

๔.๖.๒ ทำกิจกรรมรวมกันในรูปแบบ Small Bubble หลีกเลี่ยงการทำกิจกรรมขามกลุมกัน
แบงกลุมและสลับกลุมนักเรียน หองหนึ่งจะมีนักเรียนจำนวน ๒๐ คน จัดใหเวนระยะหางระหวางนักเรียนใน
หองเรียนไมน อ ยกวา ๑.๕-๒ เมตร

๔.๖.๓ จัดระบบการใหบริการอาหารสำหรับนักเรียน ครู และบุคลากรในสถานศึกษาตาม
หลักมาตรฐานสุขาภิบาลอาหาร และหลักโภชนาการ จัดทำฉากกั้น (shield) บนโตะรับประทานอาหารและ
เวน ระยะหา งไมนอ ยกวา ๑.๕-๒ เมตร

๔.๖.๔ จัดการดานอนามัยสิ่งแวดลอมตามแนวปฏิบัติดานอนามัยสิ่งแวดลอมในการปองกัน
โรคโควิด-๑๙ ในสถานศึกษา ระบายอากาศภายในอาคาร การทำความสะอาดคุณภาพน้ำอุปโภคบริโภค การ
คัดแยกขยะ ติดต้งั สบเู หลวบริเวณอางลา งมอื ตามอาคารตา งๆ และตดิ ตัง้ เครื่องจายเจลแอลกอฮอลอ ัตโนมัติท้ัง
ทางข้ึนทางลงอาคารเรียนทกุ อาคาร

๔.๖.๕ มีสถานที่แยกกักตัวในโรงเรียน (School Isolation) หรือพื้นที่แยกกักตัวชั่วคราว
ที่หองพยาบาลของโรงเรียน รวมไปถึงจัดทำแผนเผชิญเหตุสำหรับรองรับการดูแลรักษาเบื้องตนกรณีนักเรียน
ครู หรอื บุคลากรในสถานศึกษามีการตดิ เช้ือโควดิ -๑๙ หรือผลตรวจคัดกรองหาเช้อื เปน บวก มีการซักซอ มอยาง
เครงครดั โดยรว มมอื กบั สาธารณสุขอำเภอบางปะอนิ และโรงพยาบาลบางปะอนิ ดแู ลอยางใกลช ดิ

๔.๖.๖ ควบคุมดูแลการเดินทางเขาและออกสถานศึกษา (Seal Route) อยางเขมขนโดย
หลีกเล่ยี งการเขาไปสัมผสั ในพ้ืนที่ตางๆ ตลอดเสน ทางการเดินทางจากบานไป-กลับโรงเรียน ท้ังกรณีรถรับ-สง
นกั เรยี น รถสวนบคุ คล และพาหนะโดยสารสาธารณะ

๔.๖.๗ มีบัตรนักเรียนเขา-ออกสถานศึกษา ซึ่งประกอบดวยขอมูล ผลการประเมิน TST ผล
ตรวจคัดกรองหาเชื้อ ตามแนวทางคณะกรรมการควบคุมโรคติดตอจังหวัดพระนครศรอี ยุธยา และประวัติการ
รบั วคั ซีน ตามมาตรการของกระทรวงสาธารณสุข

๔.๗ ใหสถานประกอบกิจการ ที่อยูภายในสถานศึกษาใหผานการประเมิน Thai Stop Covid Plus
(TSC+) Covid Free Setting โดยใหมกี ารกำกบั รว มกบั คณะกรรมการโรคตดิ ตอระดบั พ้ืนทีป่ ระสานกบั รวมมือ
กบั สาธารณสขุ อำเภอบางปะอนิ

โรงเรียนบางปะอิน “ราชานุเคราะห ๑” ๑๓

สรปุ ตารางมาตรการในโรงเรยี นหรอื สถาบนั การศึกษา จำแนกตามเขตพื้นท่กี ารแพรร ะบาด

โรงเรยี นบางปะอนิ “ราชานุเคราะห ๑” ๑๔

๖ มาตรการหลัก

โรงเรียนบางปะอิน “ราชานเุ คราะห ๑” ๑๕

๖ มาตรการเสรมิ

๗ มาตรการเขม ๑๖

โรงเรียนบางปะอิน “ราชานุเคราะห ๑”

๗ มาตรการเขม

๑๗

โรงเรียนบางปะอิน “ราชานเุ คราะห ๑”

ส่วนท่ี ๓

แนวปฏิบตั ิ
ระหว่างเปิ ดภาคเรียน

โรงเรียนบางปะอิน “ราชานเุ คราะห ๑”

สวนที่ ๓
แนวปฏิบตั ิระหวา งเปดภาคเรียน

ในระหวา งเปด เรยี น โรงเรียนบางปะอิน “ราชานเุ คราะห ๑” ปฏบิ ตั ิตสมมาตรการท่ีกระทรวง
สาธารณะสขุ และกระทรวงศึกษาธกิ ารกำหนดใหครอบคมุ ทุกมิติอยา งเครงครัด เพ่ือปองกันการแพรร ะบาด
ของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (COVID-19) โดยคำนงึ ถึงความปลอดภัยของนกั เรยี น ครูและบุคลากรใน
โรงเรียนบางปะอิน “ราชานเุ คราะห ๑” เปน สำคัญ เปน ๒ กรณี

๑. กรณเี ปดเรยี นไดตามปกติ (Onsite) สถานศึกษาตอ งปฏบิ ัติ ดงั นี้

มาตรการ แนวทางการปฏิบัติ
๖ มาตรการหลัก
๖ หลกั
๖ เสรมิ ๑. Distancing เวน ระยะหาง เวนระยะหา งระหวา งบุคคลอยางนอ ย ๑.๕-๒ เมตร
๗ เขม งวด ๒. Mask Wearing สวมหนากาก สวมหนากากผา หรือหนากากอนามัยตลอดเวลา
ท่ีอยใู นสถานศึกษา
๓. Hand washing ลางมือ ลางมือบอย ๆ ดวยสบูและน้ำ นาน ๒๐ วินาทีหรือใช
เจลแอลกอฮอล
๔. Testing คัดกรองวัดไข วัดไข สังเกตอาการ ซักประวัติผูสัมผัสเสี่ยงทุกคนกอน
เขา สถานศกึ ษา
๕. Reducing ลดการแออัด ลดเขาไปในพน้ื ท่เี ส่ยี ง กลมุ คนจำนวนมาก
๖. Cleaning ทำความสะอาด ทำความสะอาดบริเวณพื้นผิวสัมผัสรวม อาทิ ที่จับ
ประตู ลูกบดิ ประตู ราวบนั ได ปมุ กดลิฟต
๖ มาตรการเสริม
๑. Self-care ดูแลตนเอง ดูแลใสใจ ปฏิบัติตน มีวินัย รับผิดชอบตัวเอง ปฏิบัติตาม
มาตรการอยา งเครงครดั
๒. Spoon ใชชอนกลางสวนตวั ใชช อ นกลางของตนเองทุกครงั้ เมือ่ ตองรบั ประทาน
อาหารรวมกัน ลดสัมผัสรวมกบั ผอู ่ืน
๓. Eating รบั ประทานอาหารปรงุ สุกใหม กินอาหารปรุงสุกใหมร อน ๆ กรณีอาหาร
เก็บเกนิ ๒ ชม. ควรนำมาอนุ ใหร อ นทัว่ ถงึ กอนกนิ อีกครงั้
๔.Thai Chana ไทยชนะ ลงทะเบียนตามที่รัฐกำหนดดวย APP ไทยชนะ หรือ
ลงทะเบยี นบันทึกการเขา - ออกอยา งชดั เจน
๕. Check สำรวจ ตรวจสอบ สำรวจบุคคล นักเรียน กลุมเสี่ยงที่เดินทางมาจาก
พื้นท่ีเส่ียง เพือ่ เขา สกู ระบวนการคัดกรอง

โรงเรียนบางปะอนิ “ราชานุเคราะห ๑” ๑๙

มาตรการ แนวทางการปฏิบตั ิ

๖ หลกั ๖. Quarantine กักกนั ตวั เอง กกั กันตวั เอง ๑๔ วัน เม่ือเขา ไปสมั ผสั หรืออยูใน
๖ เสรมิ พน้ื ท่ีเส่ยี งทมี่ กี ารระบาดโรค
๗ เขมงวด ๗ มาตรการเขม งวด

๑. สถานศกึ ษาผา นการประเมิน TSC+ และรายงานการตดิ ตามการประเมนิ ผล
ผา น MOECOVID โดยถือปฏบิ ตั ิอยา งเขมขน ตอ เนอื่ ง

2. ทำกิจกรรมรว มกนั ในรูปแบบ Small Bubble หลีกเลีย่ งการทำกจิ กรรมขาม
กลุมและจัดนักเรียนในหองเรียนขนาดปกติ (๖ x ๘) ไมเกิน ๒๕ คน หรือจัดใหเวน
ระยะหางระหวา งนกั เรยี นในหอ งไมน อ ยกวา ๑.๕ เมตร พจิ ารณาตามความเหมาะสม
โดยคณะกรรมการโรคตดิ ตอจังหวัด

3. จัดระบบการใหบรกิ ารอาหารสำหรบั นักเรยี น ครู และบุคลากรในสถานศึกษา
ตามหลักมาตรฐานสุขาภิบาลอาหารและหลักโภชนาการ อาทิเชน การจัดซื้อจัดหา
วัตถุดิบจากแหลงอาหาร การปรุงประกอบอาหาร หรือการสั่งซื้ออาหารตามระบบ
นำสงอาหาร (Delivery) ที่ถูกสุขลักษณะและตองมีระบบตรวจสอบทางโภชนาการ
กอ นนำมาบรโิ ภค

๔. จัดการดา นอนามัยสง่ิ แวดลอมใหไดต ามแนวปฏิบัติดานอนามยั ส่ิงแวดลอมใน
การปองกันโรคโควิด ๑๙ ในสถานศึกษา ไดแก การระบายอากาศภายในอาคารการ
ทำความสะอาด คุณภาพนำ้ อปุ โภคบรโิ ภค และการจัดการขยะ

๕. จัดใหมีสถานที่แยกกักตัวในโรงเรียน (School Isolation) หรือพื้นที่แยกกัก
ชว่ั คราว รวมถึงแผนเผชิญเหตสุ ำหรบั รองรับการดแู ลรักษาเบอื้ งตน กรณนี ักเรียน ครู
หรือบุคลากรในสถานศึกษามีการตดิ เชื้อโควดิ ๑๙ หรอื ผลการตรวจคดั กรองหาเชื้อ
เปนบวก โดยมีการซักซอมอยางเครงครัด โดยมีความรวมมือกับสถานพยาบาล
เครอื ขา ยในพน้ื ทที่ ่ีดูแลอยางใกลช ดิ

๖. ควบคุมดูแลการเดินทางเขาและออกจากสถานศึกษา (Seal Route) อยาง
เขมขน โดยหลีกเลี่ยงการเขาไปสัมผัสในพื้นที่ตาง ๆ ตลอดเสนทางการเดินทางจาก
บา นไป-กลบั โรงเรียน ทัง้ กรณีรถรบั -สงนกั เรียน รถสว นบุคคล และพาหนะโดยสาร
สาธารณะ

๗. ใหจัดใหมี School Pass สำหรับนักเรียน ครู และบุคลากรในสถานศึกษาซง่ึ
ประกอบดวยขอมูล ผลการประเมิน TST ผลตรวจตัดกรองหาเชื้อ ตามแนวทาง
คณะกรรมการควบคุมโรคระดับพื้นที่ และประวัติการรับวัคซีน ตามมาตรการของ
กระทรวงสาธารณสุขโดยเฉพาะพื้นที่ควบคุมสูงสุด (พื้นที่สีแดง) และพื้นที่ควบคุม
สูงสุดและเขม งวด (พ้ืนทสี่ ีแดงเขม )

โรงเรียนบางปะอนิ “ราชานเุ คราะห ๑” ๒๐

มาตรการ แนวทางการปฏบิ ัติ

แนวปฏบิ ตั ิดาน ๑. การระบายอากาศภายในอาคาร
อนามยั - เปดประตูหนาตางระบายอากาศกอนและหลังการใชงาน อยางนอย ๑๕ นาที

สิ่งแวดลอมในการ หนา ตางหรอื ชอ งลม อยา งนอ ย ๒ ดานของหอ ง ใหอ ากาศภายนอกถายเท

ปองกนั โรค เขา สภู ายในอาคาร

โควิด ๑๙ ใน - กรณีใชเครื่องปรับอากาศ ควรระบายอากาศในอาคารกอนและหลังการ

สถานศึกษา อยา งนอย ๒ ชัว่ โมง หรือเปด ประตูหนาตา งระบายอากาศชว ง พักเท่ยี งหรอื ชวงที่ไมมี
การเรียนการสอน กำหนดเวลาเปด-ปดเครื่องปรับอากาศ และทำความสะอาด

สม่ำเสมอ

๒. การทำความสะอาด

- ทำความสะอาดวัสดุสิ่งของดวยผงชักฟอกหรือน้ำยาทำความสะอาด และลาง

มอื ดว ยสบแู ละนำ้

- ทำความสะอาดและฆาเช้ือโรคบนพื้นผิวทว่ั ไป อปุ กรณสัมผัสรวม เชน หองน้ำ

หอ งสว ม ลูกบิด ประตู รีโมทคอนโทรล ราวบนั ได สวติ ชไฟ (ปุมกดลิฟท จดุ น้ำด่มื เปน

ตน ดวยแอลกอฮอล ๗๐% นาน ๑๐ นาที และฆาเชื้อโรคบนพื้นผิววสั ดแุ ข็งเชน พ้ืน

กระเบื้อง เซรามิค สแตนเลส ดวยน้ำยาฟอกขาว หรือโซเดียมไฮโปคลอไรท ๐.๑%

นาน ๕ - ๑๐นาที อยางนอยวันละ ๒ ครั้ง และอาจเพิ่มความถี่ตามความเหมาะสม

โดยเฉพาะเวลาท่มี ผี ูใชง านจำนวนมาก

๓. คุณภาพนำ้ อปุ โภคบริโภค

- ตรวจดคู ณุ ลกั ษณะทางกายภาพ สี กลนิ่ และไมม ีสิง่ เจอื ปน

- ดูแลความสะอาดจุดบริการน้ำดื่มและภาชนะบรรจุน้ำดื่มทุกวัน (ไมใชแกวน้ำ

ดมื่ รวมกนั เดด็ ขาด)

- ตรวจคุณภาพนำ้ เพื่อหาเชอื้ แบคทีเรียดวยชดุ ตรวจภาคสนามทกุ ๖ เดอื น

๔. การจดั การขยะ

- มีถังขยะแบบมีฝาปดสำหรบั รองรับสิ่งของที่ไมใชแลวประจำหองเรียน อาคาร

เรียนหรือบรเิ วณโรงเรยี นตามความเหมาะสม และมกี ารคดั แยก-ลดปรมิ าณขยะ ตาม

หลัก 3 R (Reduce Reuse Recycle)

- กรณีขยะเกิดจากผูสัมผัสเสี่ยงสูง/ กักกันตัว หรือหนากากอนามัยที่ใชแลวนำ

ใสในถุง กอนทิ้งใหราดดวยแอลกอฮอล หรือ ๗๐% น้ำยาฟอกขาว ๒ ฝา ลงในถุงมัด

ปากถงุ ใหแนน ซอนดว ยถงุ อีก ๑ ชั้น ปดปากถงุ ใหส นทิ และฉดี พน บรเิ วณปากถุงดวย

สารฆา เชือ้ แลวทง้ิ ในขยะท่ัวไป

โรงเรียนบางปะอิน “ราชานุเคราะห ๑” ๒๑

มาตรการ แนวทางการปฏิบตั ิ

การใชอ าคาร ในการพิจารณาอนุญาตใหใ ชอ าคารสถานท่ีเพ่ือการสอบ การฝกอบรม หรือการ
สถานทขี่ อง ทำกิจกรรมโรงเรียนหรือสถานศึกษา หรือผูขออนุญาตตองจัดทำมาตรการเพื่อเสนอ
สถานศกึ ษาเพือ่ ตอคณะกรรมการโรคติดตอกรุงเทพมหานคร หรือคณะกรรมการโรคติดตอจังหวัดซง่ึ
การสอบ การ จะพิจารณาตามมาตรการของกระทรวงสาธารณสุข โดยคณะกรรมการโรคติดตอ
ฝก อบรมหรอื ทำ กรุงเทพมหานคร หรือคณะกรรมการโรคติดตอจังหวัด จะพิจารณารวมกับผูแทน
กิจกรรมใดๆท่ีมี กระทรวงศกึ ษาธกิ ารที่เกีย่ วของ โดยมีแนวปฏิบัติ ดงั นี้
ผเู ขา รวมกจิ กรรม ๑. แนวปฏบิ ตั ิดา นสาธารณสขุ
จำนวนมาก
๑.๑ กำหนดจุดคัดกรองชองทางเขาออก หากพบวามีไข ไอ จาม มีน้ำมูก หรือ
เหนื่อยหอบ หรือมีอุณหภูมิรางกายเทา กับหรือมากกวา ๓๗.๕ องศาเซลเซียส ขึ้นไป
แจงงดใหเขารวมกิจกรรม และแนะนำไปพบแพทย และอาจมีหองแยกผูที่มีอาการ
ออกจากพ้นื ท่ี

๑.๒ ผูเขารวมกิจกรรม และผูมาติดตอ ตองสวมหนากากผา หรือหนากาก
อนามยั ตลอดเวลาทเ่ี ขา รว มกิจกรรม

๑.3 จดั ใหมเี จลแอลกอฮอล หรอื จดุ ลา งมอื สำหรบั ทำความสะอาดมือไวบ ริการ
บริเวณตาง ๆ อยา งเพยี งพอ เชน บรเิ วณหนา หองประชุม ทางเขา ออก หนาลิฟต จุด
ประชาสัมพันธ และพื้นท่ที ่ีมีกจิ กรรมอ่ืน ๆ เปน ตน

๑.4 จัดบริการอาหารในลักษณะที่ลดการสัมผัสอุปกรณที่ใชรวมกัน เชน จัด
อาหารวางแบบกลอง (Box Set) อาหารกลางวันในรูปแบบอาหารชุดเดี่ยว (Course
Menu)

๑.5 กรณีที่มีการจัดใหมีรถรับสงผูเขารวมกิจกรรม ใหเวนระยะหาง ๑ ที่นั่งทำ
ความสะอาดรถรบั สงทุกรอบหลงั ใหบ ริการ

๑.6 กำกับใหนักเรียนนั่งโดยมีการเวนระยะหางระหวางที่นั่ง และทางเดินอยาง
นอย ๑.๕ เมตร

๑.7 จัดใหม ถี งั ขยะทมี่ ีฝาปด เก็บรวบรวมขยะ เพื่อสง ไปกำจดั อยา งถกู ตอง และ
การจัดการขยะทดี่ ี

๑.8 จัดใหมีการระบายอากาศภายในอาคารที่ดี มีการหมุนเวียนของอากาศ
อยางเพียงพอทั้งในอาคารและหองสวม และทำความสะอาดเครื่องปรับอากาศ
สม่ำเสมอ

๑.9 ใหทำความสะอาดและฆาเช้อื ทว่ั ท้งั บริเวณ และเนนบรเิ วณท่ีมกั มกี ารสมั ผัส
หรือใชงานรว มกันบอย ๆ ดวยน้ำยาฟอกขาวที่เตรียมไว หรือแอลกอฮอล 70% หรือ
ไฮโดรเจนเปอรอ อกไซด 0.5% เชด็ ทำความสะอาดและฆาเช้ืออยางนอยวนั ละ 2ครง้ั

โรงเรียนบางปะอนิ “ราชานเุ คราะห ๑” ๒๒

มาตรการ แนวทางการปฏบิ ตั ิ

การใชอ าคาร ทำความสะอาดหองสวมทุก 2 ชั่วโมงและอาจเพิ่มความถี่ตามความเหมาะสม
สถานทข่ี อง โดยเฉพาะเวลาท่ีมีผูใ ชง านจำนวนมาก
สถานศึกษาเพื่อ
การสอบ การ ๑.10 มีมาตรการติดตามขอมูลของผูเขารวมกิจกรรม เชน การใชแอปพลิเคชนั
ฝกอบรมหรือทำ หรือใชมาตรการควบคุมการเขาออกดวยการบันทกึ ขอมลู
กจิ กรรมใดๆที่มี
ผเู ขารว มกจิ กรรม ๑.11 มีการจดั การคณุ ภาพนำ้ อปุ โภคบรโิ ภคทีเ่ หมาะสม
จำนวนมาก ๑.๑๑.๑ จัดใหม ีจดุ บรกิ ารนำ้ ดม่ื 1 จุด หรอื หัวกอ กตอ ผบู ริโภค 75 คน
๑.๑๑.๒ ตรวจสอบคุณภาพนำ้ ดื่มน้ำใช
๑.๑๑.๓ ดูแลความสะอาดจุดบริการน้ำดื่ม ภาชนะบรรจุน้ำดื่ม และใชแกวน้ำ
สวนตัว
๒. แนวทางปฏบิ ตั สิ ำหรับผูจัดกจิ กรรม
๒.1 ควบคุมจำนวนผูเขารวมกิจกรรม ไมใหแออัด โดยคิดหลักเกณฑจำนวนคน
ตอพื้นที่จัดงาน ไมนอยกวา ๔ ตารางเมตรตอคน พิจารณาเพิ่มพื้นที่ทางเดินใหมี
สดั สว นมากขนึ้
๒.๒ จำกัดจำนวนผูเขารวมกิจกรรม และกระจายจุดลงทะเบียนใหเพียงพอ
สำหรบั ผเู ขารว มกจิ กรรม เพ่ือลดความแออัด โดยอาจใชร ะบบการประชุมผานสอื่
อิเลก็ ทรอนกิ ส ใชก ารสแกน QR Code ในการลงทะเบียนหรือตอบแบบสอบถาม
๒.๓ ประชาสัมพันธมาตรการ คำแนะนำในการปองกันการแพรระบาดใหแก
ผูเขารวมกิจกรรมทราบ
๓. แนวทางปฏบิ ตั ิสำหรบั ผูเขารวมกจิ กรรม
๓.๑ สังเกตอาการตนเองสม่ำเสมอ หากมีไข ไอ จาม มีน้ำมูก หรือเหนื่อยหอบ
ใหงดการเขารวม กจิ กรรมและพบแพทยท ันที
๓.๒ สวมหนากากผา หรอื หนา กากอนามัย เวนระยะหา งระหวางบคุ คลอยา งนอย
๑.๕ - ๒ เมตร งดการรวมกลมุ และลดการพดู คุยเสียงดัง
๓.๓ ลางมือดวยสบู หรือเจลแอลกอฮอลบอย ๆ กอนและหลังใชบริการ หรือ
หลังจากสัมผัสจุดสัมผัสรวมหรือสิ่งของ เครื่องใช เมื่อกลับถึงบานควรเปลี่ยนเสื้อผา
และอาบนำ้ ทนั ที
๓.๔ ปฏิบัติตามระเบียบของสถานที่อยางเครงครัด และปฏิบัติตามมาตรการ
สุขอนามัยสวนบุคคลอยางเขมขน ไดแก ๖ มาตรการหลัก (DMHT-RC) และ
๖ มาตรการเสริม (SSET-CQ)

โรงเรยี นบางปะอิน “ราชานุเคราะห ๑” ๒๓

๒. กรณโี รงเรียนไมสามารถเปด เรียนไดตามปกติ

การจัดการเรียนการสอนในสถานการณการแพรระบาดของโรคติดเชื้อ ไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙
(COVID-19) โรงเรียนบางปะอิน “ราชานุเคราะห ๑” ไมสามารถเปดเรียนไดต ามปกติ เพื่อใหผูเรียนไดรับการ
เรียนรูอยางตอเนื่อง สถานศกึ ษาจึงควรเลือกรูปแบบการเรียนการสอนใหมคี วามเหมาะสมตามความพรอมของ
สถานศึกษา ดงั นี้

๑. การเรียนการสอนแบบออนไลน (Online) โรงเรยี นบางปะอนิ “ราชานุเคราะห ๑” จดั การเรียน
การสอนผานแพลตฟอรม Racha 1- online สำหรับครูและนักเรียนที่มีความพรอมทางดานอุปกรณ เชน
คอมพวิ เตอร แทบ็ เล็ต โทรศพั ท และมีการเช่อื มตอ สัญญาณอินเทอรเ นต็

๒. การเรียนผานหนังสือ เอกสารและใบงาน (ON Hand) การจัดการเรียนการสอนในกรณีที่
นักเรียนมีทรัพยากรไมพรอมในการจัดการเรียนการสอนในรูปแบบขางตน โดยสถานศึกษาจัดทำแบบฝกหัด

หรอื ใหก ารบานไปทำท่บี า น อาจใชร วมกบั รปู แบบอนื่ ๆ ตามบริบทของทองถ่นิ

โรงเรยี นบางปะอนิ “ราชานุเคราะห ๑” ๒๔

ส่วนท่ี ๔

แนวทางการจดั การเรียนการสอน
ในสถานการณ์การแพร่ระบาดของ
โรคติดเชื้อไวรสั โคโรนา ๒๐๑๙
(COVID-19)

โรงเรียนบางปะอนิ “ราชานเุ คราะห ๑”

สว นที่ ๔
แนวทางการจดั การเรยี นการสอนในสถานการณก ารแพรระบาด

ของโรคติดเชอ้ื ไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (COVID-19)

แนวทางการจัดการเรียนการสอนในสถานการณการแพรระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙
(COVID-19) โรงเรียนบางปะอิน “ราชานุเคราะห ๑” เลือกจัดการเรียนการสอนโดยพิจารณารูปแบบใหมี
ความเหมาะสมตามบริบทของสถานศึกษา ใหสอดคลองกับหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน โดย
กำหนดแนวทางการจดั การเรียนการสอนทแ่ี ตกตางจากที่กำหนดไวน้ี หรือจดั การเรยี นการสอนแบบผสมผสาน
(Hybrid) ท้งั น้ีตองคำนึงถึงความปลอดภยั ของนกั เรยี น ครู และบุคลากรเปน สำคญั

รูปแบบการจัดการเรยี นการสอนในสถานการณก ารแพรระบาดของโรคตดิ เชื้อ
ไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (COVID-19)

๑. รปู แบบการจดั การเรียนการสอนแบบชั้นเรยี น (Onsite) ลักษณะแบบผสมผสาน (Hybrid)
โรงเรยี นบางปะอนิ “ราชานเุ คราะห ๑” มีรูปแบบการจัดการเรยี นการสอน ดังน้ี

รูปแบบท่ี ๑ การสลับชั้นมาเรยี นของนกั เรียน แบบสลับวันคู วนั ค่ี
จดั การเรียนการสอนรปู แบบผสมผสาน (Hybrid) แบงกลมุ และสลับกลุมนักเรยี น โดยนักเรียนเลขที่คู
เรียนวันคู นักเรียนเลขที่คี่เรียนวันคี่ นักเรียนที่มาโรงเรียนใหเรียนตามตารางปกติ สวนนักเรียนที่ไมไดมา
โรงเรยี นใหเรียนผานแพลตฟอรม Racha 1 - online
การสลบั กลมุ นกั เรียน แบงนกั เรยี นในหอ งเรยี นออก เปน ๒ กลุม แลวสลับวันมาเรยี น
- นกั เรยี นทีเ่ ปน เลขคเู รียนวันคู นักเรียนท่ีเปน เลขค่ีเรียนวันค่ี ทัง้ ม.ตน และม. ปลาย
- นักเรียนที่มาโรงเรียน ใหเรียนตามตารางปกติ สวนนักเรียนที่ไมไดมาโรงเรียนใหเรียนผาน
แพลตฟอรม Racha 1 - online

โรงเรียนบางปะอนิ “ราชานุเคราะห ๑” ๒๖

โรงเรยี นบางปะอนิ “ราชานเุ คราะห ๑” ๒๗

ส่วนที่ ๕

แผนเผชิญเหตุ

โรงเรยี นบางปะอิน “ราชานเุ คราะห ๑”

สวนที่ ๕

แผนเผชญิ เหตุในสถานการณการแพรร ะบาดของโรคตดิ เชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)

แผนเผชิญเหตุตามมาตรการปองกันตามระดับการแพรระบาดโควิด-๑๙ ของโรงเรียนบางปะอิน
“ราชานุเคราะห ๑” กรณีหากพบผูติดเชื้อ หรือพบวามีนักเรียน ครู หรือบุคลากรทางการศึกษา มีความเสี่ยง
สูง สถานศึกษาตองมีความพรอมในเรื่องสถานที่ วัสดุ อุปกรณทางการแพทย ระบบขนสง ระบบการ
ประสานงานตรงกับบุคลากรทางการแพทยใ นพ้นื ท่ี การสรา งการรบั รูขาวสารภายใน รวมทง้ั การคัดกรองเพื่อ
แบง กลุมนกั เรยี น ครแู ละบคุ ลากรในโรงเรียนบางปะอิน “ราชานุเคราะห ๑” ตามที่กระทรวงสาธารณสุข และ
กระทรวงศึกษาธิการกำหนด ดงั นี้

โรงเรยี นบางปะอนิ “ราชานเุ คราะห ๑” ๒๙

โรงเรยี นบางปะอนิ “ราชานเุ คราะห ๑” ๓๐

โรงเรยี นบางปะอนิ “ราชานเุ คราะห ๑” ๓๑

โรงเรยี นบางปะอนิ “ราชานเุ คราะห ๑” ๓๒

โรงเรยี นบางปะอนิ “ราชานเุ คราะห ๑” ๓๓

ส่วนที่ ๖

บทบาทของบคุ ลากร
และหน่วยงานที่เกี่ยวขอ้ ง

โรงเรยี นบางปะอนิ “ราชานเุ คราะห ๑”

สวนท่ี ๖
บทบาทของบุคลากรและหนว ยงานทเี่ กย่ี วของ

สถานการณการแพรระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (COVID-19) ยังคงมีการแพรระบาด
อยางตอเนื่อง เพื่อใหสถานศึกษามีแนวทางการปองกันการแพรระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙
(COVID-19) สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน จึงกำหนดบทบาทของ บุคลากรและหนวยงานที่
เก่ยี วของ ดงั น้ี
๑. บทบาทของนกั เรยี น

นักเรียนเปนหัวใจสำคัญที่ตองไดรับความคุมครอง ดูแลในเรื่องความปลอดภัยอยางสูงสุด ทั้งน้ี
นักเรียนจะตองถือปฏิบัติตนตามมาตรการความปลอดภัยของกระทรวงสาธารณสุขและกระทรวงศึกษาธิการ
อยางเครงครัด ตั้งแตการเดินทางออกจากบานมาเรียน ขณะอยูในโรงเรียน จนถึงการกลับบาน บทบาทของ
นกั เรียน ควรมีดงั น้ี

๑) เตรียมความพรอ มในเรื่องอุปกรณก ารเรยี น เครื่องใชสว นตัว และอนื่ ๆ ท่ีจำเปนสำหรบั การเรยี น
๒) ปฏิบตั ติ าม ๖ มาตรการหลัก ๖ มาตรการเสริมของกระทรวงสาธารณสุขกำหนดอยางเครงครดั
๓) ตดิ ตามขอ มูลขาวสารสถานการณก ารแพรระบาดของโรคตดิ เช้ือไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (COVID-19)
และสรางความรูความเขาใจของคำแนะนำในการปองกันตนเอง และลดความเสี่ยงจากการแพรกระจายของ
โรคตดิ เชือ้ ไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (COVID-19) จากแหลง ขอ มลู ทีเ่ ชอื่ ถอื ได
๔) ประเมินความเสี่ยงของตนเองผานแอพพลิเคชั่น Thai Save Thai (TST) อยางสม่ำเสมอ และ
สังเกตอาการปวยของตนเอง หากมีอาการไข ไอ มีน้ำมูก เจ็บคอ หายใจลำบาก เหนื่อยหอบ ไมไดกลิ่นไมรูรส
รีบแจงครูหรือผูปกครองใหพาไปพบแพทย กรณีมีคนในครอบครัวปวยดวยโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา๒๐๑๙
(COVID-19) หรือกลับจากพื้นที่เสี่ยง และอยูในชวงกักตัว ใหปฏิบัติตามคำแนะนำของเจาหนาที่สาธารณสุข
อยางเครง ครดั
๕) ขอคำปรึกษาจากครูผูสอนเมื่อพบปญหาเกี่ยวกับการเรียน อุปกรณการเรียนเรียน เครื่องใช
สวนตัว หรือพบความผิดปกติของรางกายที่อาจเสี่ยงตอการติดเชื้อของ โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙
(COVID-19) ทันที
๒. บทบาทของครแู ละบคุ ลากรทางการศกึ ษา

ครูและบคุ ลากรทางการศึกษาน้ัน ซง่ึ ถอื อยใู กลช ดิ นกั เรียน มีหนา ท่สี ำคัญในการจัดการเรียนรใู หแ ก
นักเรียนทุกรูปแบบ จึงตองเตรียมความพรอมการจัดการเรียนการสอน การวัดและประเมินผลการเรียนการ
สอน นอกจากจะตองดูแลตนเองแลว ยังตองดูแลนักเรียนอีกดวย โดยเฉพาะดานสุขอนามัยตามมาตรการท่ี
กระทรวงสาธารณสขุ กำหนด บทบาทของครแู ละบุคลากรทางการศึกษา ควรมีดังนี้

๑) ประชุมออนไลน(Online) ชี้แจงผูปกครองนักเรียนเพื่อสรางความเขาใจรวมกัน ในการปองกัน
การเฝา ระวัง การเตรียมตวั ของนักเรยี นใหพรอมกอนเปด เรียน

โรงเรียนบางปะอนิ “ราชานเุ คราะห ๑” ๓๕

๒) ประเมินความเส่ียงของตนเองผานแอพพลิเคชัน Thai Save Thai (TST) อยางสม่ำเสมอและงเกต
อาการปวยของตนเอง หากมีอาการไข ไอ มีน้ำมกู เจบ็ คอ หายใจลำบาก เหน่ือยหอบ ไมไ ดก ลิน่ ไมรูรส ใหห ยุด
ปฏิบัติงาน และรีบไปพบแพทยทันที กรณีมีคนในครอบครัวปวยดวยโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙
(COVID-19) หรือกลับจากพื้นที่เสี่ยงและอยูในชวงกักตัว ใหปฏิบัติตามคำแนะนำของเจาหนาที่สาธารณสุข
อยางเครงครัด

๓) ตดิ ตามขอมูลขาวสารสถานการณก ารแพรระบาดของโรคติดเช้ือไวรสั โคโรนา ๒๐๑๙ (COVID-19)
และสรางความรูความเขาใจของคำแนะนำในการปองกันตนเอง และลดความเสี่ยงจากการแพรกระจายของ
โรคตดิ เช้ือไวรสั โคโรนา ๒๐๑๙ (COVID-19) จากแหลง ขอมูลที่เชื่อถือได

๔) จัดหาสื่อประชาสัมพันธในการปองกันและลดความเสี่ยงจากการแพรกระจายโรคติดเชื้อ
ไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (COVID-19) ใหแกนักเรียน เชน สอนวิธีการลางมือที่ถูกตอง การสวมหนากากผาหรือ
หนากากอนามัย คำแนะนำการปฏิบัติตัว การเวนระยะหางทางสังคม การทำความสะอาด หลีกเลี่ยงการทำ
กจิ กรรมรว มกันจำนวนมากเพื่อลดจำนวนคน

๕) ปฏิบัติตาม ๖ มาตรการหลัก ๖ มาตรการเสรมิ ของกระทรวงสาธารณสุขกำหนดอยา งเครงครัด
๖) คอยดูแล สอดสองชวยเหลือนักเรียนในเรื่องสุขอนามัยใหเปนไปตามมมาตรการที่กระทรวง
สาธารณสุขกำหนด ไดแก

(๑) ทำการตรวจคัดกรองสขุ ภาพนกั เรยี นทกุ คนท่เี ขามาในโรงเรียนในตอนเชา ใชเ ครอ่ื งวดั
อุณหภูมิรางกายพรอมสังเกตอาการและสอบถามอาการของระบบทางเดินหายใจ เชน ไข ไอ มีน้ำมูก เจ็บคอ
หายใจลำบาก เหนื่อยหอบ ไมไดกลิ่น ไมรูรส โดยติดสัญลักษณ สติกเกอรหรือตราปม แสดงใหเห็น ชัดเจนวา
ผา นการคดั กรองแลว

(๒) กรณีพบนักเรียนหรือผูมีอาการมีไข อุณหภูมิรางกายตั้งแต ๓๗.๕ องศาเซลเซียสขึ้นไป
รวมกับอาการระบบทางเดินหายใจอยางใดอยางหนึ่ง จัดใหอยูในพื้นที่แยกสวน ประสานโรงพยาบาลสงเสริม
สขุ ภาพประจำตำบล หรอื เจา หนาทส่ี าธารณสขุ เพ่อื ตรวจคัดกรองอีกคร้ัง หากพบวาผลตรวจเบอื้ งตนเปนบวก
จึงแจงผูปกครองมารับ จากนั้นแจงผูบริหารหรือผูมีสวนเกี่ยวของ เพื่อดำเนินการตามแผนเผชิญเหตุ และ
มาตรการปอ งกันตามระดับการแพรร ะบาดโรคตดิ เชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (COVID-19) ของสถานศึกษา

(๓) บันทึกผลการคดั กรองและสงตอประวัตกิ ารปวย ตามแบบบนั ทกึ การตรวจสขุ ภาพ
(๔) จัดอุปกรณการลางมือ พรอมใชงานอยางเพียงพอ เชน เจลแอลกอฮอลวางไวบริเวณ
ทางเขา สบลู า งมือบริเวณอา งลา งมอื
๗) ตรวจสอบ กำกับ ติดตามการมาเรียนของนักเรียนขาดเรียน ถูกกักตัว หรืออยูในกลุมเส่ียงตอการ
ตดิ โรคโควดิ -๑๙ และรายงานตอ ผบู รหิ าร
๘) ปรบั พฤตกิ รรมสำหรบั นกั เรยี นท่ีไมรว มมือปฏิบัติตามมาตรการที่ครูกำหนด ดวยการแกปญหาการ
เรียนรูใ หมใ หถ ูกตอ ง นั่นคอื “สรา งพฤติกรรมท่ีพึงประสงค” หรอื “ลดพฤติกรรมท่ไี มพ งึ ประสงค”
๙) สรางความรูความเขา ใจเก่ยี วกับความเครียด วา เปนปฏิกิริยาปกติที่เกิดขึน้ ไดในภาวะวิกฤติที่มีการ
แพรระบาดของโรคตดิ เชือ้ ไวรสั โคโรนา ๒๐๑๙ (COVID-19) และนำกระบวนการการจัดการ

โรงเรยี นบางปะอนิ “ราชานุเคราะห ๑” ๓๖

ความเครียด การฝกสติใหกลมกลืนและเหมาะสมกับนักเรียนแตละวัยรวมกับการฝกทักษะชีวิตที่เสริมสราง
ความเขมแขง็ ทางใจ (Resilience) ใหก บั นกั เรยี น ไดแ ก ทกั ษะชวี ิตดา นอารมณ สังคม และความคดิ เปน ตน

๑๐) สังเกตอารมณความเครียดของตัวเอง เนื่องจากภาระหนาที่การดูแลนักเรียนจำนวนมาก และ
กำกับใหปฏิบัติตามมาตรการปองกันการติดโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (COVID-19) เปนบทบาทสำคัญ
อาจจะสรา งความเครียดวิตกกงั วลท้ังจากการเฝาระวงั นกั เรียน และการปอ งกนั ตวั เองจากการสมั ผัสกบั เช้อื โรค
ดังน้นั เมอื่ ครูมีความเครยี ด จากสาเหตุตาง ๆ มขี อ เสนอแนะ ดังน้ี

(๑) กรณีมีความสับสนกับมาตรการของโรงเรียนที่ไมชัดเจน แนะนำใหสอบถามกับผูบริหาร
โรงเรยี นหรือเพอ่ื นรว มงาน เพือ่ ใหเ ขาใจบทบาทหนา ท่แี ละขอปฏบิ ัตทิ ต่ี รงกนั

(๒) กรณีมีความวิตกกังวล กลัวการติดเชื้อในโรงเรียน ใหพูดคุยสื่อสารถึงความไมสบายใจ
และรองขอสิ่งจำเปนสำหรับการเรียนการสอนที่เพียงพอตอการปองกันการติดโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙
(COVID-19) เชน สถานที่ สื่อการเรียนการสอน กระบวนการเรียนรู การสงงานหรือตรวจการบาน เปนตน
หากตนเองเปนกลุมเสี่ยง หรือมีโรคประจำตัวก็สามารถเขารับการตรวจ รักษาตามมาตรการที่กระทรวง
สาธารณสขุ กำหนด

(๓) จดั ใหมีกิจกรรมบำบัดความเครียด โดยการฝกสตใิ หเ ปน กจิ วตั รกอนเร่มิ การเรียน
การสอนเพอื่ ลดความวติ กกงั วลตอสถานการณท ่ตี ึงเครยี ดน้ี

๑๑) กำกับและติดตามการไดรับวคั ซนี ของนักเรยี นและผูป กครองนกั เรียนใหเ ปน ไปตามมาตรการ
ที่กำหนดและเปน ปจ จบุ นั
๓. บทบาทของผูบริหารสถานศึกษา

ผูบริหารสถานศึกษาเปนผูที่มีบทบาทสำคัญในการขับเคลื่อนตั้งแตการวางแผน การกำหนดนโยบาย
สถานศกึ ษา การเตรยี มความพรอมการเปด เรยี น การสง เสริมครูในการออกแบบการจัดการเรียนการสอน การ
กำกับติดตามชวยเหลือ การประเมินผลการจัดการเรียนการสอน การแกไขปญหา การประเมินสถานการณ
การรายงาน ตลอดจนรวมมือกับครูและบุคลากร ผูปกครองนักเรียน ใหการตรวจสอบสถานการณการแพร
ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (COVID-19) เพื่อความปลอดภัยของนักเรียนโดยบทบาทของ
ผูบริหารสถานศกึ ษา ควรมดี ังน้ี

๑) จัดใหมีการประชุมหารือรวมกันของคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน ครู ผูปกครองนักเรียน
ผูนำชมุ ชน และมีมตใิ หความเหน็ ชอบรวมกันในการจัดพน้ื ท่ี และรูปแบบการจดั การเรียนการสอน

๒) ประกาศนโยบายและแนวปฏิบตั ิการปอ งกันการแพรระบาดของโรคติดเช้ือไวรสั โคโรนา ๒๐๑๙
(COVID-19) ในโรงเรียน

๓) แตงตั้งคณะทำงานดำเนินการควบคุมดูแลและปองกันการแพรระบาดของโรคติดเชื้อไวรสั โคโรนา
๒๐๑๙ (COVID-19) ประกอบดวย นักเรียน ครู ผูปกครอง เจาหนาที่สาธารณสุข ทองถิ่น ชุมชน และ
ผูเกย่ี วขอ ง

๔) ประเมินความพรอมผา น Thai Stop Covid Plus (TSC+) และรายงานการตดิ ตามการประเมินผล
ผาน MOECOVID

โรงเรียนบางปะอิน “ราชานเุ คราะห ๑” ๓๗

๕) ทบทวน ปรับปรุง ซกั ซอ มปฏบิ ัติตามแผนเผชิญเหตุของโรงเรยี นในภาวะท่ีมีการระบาดของโรคติด
เชือ้ ไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (COVID-19)

๖) จัดใหมีการสื่อสารประชาสัมพันธแนวทางการปองกันการแพรระบาดของโรคติดเชื้อไวรัส
โคโรนา ๒๐๑๙ (COVID-19) เกี่ยวกับนโยบาย มาตรการ แนวปฏิบัติ และการจัดการเรียนการสอนใหแกครู
นักเรียนผูปกครอง และคณะกรรมการโรงเรียน ผานชองทางสื่อที่เหมาะสม และติดตามขอมูลขาวสารท่ี
เกยี่ วของจากแหลงขอมลู ทเ่ี ชอื่ ถอื ได

๗) สนบั สนนุ ใหนกั เรยี น ครแู ละบุคลากรไดร ับวคั ซีนครบโดส ตง้ั แตร อยละ ๘๕ ขน้ึ ไป
๘) สนบั สนนุ ใหม กี ารตรวจคดั กรองหาเชือ้ ดว ยวิธีการที่เหมาะสมตามมาตรการของภาครฐั
๙) สนับสนนุ สงเสริม ใหนักเรียน ครู บุคลากรทางการศึกษา และผูปกครองประเมินตนเองผา นThai
Save Thai (TST) ตามเกณฑจำแนกเขตพืน้ ทก่ี ารแพรร ะบาด
๑๐) สือ่ สารสรา งความรคู วามเขา ใจ เพอื่ ลดการรังเกียจ และลดการตตี ราทางสังคม ( Social Stigma)
กรณีพบวา มีบุคลากรในโรงเรยี น นักเรียน หรือผปู กครองตดิ เชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (COVID-19)
๑๑) กำหนดมาตรการคัดกรองสุขภาพทุกคน บริเวณจุดแรกเขาไปในโรงเรียน (Point of Entry)
ใหแก นักเรียน ครู บุคลากร และผูมาติดตอ และจัดใหมีพื้นที่แยกโรค อุปกรณปองกัน เชน หนากากผาหรือ
หนากากอนามัย เจลแอลกอฮอล อยางเพียงพอ รวมถึงเพิ่มชองทางการสื่อสารระหวา งครู นักเรียนผูปกครอง
และเจา หนา ท่สี าธารณสุข ในกรณีท่พี บนกั เรียนกลมุ เสีย่ งหรอื สงสัย
๑๒) จัดใหนักเรียนสามารถเขาถึงการเรียนการสอนที่มีคุณภาพเหมาะสมตามบริบทไดอยางตอเนื่อง
ตรวจสอบ ติดตาม กรณีนักเรียนขาดเรียน ลาปวย การปดโรงเรียน การจัดใหมีการเรยี น การสอนทางไกล ส่ือ
ออนไลน การตดิ ตอทางโทรศพั ท หรือ Social Media เปน รายวนั หรือรายสัปดาห
๑๓) กรณีพบนักเรียน ครู บุคลากร หรือผูปกครองอยูในกลุมเสี่ยงหรือผูป วยยืนยันเขามาในโรงเรียน
ใหร ีบแจง เจา หนาทส่ี าธารณสุขในพนื้ ทีเ่ พื่อดำเนินการสอบสวนโรค และพจิ ารณาดำเนินการตามแผนเผชิญเหตุ
และมาตรการปองกันตามระดับการแพรร ะบาดโรคติดเชอื้ ไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (COVID-19) ของสถานศึกษา
๑๔) มีมาตรการใหนักเรียนไดรับอาหารกลางวันและอาหารเสริมนม ตามสิทธิที่ควรไดรับกรณีพบอยู
ในกลุมเส่ยี งหรอื อยใู นชว งกักตวั
๑๕) ควบคมุ กำกับ ติดตาม ตรวจสอบ และรายงานผลการดำเนินงาน ตามมาตรการปองกันการแพร
ระบาดภายในโรงเรียนอยา งเครง ครดั และตอ เนือ่ ง
๑๖) เยี่ยมบาน สรางขวัญกำลังใจนักเรียน ทั้งนักเรียนที่มาเรียนแบบปกติ และที่ไมสามารถมาเรียน
แบบปกตไิ ด
๔. บทบาทของผูปกครองนกั เรียน
ผูปกครองนักเรียนเปนบุคคลที่มีสำคัญยิ่ง มีหนาที่ตองดูแลเอาใจใสนักเรียนและตนเองในดาน
สุขอนามัยและการปองกันความเส่ียงจากการแพรระบาดของเชื้อโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (COVID-19)
อยางเครงครัด ตองใหความรวมมือกับโรงเรียน ครูประจำชั้น หรือครูที่ปรึกษา เกี่ยวกับมาตรการการดูแล

โรงเรยี นบางปะอิน “ราชานุเคราะห ๑” ๓๘

นักเรียน ผูปกครองนักเรียนจึงมีบทบาทสำคัญรวมกับครูเพื่อชวยนักเรียนทั้งในเรื่องการเรียนรู และการดูแล
ความปลอดภัยของนักเรยี น บทบาทของผูปกครองนกั เรยี น ควรมดี งั น้ี

๑) ตดิ ตามขอ มลู ขาวสารสถานการณการแพรระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (COVID-19)
และสรางความรูความเขาใจของคำแนะนำในการปองกันตนเอง และลดความเสี่ยงจากการแพรกระจายของ
โรคตดิ เชือ้ ไวรสั โคโรนา ๒๐๑๙ (COVID-19) จากแหลงขอมูลทเี่ ชื่อถอื ได

๒) ประเมินความเสี่ยงของตนเอง นักเรียน และคนในครอบครัวผานแอปพลิเคชัน Thai Save Thai
(TST) อยางสม่ำเสมอ สังเกตอาการปวยของนักเรียน ของตนเอง และของคนในครอบครัว หากมีอาการไข ไอ
มีน้ำมูก เจ็บคอ หายใจลำบาก เหนื่อยหอบ ไมไดกลิ่น ไมรูรส ใหรีบพาไปพบแพทย ควรแยกเด็กไมใหไปเลน
กับคนอื่น ใหพักผอนอยูที่บานจนกวาจะหายเปนปกติ กรณีมีคนในครอบครัวปวยดวยโรคติดเชื้อไวรัส
โคโรนา ๒๐๑๙ (COVID-19) หรือกลับจากพื้นที่เสี่ยงอยูในชวงกักตัวใหปฏิบัติตามคำแนะนำของเจาหนาที่
สาธารณสุขอยางเครงครัด

๓) จัดหาของใชสวนตัวใหนักเรียนอยางเพียงพอในแตละวัน ทำความสะอาดทุกวัน เชน หนากากผา
ชอ น สอ ม แกว นำ้ แปรงสฟี น ยาสฟี น ผาเช็ดหนา ผา เชด็ ตวั เปน ตน

๔) จัดหาสบูหรือเจลแอลกอฮอลและกำกับดูแลนักเรยี นใหลา งมือบอย ๆ กอนกินอาหาร หลังใชสวม
หลีกเลี่ยงการใชมือสัมผัสใบหนา ตา ปาก จมูก โดยไมจำเปน และสรางสุขนิสัยที่ดีหลังเลนกับเพื่อนและเมื่อ
กลบั มาถงึ บาน ควรอาบนำ้ สระผม และเปล่ยี นชุดเส้อื ผาใหมท ันที

๕) ดูแลสุขภาพนักเรียน จัดเตรียมอาหารปรุงสุก ใหม สงเสริมใหกินอาหารรอน สะอาด อาหารครบ
๕ หมูและผัก ผลไม ๕ สี และควรจดั อาหารกลอ ง (Box Set) ใหแกนักเรยี นในชวงเชา แทนการซื้อจากโรงเรียน
(กรณีทีไ่ มไดรับประทานอาหารเชาจากท่บี าน) เพือ่ เสริมสรา งภูมิคุม กัน ออกกำลงั กาย อยา งนอ ย๖๐ นาที ทุก
วันและนอนหลบั อยางเพยี งพอ ๙ - ๑๑ ช่ัวโมงตอวัน

๖) หลีกเลี่ยงการพานักเรียนไปในสถานเสี่ยงตอ การติดเช้ือไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (COVID-19) สถานที่
แออัดที่มีการรวมกันของคนจำนวนมาก หากจำเปนตองสวมหนากากผาหรือหนากากอนามัย ลางมือบอย ๆ
๗ ขั้นตอน ดว ยสบแู ละน้ำนาน ๒๐ วนิ าที หรอื ใชเจลแอลกอฮอล

๗) กรณนี กั เรยี นเดนิ ทางมาโรงเรียน โดยรถโรงเรยี น รถตู หรือรถอื่น ๆ ผปู กครองและโรงเรยี นตองขอ
ความรว มมอื กบั คนขบั รถใหป ฏิบตั ติ ามมาตรการของสาธารณสขุ อยางเครงครดั

๘) กรณีมีการจัดการเรียนการสอนทางไกล ออนไลน ผูปกครองควรใหความรวมมือกับครูในการดแู ล
จัดการเรยี นการสอนแกน กั เรยี น เชน การสง การบาน การรวมทำกิจกรรม เปนตน

โรงเรยี นบางปะอิน “ราชานุเคราะห ๑” ๓๙

๕. บทบาทขององคก รสนับสนนุ
๕.๑ สำนกั งานเขตพนื้ ทกี่ ารศกึ ษา

๑) ประชาสมั พนั ธส รางความรูความเขาใจใหโรงเรียนในสงั กดั เกย่ี วกับการปอ งกนั ตนเอง การดูแล
สขุ อนามยั ของตนเอง และบุคคลในครอบครวั

๒) ประสานงานองคกรตาง ๆ ในเขตพ้นื ท่กี ารศึกษาในการชว ยเหลอื สนับสนนุ โรงเรยี น
๓) นิเทศ กำกับ ติดตาม โรงเรียนในสังกัดดา นการบริหารโรงเรียนภายใตสถานการณก ารแพรระบาด
ของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (COVID-19)
๔) กำกับ ติดตาม โรงเรียนในสังกัดดานการบริหารขอมูลสารสนเทศเกี่ยวกับการไดรับวัคซีนของ
นกั เรียน ครู ผูบ รหิ ารโรงเรียน และผปู กครองนักเรยี นใหไ ดรับวคั ซีนตามมาตรการที่กำหนด
๕) รายงานผลการดำเนนิ การตอ หนวยงานตนสังกดั ใหท ราบความเคลอื่ นไหวอยางตอเนอื่ งสม่ำเสมอ
๖) ประชมุ ตรวจเยีย่ มสถานศกึ ษา สรางขวัญกำลังใจในการเตรยี มความพรอมกอ นเปดภาคเรยี น
ทง้ั แบบปกติและแบบทางไกล
๕.๒ สำนกั งานสาธารณสุข
๑) ใหคำแนะนำเกี่ยวกับขอควรปฏิบัติของสถานศึกษา สนับสนุนการดำเนินงานของโรงเรียนให
สอดคลอ งตามมาตรการของกระทรวงสาธารณสุขและกระทรวงศกึ ษาธกิ ารกำหนด
๒) สนับสนุนอุปกรณทางการแพทย อาทิ ชุดตรวจคัดกรองหาเชื้อที่เหมาะสม อุปกรณวัดอุณหภูมิ
หนากากอนามยั เจลลางมือ ฯลฯ
๓) สนับสนุนบุคลากรทางการแพทยในการบริการตรวจคัดกรองความเสี่ยงใหแก นักเรียน ครู และ
บคุ ลากรทางการศกึ ษา
๔) จัดใหมีชองทางการสื่อสาร การใหขอมูลขาวสารที่ถูกตอง เปนปจจุบันใหกับสถานศึกษาและ
จดั ระบบสนบั สนุนเมอื่ มีนักเรยี น ครูหรือบคุ ลากรมคี วามเสยี่ งตอ การติดเช้ือ ไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (COVID-19)
๕) สำรวจ ติดตามสถานการณในพื้นที่บริการอยางตอเนื่อง กรณี พบผูมีอาการเสี่ยงหรือปวยตอง
ดำเนนิ การทนั ที และรายงานใหสถานศกึ ษาทราบเพอื่ ดำเนินการตามมาตรการตอไป
๖) ออกใหบริการตามที่สถานศึกษารองขอ เชน จัดเจาหนาที่ อสม.ประจำหมูบาน ตำบล ตรวจเวร
ยาม บนั ทกึ ตแู ดงตามจดุ ท่โี รงเรียนกำหนด และอื่น ๆ ตามความตอ งการจำเปน
๕.๓ องคกรทางปกครอง
หมายถงึ หนวยงานทางปกครอง ไดแ ก จังหวัด อำเภอ ตำบล หมบู า น และหนว ยงานทอ งถนิ่ ไดแก
องคก ารบรหิ ารสว นตำบล เทศบาล เมอื งพทั ยา กรงุ เทพมหานคร
๑) ประชาสัมพันธส รางความเขาใจใหโรงเรียน และชุมชนในเขตการปกครองมคี วามรคู วามเขา ใจ
เกีย่ วกับการปองกันตนเอง การดูแลสขุ อนามัยของตนเอง และบคุ คลในครอบครัว

โรงเรียนบางปะอนิ “ราชานเุ คราะห ๑” ๔๐

๒) สนบั สนุน ชว ยเหลือโรงเรียนในเขตปกครองตามคำส่ังของจังหวดั อยา งเครง ครดั
๓) กำกบั ตดิ ตามการไดรับวัคซีนของประชาชนในเขตปกครองและมีขอมลู ทางสถติ ิที่อางอิงเช่ือถือได
๔) ใหบ ริการตามที่สถานศกึ ษารองขอตามความตองการเรงดวนและจำเปน
๕.๔ องคก รเอกชน
๑) สนับสนุนอุปกรณทางการแพทย อาทิ ชุดตรวจคัดกรองหาเชื้อที่เหมาะสม อุปกรณวัดอุณหภูมิ
หนา กากอนามัย เจลลางมอื ฯลฯ
๒) สนับสนุนงบประมาณใหแกสถานศึกษาในการนำไปใชบริหารจัดการภายใตสถานการณการแพร
ระบาดของโรคติดเชอ้ื ไวรสั โคโรนา ๒๐๑๙ (COVID-19)
๓) อำนวยความสะดวกใหความชวยเหลือกรณีฉุกเฉิน จำเปนในการสงตัวนักเรียน ครูและบุคลากรท่ี
คาดวาจะไดร ับเชื้อหรอื เปนกลุม เสย่ี งสงหนวยงานสาธารณสุขไดอยางรวดเร็ว
๔) สรางระบบการติดตอสื่อสารหนวยงานภายในจังหวัด อำเภอ ตำบล ใหมีความรวดเร็วในการ
ชว ยเหลอื ดูแล นกั เรยี น ครู บคุ ลากร และผปู กครอง ท่สี ถานศึกษาไดอ ยา งมปี ระสิทธิภาพ

โรงเรียนบางปะอนิ “ราชานุเคราะห ๑” ๔๑


Click to View FlipBook Version