The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

แผนเผชิญเหตุมาตรการป้องกันตามระดับการแพร่ระบาดโควิด-19

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by racha1, 2021-11-21 19:57:33

แผนเผชิญเหตุมาตรการป้องกันตามระดับการแพร่ระบาดโควิด-19

แผนเผชิญเหตุมาตรการป้องกันตามระดับการแพร่ระบาดโควิด-19

คำนำ

จากสถานการณการแพรระบาดของโรคโควิด-19 ทั่วโลก ทวีความรุนแรงเพิ่มมากขึ้นโดยเฉพาะใน
ประเทศสหรฐั อเมริกา อินเดยี เมยี นมา และยโุ รป รวมถึงการแพรร ะบาดของโรคโควดิ -19 ในไทย เกิดการแพร
ระบาดของโรค ระลอกใหม ขยายวงกวางมากขึ้นและรวดเร็ว พบวา มีผูติดเชื้อยืนยันรายใหมวันละหลายรอย
รายอยางตอเนื่อง มีโอกาสเสี่ยงตอการเกิดการแพรระบาดของโรคโควิด-19 อาจสงผลทำใหบุคลากรของ
สถานศึกษาและผูปกครองเกิดความตระหนกและวิตกกังวลตอการแพรระบาดของโรคจึงกำหนดใหถือปฏิบัติ
ตามมาตรการการควบคุมและปองกันการติดเชื้อโรคไวรัสโคโรนา 2019 อยางเขมขนและตอเนื่อง ดังน้ัน
โรงเรียนบางปะอิน “ราชานุเคราะห ๑” เล็งเห็นและตระหนักถึงความสำคัญอยางยิ่งในการปองกันการแพร
ระบาดของโรคโควิด-19 จึงไดจัดทำ “คูมือการเฝาระวังติดตามและแผนเผชิญเหตุรองรับการแพรระบาดของ
โรคโควดิ -19 ในสถานศึกษา” ตามแนวทางของกระทรวงศึกษาธิการ

หวงั เปนอยางย่งิ วา ครแู ละบุคลากรทางการศึกษา และผูเ กี่ยวขอ งจะไดน ำไปใชประกอบและ
เปนแนวปฏิบัติในการเฝาระวัง กำกับติดตาม และเตรียมการเตรียมพรอมตอการเผชิญเหตุรองรับสถานการณ
การแพรระบาดของโรคโควดิ -19 อาจเกดิ ข้นึ ในระลอกใหม อยา งทันเหตุการณ อนั จะสง ผลใหนกั เรยี น บุคลากร
ของสถานศึกษา และผูเกี่ยวของ ปลอดภัย ไมเสี่ยง ไมมีอาการปวยของโรคโควิด-19 และสามารถดำเนินชีวิต
อยางปกตสิ ขุ ตามแนวชีวติ วิถใี หม (New Normal)

แผนเผชิญเหตุรองรบั สถานการณก ารแพรร ะบาดของโรคโควิด 19

สถานการณการแพรระบาดของโรคโควดิ -19 ในประเทศไทย มีแนวโนม ยงั มีความรนุ แรงอยางตอ เนื่อง
ในการเปดภาคเรียนของสถานศึกษา ใหมีแผนรองรับการเรียนการสอนตามปกติ 100% สลับกันมาเรียน และ
เรยี นออนไลนผ า น Racha 1-online

ดังนั้น โรงเรียนบางปะอิน “ราชานุเคราะห ๑” จึงกำหนดใหมีแผนเผชิญเหตุรองรับสถานการณการ
แพรระบาดของโรคโควิด-19 ในโรงเรียน เพื่อเปนการเตรียมการและเตรียมพรอมรองรับสถานการณที่อาจจะ
เกิดขึน้ อันเปน แนวปฏบิ ตั ติ ามมาตรการการปอ งกนั การแพรระบาดของโรคโควิด-19 อยา งเครง ครัด

แนวปฏิบตั ิแผนเผชิญเหตรุ องรบั สถานการณก ารแพรร ะบาดของโรคโควดิ -19 ในสถานศกึ ษา

1. การปองกันเชือ้ โรคไวรสั โคโรนา 2019 (COVID – 19) จากตางประเทศ

มคี รูตา งประเทศ ตองรับการกกั กนั ในสถานที่ทรี่ ฐั จดั ให (State quarantine) เปน เวลา 14 วนั

2. การปอ งกันการแพรร ะบาดของโรคโควิด-19 ภายในประเทศ

 จัดทำการจัดการเรียนการสอนออนไลนผานแพลตฟอรม Racha1-online.school ใน
สถานการณก ารแพรร ะบาดของโรคโควดิ -19

 จดั ทำแนวทางการบรหิ ารจัดการสำหรับโรงเรียนเพื่อปองกนั และควบคุมการแพรระบาดของ
โรคโควิด-19 ในการทำกิจกรรมตาง ๆ เชน การรับนักเรียน การสอบคัดเลือก การมอบตัว
นกั เรยี น ประชมุ ผูปกครอง ฯลฯ กิจกรรมตาง ๆ ที่มีการรวมตวั กันเปนจำนวนมาก

 แผนการเตรียมการรองรับนักเรียนจากตางจังหวัด พื้นที่เสี่ยง ที่กลับเขามาเรียนในพื้นท่ี
โรงเรยี นของการเปด ภาคเรยี น

 ขอความรวมมือกับหนวยงานองคกรปกครองสวนทองถิ่นใหการใหความอนุเคราะห รถฉีด
น้ำทำความสะอาด และเจาหนาท่ีฉีดพนยาฆาเชื้อในโรงเรยี น ตามอาคารสถานที่ หองเรียน
หรือบริเวณพื้นสัมผสั

 ประสานความรวมมือกับสาธารณสุขอำเภอบางปะอิน ในการเตรียมความพรอมใหการเปด
ภาคเรยี น

 แนวทางรบั มือตอบโตภ าวะฉุกเฉนิ กรณีการระบาดของโรคโควดิ -19 ในสถานศึกษา

3. การเฝาระวงั และการสอบสวนโรค

 ปฏิบัติตามมาตรการหลกั ไดแก คัดกรองนักเรียน ผูบริหาร ครู บุคลากร และผูเกี่ยวของ มี
การสวมหนากาก การลางมือ การเวนระยะหาง การทำความสะอาด (หองเรียน
หอ งปฏิบัตกิ าร โรงฝก งาน อาคารเรียน โรงอาหาร พน้ื ทส่ี ว นกลาง) และลดความแออัด

 มีแนวปฏิบตั ิสำหรบั ผบู ริหาร ครู และบุคลากรในสถานศึกษาในการดำเนินการเก่ียวกับโรค
โควิด-19 เชน จัดทำแนวทางการบริหารจัดการสำหรับโรงเรียนเพื่อปองกันและควบคุมการ
แพรระบาดของโรคโควิด-19 มาตรการคัดกรองสุขภาพดานสาธารณสุข การดำเนินการเมอื่
มกี ลมุ เสย่ี งหรือผูปว ยยนื ยันในสถานศึกษา

 การปดสถานศกึ ษาท่เี กดิ การระบาดและควบคุมการระบาดในสถานศกึ ษา
 รายงานการประเมินสถานการณ ผลการดำเนินงาน ปญหาอุปสรรค และใหขอเสนอแนะ

แกหนวยงาน ตนสังกดั และคณะกรรมการโรคตดิ ตอ ระดับจงั หวดั เพ่ือการตัดสินใจ

4. การสรา งความรวมมอื จากทุกภาคสวน

 ประสานงานและตดิ ตามขอมูลระหวา งโรงเรยี นและหนวยงานตา งๆ
 โรงเรียนจับคูโรงพยาบาลบางปะอิน ในความรวมมือปองกันการแพรระบาดของ

โรคโควดิ -19
 แตง ต้ังแตง ตง้ั คณะกรรมการอำนวยการและการเฝา ระวงั การปองกนั การแพรร ะบาดของโรค

ติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) เพื่อดำเนินการติดตามสถานการณ วางแผนรองรับ
การทำกิจกรรมตางๆ ในโรงเรียน จัดทำปายประชาสัมพันธใหความรู ขอมูลผูติดเชื้อ
ประกาศตา งๆ ตามแนวทางของกระทรวงสาธารณสขุ ผวู าราชการจงั หวดั พระนครศรอี ยุธยา
กระทรวงศึกษาธิการ สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน สำนักงานเขตพื้นท่ี-
การศึกษามัธยมศึกษาพระนครศรีอยุธยา คณะกรรมการควบคุมโรคจังหวัด
พระนครศรอี ยุธยา









แนวปฏบิ ตั ิการผอนคลายมาตรการสำหรบั สถานศึกษา

แนวปฏิบตั สิ ำหรับสถานศึกษาในการเปดภาคเรยี นใหน ักเรยี นมาเรยี นในหองเรียนหรอื On site 100 % มีดงั นี้
1. ใหมกี ารจัดการเรยี นการสอนไดป กติ on site โดยจดั การเรยี นการสอนรูปแบบผสมผสาน (Hybrid)

แบงกลุมและสลับกลุมนักเรยี น โดยนักเรียนเลขที่คูเรียนวันคู นักเรียนเลขที่คี่เรียนวันคี่ นักเรียนที่มาโรงเรียน
ใหเ รียนตามตารางปกติ สว นนักเรียนทไ่ี มไ ดม าโรงเรียนใหเรียนผานแพลตฟอรม Racha 1 - online

2. การจัดหองเรียน หรือทำกิจกรรมรวมกันในรูปแบบ Small Bubble หลีกเลี่ยงการทำกิจกรรมขาม
หองเรียน หรือแบงกลุมและสลับกลุมนักเรียน หองหนึ่งจะมีนักเรยี นจำนวนไมเกิน 25 คน จัดใหเวนระยะหาง
ระหวา งนักเรยี นในหองเรียนไมน อยกวา 1.5 เมตร

3. กรณีใชเ คร่อื งปรับอากาศ ตอ งระบายอากาศในอาคารกอนและหลังการใชงาน อยา งนอ ย 2 ชั่วโมง

หรือเปดประตูหนาตางระบายอากาศชวงพักเที่ยงหรือชวงท่ีไมมีการเรียนการสอน กำหนดเวลาเปด-ปด
เครอื่ งปรับอากาศ และทำความสะอาดสมำ่ เสมอ

4. มาตรการเสริม ดังน้ี
- การคัดกรอง แยกผูปวย สง รักษา
- การสวมหนา กากอนามยั ลา งมอื บอย ๆ ลดการจับกลุมพูดคยุ กันโดยไมจ ำเปน
- ลดกจิ กรรมรวมกันหลายหอ ง
- กรณี มีการเดนิ เรียนใหทำความสะอาดพื้นผิวโตะ เกา อ้ี หรืออปุ กรณท ่ีใชร ว มกันหลงั จบการเรียนการ
สอนทุกคาบ
- ทกุ หอ งเรียน ใหท ำความสะอาดพน้ื ผิวโตะ เกาอ้ี หรืออุปกรณท ใ่ี ชรวมกันหลังเลกิ เรยี นทุกวนั
5. ใหมีการบนั ทึกการปวยดวยโรคทางเดินหายใจ การสง ตอตรวจหาโควิด 19 และสรุปผลการตรวจ
ทุกสัปดาห สงตนสงั กัด กรณีมเี ดก็ ปวยหรือขาดเรยี นมากกวาปกติใหประสานสำนักงานสาธารณสุขอำเภอ หรอื
จังหวัดในพื้นท่ี
6. ใหมกี ารดำเนนิ การผอ นคลายมาตรการ กำกบั โดยคณะกรรมการสถานศึกษาและหนวยงาน
สาธารณสขุ ในพืน้ ที่
7. การปรับมาตรการใหพ จิ ารณาตามสถานการณการระบาดและขอมูลที่มีอยูในขณะน้นั เปน ระยะๆ



แนวทางปฏิบตั กิ ารปด หรอื เปดโรงเรียนบางปะอิน “ราชานุเคราะห ๑”
กรณเี กิดโรคโควิด – 19

ผูสมั ผสั ท่มี ีความเสีย่ งตอการตดิ เชอื้ สงู (High risk contact) (ผสู ัมผสั เส่ยี งสูง) หมายถงึ ผสู มั ผสั ใกลช ดิ กับผูปว ย
ยนื ยนั โรคโควิด-19 ตามลักษณะขอ ใดขอหนึง่ ดงั นี้

- ผทู ีเ่ รยี นผอู าศยั รวมหอ งพัก หรือทำงานในหอ งเดยี วกนั คลกุ คลกี นั
- ผูสัมผัสที่มีการพูดคุยกับผูปวยในระยะ เมตร นานกวา ๕ นาที หรือถูกไอ จาม รด จากผูปวยโรค
โควิด 19 หรอื ถกู ไอ จาม รด จากผปู ว ยโรคโควดิ 19
- ผูที่อยูในบริเวณที่ปดไมมีการถายเทอากาศ เชน ในรถปรับอากาศผูที่อยูในบริเวณที่ปดไมมีการ
ถายเทอากาศ เชน ในรถปรับอากาศ ในหองปรับอากาศ รวมกับผูปวยโรคโควิด 19 และอยูหางจากผูปวยไม
เกนิ 1 เมตร นานกวา ๑๕ นาที โดยไมม กี ารปองกนั เชน ไมส วมหนากากอนามยั หรอื หนา กากผา
ผูสัมผัสที่มีความเสี่ยงตอการติดเชื้อต่ำ (Low risk contact) (ผูสัมผัสเสี่ยงต่ำ) หมายถึง ผูที่ทำกิจกรรมอื่นๆ
รวมกับผูปว ยโรคโควดิ 19 แตไ มเ ขาเกณฑความเส่ียงสูง
ผูใ กลช ิด
- ผใู กลช ิดกับผูสมั ผสั เสยี่ งสงู จดั เปน ผทู ่ีมีความเส่ียงตอการตดิ เชอ้ื ต่ำ
- ผใู กลชิดกับผูสมั ผัสเสี่ยงตำ่ จัดเปนไมม ีความเสีย่ ง (NO risk)

แนวทางปฏบิ ัตเิ มือ่ พบผปู วยยืนยันโรคโควดิ -19 ในสถานศึกษา

ใหป ดหอ งเรียน/ชนั้ เรยี น/สถานศกึ ษา กรณีพบผปู ว ยยืนยันโรคโควิด-19
1. เมื่อพบผูปวยยืนยันโรคโควิด-19 จำนวน 1 รายข้นึ ไป ใหปดหอ งเรียน เปนเวลา 3 วัน เพ่อื ทำความ

สะอาด
2. เมือ่ พบผูปว ยยืนยันโรคโควิด-19 มากกวา 1 หอ งเรยี น ใหปดชัน้ เรียน เปน เวลา 3 วัน เพอ่ื ทำความ

สะอาด
3. หากมหี ลกั ฐานและความจำเปน ตองปดสถานศึกษา ใหขอความเห็นชอบจากคณะกรรมการ

โรคติดตอจังหวัด
ไมตองปด หอ งเรียน/ชัน้ เรียน/สถานศึกษา กรณีที่ไมพ บผปู วยยืนยนั โรคโควิด-19 ในสถานศึกษา
โดยมีแนวทางดำเนนิ การ ดังนี้

1. ผสู มั ผัสที่มคี วามเสยี่ งตอ การติดเช้ือสูง (High risk contact) ในสถานศึกษา ดังนี้

ㆍ ผูสัมผสั ทม่ี ีความเสี่ยงตอการติดเช้อื สูง (High risk contact ใหส ังเกตอาการท่บี านเวลาอยา งนอย
14 วนั หากพบอาการผดิ ปกติ ใหไ ปพบแพทยเพื่อตรวจวนิ จิ ฉยั ระหวางรอผล ใหกักตวั ท่บี าน

ㆍสถานศึกษา ดำเนนิ กจิ กรรมไดตามปกตแิ ละสื่อสารใหผูทเ่ี ก่ียวของเขาใจความเสย่ี งและแนว
ทางการดำเนนิ การในระยะตอไป

2. ผูสัมผัสที่มคี วามเสยี่ งตอการตดิ เชื้อตำ่ (Low risk contact) ใหสงั เกตอาการ เปนเวลา 14 วนั ไม
จำเปนตองหยดุ เรียน และไมจำเปนตองปดสถานศึกษา (รักษาตามอาการ หายปวยแลวเรยี นตอได)

3. ผใู กลชดิ

ㆍ ผูใกลชดิ กบั ผูสัมผสั เสยี่ งสงู จดั วา มีความเส่ยี งตำ่ ไมจำเปนตอ งหยุดเรยี น แตใ หสังเกตอาการ
เปนเวลา 14 วนั

ㆍผใู กลช ิดกบั ผูส ัมผัสเส่ียงต่ำ จัดวา ไมมีความเสย่ี งไมจ ำเปน ตองหยุดเรยี น แตใหส ังเกตอาการ เปน
เวลา 14 วัน
หมายเหตุ ท้งั นี้ในทุกกรณี ขอใหด ำเนนิ การบนพื้นฐานของขอมลู การสอบสวนทางระบาดวิทยาและ
สถานการณโ รคในพ้ืนที่



การปฏบิ ัติตนหลงั การตรวจหาเชือ้ โควดิ -19
ดว ย Antigen Test Kit : ATK

กรณีผลตรวจ พบ ผลบวก +

1. ผูต รวจพบเชื้อ แจง ประสานติดตอสถานบริการสาธารณสุขอำเภอบางปะอนิ หรือโรงพยาบาล

บางปะอิน
2. ผูตดิ เชื้อโควดิ -19 ไดร บั การคดั กรอง รับการรกั ษา จำแนกตามสี

สเี ขียว มีอาการเริ่มตน แยกกักตวั ที่บา น (Home Isolation: HI)

สีเหลือง มอี าการเปล่ียนแปลงมากข้นึ มีขอจำกัดการทำ HI เขาศูนยพ ักคอยการสง ตัว
(Community Isolation)

สสี ม มีอการรุนแรง เขา รับการรกั ษาโรงพยาบาลสนาม (Hospitel)

สีแดง มอี าการหนัก ฉุกเฉนิ เรงดวน เขารบั การรักษาโรงพยาบาลหลกั (Hospital)
3. แยกกกั ตวั จากผูอื่น เพอ่ื ลดการแพรกระจายเช้ือ เชน

- แยกของใชสว นตัวและแยกการใชห องนำ้

- สวมหนากากอนามัยตลอดเวลา
- สงั เกตอาการตนเอง วัดอณุ หภูมิรางกาย ถา มีอาการหายใจลำบาก ควรตดิ ตอ ขอรบั

การรักษา

- แจงผูใกลช ดิ กบั ตนเอง ใหท ราบความเสีย่ งจากการสัมผสั
- ควรไดรับการตรวจ โดยวธิ ี RT-PCR ตอไป

กรณผี ลตรวจ พบ ผลลบ –

1. เปนผสู มั ผสั เส่ยี งสูง อาจอยูในระยะฟกตวั และทดสอบซ้ำ ภายหลัง 3-5 วนั

2. พบอาการแสดงรว มดว ย ควรทำการทดสอบซ้ำทนั ที และถา มีประวัตเิ สย่ี ง ควรแยกกักตัว เพื่อ

ปอ งกันการแพรเช้อื








Click to View FlipBook Version