The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

รวมสมุนไพรต้านโรค

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by phicha.aiam, 2021-08-25 03:09:49

รวมสมุนไพรต้านโรค

รวมสมุนไพรต้านโรค

ยาสมนุ ไพร ปลอดภัย เมอื่ ใช้ถูกหลกั

“สมุนไพร” ทางเลอื กในการรกั ษาและป้องกนั โรคท้ังในรูปแบบของยาและผลิตภัณฑอ์ าหารเสรมิ ทีเ่ ป็นกระแสนยิ ม
ของคนทั่วไปในปัจจบุ ันและเมื่อกล่าวถึง “สมนุ ไพร” ก็อาจจะคิดวา่ เป็นเพยี งพืชหรือต้นไม้ทม่ี าจากธรรมชาติ
เทา่ นั้น ทาใหร้ สู้ ึกปลอดภัยในการเลอื กใช้ ทาให้พบปัญหาจากการนาสมุนไพรมาใช้อย่างไมถ่ ูกตอ้ งหรอื ไมถ่ กู วิธี
จนทาใหเ้ กดิ โทษตอ่ ตวั ของผู้ใช้ โดยพบรายงานทางคลนิ กิ เก่ียวกบั อาการไม่พึงประสงค์จากการใช้สมุนไพรที่เพ่มิ
มากข้นึ โดยเฉพาะอย่างย่ิงในกลมุ่ ผทู้ ีน่ าไปใชส้ าหรับเปน็ ยารกั ษาโรค ซ่ึงในความจรงิ แลว้ ตามพระราชบัญญัติ
ผลติ ภัณฑส์ มนุ ไพร พ.ศ. 2562 ใหค้ วามหมายของ “สมุนไพร” หมายความว่า ผลติ ผลธรรมชาตทิ ีไ่ ด้จากพชื
สตั ว์ จลุ ชพี หรอื แร่ ท่ใี ช้ ผสม ปรุง หรอื แปรสภาพ เปน็ ผลิตภณั ฑส์ มุนไพร และ “ผลติ ภณั ฑส์ มุนไพร ”
หมายความว่า (1) ยาจากสมุนไพร และให้หมายความรวมถึงยาแผนไทย ยาพัฒนาจากสมนุ ไพร ยาแผนโบราณ
ทีใ่ ชก้ บั มนษุ ย์ตามกฎหมายวา่ ด้วยยา หรอื ยาตามองคค์ วามร้กู ารแพทยท์ างเลอื กตามที่ รฐั มนตรีโดยคาแนะนา
ของคณะกรรมการประกาศกาหนด เพอ่ื การบาบดั รกั ษา และบรรเทาความเจบ็ ป่วยของมนุษย์ หรือการป้องกนั
โรค (2) ผลิตภณั ฑจ์ ากสมุนไพรหรอื ผลติ ภัณฑ์ทมี่ ีสว่ นประกอบสาคัญท่ีเป็นหรอื แปรสภาพ จากสมนุ ไพร ซง่ึ
พร้อมทีจ่ ะนาไปใชแ้ ก่มนุษยเ์ พ่อื ให้เกิดผลต่อสขุ ภาพหรือการทางานของรา่ งกายใหด้ ีข้ึน เสรมิ สรา้ งโครงสร้างหรือ
การทางานของรา่ งกาย หรอื ลดปัจจยั เส่ยี งของการเกิดโรค และนอกจากน้ีหากประสงคท์ ีจ่ ะการเลือกใชย้ า
สมุนไพรเพื่อม่งุ ประโยชนท์ างด้านการรักษาต้องอาศัยความรแู้ ละความชานาญของผูเ้ ชีย่ วชาญเฉพาะด้านท่ี
สามารถตัง้ ตารบั ยาหรอื วิธกี ารบริหารยาทีถ่ กู ต้องเหมาะสมทเี่ ฉพาะกับบุคคลและอาการของโรคอกี ด้วย





การไดร้ ับขอ้ มลู ทีไ่ ปไม่ครบถว้ นหรอื การแชรข์ ้อมลู ปากต่อปาก จนอาจทาให้ละเลยเรือ่ งความปลอดภยั ของการ

เลอื กใช้ ขนาด และวธิ ีการใชท้ ีถ่ ูกตอ้ งเหมาะสมดงั ท่ยี ังพบเหน็ ได้บ่อยของรายงานหรอื เหตุการณ์ไม่พึงประสงค์

อาการขา้ งเคียงของการใชส้ มุนไพร ตวั อย่างเช่น กรณีของกระแสการใช้ “หนานเฉาเหว่ย (Vernonia

amygdalina) หรือ ปา่ ชา้ เหงา”ในการรักษาโรคเบาหวานหรือลดระดับนา้ ตาลในเลือด แตก่ ลับพบวา่ การนาไปใช้
แบบผิดวธิ สี ่งผลทาให้ค่าการทางานของตับและไตสงู เพิ่มขนึ้ จนอาจเป็นอันตรายถงึ แก่ชีวติ ได้ หรอื กระแสข่าว

โซเชยี ลของการปอ้ งกนั โรคไวรัสโควิด-19 ด้วยการรบั ประทานฟ้าทะลายโจร โดยข้อเทจ็ จริงนนั้ ฟ้าทะลายโจรเป็น

สมนุ ไพรทไี่ ดร้ ับการศึกษาว่ามีฤทธใ์ิ นการรักษาไข้หวดั ธรรมดา (common cold) อาการไอ เจบ็ คอในโรคติดเชื้อ

เฉยี บพลนั ของระบบทางเดนิ หายใจและมีแค่เพียงการศึกษาฤทธ์ิในการต้านไวรัสกลุ่มไขห้ วัดเฉพาะในหลอดทดลอง

และสัตว์ทดลองเท่าน้นั และไมแ่ นะนาใหน้ ามารับประทานเพ่อื เสริมสร้างภมู คิ มุ้ กันหรือรับประทานตดิ ต่อกันเกนิ 7

วนั สาหรับอนั ตรายทเ่ี กิดจากการใชส้ มนุ ไพรน้นั จากขอ้ มลู การศึกษาทมี่ ีหลกั ฐานชัดเจน จากข้อมูลทอี่ า้ งองิ จาก

การทดลองหรอื กรณศี กึ ษา การแบง่ จาแนกเปน็ 7 กล่มุ โดยท่ีสมุนไพร 1 ชนดิ อาจกอ่ ให้เกดิ อนั ตรายไดม้ ากกวา่

1 กลมุ่ ไดแ้ ก่

1. สมนุ ไพรท่ที าให้เกดิ ปฏิกิรยิ าการแพ้ (Allergic reactions)

2. สมนุ ไพรทท่ี าใหเ้ กิดความเปน็ พิษ (Toxic reactions) เชน่ สมนุ ไพรที่เกดิ ความเปน็ พิษตอ่ ตบั จากรายงานการ
ใช้สมุนไพรใบข้เี หล็ก ในปี พ.ศ.2542 ในรปู แบบยาเมด็ (ยาเด่ียว) กอ่ ใหเ้ กิดภาวะตบั อกั เสบเฉยี บพลัน หรอื
สมุนไพรทเ่ี กดิ ความเป็นพษิ ตอ่ ไต ควรระวังการใชใ้ นผู้ปว่ ยโรคไต เช่น ชะเอมเทศ มะขามแขก นา้ ลูกยอ
มะเฟอื ง เป็นต้น

3. สมนุ ไพรท่ีทาใหเ้ กดิ อาการไมพ่ งึ ประสงค์ ( Adverse effects) คอื การใชส้ มนุ ไพรบางชนิดอาจทาใหเ้ กิด
อาการขา้ งเคยี ง หรอื ฤทธ์ไิ มพ่ ึงประสงค์ท่ีสมั พนั ธ์และไม่สมั พันธก์ ับฤทธท์ิ างเภสัชวทิ ยาทต่ี ้องการ เชน่ กระที
ยม แปะกว๊ ยกอ่ ให้เกิดอาการไมพ่ งึ ประสงคเ์ กิดเลือดออกได้งา่ ย เปน็ ตน้

4. การเกิดปฏิกริ ยิ าระหว่างยากับสมนุ ไพร (Herb and drug reactions) 2 รปู แบบ คือ ปฏกิ ริ ยิ าทางเภสัช
จลนศาสตร์ (Pharmacokinetic interactions) โดยยาหรือสมุนไพรมผี ลเปลยี่ นแปลงการดูดซึม การ

กระจายตวั เมแทบอลซิ มึ (Metabolism) และการกาจดั ยาออกจากรา่ งกาย ซ่ึงทาให้ปริมาณของยาหรือ

สมนุ ไพรท่อี อกฤทธ์ิเพิม่ ขนึ้ หรือลดลง และ ปฏิกิริยาทางเภสัชพลศาสตร์ ( Pharmacodynamic

interactions) โดยยาหรือสมนุ ไพรมีผลเปล่ียนแปลงการออกฤทธ์ิของยาที่เน้อื เย่ือหรืออวยั วะเปา้ หมาย ทาให้

ยาหรอื สมุนไพรแสดงฤทธิเ์ พ่ิมขึน้ (Synergistic effects) หรอื ลดลง (Antagonist effects) เช่น การเกดิ

เลือดออกงา่ ยหรือเลือดไหลไมห่ ยุด จากการรับประทานสมนุ ไพร เชน่ แปะก๊วย เกา๋ ก้ี กระเทยี ม ร่วมกับยา

ละลายลม่ิ เลือดหรือต้านการแขง็ ตวั ของเลอื ด เช่น Aspirin Warfarin หรือการรบั ประทานชาหรอื ชาเขียว

ร่วมกบั ยา Warfarin จะสง่ ผลยับยง้ั ประสทิ ธภิ าพในการรักษาของยาเป็นตน้

5. การใชส้ มุนไพรผดิ ชนดิ ผดิ วธิ ี (Mistaken plants, Mistaken preparation) ซง่ึ เกดิ จากความเขา้ ใจผดิ
เก่ยี วกบั ชนิดของสมนุ ไพรทม่ี ลี ักษณะทคี่ ล้ายคลงึ กัน และมีความคล้ายคลึงกับพชื มีพิษบางอย่าง และจากการ
ใช้สมนุ ไพรไมถ่ ูกชนิดได้ รวมท้ังการนามาใช้โดยผดิ วิธีเช่น การใชผ้ ิดสว่ น การนามาปรุงยาแบบผดิ วธิ ี

6. การปนเป้อื นในสมนุ ไพร (Contamination) ได้แก่ สารโลหะหนกั ยาฆ่าแมลง หรอื เชอ้ื จลุ ินทรีย์ท่เี กินปรมิ าณ
ที่กาหนดมากับตวั สมนุ ไพรหรอื ผลติ ภณั ฑ์ โดยอาจสง่ ผลให้เกิดอนั ตรายต่อรา่ งกายทง้ั แบบเฉยี บพลัน และ
สารบางอย่างอาจมกี ารสะสมและก่อใหเ้ กิดอันตรายในระยะยาว

7. สมุนไพรทีม่ ีการปลอมปน (Adulterants) สมุนไพรหรือผลติ ภัณฑส์ มนุ ไพรทีม่ ีการอวดอ้างสรรพคณุ เกนิ จริง
เชน่ มีการกล่าวอ้างวา่ สามารถรกั ษาโรคได้หลายชนิด หรือรกั ษาโรคไดห้ ายรวดเรว็ ทันใจ ซ่ึงจากการ
ตรวจสอบหลายตวั อยา่ งจะพบการปนปลอมของสารทม่ี ฤี ทธิ์ทางเภสชั วิทยาและสง่ ผลต่อการรรกั ษา เช่น
ยาสเตียรอยด์ที่ทาใหเ้ กดิ อนั ตรายตอ่ ร่างกายได้หากใช้ไม่ถูกตอ้ ง ดังนน้ั เพอ่ื ให้ผทู้ ี่ประสงค์จะใช้สมุนไพรมี
ความเข้าใจและสามารถใช้สมุนไพรได้ถูกตอ้ งและปลอดภยั นอกจากการศกึ ษารายละเอียดเก่ียวกบั สมุนไพรน้นั
ๆ ว่าเหมาะสมต่อการนามาใช้หรอื ไม่ และรู้ถึงการใช้อยา่ งถูกต้อง หรือมีหลักในการเลือกใชย้ าสมุนไพรหรอื
ผลติ ภัณฑส์ มนุ ไพร (หลกั 5 ถูก) ดังนี้

1. ถกู ต้นเน่อื งจากสมุนไพรสว่ นใหญม่ ีชื่อพ้องหรอื ซา้ กัน ช่ือเฉพาะทอ้ งถน่ิ ทอ่ี าจเรยี กชื่อแตกตา่ งกันทั้ง ที่เปน็
พืชชนิดเดียวกัน หรอื บางครงั้ ชอ่ื เหมอื นกนั แตเ่ ปน็ พชื คนละชนดิ เพราะฉะนั้นจะใช้สมุนไพรอะไรก็ตอ้ งใช้ให้ถกู ต้น
จรงิ โดยอาจใช้ชอ่ื พฤกษศาสตรข์ องพืชแต่ละชนดิ เป็นชือ่ เรียกเพอ่ื ปอ้ งกันความสบั สน และตรวจสอบ
เอกลักษณพ์ ชื โดยเปรียบเทียบกบั ตัวอยา่ งพชื ทีอ่ ยู่ในสวนพฤกษศาสตร์หรือในหนงั สอื พฤกษศาสตร์ท่ีเชอื่ ถือได้

2. ถูกส่วนสว่ นของพชื สมุนไพรแต่ละส่วนราก ดอก ใบ เปลอื ก ผล หรือเมล็ด หรือความสุก แก่ ออ่ น ดิบของ
สมนุ ไพร อาจมอี งคป์ ระกอบทางเคมหี รือสารสาคญั ทเี่ หมือนหรือแตกต่างกนั ได้ หรือในพชื บางชนดิ ส่วนต่าง ๆ
ของพชื อาจมีสารสาคัญทีเ่ หมือนกันแต่มีปรมิ าณแตกต่างกัน จงึ ทาให้ความแรงหรอื ประสทิ ธิภาพในการรักษา
แตกตา่ งกันได้ หรอื ในพืชบางชนดิ บางสว่ นใช้เปน็ ยา บางส่วนมีพิษ

3. ถกู ขนาด คือ แม้ว่ายาสมนุ ไพรหลายชนดิ จะไม่อนั ตราย แต่ปริมาณ/ขนาดของการใชท้ ี่มากเกินขนาดอาจ
เกดิ อันตรายต่อร่างกายได้หรอื ผลการรักษา โดยเฉพาะในเด็กเล็กทีม่ คี วามทนตอ่ ยานอ้ ยกวา่ ผู้ใหญ่ และระยะเวลา
การใช้ ที่ไมใ่ ห้ใชต้ ิดตอ่ กนั นานเกนิ กว่าคาแนะนาทก่ี าหนดควรหยดุ ยาเพอื่ ใหร้ ่างกายไดพ้ ักและกาจดั ยาออกจาก

รา่ งกาย หากจาเปน็ หรอื มีความประสงค์ทจ่ี ะใชส้ มุนไพรเป็นเวลานาน ควรมีการตรวจร่างกายทง้ั กอ่ น ระหวา่ ง
และหลงั การใชส้ มนุ ไพรเป็นระยะ ๆ ได้แก่ ตรวจการทางานของตบั เชน่ ตรวจเอนไซมต์ บั A(ST, ALT) การทางาน
ของไต (BUN, Cr) ความดันโลหิต ระดบั น้าตาลในเลอื ด เป็นต้น

4. ถกู วิธวี ิธีการใชย้ าหรือการนาสมนุ ไพรมาปรุงประกอบยาใหถ้ ูกต้องถกู ตามหลัก เชน่ บางชนดิ ตอ้ งใชต้ น้ สด คน้ั
นา้ ต้มเค่ียว ต้มกบั นา้ หรือดองเหลา้ เปน็ ตน้ ในกรณีทตี่ อ้ งการปรบั เปล่ยี นเป็นวิธอี ่นื ท่ีแตกต่างจากวิธีโบราณ
หรอื ดงั้ เดมิ จาเปน็ ต้องศกึ ษาถึงประสทิ ธิภาพและความปลอดภยั กอ่ นจะใชจ้ รงิ เนือ่ งจากสารเคมที ่อี ยู่ในพชื แตล่ ะ
ชนดิ มคี วามหลากหลาย การเปลยี่ นวธิ เี ตรียมยาอาจทาให้สารที่ถูกสกดั ออกมาแตกตา่ งกัน ซงึ่ บางคร้ังอาจเกดิ
อันตรายได้

5. ถกู โรคเชน่ หากตอ้ งการบรรเทาอาการท้องผกู กต็ ้องใชส้ มุนไพรที่มีฤทธช์ิ ว่ ยระบาย ถ้าไปใชส้ มนุ ไพรท่ีมรี ส
ฝาดจะทาให้ท้องย่ิงผูกมากข้ึนหรอื ถ้าหากจะใชร้ ่วมกับการรกั ษาโรค หรือม่งุ หวังผลเพ่ือการรักษาโดยตรง
แนะนาให้หรือขอคาแนะนาจากผ้เู ชย่ี วชาญ เช่น แพทย์แผนไทยประยุกต์ แพทยแ์ ผนไทย หรอื เภสัชกร เปน็ ต้น
เพือ่ ความปลอดภยั และประโยชนส์ ูงสุด

ขอบคุณข้อมลู จาก มหาวทิ ยาลัยมหิดล














Click to View FlipBook Version