The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

หนังสือเรียนสาระการประกอบอาชีพ รายวิชาทักษะการประกอบอาชีพ อช11002

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by anch2552, 2022-04-29 04:03:02

หนังสือเรียนสาระการประกอบอาชีพ รายวิชาทักษะการประกอบอาชีพ อช11002

หนังสือเรียนสาระการประกอบอาชีพ รายวิชาทักษะการประกอบอาชีพ อช11002

1

หนังสอื เรียนสาระการประกอบอาชพี

รายวิชา ทักษะการประกอบอาชีพ

(อช11002)

ระดบั ประถมศึกษา

หลักสตู รการศกึ ษานอกระบบระดบั การศึกษาขน้ั พน้ื ฐาน
พทุ ธศกั ราช 2551

สาํ นกั งานสง เสรมิ การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั
สาํ นกั งานปลดั กระทรวงศกึ ษาธกิ าร
กระทรวงศกึ ษาธกิ าร

หามจําหนาย

หนงั สือเรียนเลมนี้จดั พิมพดวยเงนิ งบประมาณแผนดินเพ่ือการศกึ ษาตลอดชวี ติ สาํ หรับประชาชน
ลิขสิทธ์ิเปน ของ สํานักงาน กศน. สํานักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ

เอกสารทางวชิ าการลาํ ดบั ท่ี 22/2554

หนังสือเรยี นสาระการประกอบอาชีพ

2

รายวิชา ทกั ษะการประกอบอาชีพ (อช11002)

ระดับประถมศึกษา

ลขิ สิทธ์ิเปน ของ สาํ นักงาน กศน. สํานักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ
เอกสารทางวิชาการลาํ ดบั ท่ี 22/2554

3

คํานํา

สํานักงานสงเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ไดดําเนินการจัดทํา
หนังสือเรียน ชุดใหมนี้ข้ึน เพ่ือสําหรับใชในการเรียนการสอนตามหลักสูตรการศึกษานอกระบบ
ระดับการศึกษาขั้นพืน้ ฐาน พุทธศักราช 2551 ที่มีวัตถุประสงคในการพัฒนาผูเรียนใหมีคุณธรรม
จริยธรรม มีสติปญญาและศักยภาพในการประกอบอาชีพ การศึกษาตอ และสามารถดํารงชีวิตอยูใน
ครอบครัว ชุมชน สังคมไดอยางมีความสุข โดยผูเรียนสามารถนําหนังสือเรียนไปใช ดวยวิธีการศึกษา
คนควาดวยตนเอง ปฏิบัติกิจกรรมรวมท้ังแบบฝกหัดเพื่อทดสอบความรูความเขาใจในสาระเน้ือหา
โดยเมื่อศึกษาแลวยังไมเขาใจ สามารถกลับไปศึกษาใหมได ผูเ รยี นอาจจะสามารถเพ่ิมพูนความรูหลังจาก
ศึกษาหนังสือเรียนน้ี โดยนําความรูไปแลกเปลี่ยนกับเพ่ือนในชั้นเรียน ศึกษาจากภูมิปญญาทองถ่ิน
จากแหลง เรยี นรูแ ละจากส่อื อน่ื ๆ

ในการดําเนินการจัดทําหนังสือเรียนตามหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษา
ขัน้ พืน้ ฐาน พุทธศักราช 2551 ไดรับความรวมมือที่ดีจากผูท รงคุณวุฒิและผูเ กี่ยวของหลายทานที่คนควา
และเรียบเรียงเนื้อหาสาระจากสื่อตางๆ เพ่ือใหไดส่ือที่สอดคลองกับหลักสูตร และเปนประโยชน
ตอผูเ รียนทีอ่ ยูนอกระบบอยางแทจริง สํานักงานสงเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย
ขอขอบคุณคณะท่ีปรึกษา คณะผูเรียบเรียง ตลอดจนคณะผูจัดทําทุกทานท่ีไดใหความรวมมือดวยดี
ไว ณ โอกาสน้ี

สํานักงานสงเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย หวังวาหนังสือเรียน
ชุดนีจ้ ะเปนประโยชนในการจัดการเรียนการสอนตามสมควร หากมีขอเสนอแนะประการใด สํานักงาน
สงเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ขอนอมรับไวดวยความขอบคุณยิ่ง

สํานักงาน กศน.

สารบญั 4

คาํ นาํ หนา
คําแนะนําการใชห นังสือเรียน
โครงสรา งรายวชิ าทกั ษะการประกอบอาชีพระดบั ประถมศึกษา 6
บทท่ี 1 ทกั ษะในการเขา สูอ าชพี 7
8
เรื่องท่ี 1 ความจําเปนในการฝกทักษะอาชีพ กระบวนการผลิต
กระบวนการตลาดที่ใชนวัตกรรม เทคโนโลยี 9
12
เรื่องที่ 2 ความหมาย ความสําคัญของการจัดการอาชีพ 17
เร่ืองท่ี 3 แหลงเรียนรูและสถานท่ฝี ก อาชีพ 21
เร่ืองท่ี 4 การวางแผนในการฝกทักษะอาชีพ 24
เร่ืองที่ 5 การฝกทักษะอาชีพ 30
บทท่ี 2 การทําแผนธุรกจิ เพ่ือการเขา สูอาชพี 31
เรื่องที่ 1 การวิเคราะหชุมชน
เร่ืองท่ี 2 การกาํ หนดวสิ ยั ทัศน พนั ธกิจ เปาหมาย กลยุทธ 35
39
ในการกาํ หนดแผนธรุ กจิ ชมุ ชน 43
เรื่องท่ี 3 การวางแผนปฏิบัติการ 44
บทท่ี 3 การจัดการการผลติ หรือการบรกิ าร 50
เร่ืองท่ี 1 การจัดการเกี่ยวกับการควบคุมคุณภาพ 53
เร่ืองท่ี 2 การใชน วัตกรรมเทคโนโลยีในการผลติ 56
เร่ืองท่ี 3 การลดตนทนุ การผลติ หรือการบรกิ าร 59
เรื่องท่ี 4 การจัดทาํ แผนการจัดการการผลติ หรือการบรกิ าร 60
บทท่ี 4 การจดั การการตลาด 66
เร่ืองที่ 1 การจัดการการตลาด 70
เรื่องที่ 2 การจัดทําแผนการจัดการการตลาด 71
บทท่ี 5 การขบั เคล่อื นสรางธุรกจิ เพื่อเขาสอู าชีพ 74
เร่ืองที่ 1 การวิเคราะหความเปนไปไดของแผนปฏิบัติการ 77
เร่ืองที่ 2 การพัฒนาแผนปฏิบัติการ 79
เรื่องที่ 3 ข้นั ตอนการขบั เคล่ือนการสรา งธุรกิจ
เร่ืองที่ 4 ปญหา อุปสรรค และแนวทางแกไข

บทท่ี 6 โครงการเขา สูอ าชพี 5
เร่ืองท่ี 1 ความสําคัญของโครงการ
เร่ืองท่ี 2 ขั้นตอนการเขียนโครงการ หนา
84
เร่ืองท่ี 3 การเขียนแผนปฏิบัติการ 84
เร่ืองท่ี 4 การตรวจสอบโครงการ 87
บรรณานกุ รม 94
96
97

6

คําแนะนาํ การใชหนงั สือเรยี น

หนังสือเรียนสาระการประกอบอาชีพ รายวิชาทักษะการประกอบอาชีพ ระดับประถมศึกษา เปน
แบบเรียนทีจ่ ดั ทาํ ข้นึ สาํ หรบั ผูเ รยี นทีเ่ ปนนักศึกษานอกระบบ

ในการศึกษาหนังสือเรียนสาระการประกอบอาชีพ รายวิชาทักษะการประกอบอาชีพ ผูเรียนควร
ปฏบิ ัติดังนี้

1. ศึกษาโครงสรางรายวิชาใหเขาใจในหัวขอและสาระสําคัญ มาตรฐานการเรียนรูร ะดับ ผล
การเรยี นรูทีค่ าดหวัง และขอบขายเนอื้ หาของรายวชิ าน้ัน ๆ โดยละเอยี ด

2. ศึกษารายละเอียดเนื้อหาของแตละบทอยางละเอียด และทํากิจกรรมตามที่กําหนด แลว
ตรวจสอบกับแนวตอบกิจกรรมตามที่กําหนด ถาผูเรียนตอบผิดควรกลับไปศึกษาและทําความเขาใจใน
เนื้อหานน้ั ใหมใหเขา ใจ กอนทจี่ ะศกึ ษาเร่อื งตอ ๆ ไป

3. ครูควรทบทวนสาระสําคัญของสาระการประกอบอาชีพ ใหผูเรยี นสามารถเช่ือมโยงระหวาง
รายวิชาได ทําใหความเขาใจตอเนื่องกับรายวิชาทักษะการประกอบอาชีพ

4. หนังสือเรียนเลมนี้เนนการจัดการเรียนรูใ นลักษณะกระบวนการสวนใหญ จะยกตัวอยาง
อาชีพเกษตรกรรมแตอาชีพอื่นๆ ก็สามารถนํากระบวนการไปใชได

5. หนงั สือเรยี นเลม น้ีมี 6 บท คือ
บทท่ี 1 ทักษะในการเขาสูอ าชีพ
บทที่ 2 การทําแผนธุรกิจเพอื่ การเขา สอู าชีพ
บทที่ 3 การจดั การการผลติ หรือการบรกิ าร
บทท่ี 4 การจดั การการตลาด
บทท่ี 5 การขับเคลอื่ นสรางธุรกจิ เพอ่ื เขา สูอาชีพ
บทท่ี 6 โครงการเขาสูอ าชีพ

7

โครงสรา งรายวชิ าทกั ษะการประกอบอาชพี

สาระสําคัญ

ทักษะการประกอบอาชีพ ชวยใหผูป ระกอบการสามารถดําเนินการในอาชีพทีต่ นเลือก
ใหบรรลุเปาหมาย ซึง่ การจัดการประกอบอาชีพจะประสบความสําเร็จได จะตองมีความรูความเขาใจใน
เรื่อง ทักษะการประกอบอาชีพ การทําแผนธุรกิจ การจัดการการผลิตหรือบริการ การจัดการตลาด การ
ขับเคลือ่ นสรางธุรกิจเพื่อประกอบอาชีพ ตลอดจนการจัดทําแผน และโครงการประกอบอาชีพที่
เหมาะสมถูกตอง

ผลการเรยี นรทู คี่ าดหวัง

1. อธิบายทักษะท่เี ก่ียวกับกระบวนการผลติ กระบวนการตลาดท่ใี ชน วัตกรรม
เทคโนโลยี ในอาชีพทต่ี ัดสนิ ใจเลอื กได

2. ยอมรับและเห็นคุณคาในการฝกทักษะการเขาสูอาชีพ

3. ปฏิบัตกิ ารวเิ คราะหทักษะในอาชีพท่ีตัดสนิ ใจเลือก
4. อธิบายความหมาย ความสําคัญของการจัดการอาชีพได
5. ดาํ เนนิ การจดั ทาํ แผนธรุ กิจดา นการจดั การการผลติ หรือการบรกิ าร และดา นการ

จดั การการตลาดและการขบั เคลอ่ื นธรุ กิจ ตามแนวคิดปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี งได
6. ยอมรบั และเห็นคุณคา ในการจัดการเขาสูธ ุรกจิ อยา งมีคุณธรรม
7. ปฏิบัติการจัดทําแผนและโครงการเขาสูอาชีพได

ขอบขา ยเน้ือหา

บทที่ 1 ทักษะในการเขาสูอ าชีพ
บทท่ี 2 การทําแผนธรุ กิจเพื่อการเขา สอู าชีพ
บทท่ี 3 การจดั การการผลติ หรือการบรกิ าร
บทที่ 4 การจดั การการตลาด
บทท่ี 5 การขับเคลือ่ นสรางธุรกิจเพ่อื เขา สอู าชีพ
บทท่ี 6 โครงการเขา สูอาชีพ

สือ่ ประกอบการเรยี นรู

1. ใบความรู
2. ใบงาน
3. แหลง เรียนรดู า นประกอบธรุ กจิ และการตลาด

8

บทท่ี 1

ทกั ษะในการเขา สูอาชีพ

สาระสําคัญ

กระบวนการผลิต กระบวนการตลาด ที่ใชนวัตกรรม เทคโนโลยี การจัดการทุนและระบบการ
จดั การเพือ่ การประกอบอาชพี โดยประยกุ ตใ ชภ ูมปิ ญญา สาํ รวจแหลงเรียนรูและสถานที่ฝกทักษะเพื่อการ
ประกอบอาชีพ การวางแผนในการฝกทักษะอาชีพ

ตัวชี้วดั

1. อธิบายความจําเปนในการฝกทักษะอาชีพ กระบวนการผลิต กระบวนการตลาดที่ใช
นวตั กรรม เทคโนโลยี

2. อธิบายความหมาย ความสําคัญของการจัดการอาชีพและระบบการจัดการ เพื่อการเขาสู
อาชีพ

3. สาํ รวจแหลงเรียนรแู ละสถานท่ฝี ก ทกั ษะเพ่ือการเขาสูอาชีพ
4. วางแผนในการฝก ทกั ษะอาชีพ
5. ฝกทกั ษะอาชีพตามแผนทกี่ าํ หนดไวไ ดโดยมกี ารบันทกึ ขั้นตอนการฝก ทกุ ขั้นตอน

ขอบขา ยเน้ือหา

เร่ืองที่ 1 ความจําเปนในการฝกทักษะอาชีพ กระบวนการผลิต กระบวนการตลาดที่ใช
นวตั กรรม เทคโนโลยี

เรื่องที่ 2 ความหมาย ความสําคัญของการจัดการอาชีพ
เรื่องที่ 3 แหลง เรยี นรูและสถานทีฝ่ กอาชีพ
เร่ืองที่ 4 การวางแผนในการฝก ทักษะอาชีพ
เร่ืองท่ี 5 การฝกทักษะอาชีพ

ส่อื ประกอบการเรียนรู

1. ใบความรู
2. ใบงาน
3. แหลงเรียนรู

9

เรอ่ื งท่ี 1

ความจาํ เปน ในการฝกทกั ษะอาชีพ กระบวนการผลติ กระบวนการตลาด
ทใ่ี ชน วตั กรรม เทคโนโลยี

ในการผลิตสินคาทุกประเภททั้งภาคเกษตรกรรมและภาคอุตสาหกรรม กระบวนการผลิต
กระบวนการตลาด จําเปนตองดําเนินกิจกรรมควบคูก ันไป จะผลิตอะไรตองมีการนําเสนอผลงานหรือ
ชิน้ งานจากนั้นจึงมีการสัง่ จองสินคาเพื่อผูผลิตจะไดทราบความตองการทัง้ ดานขนาด คุณภาพ ปริมาณ
และราคาของสินคาทีเ่ ปนธรรม เพื่อผูผ ลิตท่ีจะไดคํานวณตนทุน เพื่อการตกลงในการผลิตสินคานั้น ถา
เปนเกษตรกรจะปลูกพืชชนิดหนึง่ เกษตรกรจะตองไปศึกษาหาความรูข องพืชชนิดนัน้ อยางถูกตอง เรือ่ ง
พันธุทีต่ องการของตลาด ดินฟาอากาศเปนอยางไร ชวงฤดูกาลใด ปริมาณผลผลิตตอไร การเตรียมดิน
การปลูกดูแลรักษา ความตองการใชปุยหมัก เกษตรกรจะตองคิดคนสูตรปุย หมักทีพ่ ืชชนิดนัน้ มีความ
ตองการธาตุอาหารที่ถูกตอง จึงเปนสูตรปุย หมักใหมทําใหเกิดเปนนวัตกรรมปุย หมักขึ้น ชวงแรกอาจจะ
ใชแรงงานคนในการทําปุย หมักเพราะความตองการในปริมาณไมมาก ตอมามีความตองการปริมาณมาก

ขึน้ จําเปนตองซื้อเครือ่ งผสมปุยหมัก เครื่องอัดเม็ดปุยหมัก การพรวนดินจําเปนตองใชเครื่องพรวนดิน
เพื่อลดคาแรงงาน ทําใหมีการใชเทคโนโลยีขึ้น

ดงั นนั้ กระบวนการผลติ กระบวนการตลาด ไมสามารถแยกจากกันได จะทาํ ใหผ ผู ลติ สามารถ
ผลติ สนิ คา ไดตามความตองการของตลาด ไมใชปลูกพืชตามใจชอบหรือตามคนอื่น แลวคอยไปหาตลาด
จงึ เกิดปญหาสินคาราคาถูก จาํ หนา ยไมไ ด เพราะมีปริมาณมากและคุณภาพไมตรงกับความตองการของ
ตลาด ทําใหเกดิ การประทวงเปนประจํา

ทีจ่ ังหวัดสระแกวไดรวมกลุมเกษตรกรปลูก
หนอไมฝรั่งอินทรียเพื่อการสงออก เกิดจากปญหาการ
ปลูกมันสําประหลังและขาวโพดเลี้ยงสัตว ไมไดราคา ทํา

ใหเกษตรกรดังกลาวชวยกันคิดหาทางแกไข จึงไดขอสรุป
ตองปลูกพืชทีต่ ลาดตองการ จึงพากันไปศึกษาดูงานการ
ปลูกหนอไมฝรัง่ ทีจ่ ังหวัดนครปฐม พอไดแนวความคิด
แลว กป็ รบั เปลย่ี นจากการใชปุย เคมี สารเคมีปองกันกําจัด
โรคและแมลง มาเปนเกษตรแบบอินทรีย มีการอบรม
ความรูเ รือ่ งตางๆเกีย่ วกับการปลูกหนอไมฝรัง่ และเกษตร
อนิ ทรีย กบั วิทยากร ผูรู ในสาขาตางๆ พรอมกับหาบริษัท
ทีม่ ีความตองการทีจ่ ะรับซื้อสินคานี้มีการตกลงราคาซือ้
ขาย การคดั เกรด ปริมาณกอนทําการปลูก มีการทําสัญญา

10

ซือ้ ขายลว งหนา ครั้งละ 3 ปทําใหเกษตรกรมีความมั่นใจวาผลติ ออกมาแลวขายไดแ นนอน มกี ารจายคา
ผลผลิตอาทิตยละครั้งโดยโอนผานบัญชีของธนาคาร
โดยตรง เมือ่ ทํามาไดระยะหนึง่ เกิดปญหาเรือ่ งการทําปุย
หมักเพราะเกษตรกรไมมีเวลาทีจ่ ะไปหาวัสดุและการทํา
ปุยหมัก จึงมีการตกลงรวมหุน เพื่อจัดตัง้ กลุมผลิตปุยหมัก

ขึ้นโดยสูตรปุย เกิดจากเกษตรทีไ่ ดผลผลิตมากนําองค
ความรูข องแตละคนมารวมกัน จึงไดสูตรปุยที่มีความ
เหมาะสมกับหนอไมฝรัง่ มีการสงปุย หมักไปวิเคราะหหา
ธาตุอาหาร ความเปนกรดดาง และอื่นๆทสี่ ํานกั งานวจิ ยั และพฒั นาพชื สวนจนั ทบรุ ี

มีการลดตนทุนในการใชปุยหมักลงแตเดิมจะใช
จํานวน 300 กิโลกรัมตอไร 20 วันครัง้ โดยการนําเอาปุย
หมักจํานวน 20 กิโลกรัม ไปแชในน้ํา 200 ลิตรเปนเวลา
7-15 วัน จํานวน 100 กิโลกรัม ใชเครื่องพนยาแรงดันสูง
และหัวฉีดที่อัดปุยน้ําในดิน ทําใหตนหนอไมฝรัง่

สามารถนําไปใชไดเลย เดิมใชการหวานลงบนตนพืช
เวลาใหน าํ้ อาจมกี ารไหลหนไี ปได

คณุ ธรรมและคณุ สมบัตทิ ด่ี ีของผูมีอาชพี ในกระบวนการผลติ
1. ซื่อสัตยต อ ผูบรโิ ภค

2. รักษาคณุ ภาพของสินคา ใหคงท่ี และปรับปรุงใหด ีข้ึน
3. ไมปลอมปนสินคา หรือปลอมสินคา
4. ไมก ักตนุ สินคา
5. ไมเอาเปรียบแรงงาน
6. มีความรู ความชํานาญในอาชีพของตนเองเปนอยางดี
7. มีความรักในอาชีพของตนเอง เมื่อเกิดปญหาตองไมทอถอย
8. มีความเชือ่ มัน่ ในตนเอง เพ่ือสามารถตัดสนิ ใจไดท ันตอเหตุการณบางอยา ง
9. มคี วามคิดริเริม่ และมีมนษุ ยสมั พันธทีด่ ี

คุณธรรมและคณุ สมบัติที่ดีของผูมอี าชีพในกระบวนการตลาด
1. ไมเอากําไรเกินควร 2. ซ่อื สัตย และจริงใจตอผูซ ือ้

3. ไมปลอมปนเพื่อทํากําไร 4. ไมโกงราคา

5. จําหนายสินคาที่ควบคุมคุณภาพ 6. จําหนายสินคาที่ไดมาตรฐาน

7. ไมก กั ตนุ สินคา

11

ใบงานที่ 1

ใหผเู รียนเขียนบรรยายงานหรืออาชีพที่มีอยูในทองถิ่นมา 1 อาชพี ท่มี ีการใชกระบวนการผลติ
กระบวนการตลาดที่ใชนวัตกรรม เทคโนโลยีที่เหมาะสมมาพอสังเขป

.......................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................................

12

เรือ่ งที่ 2
ความหมาย ความสําคญั ของการจดั การอาชพี

อาชีพ หมายถึง หนาที่การงานทีพ่ ึงประสงคตอสังคม และสรางผลตอบแทนที่เปน
รายไดตรงตามความตองการเพื่อการดํารงชีวิต โดยเฉพาะอยางยิง่ ในปจจุบันมีการแขงขันกันมาก อาชีพ
ตาง ๆ จําเปนตองมีความรูความสามารถ ความชํานาญการ ทั้งภาคทฤษฎี และปฏิบัติ ผูที่ประสบผลสําเร็จ
ในอาชีพของตนเอง จะตองมีการคนควา หาความรูจากแหลงเรียนรูต าง ๆ เพือ่ เพิม่ พูนความรู
ความสามารถใหสอดคลองกับการเปลี่ยนแปลงอยูตลอดเวลา การที่จะจัดการอาชีพใหไดผลสําเร็จนัน้
จาํ เปนตอ งมปี จ จัยหลายดา น เชน

1. การหาขอมูลจากเอกสารในแหลงตาง ๆ
2. สือ่ จากวทิ ยุ โทรทัศน หนงั สอื พิมพ
3. ศกึ ษาจากแหลงเรยี นรูใ นอาชพี นน้ั ๆ
4. พบผรู ู ภมู ิปญญาในชมุ ชน
5. มีการทดลอง วเิ คราะห เพือ่ จัดการอาชีพน้ัน
ดังนั้นการจัดการอาชีพที่สําคัญ คือ ตองรูวาตนเองมีความรู ความสามารถ ความถนัด
ชํานาญการ และมีคุณสมบัติเหมาะสมกับอาชีพนั้น

การจัดการ หมายถึง กระบวนการในการบริหารงาน โดยการอาศัยบุคคลอืน่ ทํางาน
เพ่อื ใหบรรลุวตั ถปุ ระสงคท่ีต้ังไวอยา งมปี ระสทิ ธภิ าพ

การจัดการอาชีพ หมายถึง กระบวนการในการจัดกิจกรรมงานอาชีพ นับตั้งแตการ
วางแผน การจัดองคการ การตัดสินใจ การสัง่ การ การควบคุม การติดตามผล เพื่อใหไดผลผลิตหรือ
บริการที่เปนที่ตองการของลูกคา และไดรับการยอมรับจากสังคม

คณุ ลักษณะทสี่ ําคัญในการจัดการอาชพี

1. มีความคิดริเริ่ม สรางสรรค ซึ่งเกิดขึ้นไดหากเราเปนคนชางสังเกต และสามารถ
รวบรวมความรูห ลาย ๆ ดานเขาดวยกัน ชางคิด รูจ ักดัดแปลงสิ่งตาง ๆ ที่เปนสิ่งเกิดขึ้นมาใหม มีความ
แปลกใหม นา สนใจ

2. มีความเพียรพยายาม เปนลักษณะที่สําคัญมากที่จะทําใหการประกอบอาชีพ
ประสบความสําเร็จ

3. มีความอดทน ผทู ีอ่ ดทนเปนผทู ่ีไมยอมแพอะไรงาย ๆ นน่ั คือ เปนผูท ีจ่ ะทําอะไรตอง
มีเปาหมายถึงความสําเร็จไวลวงหนา ปรารถนาอยางแรงกลาที่จะไปถึงเปาหมายทีต่ ั้งไว ตัง้ ใจ และ

13

ปฏิบตั ิจริงเมื่อพบกบั ความลม เหลวก็ไมย อทอ ฟน ฝา อุปสรรค และนําผลของการลมเหลวมาเปนบทเรียน
และแกไขปรับปรงุ ใหด ีขน้ึ

4. มีความเชื่อมั่นในตนเอง ในการประกอบอาชีพ ตองเปนผูมีความเชือ่ มัน่ ในตนเอง
กลาทําในสิ่งที่ควรทาํ โดยคาํ นงึ ถึงสิ่งดังตอ ไปน้ี

4.1. มีขอมูลทดี่ ี
4.2. หมั่นศึกษาหาความรูอยูเสมอ
4.3. รจู กั วิเคราะห และตัดสินใจจากขอมลู ดว ยตนเอง
4.4. เกบ็ ขอ มลู และเรอ่ื งท่ีตดั สินใจ เพือ่ ใชเปนแนวทางในการตดั สนิ ใจไดถ กู ตอ ง

5. มีความรอบรู และทันสมัยในการประกอบอาชีพ ตองเปนผูที่มีความรอบรู
โดยการติดตามขาวสาร และแสวงหาความรูอยูเสมอ

6. สามารถสือ่ สารไดดีมีประสิทธิภาพ เพราะการสือ่ สารมีความสําคัญตอการเขาใจใน
การติดตอซึง่ กันและกัน การสื่อสารทีม่ ีคุณภาพจะนําไปสูก ารยอมรับ และปฏิบัติตามความคาดหวังของ
ผูส ง สาร ในทางตรงขามหากการสอ่ื สารบกพรอ งก็จะเกิดการปฏบิ ัติในส่ิงทผ่ี ูส งสารไมต องการได

7. มีมนุษยสมั พันธที่ดี ซ่งึ เปน คุณลักษณะท่สี าํ คัญอีกประการหนึ่งของผูประกอบอาชีพ
การมีมนุษยสัมพันธทําใหลูกคาสนใจที่จะคาขายดวย หรือทําธุรกิจรวมกัน รวมไปถึงผูร วมงานเต็มใจ
ที่จะทํางานดวย การมีมนุษยสัมพันธจึงเปนโอกาสที่จะทําใหการประกอบอาชีพมีความสําเร็จมากยิ่งขึ้น

8. กลาเสีย่ งอยางมีเหตุผล ผูป ระกอบอาชีพโดยเฉพาะผูล งทุนประกอบอาชีพของ
ตนเอง ตองกลาทีจ่ ะตัดสินใจลงทุน กลาตัดสินใจในการทํางาน กลาเสีย่ ง แตจะเปนการเสี่ยงโดยศึกษา
ขอมูลอยางรอบคอบแลว

9. ความซื่อสัตย การประกอบอาชีพทุกอยางจะตองทําดวยความซือ่ สัตย สุจริต เพือ่ จะ
ไดเ ปนท่เี ชอื่ ใจแกลกู คา หรอื ผูทมี่ าตดิ ตอ ธุรกิจ

10. ความรับผิดชอบ การประกอบอาชีพจําเปนอยางยิง่ ทีจ่ ะตองมีความรับผิดชอบ
ทง้ั กับลกู คา สังคม และสภาพแวดลอ ม ซงึ่ กห็ มายถึงการมคี ุณธรรมน่ันเอง

ความสําคัญของการจดั การอาชพี มีดังนี้

1. มรี ายได ทส่ี ามารถตอบสนองความตอ งการเพอ่ื การดาํ รงชวี ติ ของตนเอง และครอบครวั
2. อยูในสังคมได เมื่อมีอาชีพที่ดี และสุจริต ทําใหสังคมยกยอง และใหเกียรติ สามารถ
สรางประโยชนใหกับครอบครัว และสังคมได
3. มีเวลาในการทํางานอยางเต็มที่ การมีอาชีพที่ดี และสุจริต เปนการใชเวลาทีต่ นเอง
มอี ยใู หเ กดิ ประโยชนม ากท่สี ดุ

14

4. เศรษฐกิจของประเทศดีขึ้น เมือ่ คนมีอาชีพทีส่ ุจริต ทําใหเกิดรายได จึงเปน
สวนสําคัญในการพัฒนาประเทศ สงผลทําใหรายไดเฉลี่ยของประชากรสูงขึ้น

5. มคี ณุ ภาพชวี ติ ดขี ึ้น ตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง

ประเภทของอาชพี

อาชีพมีอยูหลากหลายประเภท และมีลักษณะงานทีแ่ ตกตางกัน การเลือกอาชีพขึน้ อยู
กับความชอบของแตละบุคคล โอกาส และความชํานาญในอาชีพนัน้ ๆ โดยสามารถจําแนกอาชีพ
ประเภทตา ง ๆ ดงั น้ี

1. ดานการผลิต มีความหลากหลายในการผลิตของอาชีพนัน้ ๆ มีวิธีการดําเนินการ
ของแตละอาชีพแตกตางกัน อาจเปนเจาของกิจการ หรือลกู จาง โดยแบงไดด ังน้ี

1.1 ผูข ายทีอ่ าจจะเปนผูผ ลิตสินคา หรือเปนผูทีไ่ ปรับวัตถุดิบจากแหลงผลิตมา
ประกอบเปนสินคาขึ้นมา

1.2 ผูขายที่เปนคนกลางขายสินคา คือคนทีม่ ีเงินทุนทีส่ ามารถเปนผูซือ้ สินคา หรือ
ผลผลิต สวนใหญจ ะเปนดานการเกษตรเพ่อื จาํ หนา ยผลผลิตสงใหพ อคาตอไป

2. ดานการบริการ เปนอาชีพทีม่ ีความตองการของตลาดแรงงานสูง เนือ่ งจากสภาวะ
ความเปลีย่ นแปลงของโลกปจจุบันที่มีการแขงขันกันตลอดเวลา ทําใหบุคคลมีโอกาส และเวลาใหกับ
ครอบครัวนอยลง การประกอบอาชีพในการใหบริการจึงเขามาทดแทนการประกอบกิจกรรมตาง ๆ
ในชีวิตประจําวัน นอกจากนี้อาชีพดานบริการยังใชเงินลงทุนนอย แตไดคาตอบแทนสูง และเปนอาชีพ
ท่ีสจุ ริต เปนท่ียอมรบั ของสังคม

3. งานรับราชการและรฐั วสิ าหกิจ เปนอาชีพที่มีความมั่นคง และสรางรายไดสม่ําเสมอ
ตลอดไป หาก ผูป ระกอบอาชีพรูจ ักใชจายอยางประหยัดก็สามารถดํารงชีวิตอยูไ ด ขอสําคัญตอง
ซื่อสัตย รับผิดชอบ ตออาชีพ และรักอาชีพของตนเองไมกอใหเกิดความเสือ่ มเสียตอหนวยงานทีต่ นเอง
สังกัดอยู อาชีพเหลานีไ้ ดแก ครู ทหาร ตาํ รวจ พยาบาล แพทย และขาราชการอื่น ๆ ท่ีทํางานในกระทรวง
ทบวง และ กรมตาง ๆ ที่เปนหนวยงานราชการ โดยรับคาตอบแทนเปนเงินเดือนที่ไดจากการชําระภาษี
ของประชาชน โดยถือวาเปนเงินของแผนดิน ดังนัน้ ขาราชการทุกคนจึงมีหนาทีป่ ฏิบัติงานเพื่อสนอง
นโยบายของรัฐบาล และบริการประชาชนดวยความเต็มใจ เพือ่ การศึกษา พัฒนา บริหาร และคุมครอง
ปองกันประเทศชาติ

15

การจัดการอาชีพโดยยึดหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ดังน้ี

1. หลักความพอประมาณ

2. หลักความมีเหตุผล

3. หลักการมภี ูมคิ ุมกนั ในตวั ท่ดี ี ภายใต 2 เง่ือนไข คือ

1. มีความรู

2. มคี ุณธรรม

ซึง่ สามารถวิเคราะหไ ดด ังนี้ เหมาะสมกบั ฐานะการเงนิ

เหมาะสมกบั แรงงาน

หลักความพอประมาณ สอดคลองกับความรคู วามสามารถ
ชว งเวลาการประกอบอาชพี

เลอื กทาํ เลท่ตี ้ังเหมาะสม

ประกอบอาชพี ท่ีสอดคลองกับสภาพแวดลอม
ทางภูมิประเทศ และสังคม

หลักความมเี หตุผล มีวนิ ัยทางการเงนิ
หลักการมภี มู คิ ุม กนั ในตวั ท่ีดี เปน แรงจงู ใจในการเดนิ ทางไปสเู ปา หมาย
มีเปาหมายในการดํารงชีวิต

ประหยดั อดออม
ปรบั ตัวเขากบั สภาพแวดลอ ม
เปน อาชพี ท่ีมคี วามมน่ั คงในชวี ติ และครอบครวั
สขุ ภาพที่ดี
ครอบครวั อบอนุ
มีความขยนั อดทน มงุ ม่นั

คณุ ธรรม ความซ่ือสตั ย สจุ ริต
ความรู มีสติปญญาในการดําเนนิ ชีวิต
ยดึ ธรรมะในการดาํ เนินชวี ติ
ขยนั หม่ันเพียร อดทน
ไมท าํ ใหตัวเอง และผอู ่ืนเดือดรอ น รูจ ักแบงปน

รดู านวิชาการที่เกย่ี วขอ ง
รวู ธิ วี เิ คราะหร ายรับ รายจา ย
รูจกั การทาํ บัญชี
มีหลกั ธรรมะในการดาํ เนินชวี ิต

16

ใบงานที่ 2

ใหผเู รียนสํารวจอาชีพในชมุ ชน แยกเปนชาย – หญิงเรียงลําดับอาชีพจากมากไปหานอย
พรอมวิเคราะหวาทําไมบางอาชีพมีคนทํามาก และบางอาชีพมีคนทํานอย วาเปนเพราะอะไร
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………

17

เรอื่ งที่ 3

แหลง เรยี นรูและสถานทฝี่ กอาชพี

ความหมายของแหลง เรยี นรู

แหลง เรยี นรู หมายถึง แหลงขอมูล ขาวสาร สารสนเทศ และประสบการณที่
สนบั สนนุ สงเสริมใหผเู รียนใฝเรยี นใฝรู แสวงหาความรู และเรยี นรดู ว ยตนเองตามอัธยาศัยอยาง
กวางขวางและตอเนื่อง เพ่ือเสริมสรางใหผเู รยี นเกดิ กระบวนการเรยี นรูและเปน บุคคลแหง การเรยี นรู
การเรยี นรูทเี่ นนผูเรยี นเปนศูนยก ลางเปนแนวคิดทีม่ ุงเนนการเรยี นรขู องผเู รยี น

ความสําคญั ของแหลง เรยี นรู

1. เปนแหลงเสริมสรางจินตนาการและความคิดริเริ่มสรางสรรค
2. เปนแหลงศึกษาตามอัธยาศัย
3. เปน แหลง เรียนรูตลอดชีวิต
4. เปนแหลงสรางความรู ความคิด วิชาการและประสบการณ
5. เปน แหลง ปลกู ฝง คา นยิ มรกั การอา นและแหลง ศกึ ษาคน ควา แสวงหาความรดู ว ยตนเอง
6. เปนแหลงสรางความคิดเกิดอาชีพใหมสูความเปนสากล
7. เปนแหลงเสริมประสบการณตรง
8. เปนแหลง สง เสริมมิตรภาพความสมั พันธระหวา งคนในชมุ ชนหรอื ผูเปน ภูมปิ ญญาทอ งถน่ิ

ประเภทของแหลงเรียนรู

แหลงเรียนรูมีทัง้ ภายในและภายนอกชุมชน ซึง่ แหลงเรียนรูเ หลานีส้ ามารถ แบงออกเปน 2
ประเภท คอื แหลง เรยี นรทู ี่มอี ยแู ลวตามธรรมชาติ และท่ีมนุษยสรางขึ้น

1. แหลงเรียนรูทีม่ ีอยูแ ลวตามธรรมชาติ เชน
บรรยากาศ สิ่งแวดลอม ปรากฏการณธรรมชาติ สิ่งมีชีวิต
ปา ภเู ขา แหลงน้ํา ทะเล สตั วและพชื ตาง ๆ ฯลฯ

18

2. แหลง เรยี นรทู ่มี นุษยส รา งขน้ึ เชน ชุมชน วิถีชีวิต อาชีพ ภูมิปญญา
ประเพณี วัฒนธรรม สถาบัน โบราณสถาน สถานท่ีสําคัญ สถานประกอบการ
หองสมุดโรงเรียน หองสมุดเคลื่อนที่ หองเรียน หองปฏิบัติการตาง ๆ หองโสต
ทัศนศึกษา หองมัลติมีเดีย เว็บไซต หองอินเทอรเน็ต หองเรียนสีเขียว
พิพิธภัณฑ สวนพฤกษศาสตร สวนสุขภาพสวนหิน สวนสมุนไพร สวน

วรรณคดี สวนหยอ ม สวนผเี สอื้ บอ เลย้ี งปลา เรอื นเพาะชาํ ฯลฯ

ภูมิปญญาทองถิน่ หรือภูมิปญญาพืน้ บาน หมายถึงความรูของชาวบานในทองถิ่นซึง่ ไดมาจาก
ประสบการณและความเฉลียวฉลาดของชาวบาน รวมทัง้ ความรูท ี่สัง่ สมมาแตบรรพบุรุษสืบทอดจากคน
รุนหนึ่งไปสูคนอีกรุน หนึง่ ระหวางการสืบทอดมีการปรับ ประยุกต เปลีย่ นแปลง จนอาจเกิดเปนความรู
ใหมตามสภาพการณทางสังคม วัฒนธรรมและสิ่งแวดลอม ภูมิปญญาเปนความรูที่ประกอบไปดวย
คุณธรรม ซึง่ สอดคลองกับวิถีชีวิตดัง่ เดิมของชาวบานในวิถีดั่งเดิมนัน้ ชีวิตของชาวบานไมไดแบงแยก
เปน สว นๆ หากแตทุกอยางมีความสัมพันธกัน การทํามาหากิน การอยูรวมกันในชุมชน การปฏิบัติศาสนา
พธิ กี รรมและประเพณี ความรูเปน คณุ ธรรมเม่ือผคู นใชความรูนัน้ เพือ่ ความสมั พนั ธที่ดีระหวาง คนกับคน
คนกับธรรมชาติและคนกับสิ่งเหนือธรรมชาติ ดงั เชน

ภาคเหนือ มีภูมิปญญาเกีย่ วกับการแกะสลักไม ทีม่ ีความลึก สลับซับซอน สามารถมองไดหลาย
มิติ และไดถายทอดภูมิปญญานั้นออกไปอยางกวางขวางโดยวิธีการตางๆ

ภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนอื มีภูมปิ ญ ญาในการทอผา ไหมลวดลายตางๆ ตามถิ่นฐานของภูมิปญญา
นั้น จนเปนที่ยอมรับกนั ท่วั โลก แตล ะจังหวดั มีการจดั งานผลิตภณั ฑหนึ่งตําบลหนึง่ ผลิตภณั ฑ

ภาคกลาง มีการอนุรักษวัฒนธรรมการละเลนมากมาย เชน ลิเก รําตัด เปนตน ปจจุบันไดมีหลาย
หนวยงานทั้งภาครัฐและเอกชนมีการสนับสนุนสงเสริมภูมิปญญาแขนงนี้ใหเด็กและเยาวชนเรียนรูก าร
แสดงเหลาน้เี พื่อใหส บื ทอดตอไป

ภาคใต มีการสืบทอดการทําหนังตลุง การแสดงมโนราห มีการทําตัวหนังตลุงออกมามากมาย
ทําเปนของที่ระลึกหรือของชํารวย ใครเห็นก็รูวาเปนสินคาที่มาจากฝมือภูมิปญญาของคนภาคใต

สถานทีฝ่ ก อาชพี

ตัวอยา ง สถานทฝี่ กอาชพี ของรฐั บาล

1. ศูนยการศึกษานอกโรงเรียนกาญจนาภิเษก “วิทยาลัย ในวัง” รับฝกวิชาชีพเพื่อการมีงานทํา
หลักสูตรระยะส้ัน 60 ช่ัวโมง ไดแก วิชาชีพลายไทยเบ้ืองตน โถประดับพลอย พ้ืนฐานการจัดดอกไม การทํา
บายศรี (ผา) อาหารวาง แกะสลักของออน และการตกแตงผลิตภัณฑขนมอบ ปนตุกตาดินไทย เครื่องหอม

19

ดอกไมประดิษฐ เคร่ืองแขวน และศิลปะภาพนูนตํ่า (ผาไทย) สอบถามรายละเอียด โทร. 0 2431 3623 ตอ 14
โทรสาร 0 2431 3624 หรอื www.nfe.go.th/0415/

2. ศนู ยฝก อาชีพกรงุ เทพมหานคร ทงั้ 8 แหง ติดตอ ไดท ่ี
2.1 ศูนยฝกอาชีพกรุงเทพมหานคร วัดธรรมมงคลโทรศัพท 0 2331 7573-4
2.2 ศนู ยฝ ก อาชพี กรุงเทพมหานคร สวนลมุ พนิ ีโทรศพั ท 0 2251 5849, 0 2251 5268
2.3 ศูนยฝกอาชีพกรุงเทพมหานคร วัดวรจรรยาวาสโทรศัพท 0 2292 0194

และ 0 2289 3478
2.4 ศูนยฝกอาชีพกรุงเทพมหานคร บางพลัดโทรศัพท 0 2423 2026
2.5 ศนู ยฝก อาชีพกรุงเทพมหานคร จตั ุจักร 2 (มนี บุร)ี โทรศัพท 0 2540 4375-6
2.6 ศูนยฝกอาชีพกรุงเทพมหานคร วัดสุทธาวาส บางกอกนอย

โทรศัพท 0 2412 4611-2
2.7 ศูนยฝ กอาชพี กรุงเทพมหานคร จตุจักร 1โทรศัพท 0 2272 4741, 0 2272 4742
2.8 ศูนยฝกอาชีพกรุงเทพมหานคร มหาวิทยาลัยรามคําแหงโทรศัพท 0 2369 2823-4

3. สถาบนั พฒั นาฝมือแรงงานจงั หวัดทุกแหง
4. สํานกั สง เสริมและฝกอบรม มหาวทิ ยาลัยเกษตรศาสตร โทรศัพท 0 2942 8831

ตวั อยาง สถานทฝ่ี ก อาชพี ของเอกชน ซึง่ มีคาใชจายในการฝก อาชพี แตละอาชพี แตกตางกันออกไป เชน

1. วิชาชีพของศูนยอาชีพและธุรกิจมติชน สอบถามรายละเอียดท่ี โทร.0 2589 2222, 0 2589 0492,
0 2954 4999 ตอ 2100, 2101, 2102, 2103

2. คมชัดลึกฝกอาชีพ หนังสือพิมพ คม ชัด ลึก “โครงการฝกอบรมอาชีพระยะส้ัน” เปดอบรม
หลักสูตรเด็ดเคล็ดลับของสารพันอาหาร งานฝมือ และอีกหลายงานวิชาชีพ ติดตอ ศูนยลูกคาเนชัน่ กรุป
1854 ถ.บางนา-ตราด แขวงบางนา เขตบางนา กรงุ เทพฯ 10260 โทร. 0 2338 3356-57 แฟกซ. 0 2338 3942

3. สถานประกอบการ เชน สถาบันเสริมความงาม สถาบันสอนอาหาร เปนตน

20

ใบงานท่ี 3

1.ใหผูเ รียนสํารวจภูมิปญญาทองถิน่ ในชุมชนของตนเองแลวบันทึกตามแบบฟอรมที่กําหนดให
อยา งนอ ย 5 อยา ง

ท่ี ช่อื ภมู ิปญ ญาทองถ่นิ ทอ่ี ยู ภมู ิปญ ญาเร่อื ง ประโยชน

1

2

3

4

5

2. ใหผูเรียนสํารวจสถานที่ฝกอาชีพในชุมชนของตนเองหรือชุมชนใกลเคียงแลวบันทึกตามแบบฟอรมที่
กาํ หนดให อยา งนอย 5 แหง

ท่ี ชือ่ สถานทฝ่ี ก อาชีพ อาชพี ทีฝ่ ก ประโยชน
1

2

3

4

5

21

เร่อื งท่ี 4

การวางแผนในการฝก ทกั ษะอาชพี

จากการสํารวจแหลงเรียนรู และสถานทีฝ่ กทักษะอาชีพแลว การวางแผนในการฝกทักษะอาชีพ
จัดเปน สง่ิ จําเปนทีผ่ เู รียนควรจะพิจารณา โดยการกาํ หนดส่งิ ตางๆ ตอ ไปนี้

4.1. ความรแู ละทกั ษะท่ตี องฝก อาชีพ

ผเู รยี นจะตองคาํ นงึ ถึงตัวเองกอ นวามีความชอบ นิสัย ความถนัด สภาพทางสังคม เปนตน ท่ีจะ
ทําใหตัวเองประสบผลสําเรจ็ ในอาชีพนัน้ ๆ แยกการวางแผนการฝก อาชพี ดังน้ี

1. ศึกษาเกี่ยวกับอาชีพตาง ๆ การศึกษาหาความรูใ นอาชีพตาง ๆ จะทําใหไดรูว าตนเองมีความ
สนใจในอาชีพอะไร มีใจรักงานดานใด มีความถนัดดานใด ผูเรียนจะไดฝกปฏิบัติงานนัน้ ๆ ซึ่งจะทําให
เกิดความรูความเขาใจ และมีทักษะการปฏิบัติในอาชีพนั้นได

2. สรางลักษณะนิสัยในการทํางาน คือมีความกระตือรือรน ขยันขันแข็ง มีความอดทนในการ
ทํางาน และทํางานรวมกับผอู ่ืนได เม่ือผูเรียนทราบวาคนทีป่ ระกอบอาชีพตองมีนิสัยเหลานี้ ผูเ รียนจะได
ฝกตนเองในขณะทีย่ ังเรยี นอยู จะทาํ ใหนิสัยเหลานต้ี ิดตวั ผเู รียนตลอดไป

3. การฝกปฏิบัติงานตาง ๆ หรือทดลองทํางาน ชวยใหผูเ รียนสามารถนําสิง่ ทีผ่ ูเ รียนปฏิบัติ และ
ฝก ฝนไปประกอบอาชพี ในอนาคตได และผเู รียนควรทจี่ ะฝกงานหลาย ๆ งาน เพ่ือจะไดรูวาเราชอบ และ
สนใจงานดา นไหน และเปน การเตรยี มตวั ทจ่ี ะประกอบอาชพี ดว ย

4. การฝกวางแผนการทํางาน เปนสิ่งจําเปนสําหรับการทํางานทุกอยาง มีการกลาวกันโดยทั่วไป
วา “การวางแผนการทํางานทีด่ ีเหมือนกับทํางานนั้นเสร็จไปครึ่งหนึ่ง” แสดงใหเห็นวาความสําคัญของ
การวางแผนงานมีคาตอการทํางานถึงรอยละหาสิบของงานทัง้ หมดจึงเปนสิ่งจําเปนมาก การฝกในเรือ่ ง
การวางแผนทําไดกับงาน ทุกอยาง การเรียนควรมีแผนในการเรียนแตละวัน แตละสัปดาห แตละเดือน
แตละป การทํากิจกรรม ตาง ๆ ก็ตองมีการวางแผน ถาฝกทําอยูเ ปนประจํา เมือ่ เราประกอบอาชีพก็จะ
นาํ ไปใชไ ดด ี เพราะเราทาํ จนเกิดเปน นิสัยแลว

4.2. วธิ กี ารฝก

ผูเรียนเมือ่ รูจักตัวเองแลว จะเขารับการฝกในอาชีพตางๆตามความตองการของตัวเอง สวนมาก
ในการฝกอาชีพจะเนนการปฏิบัติ ดังนัน้ จะตองกลับมาฝกปฏิบัติที่บานเพื่อใหเกิดทักษะความชํานาญ
เพิ่มความมั่นใจ อาจจะมีการเสริมเพิม่ เติมในสิง่ ทีข่ าดไปหรือตลาดมีความตองการ จะไดเปนองคความรู
ของตวั เองได

22

4.3. แหลงฝก

ไดก ลา วในเรื่องที่ 2 แลว ใหผเู รยี นสํารวจแหลงฝกอาชีพทีใ่ กลบ า นเพื่อการเดินทางไปกลับได
จะไดลดคาใชจายในเรื่องการเดินทางที่พักและอาหาร หรือถาไกลควรมีการสอบถามเรื่องที่พัก คาใชจาย
ตางๆ เพอื่ จะไดไมตอ งเสียคาใชจ า ยสงู หรอื หาแหลง ฝกอาชขี องสว นราชการทีม่ กี ารฝกใหฟรี และเมอ่ื
ฝก จบหลกั สตู รแลว ยังมงี านรองรบั ดวย

4.4. วัน เวลา ในการฝก

ผูเ รยี นควรสาํ รวจหาขอมลู แหลงฝก อาชพี เพอื่ จะไดตวั เลือกที่ดีทีส่ ดุ เชน วชิ าอาชพี เดียวกนั กห็ า
ระยะการฝก วาแตกตางกันอยางไร บางแหงอาจใชเวลานานแตมีการนําผเู รียนไปฝกในสถาน
ประกอบการโดยตรง ผูเรียนสามารถนําขอมูลมาวิเคราะหเพอ่ื ประโยชนของผเู รยี นเอง

เมอ่ื ผเู รียนกาํ หนดสิ่งตา งๆ ดังกลา วแลว จงึ นาํ ขอมูลท่ีไดมาวางแผนการฝกทักษะอาชพี เพอ่ื ใช
เปนแผนการฝก ตอไป

23

ใบงานที่ 4

ใหผูเรยี นวางแผนการฝกทักษะอาชพี ทต่ี นสนใจ ตง้ั แตก ารตัดสินใจเลือกอาชีพ แหลง ฝกอาชพี
วธิ ีการฝก อาชีพ และระยะเวลาในการฝกอาชีพ

………………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………

24

เร่อื งที่ 5

การฝก ทักษะอาชพี

การจดบนั ทกึ

ความสําเร็จในการฝกอาชีพสวนหนึง่ คือ การมีขอมูลที่ดีไวชวยในการตัดสินใจ เพราะขอมูลที่
บันทึกไวจะบอกใหทราบวากิจการดําเนินไปไดอยางเหมาะสมเพียงใด หากเกิดปญหาก็ยอมหาทาง
แกไขไดทันทวงที และเราสามารถใชขอมลู เพอ่ื การวางแผนในอนาคตไดอ กี ดว ย

การจดบันทึกขอมูลทําไดหลายรูปแบบตามลักษณะความแตกตางของการฝกอาชีพ ซึง่ แตละคน
อาจคิดรูปแบบการบันทึกขอมูลอืน่ ๆ ตางกันออกไป ขอสําคัญตองเปนแบบทีล่ งรายการไดงายไม
ซับซอนตรวจสอบงาย

ประโยชนของการจดบันทกึ กิจกรรมการฝก อาชพี

1. เพื่อปองกนั การลืม
2. เปนขอ มูลในการตดั สินใจ
3. เก็บไวเ ปน หลกั ฐาน
4. ไดทราบขอบกพรองและหาทางแกไขไดทันทวงที
5. เปนขอมูลในการเปรียบเทียบการดําเนินงานแตละครั้ง
6. เปนการควบคุมติดตามการดําเนินงาน
7. เปนขอมูลในการวางแผนงานในครั้งตอไป

ลกั ษณะและหลกั การบนั ทึกกจิ กรรมและรายการตาง ๆ

ในการฝกอาชีพแตละอาชีพอาจมีลักษณะกิจกรรมที่แตกตางกันไป การบันทึกกิจกรรมจึงตอง
แตกตางกันไปดวย เชน การบันทึกการทํางาน การบันทึกกิจการฟารม การบันทึกรานคาสหกรณ
เปนตน ดังนั้นการบันทึกจึงตองบันทึกตามความเหมาะสมกับลักษณะของกิจกรรมดวย

หลกั การบนั ทกึ กจิ กรรมและรายการตาง ๆ

1. บนั ทกึ อยา งสม่าํ เสมอและทันตอเหตกุ ารณ
2. จดบันทึกอยางมีระบบ
3. ขอความถกู ตอง ชัดเจน เขาใจงายและเปนประโยชนตอการฝก อาชีพ

25

การบนั ทกึ ขอ มูลการฝก อาชีพ
การบันทึกการฝกอาชีพ เปนกิจกรรมที่สําคัญที่ผูป ระกอบอาชีพทุกคนควรปฏิบัติเปน

ประจําเพราะการบันทึกทําใหทราบวาไดทําอะไรบาง มีอะไรบาง มีการติดตอนัดหมายกับใคร เมื่อไร
การบันทึกทําใหผูฝกอาชีพมีขอมูลที่สะดวกแกการติดตามผลงาน หรืออาจจะใชวางแผนตอไปใน
อนาคตได

ขอแนะนําในการบนั ทกึ รายการ

1. การเขียนตัวหนงั สือจะตองอานงาย สะอาดเรยี บรอย
2. การบันทึกรายการตองเรียงตามลําดับกอน-หลังของเหตุการณทเ่ี กดิ ขึน้
3. การบันทึกที่เปนตัวเลขทีม่ ีตัง้ แต 3 หลักขึน้ ไปใหใชเครือ่ งหมายจุลภาค ( , ) โดยนับจาก

จุดทศนิยมไปทางซายมือทุก 3 ตวั

การบันทึกขอ มูลแบงออกเปน 2 ลกั ษณะ

1. การบนั ทึกขอมลู ท่ไี มเ กีย่ วขอ งกับเงนิ
2. การบันทกึ ขอมูลทเี่ กี่ยวของกบั เงนิ

1. การบันทกึ ขอมลู ทีไ่ มเ กยี่ วขอ งกับเงนิ

การบันทึกขอมูลทีไ่ มเกี่ยวของกับเงินเปนขอมูลทีพ่ บในชีวิตประจําวัน วิธีบันทึกสวนมากจะ

บนั ทึกเพอ่ื ปองกนั การลมื หรือเตือนความจํา สิ่งที่ใชในการจดบันทึกอาจทําขึ้นเองตามความตองการหรือ

ความจําเปน เชน การจดบันทึกนัดหมายตาง ๆ
ตัวอยา งการบนั ทึกการประกอบอาชพี
วัน เดือน ป รายการ หมายเหตุ

3 มถิ ุนายน … ซื้ออาหารปลาดุกใหญ 2 กระสอบ

13 มิถุนายน … เกษตรกรบานลํานํ้าเกลี้ยงเยีย่ มชมการเลี้ยง

ปลาดุก

30 มิถนุ ายน … จับปลาดุกขายรานพลอยโภชนา จาํ นวน 200 ตวั

2. การบนั ทกึ ขอมูลท่ีเก่ียวของกับเงิน
การจดบันทึกขอมูลทีเ่ กี่ยวกับการเงินสวนมากจะใชวิธีทําทะเบียนหรือบันทึกบัญชี การบันทึก

บัญชีของผูฝ กอาชีพ มักใชหลักเกณฑในการลงบัญชี รายได รายจาย เฉพาะการรับจายเงินสดจริง
เทานน้ั

26

รูปแบบท่ี 1 ใชห นา เดยี วมที ัง้ รายรับ-รายจาย อยดู ว ยกนั ลงรายการเรื่อย ๆ ในแตละวัน

วัน เดอื น ป รายการ รายรบั รายจาย คงเหลอื
1 ก.พ. … บาท สต. บาท สต. บาท สต. หมายเหตุ
1. รับเงินขายไก 8,000 - 7,111 -
2. จา ยคา ไฟฟา 524 -
3. จายคาอาหาร 1,200 - 365 - 560 -

2 ก.พ. … 1. ขายไขไก 80 -
2. จายคารถ 560 -
3. จายคาอาหารไก

รปู แบบท่ี 2 แยกทําบัญชีรายรับ และรายจายไวดานละหนาของสมุด

รายรบั รายจาย
จํานวนเงิน หมาย จํานวนเงนิ หมาย
ว.ด.ป. รายการ บาท สต. เหตุ ว.ด.ป. รายการ บาท สต. เหตุ

1 ก.พ. 1. รับเงินขายไก 8,000 - 1. จา ยคา ไฟฟา 524 -
… รวมรายรบั 8,000 - 2. จา ยคา อาหาร 365 -
รวมรายจาย 889 -
รวมรายจา ย 889 -
ยอดคงเหลอื 7,111 -
1. ขายไขไ ก 1,200 - 1. จายคารถ 80 -
2 ก.พ. รวมรายรับ 1,200 - 2. จา ยคา อาหาร 560 -
… รวมรายจา ย 640 ไก
ยอดคงเหลอื 560 รวมรายจาย 640 -

27

รูปแบบท่ี 3 แยกบัญชีรายรับ 1 เลม บัญชรี ายจา ย 1 เลม รวมเปน 2 เลม

บัญชีรายรับ เดอื น กมุ ภาพนั ธ พ.ศ.....

เลขท่ี รายการ วัน เดือน ป จาํ นวนเงนิ หมายเหตุ
บาท สต.
1 รับเงินขายไก 1 ก.พ. 51
2 ขายไขไก 2 ก.พ. 51 8,000 -
1,200 -

บัญชรี ายจา ย เดือน กุมภาพันธ พ.ศ....

เลขท่ี รายการ วนั เดอื น ป จาํ นวนเงนิ หมายเหตุ
บาท สต.
1 จา ยคาไฟฟา 1 ก.พ. 51
2 จายคาอาหาร 1 ก.พ. 51 524 -
3 จายคารถ 2 ก.พ. 51 365 -
4 จายคาอาหารไก 2 ก.พ. 51 80 -
560 -

ปญ หาและการแกปญ หา

ในการฝกอาชีพจะตองมีปญหาเกิดขึน้ ทุกระยะ จะมากนอยแตกตางกัน ดังนั้นผูเรียนจะตอง
ปรกึ ษากับครู อาจารย ผูร ู ภมู ปิ ญญา เพ่ือชวยแกป ญ หา ในบางครั้งพอแม ญาติพี่นอง เพื่อนฝูง คนใกลชิด
ก็สามารถชวยแกปญหาตางๆได เมื่อเกิดปญหาอยาเก็บไวหรือแกไปในทางที่ผิดจะทําใหการฝกอาชีพ
ของผูเ รียนไมประสบผลสําเร็จ

ขอ เสนอแนะ

ผูเรียนบางคนมีความสามารถในการจําและมีการบันทึกแบบไมมีรูปแบบที่ตัวเองมีความเขาใจ
บางครั้งก็จดบันทึกแบบสมุดบันทึกรายวัน ทําใหไมสามารถแยกเปนสวนได ควรแยกเปนบัญชี
รายรบั -รายจา ย บัญชที รัพยสิน-หนี้สิน และอืน่ ๆ เพื่อสะดวกในการคนหา หรือคนอื่นสามารถอานเขาใจ
นําไปปฏิบัตไิ ด

28

ใบงานที่ 5

1. ใหผูเรียนบันทึกการประกอบอาชีพลงในแบบที่กําหนดให
บนั ทกึ การประกอบอาชีพ..............................................................

วัน เดอื น ป รายการ หมายเหตุ

.............................. ................................................................. ................................................
.............................. ................................................................. ...............................................
.............................. ................................................................. ................................................
.............................. ................................................................. ...............................................
.............................. ................................................................. ................................................

.............................. ................................................................. ...............................................
.............................. ................................................................. ................................................
.............................. ................................................................. ...............................................
.............................. ................................................................. ................................................
.............................. ................................................................. ...............................................
.............................. ................................................................. ................................................
.............................. ................................................................. ...............................................
.............................. ................................................................. ................................................
.............................. ................................................................. ...............................................

29

2. ใหผูเรยี นบันทึกการประกอบอาชีพใน 1 เดือน ลงในตารางทกี่ าํ หนดให

รายรบั รายจาย
ว.ด.ป. รายการ จํานวนเงิน หมาย ว.ด.ป. รายการ จํานวนเงิน หมาย
บาท สต. เหตุ บาท สต. เหตุ

30

บทที่ 2
การทาํ แผนธุรกิจเพอ่ื การเขาสูอาชีพ

สาระสําคัญ

ในการทําแผนธุรกิจเพือ่ การเขาสูอ าชีพ ผูดําเนินการจะตองมีความเขาใจความหมาย
ความสําคัญของการจัดการในการเขาสูอาชีพ วิเคราะหขอมูลชุมชน โดยระดมความคิดเห็นของคนใน
ชมุ ชน เพอ่ื กําหนดวสิ ัยทัศน พนั ธกิจ รายได คา นิยมของชุมชน เปาหมาย และกลยุทธตามแนวคิดปรัชญา
ของเศรษฐกจิ พอเพยี ง

ตัวช้วี ดั

1. วเิ คราะหช มุ ชนโดยการระดมความคดิ เห็นของคนในชมุ ชน และกาํ หนดวสิ ยั ทศั น
พันธกิจ รายได คานิยมของชุมชน เปาหมาย และกลยุทธ ตามแนวคิดปรัชญาของ
เศรษฐกจิ พอเพยี ง

2. วางแผนปฏิบัติการ

ขอบขา ยเน้ือหา

เร่ืองที่ 1 การวิเคราะหชุมชน
- จดุ แขง็
- จดุ ออน
- โอกาส
- อปุ สรรค

เรื่องที่ 2 การกาํ หนดวิสัยทัศน พนั ธกิจ เปา หมาย และกลยุทธในการกําหนดแผน
ธุรกิจของชุมชน

เร่ืองที่ 3 การวางแผนปฏิบัติการ

สอ่ื ประกอบการเรียนรู

1. ใบความรู
2. ใบงาน

31

เร่ืองที่ 1
การวเิ คราะหช มุ ชน

การเปลี่ยนแปลงของจํานวนประชากรที่เพิ่มขึ้น ความเจริญกาวหนาทางดานเทคโนโลยี
ทีร่ วดเร็วเขาทดแทนคน และการเปลีย่ นแปลงทางทรัพยากรธรรมชาติ ทุนของสังคม ทําใหวิถีชีวิต
และอาชีพของคนในชุมชนเปลี่ยนไป ดังนี้

1. การเปลี่ยนแปลงของจํานวนประชากร จํานวนประชากรทีเ่ พิ่มขึ้น การเคลือ่ นยาย
ของประชากร ทําใหเกิดการแขงขัน การขาดแคลนในการประกอบอาชีพมากขึน้ และทีด่ ินก็มีอยูจ ํานวน
จํากัด ทําใหผูทีป่ ระกอบอาชีพเกษตรกรรมจํานวนมากเปลีย่ นอาชีพที่มีความสบาย และไมตองใชที่ดิน
เชน อาชีพบริการ รับจาง ขายแรงงาน ฯลฯ

2. ความเจริญทางเทคโนโลยี ทําใหเกิดการเปล่ียนแปลงอาชีพ และเขามาแทน
ทีแ่ รงงานคน ทัง้ เครือ่ งจักร เครือ่ งมือ หุนยนต แตก็จะมีอาชีพซอมแซม ดูแลรักษา เครื่องจักร เครือ่ งมือ
ตา ง ๆ เกดิ ขึ้นใหม ๆ

3. การเปลีย่ นแปลงทางทรัพยากรธรรมชาติ การเพิม่ ของประชากร ความเจริญทาง
เทคโนโลยี ทําใหทรัพยากรธรรมชาติหมดไป หรือสูญเสียไป โดยมีโรงงาน บริษัทตาง ๆ ทําใหมีอาชีพ
ตาง ๆ ตามมา

การศกึ ษางานอาชพี ในชมุ ชน

ผูคนสวนใหญจะมีอาชีพเปนของตนเอง ทุกอาชีพมีความสําคัญเทาเทียมกัน ทั้ง ๆ ทีแ่ ต
ละอาชีพไมเหมือนกัน การพิจารณาการจัดการอาชีพจะตองมีการศึกษาหาขอมูลมาประกอบการเลือก
อาชีพ เพือ่ ใหสามารถทําอาชีพนัน้ ๆ ไดสอดคลองกันสภาพทองถิ่น และเหมาะกับความสามารถของ
ตนเองใหมากที่สุด โดยทั่วไปอาชีพในชุมชนแบงออกเปน 2 ประเภท คอื

1. อาชีพประกอบการเอง หมายถึง อาชีพทีผ่ ูป ระกอบการเปนเจาของกิจการ เปน
ผูด ําเนินงานเอง กิจการทีว่ านี้มีทัง้ กิจการขนาดใหญ และขนาดเล็ก เชน อูซ อมรถ ปมน้าํ มัน รานตัดผม
การทําไร ทํานา ทําสวน เลี้ยงสัตว รานขายของชํา รานอาหาร เปนตน

2. อาชีพรับจาง หมายถึง อาชีพที่ผูรับจางใชความรู ความชํานาญ หรือแรงงานเปน
สิง่ แลกเปลีย่ นกับคาตอบแทน หรือเงินคาจาง ซึง่ มีงานใหเลือกมากมายตามสถานประกอบการตาง ๆ
ขึน้ อยูก ับความรู ความสามารถของผูน ั้นวาจะเลือกรับจางงานประเภทใด เชน งานใชแรงงาน สวนใหญ
จะเปนภาคการเกษตร งานทีใ่ ชฝมอื ทักษะในการทํางาน เชน รับจางตามโรงงานตาง ๆ

32

การรวบรวมขอ มูล

ขอ มูลเปนสิ่งสําคัญทเ่ี ราจะศกึ ษาส่งิ ตาง ๆ ในชมุ ชนได หากเราศึกษาขอมลู ทเ่ี ปนจริงใน
ทกุ ๆ ดา นกส็ ามารถนํามาวเิ คราะหขอ มลู ใหส มั พันธก นั กอนตดั สินใจ โดยพจิ ารณาจากขอมลู ตา ง ๆ ดังน้ี

1. ขอมูลดานประชากร เปนขอมูลที่บอกสภาพของคนในชุมชน เชน จํานวนครัวเรือน
จาํ นวนคน เพศ วยั โดยนําเอามาแบงตามชวงอายุ เปนตน

2. ขอมูลดานลักษณะทางกายภาพและสิง่ แวดลอมของชุมชน เปนขอมูลที่บอกถึง
ลกั ษณะของพน้ื ท่ี เชน เปนท่ีราบสูง มีทรัพยากรเปนอยางไร ยังสมบูรณอยู หรือเสือ่ มโทรม มีความอุดม
สมบูรณหรือไม การคมนาคมเปนอยางไร สิ่งสาธารณูปโภคมีอะไรบาง เปน ตน

3. ขอมูลดานเศรษฐกิจ เปนขอมูลทีบ่ อกสภาพฐานะทางดานการเงิน และการประกอบ
อาชีพของคนในชุมชน มีการประกอบอาชีพอะไรบาง แตละอาชีพมีผลอยางไร

4. ขอมูลดานวัฒนธรรมประเพณี เปนขอมูลที่บอกถึงประเพณีวัฒนธรรมที่ปฏิบัติ
สืบทอดกันมาของคนในชุมชน ความเชื่อ ความศรัทธา ความชอบ คานิยม การนับถือศาสนา ภาษาที่ใช

5. ขอมูลทีเ่ ปนความตองการของชุมชน นอกจากจะตองศึกษาขอมูลทีพ่ บเห็นดาน
ตาง ๆ ในหมูบ านทุกวันแลว เราตองศึกษาขอมูลที่เปนความตองการของชุมชนดวยเพื่อมาประกอบการ
ตัดสินใจวาเราควรประกอบอาชีพอะไรที่ตรงความตองการของคนในชุมชน

การสํารวจอาชพี ในชมุ ชน

เปนการรวบรวมขอมูลเกี่ยวกับอาชีพที่มีอยูในชุมชนวามีอาชีพอะไรบาง ซึ่งจะทําใหเรา
เห็นชองทาง โอกาส ความเปนไปไดที่เราจะเลือกประกอบอาชีพ

1. ประเภทอาชีพ ในชุมชนมีการประกอบอาชีพอะไรบาง มีคนประกอบอาชีพแตละ
ประเภทมากนอยเพียงใด โดยจําแนกประเภทของอาชีพดังนี้

1.1 อาชีพผลิตสินคาจําหนายเอง เชน การทําสวน ทําไร เลีย้ งสัตว และการ
ผลิตสนิ คา หนงึ่ ตาํ บล หนง่ึ ผลิตภณั ฑ

1.2 อาชีพคาขาย เปนอาชีพทีซ่ ื้อสินคาจากผูผลิตแลวนํามาจําหนายใหแก
ผบู รโิ ภค

1.3 อาชีพบริการ เปนอาชีพทีผ่ ูประกอบการขายความสะดวกสบาย สราง
ความพึงพอใจใหแกผ บู รโิ ภค เชน เสรมิ สวย ตดั ผม ลา งรถ ฯลฯ

1.4 อาชีพรับราชการ และรัฐวิสาหกิจ เปน อาชีพทมี่ รี ายไดแนนอน ผูป ระกอบ
อาชีพจะไดรับคาตอบแทนเปนเงินเดือน

1.5 อาชีพรับจางในองคกรเอกชน เปนอาชีพที่มีคาตอบแทนเปนรายเดือน
หรือรายสปั ดาห หรอื รายวัน

33

2. รายไดจากการประกอบอาชีพ ซึง่ จะสํารวจรายไดของประชากรในชุมชน โดย
อาจจะสํารวจเปนรายบุคคล หรือครัวเรือน

3. สินคาหรือบริการที่ไดรับความนิยมในชุมชน ซึง่ จะสํารวจทั้งสินคาอุปโภค สินคา
บรโิ ภค และงานบริการ

4. แหลงผลิต เปนขอมูลเกี่ยวกับแหลงผลิตสินคาทีน่ ํามาจําหนายในชุมชน ซึง่ อาจจะ

อยูใ นชุมชน หรือมาจากท่อี ืน่

เครื่องมือทีใ่ ชสํารวจ หรือเครือ่ งมือในการเก็บรวบรวมขอมูลทีม่ ีประเด็นคําถามชัดเจน
เขาใจงาย ครอบคลุมสาระขอมูลที่ตองการรวบรวม โดยใชวิธีการเก็บรวบรวมขอมูลตาง ๆ ดังนี้

1. การสัมภาษณ ผเู ก็บขอมูลจะเปนผถู ามใหต อบ แลว ผเู กบ็ ขอมูลจะบันทกึ ไวใ น
แบบสัมภาษณท สี่ รางขึ้น

2. การตอบแบบสอบถาม ผูท่ีใหขอ มูลจะเปน ผบู นั ทึกคําตอบตามคาํ ถามใน
แบบสอบถามดวยตนเอง

3. การสังเกต ผเู กบ็ ขอ มูลจะสงั เกตสภาพทว่ั ๆ ไป แลว บันทึกผลที่สังเกตไดลงใน
แบบสังเกตที่สรางไว

เมือ่ ไดขอมูลตาง ๆ แลวนําขอมูลทีไ่ ดมาพิจารณาหาจุดออน จุดแข็ง โอกาส และ
อปุ สรรค เพ่ือใชใ นการตดั สนิ ใจ

จดุ แขง็ หมายถึง ความสามารถ และสถานการณภายในองคกรที่เปนบวก ซึ่งองคกร
จดุ ออ น หมายถึง
โอกาส หมายถึง นํามาใชประโยชนในการทํางานเพื่อบรรลุวัตถุประสงค หรือหมายถึง
อปุ สรรค หมายถึง การดําเนินงานภายในองคกรทําไดดี
สถานการณภายในองคกรที่เปนลบ และดอยความสามารถ ซึง่ องคกร
ไมสามารถนํามาใชเปนประโยชนในการทํางานเพือ่ บรรลุ
วัตถุประสงค หรือหมายถึง การดําเนินงานภายในที่องคกรทําไดไมดี
ปจจัยและสถานการณภายนอกที่เอื้ออํานวยในการทํางานขององคกร
ใหบ รรลุวตั ถปุ ระสงค หรือหมายถึง สภาพแวดลอมภายนอกทีเ่ ปน
ประโยชนตอการดําเนินการขององคกร
ปจจัยและสถานการณภายนอกที่ขัดขวางการทํางานขององคกรไมให

บรรลุวตั ถปุ ระสงค หรอื หมายถึง สภาพแวดลอ มภายนอกทีเ่ ปน ปญหา
ตอ องคก ร

34

ใบงานท่ี 6

ใหผูเ รียนสํารวจชุมชนของตัวเอง แลวมากําหนดจุดแข็ง จุดออน โอกาส และอุปสรรค
ของชุมชนตนเอง เพื่อเปนขอมูลในการทําแผนธุรกิจของตนเอง
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………

35

เร่อื งที่ 2
การกําหนดวสิ ัยทัศน พนั ธกิจ เปา หมาย กลยุทธ

ในการกาํ หนดแผนธุรกจิ ชมุ ชน

การดํารงชีวิตของคนเรา จะมีเหตุการณมากมายหลายอยางเขามาเกี่ยวของกับชีวิตของ
แตละคน องคกร ชุมชน มีทั้งเปนคุณ และเปนโทษ ทําใหการดําเนินชีวิตผิดพลาด ทําใหเกิดความไม
เช่ือมั่นในตัวเอง องคกร ชุมชน สงผลใหหยอนสมรรถภาพในการทํางาน หรือการบริหารงานนั้น
จงึ ตอ งมีการกาํ หนดวิสัยทศั น พันธกิจ เปาหมาย กลยุทธ ในการกาํ หนดแผนธรุ กจิ ชุมชน

ความหมายของวิสัยทัศน

หมายถึง การมองภาพอนาคตของผูน ํา และสมาชิกในองคกร ชุมชน และกําหนดความ
ตองการรวมสุดทาย พรอมเชือ่ มโยงกับภารกิจ คานิยม และความเชือ่ เขาดวยกัน แลวมุงสูจ ุดหมาย
ปลายทางทีช่ ัดเจน ทาทาย มีพลัง และความเปนไปได โดยเปนความตองการของชุมชน และทุกคนใน
ชุมชนเหน็ พองตอ งกันแลว

ตวั อยาง
“หมูบานทับทิมสยาม 05 เปนชุมชนเกษตรอินทรีย เพือ่ อยูด ีมีสุข ตามหลักปรัชญาของ

เศรษฐกจิ พอเพยี ง ภายในป...........”
เมือ่ ไดวิสัยทัศนของชุมชนแลว ทุกครัวเรือนจะตองกําหนดวิสัยทัศนของครอบครัว เพื่อให

สอดคลองกับวิสัยทัศนชุมชน
ตัวอยาง
“ครอบครัวนายสมนึก มีมุกร เปนครอบครัวผลิตหนอไมฝรั่งเกษตรอินทรียเพือ่ การ

สง ออก ภายในป. ..............”

ความหมายของพนั ธกิจ

หมายถึง ความประสงค หรือความมุง หมายพืน้ ฐานขององคกร ชุมชน ทีจ่ ะตองทํา
เพือ่ ใหเกิดผลตามวิสัยทัศนที่กําหนดไว อาจกลาวไดวาเปนขอบเขตในการดําเนินงานขององคกร หรือ
ชุมชนก็ได พันธกิจทีด่ ีจะสามารถแยกความแตกตาง และคุณคาขององคกร ชุมชนแตละแหงไดอยาง
ชัดเจน ดังนั้นพันธกิจจะบงบอกวาธุรกิจขององคกร ชุมชนคืออะไร อะไรคือสิง่ ทีอ่ งคกร ชุมชนตองการ
จะเปน และบางครั้งอาจแสดงสิ่งที่องคกร ชุมชนกําลังใหบริการแกลูกคาอยูทั้งผลิตภัณฑ และบริการ ซี่ง
มกั จะคํานึงถงึ สง่ิ ตอไปน้ี

36

อะไร - เพื่อระบุถึงหนาที่ของชุมชนวาจะดําเนินการอะไรบาง เชนการทําธุรกิจ
การสนองความตองการของลูกคาดวยตัวสินคาและบริการประเภทใด

ใคร - จะใหบ ริการแกผ บู ริโภคในกลมุ ใด และกลุมเปา หมายท่ีสําคญั เปนใคร
ทําไม - จะทําใหชุมชนยืนหยดั อยไู ด
อยางไร - จะมีกรรมวิธีในการปฏิบัติอยางไร มีวิธีการขายสินคาและบริการดวยวิธีการใด ใช

เทคโนโลยีการผลิตและใหบริการแบบไหน
ตัวอยาง
พันธกิจของชุมชนบานทับทิมสยาม 05

1. ชุมชนบานทับทิมสยาม 05 รว มกบั ภาคพี ฒั นา สรางผนู าํ ชมุ ชนหรอื ภมู ปิ ญญาใหเปน
ผชู ํานาญการเรือ่ งเกษตรอินทรีย

2. จัดเวทีประชาคมทุกวันที่ 5 เวลา 18.00น.ของทกุ เดอื น
3. ประสานงานขอความชวยเหลือจากภาครัฐและเอกชน

ความหมายของเปาหมาย

หมายถึง สิ่งที่เราตองการจะใหเปนอยางนัน้ ตามขอบงชี้ความสําเร็จตามพันธกิจ จะตอง
มผี ลออกมาในเชิงปริมาณ คือเปนรูปธรรม สามารถคิดคํานวณ หรือคิดหาเปอรเซ็นตได

ตวั อยา ง
“ชุมชนบานทับทิมสยาม 05 ผลิตหนอไมฝรั่งเกษตรอินทรียเพือ่ การสงออกใหไดพืน้ ที่

ปลกู จาํ นวน 100 ไร ภายในป...........”

ความหมายของกลยทุ ธ

หมายถึง ตัวที่ถูกกําหนดขึน้ มาเพื่อเปนกรอบของการจัดการใหดําเนินงานเปนไปตาม
เปาหมาย ที่จะชวยชี้นําถึงกระบวนการในการวางแผนปฏิบัติการตอไป

ตวั อยาง
1. กลยทุ ธธรุ กจิ
1.1 เปนสินคาเดยี่ ว ที่เปน ตวั ทํารายไดด ที ส่ี ดุ
1.2 ขยายผลการผลติ ไปสูชุมชนอืน่
2. กลยทุ ธการตลาดและผลิตภณั ฑ
2.1 มีการทําสัญญาซื้อขายลวงหนา
2.2 สินคามีการรับรองมาตรฐานเกษตรอินทรียสากล
2.3 คน ควาเพ่ือไดนวตั กรรม เทคโนโลยีชว ยในการผลิต

37

3. กลยุทธหนาที่ของชุมชน
3.1 สภาวะแวดลอ มทง้ั ภายในและภายนอก
3.2 ทุนและทรัพยากรธรรมชาติที่มีอยู

1. สภาพการประกอบอาชีพในชุมชน

ในแตละชุมชน หรือทองถิน่ มีสภาพแวดลอมแตกตางกันออกไป สภาพความเปนอยู
ของประชากรในแตละชุมชนก็แตกตางกันออกไปดวย ฉะนั้นการเลือกประกอบอาชีพ โดยเฉพาะอยางยิ่ง
การเลือกประกอบอาชีพอิสระ หากเรามีความรูค วามเขาใจสภาพของชุมชน และการประกอบอาชีพ
ทีด่ ําเนินการอยูใ นชุมชนนัน้ ๆ ก็จะทําใหเรามีขอมูลเบือ้ งตนสําหรับนํามาพิจารณาเพือ่ ใหเห็นชองทาง
ในการประกอบอาชีพ รวมทั้งจะชวยใหเราสามารถตัดสินใจเลือกประกอบอาชีพไดเหมาะสมยิ่งขึ้น

2. สภาพความตอ งการของชุมชน

ความตองการของชุมชนเปนปจจัยสําคัญอยางหนึ่งในการตัดสินใจเลือกประกอบอาชีพ
เพราะวาเราจะไดรูว าชุมชนตองการอะไรบาง เราจะไดพิจารณาเพือ่ ใหตอบสนองความตองการนั้น
จึงจําเปนตองมีการสํารวจความตองการของชุมชนเกี่ยวกับการประกอบอาชีพ ซึ่งสามารถรวบรวมขอมูล
ไดหลายวิธี เชน การสัมภาษณ การตอบแบบสอบถาม หรือการสังเกตการใชจายของคนในชุมชนวาใน
แตละวันมีความตองการอุปโภค บริโภคสิ่งใด ผูเรียนจะตองออกแบบสรางเครือ่ งมือ หรือแบบสอบถาม
สําหรับการเก็บรวบรวมขอมูล นํามาสรุปสภาพความตองการโดยเรียงลําดับจากมากไปหานอย

3. สภาพความพรอมในการประกอบอาชีพ

เมือ่ ผูเรยี นไดสํารวจความตองการของชุมชนแลว ก็พอจะมองเห็นแนวทางในการเลือก
อาชีพบางแลววาควรจะประกอบอาชีพใดในชุมชน แตกอนทีจ่ ะตัดสินใจเลือกอาชีพควรจะไดพิจารณา
ถึงความพรอมในการประกอบอาชีพกอนวาเรามีความพรอม และเหมาะกับตัวเราเอง จึงจะทําใหการ
ประกอบอาชีพประสบความสําเร็จ

เมือ่ ไดสภาพการประกอบอาชีพแลว ก็สามารถกําหนดวิสัยทัศน พันธกิจ เปาหมาย
และกลยุทธได

38

ใบงานที่ 7

ใหผูเรียนกําหนดวิสัยทัศน พันธกิจ เปาหมาย และกลยุทธ ในการกําหนดแผนธุรกิจ
ของชุมชน 1 อาชพี ท่ตี ัวเองชอบ และถนัด
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………

39

เรอ่ื งท่ี 3
การวางแผนปฏบิ ตั กิ าร

เมื่อผเู รียนไดกําหนดแผนธุรกิจของชุมชนแลว ก็พอมองเห็นแนวทางในการเลือกอาชีพ
ควรที่จะประกอบอาชีพใดในชุมชน แตกอนจะตัดสินใจเลือกควรจะตองพิจารณาถึงความพรอมในการ
ประกอบอาชีพกอนวา เรามีความพรอมทีจ่ ะประกอบอาชีพมากนอยเทาใด ดังนัน้ การประกอบอาชีพให
ประสบผลสําเร็จจําเปนตองมีการวางแผนอยางเปนระบบ
การจดั ทาํ แผนการปฏบิ ตั กิ าร

มีขั้นตอนของการจัดทําแผนการปฏิบัติการ 5 ขัน้ ตอน ดังนี้
1. การวางแผน การวางแผนเปนจุดเริ่มตนในการดําเนินการ โดยกําหนดวัตถุประสงค
และวธิ ีดาํ เนินงาน เพอ่ื ใหบรรลุวตั ถุประสงคท ก่ี ําหนดอยา งมปี ระสทิ ธิภาพ และประสิทธิผล

ความสําคัญของการวางแผน

1. เปนการคาดการณสิ่งที่จะเกิดในอนาคต
2. เปน การกาํ หนดวธิ กี ารดาํ เนนิ งานตา ง ๆ อยางเปน ขน้ั ตอน เพอื่ ใหบ รรลวุ ัตถุประสงค
3. ทําใหบุคคลรูหนาที่ และความรับผิดชอบอยางชัดเจน
4. ทําใหเกิดการประสานงานที่ดี และเปนระบบในองคกร

หลกั สําคญั ในการวางแผน

1. การศึกษาขอมลู พื้นฐานเพอื่ การวางแผน
1.1 การวิเคราะหผลตอบแทนของการลงทุน การทํากิจกรรมใดสิง่ ทีต่ องการคือ
ผลตอบแทนท่ีไดกาํ ไร ดังนน้ั การประกอบธรุ กิจจงึ เปนกจิ กรรมทต่ี องการกําไร คอื

1. กําไรทเ่ี ปน ตัวเงิน
2. กําไรทีเ่ ปนผลพลอยไดต อ สังคม
1.2 การพิจารณาเกีย่ วกับสถานที่ประกอบการ ศึกษาสถานทีป่ ระกอบการอยูใกลแหลง
ชุมชน วัตถุดิบ แรงงาน ตลอดถึงการขนสง ที่จะสงผลใหประสบผลสําเร็จในการประกอบอาชีพ
1.3 ชวงระยะเวลาการผลิต มีความจําเปนอยางยิ่ง มีการวิเคราะหชวงระยะความตองการ
ของผูบ ริโภค ตลอดจนใชชวงทีว่ ิกฤตใหเปนโอกาส เชน น้ํามันราคาสูงจะตองปรับเปลีย่ นมาใช
แกสแทน เปน ตน
1.4 ความตองการของผูบ ริโภค จะตองสํารวจความตองการของผูบ ริโภคมีความ
ตอ งการสินคาแบบใด ปริมาณมากนอยเพียงไร

40

2. การกาํ หนดเปาหมาย จะตองมีการกําหนดเปาหมาย 2 ลกั ษณะคือ
2.1 เปาหมายเชิงปริมาณ จะตองมีการกําหนดปริมาณสินคาทีจ่ ะผลิตเขาสูตลาดวามี
อะไร จาํ นวนเทา ไร ในแตล ะชวงเวลา
2.2 เปาหมายเชิงคุณภาพ มีปจ จยั ทพี่ จิ ารณาคือ

- ลักษณะผลผลติ เขา สตู ลาด
- ขนาดผลผลติ และอื่นๆ

ตัวอยาง ตารางแสดงเปาหมายการผลิต

ผลผลติ ปริมาณผลผลติ คณุ ภาพผลผลติ

ก.ผักกนิ ผล 1.ไดรับรองมาตรฐานเกษตรอินทรีย
2. - มะเขอื เทศ 15 ลูก/ก.ก.
- มะเขอื เทศ 50 ก.ก./วนั
- มะเขือยาว 10 ลกู /ก.ก.
- มะเขือยาว 20 ก.ก./วนั - บวบหอม 8 ลูก/ก.ก.

- บวบหอม 30 ก.ก./วนั

3. การกําหนดกิจกรรมดําเนินการ เมือ่ กําหนดเปาหมายการผลิตแลว จะตองมีการ
กําหนดกิจกรรมดําเนินงานใหสามารถมีผลผลิตไดตามเปาหมาย ไดแก

3.1 การกาํ หนดสินคาท่ผี ลิต ตามลกั ษณะของสนิ คา ซึ่งจะตอ งผลิตจาํ นวนเทาใดตอ วัน
3.2 การจดั ระบบแรงงาน วตั ถดุ บิ จาํ นวนเทา ไรในแตล ะชว ง
3.3 การจดั อุปกรณใหค รบและพรอมทีจ่ ะผลติ ไดตลอดเวลา
3.4 อนื่ ๆ

4. การตรวจสอบแผน การตรวจสอบแผนทําไดโดยพิจารณาความเปน ไปไดด งั น้ี
4.1 การลงทุน เงินทุนที่จะใชตามแผนมีเพียงพอหรือไม
4.2 แรงงานที่จะใชตามขั้นตอนการดําเนินงานเพียงพอหรือไม
4.3 ขั้นตอนการดําเนินงาน จะทําไดทันตามเวลาและปริมาณงานหรือไม
4.4 วัสดอุ ปุ กรณ เพยี งพอพรอ มใชงานหรอื ไม
4.5 เมอ่ื ดาํ เนนิ งานแลว ไมข าดทนุ

5. การปฏิบัติตามแผน เมื่อพิจารณาตรวจสอบแผนแลววาสามารถดําเนินการได ลงมือ
ปฏิบตั ิตามขน้ั ตอนตางๆ ตามแผนโดยมีหลกั การดงั นี้

5.1 ดาํ เนนิ งานตามแผน
5.2 ทําการติดตามผลการดําเนินงานอยางละเอียดทุกขั้นตอน ศึกษาสภาพปญหา หาทาง
แกไขจากประสบการณและผูร ตู างๆ

41

5.3 ติดตามผลวากิจกรรมใดทีไ่ มประสบผลสําเร็จ ตองหากิจกรรมอืน่ หรือผลผลิตอืน่
แทนเพ่ือจะไดผ ลผลติ ตามแผนที่กําหนดไว

ตัวอยา งการวางแผนปฏิบัติการ

แผน ผลิตหนอ ไมฝร่ังอนิ ทรีย
วัตถปุ ระสงค
เปา หมาย ผลติ หนอไมฝ ร่งั อนิ ทรียเพอ่ื การสงออก
แผนงาน 1
แผนงาน 2 ปลกู หนอ ไมฝร่ังอินทรียจ าํ นวน 100 ไร
ผลิตปุยหมกั ชวี ภาพวันละ 1 ตนั
ผลิตหนอ ไมฝ รงั่ อินทรยี เพ่ือการสง ออก

ผลิตปุยหมักชวี ภาพวนั ละ 1 ตนั

42

ใบงานท่ี 8

ใหผเู รียนจัดทาํ การวางแผนปฏิบัติการอาชีพที่เหมาะสม ตามตัวอยางที่เรียนมา
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………

43

บทที่ 3
การจดั การการผลติ หรือการบรกิ าร

สาระสําคัญ
ความรู ความเขาใจเกีย่ วกับการควบคุมคุณภาพผลิตภัณฑ และบริการใหไดตาม

มาตรฐานของสินคา ตลอดมีการใชนวัตกรรมและเทคโนโลยีมาชวยในการผลิต เพือ่ ใหไดผลิตภัณฑที่มี
ขนาดปริมาณตามความตองการ การลดตนทุนการผลิตการบริการ และจัดทําแผนการผลิต/บริการท่ีดี
เปนองคประกอบสําคัญของการจัดการการผลิต/บริการ

ตวั ช้ีวดั

1. จัดการเกีย่ วกับการควบคุมคุณภาพ
2. อธิบายวิธีการใชนวตั กรรม เทคโนโลยใี นการผลิต
3. อธิบายข้นั ตอนการลดตนทนุ การผลิตหรอื การบริการ
4. จดั ทําแผนการจัดการผลิตหรือการบริการ

ขอบขายเนอื้ หา

เร่อื งที่ 1 การจดั การเก่ยี วกับการควบคุมคุณภาพ
เรือ่ งที่ 2 การใชนวตั กรรม เทคโนโลยใี นการผลิต
เรอ่ื งท่ี 3 การลดตนทนุ การผลิตหรือการบริการ
เรอื่ งท่ี 4 การจดั ทําแผนการจดั การการผลิตหรอื การบริการ

ส่ือประกอบการเรยี นรู

1. ใบความรู
2. แหลง เรยี นรู
3. ใบงาน

44

เร่อื งที่ 1
การจดั การเกยี่ วกับการควบคมุ คณุ ภาพ

ในการประกอบอาชีพ เปนเรื่องการตัดสินใจเริ่มตน คดิ และนาํ ไปสกู ารปฏิบัติ ซ่ึงผูริเริ่ม
อาชีพจะตองจัดการเกีย่ วกับคุณภาพของสินคาทุกขัน้ ตอนใหเปนไปตามมาตรฐาน ขอกําหนด และมี
ขอควรปฏิบัตดิ ังน้ี
1. การสรา งความคิดในการทําผลิตภัณฑ

เปนการคนหาความคิดของตนเองในการทําอาชีพ วาจะเปนไปไดหรือไม และมองเหน็
ชองทางที่จะขายผลติ ภณั ฑข องตนเองทกี่ ําหนดไวได ซึ่งจะตองมีเทคนิคการคนหาอาชีพ คือ

1.1 ตองดูคุณสมบัติของผลิตภัณฑ กลาวคือเมื่อทําผลิตภัณฑขึน้ มาแลว ตองมีปริมาณ
ความตองการของลูกคาเกิดขึ้น

1.2 ตองกําหนดความตองการและปญหา กลาวคือ ตองรูวาผลิตภัณฑที่จะทําสามารถ
แกป ญ หาอะไรใหก บั ผบู ริโภคไดบ า ง ทั้งในดานการบริการ ความสะดวกสบาย และความสนใจในสินคา

2. เลือกผลิตภณั ฑ หรอื อาชีพ
เปนการพิจารณาเลือกความคิด และทําสินคาที่ตนเองคิดวาเหมาะสม และสามารถสราง

กําไรในการดําเนินงานได ซึง่ ตองพิจารณาความรูค วามสามารถของตนเอง โอกาสในการสรางตลาด
สนิ คาของตนเอง และจัดเตรยี มวสั ดอุ ปุ กรณต า ง ๆ ใหพรอ มในการทําผลิตภณั ฑ

3. การทดสอบผลติ ภัณฑ
เปน การพัฒนาแนวความคิดของตนเองเกีย่ วกับผลิตภัณฑท่ีตนเองสรางขึน้ และพยายาม

สรางภาพลักษณทีด่ ีในผลิตภัณฑของตนเอง เชน กําหนดชือ่ สินคา และตราสินคาทีเ่ หมาะสม และ
สอดคลอ งกับผลติ ภณั ฑ และจะตองมคี ําถามในการทดสอบผลิตภัณฑเ สมอ ดังนี้

3.1 ผลติ ภณั ฑที่สรา งข้นึ นาเช่อื ถือหรอื ไม
3.2 ผลติ ภณั ฑเปนทต่ี องการ หรอื แกปญ หา หรอื ตอบสนองความพอใจของผูบริโภค

หรอื ไม
3.3 ผใู ดหรือเปาหมายใดทีจ่ ะเปนคนใชผ ลติ ภัณฑข องเราบา ง
3.4 ราคาท่กี ําหนดไวเหมาะสมกับคุณภาพของผลติ ภณั ฑห รอื ไม

4. มาตรฐานของผลติ ภัณฑ
มาตรฐาน คือ เกณฑในการพิจารณาผลิตภัณฑ หรือสินคา เพื่อใหการรับรองวา

ผลิตภัณฑ หรอื สนิ คา นน้ั มคี ุณภาพตามท่ีแจง ไวในฉลาก โดยมมี าตรฐานอตุ สาหกรรมที่ใชก นั อยูท่วั ไป
4.1 มาตรฐานระบบคุณภาพ ISO 9000 สวนใหญจะใชกับสินคาหรือผลิตภัณฑทีต่ องการ

รบั รองคณุ ภาพ

45

4.2 มาตรฐานระบบการจัดการสิง่ แวดลอม ISO 14000 เปนการรับรองมาตรฐาน
สิ่งแวดลอม โดยเฉพาะโรงงานอุตสาหกรรมที่มีระบบการกําจัดน้ําเสีย และไมทําลายสิง่ แวดลอมก็จะได
การรับรองมาตรฐานนี้

4.3 มาตรฐานขอกําหนดทัว่ ไปวาดวยความสามารถของหองปฏิบัติการสอบเทียบ
และหองปฏิบัติการทดสอบ มอก 1300 – 2537 เปนมาตรฐานที่สรางความเชื่อมั่น กลาวคือ หลังจากมีการ
ทดสอบในหองปฏิบัติการ หรอื การสอบน้ันแลวจะทําใหเปนทีย่ อมรับในผลการทดสอบ หรือสอบเทียบ
และผลการทดสอบระหวางประเทศ ซึ่งจะชวยแกปญหาทางวิกฤตการณในขอตกลงดานการกีดกัน
ทางการคาได

5. ความสาํ คัญ และประโยชนของเครือ่ งหมายมาตรฐาน
5.1 ความสําคัญของเครื่องหมายมาตรฐาน
เคร่ืองหมายมาตรฐานทัว่ ไปจะพบในสินคา หรือผลิตภัณฑประเภทตาง ๆ

ผลิตภณั ฑท่ีแสดงเคร่ืองหมายมาตรฐาน แสดงวาเปนผลติ ภณั ฑท ี่ใหความมัน่ ใจ คือ
1. มีคุณภาพตรงตามมาตรฐาน
2. ปลอดภยั ในการบริโภค
3. ราคาเหมาะสมกับคุณภาพ
4. ผซู ้อื ไดรบั ความเปน ธรรม

5.2 ประโยชนของเครื่องหมายมาตรฐาน
เครื่องหมายมาตรฐานจะชว ยอาํ นวยประโยชนแ กบุคคลหลาย ๆ ฝา ย ท้ังผูผลติ

และผูบรโิ ภค โดยการกําหนดมาตรฐานที่จะสง ผลตอภาพลกั ษณ และเศรษฐกิจของชาตโิ ดยสว นรวมคอื
1. ปลอดภัยในการใชงาน และการบริโภคสินคา
2. สะดวก ประหยดั เงนิ และเวลาในการเลอื กซอ้ื และเลือกใชส ินคา เพราะ

ผลติ ภัณฑมาตรฐาน เปนสินคาที่สามารถใชทดแทนกัน และมีมาตรฐานใกลเคียงกัน
3. ไดรับความยุติธรรมในการซื้อสินคา หรือผลิตภัณฑที่มีคุณภาพเหมาะสมกับ

ราคา และสามารถเลือกซื้อไดตามความตองการ
4. สามารถซือ้ สินคาทีม่ ีคุณภาพ และเหมาะสมกับการใชประโยชนไดอยาง

ถกู ตอง
5. สามารถทดแทนชิ้นสวนอุปกรณที่ชํารุดไดสะดวก และรวดเร็ว ไมจําเปนตอง

ปรับเปลี่ยนอุปกรณใหมทั้งชุด เนื่องจากอุปกรณบางชนิดสามารถใชทดแทนกันได
6. ซือ้ สวนประกอบ และอะไหลทีต่ องการปรับเปลีย่ นไดงาย เนื่องจากอุปกรณมี

ใหเลอื กใช และมีขายอยทู ่วั ไป

46
การประกอบกิจการจะตองเรียนรูเ กี่ยวกับเครือ่ งหมายมาตรฐาน เพือ่ รักษาสิทธิและ
ประโยชนของกิจการ นอกจากนี้ยังตองมีคุณธรรม จริยธรรมทางธุรกิจจึงจะเปนผูป ระกอบการทีด่ ี ทําให
เกิดความมั่นคง และเจริญกาวหนาในอาชีพตอไป

ภาพที่ 1 เครื่องหมายมาตรฐานผลิตภณั ฑ มอก.

ภาพที่ 2 ตรารับรองคุณภาพระบบตรวจสอบสารพิษ

47

Hygienic Fresh Fruit and Vegetable
Production Pilot Project
Department of Agriculture Thailand

ภาพที่ 3 ตรารับรองผกั ผลไมอ นามัย
ภาพท่ี 4 ตรารับรองอาหารปลอดภัย

ภาพที่ 5 เครื่องหมายรับรองผลิตภณั ฑเ กษตรอินทรีย ACT

48
ภาพท่ี 6 เคร่ืองหมายรับรองผลิตภัณฑเ กษตรอินทรยี  Organic Thailand

ภาพที่ 9 เครื่องหมายรับรองผลติ ภัณฑเกษตรอนิ ทรีย OMIC/JAS
ภาพที่ 10 เคร่ืองหมายรับรองผลติ ภัณฑเกษตรอินทรยี  BCS

49

ใบงานท่ี 9

ใหผ เู รียนนําเครื่องหมายรับรองสินคามา 1 ชิ้น พรอมอธิบายความหมายดวย
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………

50

เรอื่ งที่ 2
การใชน วตั กรรม/เทคโนโลยีในการผลิต

ในปจจุบันมนุษยเราตองการความสะดวกสบาย จึงมีความจําเปนทีจ่ ะตองนําเอา
นวตั กรรม เทคโนโลยีมาใชเพือ่ ชวยเหลือ หรือประกอบกับงานอาชีพที่มีอยู และอํานวยความสะดวกใน
การดํารงชีวิตประจําวัน ตลอดจนนํามาประยุกตใชใหเกิดประโยชน เพือ่ ลดระยะเวลา แรงงาน เพือ่ จะได
ผลผลิตจํานวนมากตามความตองการ

นวัตกรรม หมายถึง สิ่งประดิษฐทีค่ ิดคนขึน้ มาใหมเพื่อชวยเหลือ อํานวยความสะดวก
พัฒนางานใหดีขึ้นทั้งคุณภาพ และปริมาณ ตรงตามความตองการของตัวเอง และผูร ับบริการ เชน การทํา
เคร่ืองมืออัดปุย น้ําใหแกตนพืชในดิน ทําใหประหยัดการใชปุย ตนพืชสามารถใชไดเต็มที่ ไมมีการ
สูญหายจากการชะลาง และระเหยหายไป เปนตน

เทคโนโลยี หมายถึง การนําความรู ทักษะ และทรัพยากรมาสรางวิธีการ หรือสิง่ ของ
เครื่องใช หรือการนําวิธีการโดยผานกระบวนการเพื่อแกปญหา สนองความตองการ หรือเพิ่ม
ความสามารถในการทํางาน เชน อดีตใชแรงงานผสมปุยหมัก ปจจบุ ันใชเ ครือ่ งผสมและอดั เม็ด เปน ตน

ระดับของเทคโนโลยีในประเทศไทย จัดแบงออกได 3 ระดับ คือ
1. เทคโนโลยีระดับต่าํ เปนเทคโนโลยีสําหรับใชงานอยางงาย ๆ เปนความคิด
ภูมิปญญาทองถิ่นท่ีใชกันมาด้ังเดิม ไดมีการพัฒนาจากการใชมือขุดคุย มาเปนใชไม หรือเหล็ก
จนปจ จุบนั เปนจอบ เสยี ม เคยี วเกี่ยวขาว ใชข วาน กบไสไม การพายเรือใชไมพ าย เปนตน
2. เทคโนโลยีระดับกลาง เปนเทคโนโลยีทีอ่ าศัยความรูท างวิทยาศาสตร ไมสลับ
ซบั ซอน มีการใชเคร่อื งมอื ทนุ แรงอยางงา ย เชน รอก คานดีด รถจกั รยาน กังหนั ลม ระหัดวดิ นํา้ เปนตน
3. เทคโนโลยีระดับสูง เปนเทคโนโลยีที่ตองอาศัยความรูและวิทยาการระดับสูง เชน
เครอ่ื งพรวนดนิ รถแทรกเตอร คอมพวิ เตอร เปน ตน
หลกั การเลือกนวตั กรรม/เทคโนโลยีในการผลติ
แนวทางในการตัดสินใจเลือกใชนวัตกรรม / เทคโนโลยีที่เหมาะสม เพือ่ นํามา
ประยกุ ตใ ชในการผลิต โดยคาํ นึงถึงผลกระทบตอสังคม และสงิ่ แวดลอ ม
1. เลือกขนาดที่พอเหมาะกับงาน
2. ใชงาน ราคาถูก และมีประสิทธิภาพ
3. สามารถใชว สั ดุพ้นื บา น หรือวสั ดุทองถน่ิ
4. ใหผลคุม คา
5. มีความสะดวกในการใชงาน
6. ไมเ ปนอนั ตรายตอผใู ช และธรรมชาตสิ ิ่งแวดลอม


Click to View FlipBook Version