The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by utumporn ammavongthajit, 2019-09-04 06:55:57

e-book DVIFA62

e-book DVIFA62

DVIFA CHAMPION

สมั นาเชิงปฏบิ ตั กิ ารนอกสถานท่ี
ของสถาบนั การตา งประเทศฯ

สัมมนาเชงิ ปฏบิ ัตกิ ารนอกสถานท่ี
ของสถาบันการต่างประเทศเทวะวงศว์ โรปการ

ระหว่างวนั ที่ 5 - 9 กันยายน 2562

(รวมวนั เดนิ ทาง)

ท่ีจังหวดั ระนองและจงั หวดั ชมุ พร

กำ� หนดการ
DVIFA CHAMPION

ก�ำหนดการสมั มนาเชงิ ปฏิบัติการนอกสถานท่ีของสถาบนั การต่างประเทศฯ
วันที่ 5 – 9 กันยายน 2562 (รวมวนั เดินทาง)
ทจี่ งั หวดั ระนองและจังหวดั ชุมพร

รูปแบบ: - การเรยี นรู้ร่วมกัน เพื่อน�ำมาปรับใช้กับการออกแบบหลกั สตู ร
พฒั นามมุ มองและกระบวนการท�ำงาน

- มงุ่ เนน้ การพฒั นาการทำ� งานของทมี Dvifa ใหม้ ปี ระสทิ ธภิ าพ ดแู ลกนั /
อยรู่ ว่ มกนั อยา่ งมคี วามสขุ สามคั คแี ละมสี ว่ นรว่ ม

วันพฤหัสบดีที่ 5 กนั ยายน 2562
ออกเดินทางโดยรถไฟ (รถดว่ น) ขบวนที่ 85
19.30 น. จากสถานีกรงุ เทพฯ
19.46 น. จากสถานสี ามเสน
19.55 น. จากสถานีชมุ ทางบางซื่อ

วนั ศกุ ร์ท่ี 6 กนั ยายน 2562 (การแต่งกาย : ล�ำลอง สวมเสือ้ เหลอื ง)

คณะรถไฟ (21 คน) คณะเครอื่ งบิน (5 คน : ผส., พี่เชอรร์ ี,่
04.13 น. - คณะเดนิ ทางถงึ สถานี พ่จี ิน, พ่พี ร, พี่อ้อม)
รถไฟชุมพร 05.00 น. คณะพรอ้ มกันท่ที า่ อากาศยาน
- อาหารเช้า ดอนเมอื ง
08.30 น. ออกเดินทางไป 06.05 น. ออกเดนิ ทางโดยสายการบนิ
อ. กระบรุ ี จ. ระนอง นกแอร์ DD7312
07.30 น. เดนิ ทางถงึ ท่าอากาศยานระนอง
08.15 น. อาหารเช้าทีโ่ รงแรมฟารม์ เฮ้าส์
09.00 น. ออกเดินทางไป
อ. กระบุรี จ. ระนอง

10.00 - 11.30 น. Workshop “Local go Global
กาแฟไทยสสู่ ากล”
โดย คณุ สพุ จน์ กรประสทิ ธวิ์ ฒั น์
และคณะ ท่ี Gong Valley
11.30 - 12.30 น. อาหารกลางวนั ที่ Gong Valley

13.00 - 14.00 น. กจิ กรรมจติ อาสาสรา้ งสขุ ปลกู ตน้ กลา้ ความดใี หน้ อ้ ง
ทโ่ี รงเรยี นกระบรุ ี (โรงเรยี นในโครงการยวุ ทตู ความดเีฉลมิ พระเกยี รตฯิ )
14.00 น. ออกเดนิ ทางไป อ. กะเปอร์
15.45 น. เดนิ ทางถงึ บา้ นไรไ่ ออรณุ
16.00 - 17.00 น. การบรรยาย / นำ� ชม ประเดน็ ศกึ ษา “เศรษฐกจิ พอเพยี ง...
พอแลว้ ด:ี พลกิ ฟน้ื คนื ถน่ิ ”
โดย คณุ วโิ รจน์ ฉมิ มี และคณะ ทบ่ี า้ นไรไ่ ออรณุ
- เขา้ ทพี่ กั
- ตามอธั ยาศยั (ถา่ ยภาพ ขจี่ กั รยาน พกั ผอ่ นรมิ ฝายนำ้�
ชมแปลงผกั สำ� รวจพนื้ ท่ี ฯลฯ)
18.30 น. - อาหารเยน็ (แตง่ กาย Theme: Dear Garden with Love
ดอกไมใ้ นสวนสวย)

วนั เสารท์ ี่ 7 กนั ยายน 2562 (การแตง่ กาย : ลำ� ลอง สวยหลอ่ ตามสะดวก)
06.15 น. ออกเดนิ ทางไปตลาดกะเปอร์ ใสบ่ าตรและชมวถิ ชี มุ ชน
(โปรแกรมนต้ี ามความสมคั รใจและความสะดวก.
ทา่ นทป่ี ระสงคเ์ ขา้ รว่ ม แจง้ ชอ่ื ลว่ งหนา้ 1 วนั
ทโ่ี จน้ ะคะ เพอ่ื เตรยี มรถคะ่ )
08.00 น. อาหารเชา้
10.00 น. ออกเดนิ ทางไป อ. พะโตะ๊ จ. ชมุ พร
11.00 น. อาหารกลางวนั แบบชาวแพ ทค่ี รวั ชาวแพ

12.00 - 14.00 น. ลอ่ งแพลำ� นำ้� พะโตะ๊ ทม่ี าลนิ พะโตะ๊
14.00 น. เดนิ ทางกลบั อ. เมอื ง จ. ระนอง
15.15 น. เชค็ อนิ ทโี่ รงแรมเดอะบลสู กายรสี อรท์ แอทระนอง
15.45 น. ออกเดนิ ทางไปทา่ เรอื ประภาคารระนอง
16.00 - 20.00 น. อาหารเยน็ (ในเรอื ) และกจิ กรรมศกึ ษาประวตั ศิ าสตร์
ลอ่ งเรอื ไทมแ์ มชชนี ระนอง ร.ศ. 109
20.00 น. - เดนิ ทางกลบั โรงแรม
- พกั ผอ่ นตามอธั ยาศยั

วนั อาทติ ยท์ ่ี 8 กนั ยายน 2562 (การแตง่ กาย : ลำ� ลอง สวยหลอ่ ตามสะดวก)

คณะเครอื่ งบนิ (ผส., พไ่ี ม, พเ่ี ชอรร์ ,่ี พจ่ี นิ , พพ่ี ร, พอี่ อ้ ม, พศ่ี ร)ี
เชา้ - อาหารเชา้
09.30 น. - ออกเดนิ ทางไปวดั บา้ นหงาว และแวะซอ้ื ของฝากรา้ นวชั รี
11.00 - 12.00 น. อาหารกลางวนั ท่ี The Hidden Resort & Restaurant
12.30 น. เดนิ ทางถงึ ทา่ อากาศยานระนอง
13.35 น. ออกเดนิ ทางโดยสายการบนิ แอรเ์ อเชยี FD3141
15.05 น. เดนิ ทางถงึ ทา่ อากาศยานดอนเมอื ง

คณะรถไฟ อาหารเชา้
เชา้
08.00 น. ออกเดนิ ทางไป อ. เมอื ง จ. ชมุ พร
10.00 น. เดนิ ทางถงึ ทา่ เรอื ทพิ มารนี า่
10.00 – 17.00 น. อทุ ยานแหง่ ชาตหิ มเู่ กาะชมุ พร

17.15 น. สกั การะกรมหลวงชมุ พรเขตอดุ มศกั ดิ์ ทศ่ี าลกรมหลวงชมุ พรเขตอดุ มศกั ด์ิ
18.00 น. อาหารเยน็
21.00 น. เดนิ ทางถงึ สถานรี ถไฟชมุ พร
21.22 น. ออกเดนิ ทางกลบั กรงุ เทพฯ โดยรถไฟ (รถดว่ น) ขบวนท่ี 86

วนั จนั ทรท์ ่ี 9 กนั ยายน 2562
06.05 น. เดนิ ทางถงึ สถานชี มุ ทางบางซอ่ื
06.14 น. เดนิ ทางถงึ สถานสี ามเสน
06.30 น. เดนิ ทางถงึ สถานกี รงุ เทพฯ

* กำ� หนดการอาจปรบั เปลย่ี นตามความเหมาะสม และภมู อิ ากาศ โดยเฉพาะ การลอ่ งแพ
และลอ่ งเรอื
ขอ้ แนะนำ� / การเตรยี มตวั
- อปุ กรณ์ กนั แดด กนั ฝน : แวน่ กนั แดด ครมี กนั แดด หมวก รม่ เสอ้ื กนั ฝน

รองเทา้ ชนดิ เปยี กได้ ฯลฯ
- ยารกั ษาโรค (สว่ นบคุ คล)
- ชดุ สำ� หรบั ลอ่ งแพและกจิ กรรมทห่ี มเู่ กาะชมุ พร : กางเกงขาสน้ั เสอื้ ยดื รองเทา้ แตะ

หรอื รองเทา้ สานชนดิ เปยี กได้

รายชื่อและการเดินทาง

สถาบันการต่างประเทศเทวะวงศว์ โรปการ

ลำ� ดบั ท่ี ชอ่ื -สกุล เบอร์โทรติดตอ่
1 นางสาวลดา ภูม่ าศ 09-5208-9998
2 นางสาวชไมพร ตนั ตเิ วสส (พ่ไี ม) 08-1920-0090
3 นางพรสุข ศานตกิ รถาวร (พเี่ ชอรี่) 08-8022-4773
4 นางสาวจนิ ตนา พฒั นกิจ (พ่จี ิน) 08-1814-7993
5 นางสาวพรนิภา บุญประเสรฐิ (พี่พร) 08-1836-7700
6 นางสาวฉตั ราภรณ์ พริ ณุ รตั น์ (พอี่ ้อม) 08-1566-1315
7 นางสาวสภุ ิตา วิทยวัตรเจริญ (พศี่ รี) 08-6908-5113
8 นายภาณุทตั ยอดแกว้ (พี่ไข่ไก)่ 09-9192-2277
9 นายณัทกร เยอเจริญ (ปอนด)์ 08-9666-2665
10 นายชรนิ ทร์ สายพชร (เปยี๊ ก) 08-1842-0762
11 วา่ ท่รี ้อยตรพี ลวฒุ ิ จนั ทร์ศรี (แมน) 08-7236-0131
12 นายสิทธธิ นโชติ ตรงดี (เอก) 08-1629-7189
13 นางสาวธนพร ไวดี (ยมู ีน) 08-9999-0246
14 นางสาวกลุ วดี ใจยวน (ก้อย) 08-9633-0486
15 นางสาวภารดา ตันสดใสวัฒน์ (แพม) 08-6766-3888
16 นางสาวรัชนี ศรศกั ดา (บิ๋ม) 09-3971-7657
17 นางสาวจนั ทร์เดอื น ศรีสว่าง (ป)ุ๊ 08-9834-0458
18 นางสาวนภิ าพร อินทร (ป้ยุ ) 08-7571-2399
19 นางสาวพัทธนนั ท์ ทรัพยส์ วนแตง (นัท) 09-1096-2456
20 นางสาวนติ ยา สุพงศ์พาณิช (เพ่ย) 08-8570-5783

ลำ� ดบั ที่ ช่อื -สกุล เบอร์โทรตดิ ตอ่
21 นายปิยกาล เทพพิทกั ษ์ (บี) 09-2861-1536
22 นางสาวฐติ านันท์ ซังบนิ (นุ้ย) 08-5121-2266
23 นางสาวจรี นันท์ ดีสูงเนนิ (หวาน) 08-9488-5957
24 นายพสิ ษิ ฐ์ สงเคราะห์ (โอ)้ 09-0967-0699
25 นายวีรพงศ์ เวชกุล (โจ)้ 08-6493-1460
26 นางสาวระพพี ฒั น์ กองรกั ษา (เอ๋) 09-0594-3913
27 นางสาวอทุ มุ พร อมั มวงค์ทจิตต์ (น�ำ้ ) 08-9087-2985
28 นายนรชัย ค�ำบญุ มา (เจ) 09-8748-8235
29 นางสาวนนั ทพิ ร ชมุ ศรี (แมนน)่ี
30 นายสมพงษ์ แก้วสด (อาร์ต) 08-8984-6863

วันท่ี 6 กันยายน 2562 3ผ0สD.พ34พ่ี Cพรี่เ3ช4อAรร พี่3อ่ี 4อ Dมพ3ี่จ4Bิน
สายการบนิ นกแอร DD7312
เวลา 06.05 - 07.30 น.

สายการบนิ นกแอร DD7318
เวลา 17.40 - 19.05 น.

พ่ีไม เปยก
35A

วนั ท่ี 7 กันยายน 2562
สายการบนิ นกแอร DD7312
เวลา 06.05 - 07.30 น.

พ35ี่ศDรี ยมู นี

พ16ไ่ี Aม 1ผ6สC. วันท่ี 8 กนั ยายน 2562
สายการบนิ แอรเ อเชีย FD3141
เวลา 13.35 - 15.05 น.

พี่พร พีจ่ ิน พเ่ี ชอรี่
16E 16B 15A

พศ่ี รี พีอ่ อ ม
16F 16D

กรงุ เทพ - ชุมพร รถไฟขบวน 85 คนั ที่ 14

1 บี 5 แมนน่ี 9 เอ 13 แพม 37 อารต
2 โอ 6 ไขไ ก 10 นทั 14 ปยุ 36 แมน 38 เจ

3 ปอนด 7 น้ำ 15 เพย 17 หวาน 39 ปุ
4 โจ 8 เอก 16 กอย 18 นยุ 40 บิ๋ม

ชุมพร - กรงุ เทพ รถไฟขบวน 86 คนั ท่ี 4

3 บี 7 ไขไ ก 11 นำ้ 15 แพม 19 บิ๋ม 23 อารต
2 แมน 4 โอ 8 แมนน่ี 12 เพย 16 ปยุ 20 ปุ 24 เจ

5 ปอนด 9 เอก 13 ยมู นี 17 นุย 21 เอ
6 โจ 10 เปยก 14 กอ ย 18 หวาน 22 นทั

กำหนดการสมั มนาเชงิ ปฏบิ ตั กิ ารนอกสถานท่ขี องสถาบันการตา งประเทศเทวะวงศวโรปการ
ระหวางวันท่ี 6 - 8 กนั ยายน 2562 จงั หวัดระนองและจังหวัดชมุ พร

ผส.ลดา พศ่ี รี เปย ก ปุ
พไี่ ม เพย โจ บม๋ิ
พี่เชอรร่ี หวาน เอก บี
พี่จิน นุย อารต นัท
พพ่ี ร กอ ย แพม เอ
พ่อี อ ม ยมู ีน ปุย เจ
ไขไ ก น้ำ ปอนด โอ
แมน แมนน่ี

ท่พี กั

บา นไรไ ออรณุ Baan Rai I Arun
มานหมอก 1
ผส.ลดา

ในสวนฉัน 2
พีไ่ ม

อิงจนั ทร
พี่เชอรร ี่ พี่จนิ

ในสวนฉนั 1
พี่พร พีอ่ อ ม

ละอองดาว 1 พราวตะวนั
เปย ก เอก โจ บ๋ิม ปุ ปยุ บี

ตนไม 1 อิงจนั ทร 1.2
แมน ปอนด กอ ย แพม

มา นหมอก 2
1) เพย น้ำ 2) หวาน นยุ 3) ไขไ ก

องิ จันทร 1.1
นัท เอ แมนน่ี

ตนไม 2
โอ อารต เจ

2 The Blue Sky Resort @Ranong

11 12

เจ อารต กอย เพย หวาน นยุ ยมู ีน แมนน่ี แพม

6 7 8 9 10

นัท เอ ปอนด โจ เปย ก เอก โอ บี พี่ไขไก แมน

1 2 3 4 5

ผส. ลดา พี่ไม พเี่ ชอรร่ี พ่จี ิน พี่ศรี พพ่ี ร พี่ออ ม ปุ บิม๋ ปยุ นำ้

ขอ้ มูลจงั หวดั ระนอง

จังหวดั ระนอง

เปน็ จงั หวดั ชายฝ่งั ทะเลตะวันตกของภาคใต้ มพี น้ื ทป่ี ระมาณ
2,141,250 ไร่ มีพืน้ ท่ตี ิดตอ่ ทางตะวนั ออกตดิ ตอ่ กับ จ. ชุมพร
ทางใต้ติดกับจังหวัดสุราษฎร์ธานีและจังหวัดพังงา ทางตะวันตก
ตดิ กบั ประเทศพมา่ และทะเลอนั ดามนั มลี กั ษณะพน้ื ทเ่ี รยี วและแคบ
มคี วามยาวถงึ 169 กโิ ลเมตร และมคี วามแคบในบรเิ วณอำ� เภอกระบรุ ี เพยี ง 9 กโิ ลเมตร
เป็นอีกจังหวัดหนึ่งท่ีมีประวัติความเป็นมายาวนานนับต้ังแต่คร้ังกรุงศรีอยุธยา
เรืองอ�ำนาจ เดิมเป็นหัวเมืองขนาดเล็กข้ึนกับเมืองชุมพร ค�ำว่าระนองเพ้ียนมาจาก
คำ� ว่า แรน่ อง เนือ่ งจากในพนื้ ที่จงั หวดั มีแรอ่ ย่มู ากมาย
สภาพภูมิประเทศส่วนใหญ่เป็นภูเขาและป่าไม้ ระนองเป็นที่รู้จักกันดีในเร่ือง
ของการส่งออกและฟื้นฟูทรัพยากรประมง อาหารประจ�ำถิ่นของระนองได้รับอิทธิพล
จากอาหารของคนจีนฮกเกี้ยนท่ีเป็นผู้มาบุกเบิกตั้งถิ่นฐาน และได้วัฒนธรรมของ
อาหารมาเผยแพร่สืบมาถึงปัจจุบัน นอกจากนี้ เมืองระนองยังเป็นประตูไปสู่พม่า
เป็นการเชื่อมกันโดยเรือเช่าหรือเรือยาวข้ามฟากระหว่างสองประเทศ นักท่องเท่ียว
จะหนาแน่นในช่วงฤดูกาลท่องเที่ยว เมืองระนองนี้เป็นจังหวัดที่มีชื่อเสียงว่าเป็นเมือง
น�้ำแร่และบ่อน�้ำพุร้อน ยังมีสวนรุกขชาติที่สวยงาม และท่ีพักโรงแรมชั้นน�ำต่างๆ
ทร่ี องรบั นักท่องเทย่ี วไดม้ ากมาย

คำ� ขวัญ

คอคอดกระ ภูเขาหญา้ กาหยหู วาน ธารน�้ำแร่ มกุ แทเ้ มอื งระนอง
("กาหยู" แปลวา่ มะมว่ งหิมพานต)์

กอ้ งวลั เลย์

ตง้ั อยทู่ ่ี อ. กระบรุ ี จ. ระนอง เปน็ แหลง่ ปลกู กาแฟ
ท่ีมีชื่อเสียงมากว่า 40 ปี โดยแปรรูปผลิตภัณฑ์กาแฟ
ภายใต้ช่ือการค้า ก้องกาแฟ และท่องเท่ียวเชิงอนุรักษ์
โฮมสเตย์ ภายใต้ชื่อ ก้องวลั เลย์ โดยรับซื้อโดยตรงจาก
เกษตรกรและให้เกษตรกรเป็นผู้ก�ำหนดราคาขายเอง จึง

ท�ำให้ก้องกาแฟได้กาแฟคุณภาพดีกว่าท้องตลาด โดยน�ำมาคดั เมล็ด ควั่ บด และบรรจุ
ลงถุงท่ีมีมาตรฐาน ความโดดเดน่ ของกาแฟกอ้ งวัลเลย์ คอื การทำ� กาแฟดว้ ยกรรมวิธี
ทโ่ี บราณ ตัง้ แต่การปลกู เกบ็ เมล็ด ตาก บ่ม และคัว่ มือในกระทะเลก็ ๆ และบดดว้ ย
มอื ทำ� ใหย้ งั คงรกั ษากลนิ่ หอมซง่ึ เปน็ เอกลกั ษณข์ อง
โรบสั ตา้ รวมถงึ รสชาติรวมถึงความหวานของเมลด็
กาแฟไวไ้ ด้ ทำ� ใหเ้ มลด็ กาแฟโรบสั ตา้ ทห่ี ลายคนมอง
ว่าเข้มและขมกลายเป็นรสชาติที่กลมกล่อม ท�ำให้
ก้องคอฟฟี่มีรสชาติท่ีมีเอกลักษณ์เฉพาะตัว กลาย
เป็นกาแฟที่มีช่ือเสียงส่งขายไปทั่วโลก ที่คอกาแฟ
ต้องลองไปชิมสักครั้ง

โรงเรียนกระบุรี

โรงเรยี นกระบรุ ตี ง้ั ขนึ้ มอื่ วนั ที่ 17 พฤษภาคม 2494
ณ สถานทป่ี จั จบุ นั (ดอนตาตมุ่ ) หมทู่ ่ี 2 ตำ� บลนำ� จ้ ดื อำ� เภอกระบรุ ี
จงั หวดั ระนอง ครงั้ แรกเปดิ สอนระดบั ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 1 - 3 ตามแผน
การศกึ ษาแหง่ ชาติ สงั กดั กรมสามญั ศกึ ษา กระทรวงศกึ ษาธกิ าร จนถงึ ปี
พ.ศ. 2504 ไดม้ กี ารเปลย่ี นแปลงระบบการศกึ ษาจากชนั้ มธั ยมปที ่ี 1 - 3 เปน็
ระบบ ป.5 - 7 ในสงั กดั กรมสามญั ศกึ ษากระทรวงศกึ ษาธกิ าร เมอ่ื ถงึ วนั ที่ 6 มนี าคม 2515
โรงเรยี นกระบรุ ไี ดโ้ อนไปสงั กดั องคก์ ารบรหิ ารสว่ นจงั หวดั ระนอง ขยายการศกึ ษาภาคบงั คบั
เปน็ 7 ปี
จนกระทงั่ ถงึ วนั ท่ี 1 เมษายน 2521 สว่ นการศกึ ษาองคก์ ารบรหิ ารสว่ นจงั หวดั ระนอง
ไดย้ บุ โรงเรยี นวดั จนั ทรารามซง่ึ เปดิ สอนชน้ั ป.1 - 4 มารวมกบั โรงเรยี นกระบรุ แี ละเปดิ สอน
ชน้ั ป. 1 - 7 ตงั้ แตป่ กี ารศกึ ษา 2552 เปน็ ตน้ มา โรงเรยี นบา้ นเปดิ สอนเพยี ง 6 ชนั้ เรยี น
ในชนั้ ป. 1 - 6 จนถงึ วนั ท่ี 1 ตลุ าคม 2523 ไดถ้ กู โอนไปสงั กดั สำ� นกั งานคณะกรรมการ
การประถมศกึ ษาแหง่ ชาติ เมอ่ื วนั ท่ี 7 กรกฎาคม 2546 โรงเรยี นเขา้ สเู่ ขตพนื้ ทกี่ ารศกึ ษา
ระนอง สำ� นกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน กระทรวงศกึ ษาธกิ าร

บ้านไร่ไออรุณ

บ้านไร่ไออรณุ เป็นฟารม์ สเตย์ มแี นวคิดทวี่ ่า “พ้นื ทเี่ เห่งรกั ท่ีเป็นมากกว่าบา้ น”
บ้านแสนอบอุ่นแหง่ น้ีสร้างโดยคุณเบส วโิ รจน์ ฉมิ มี สถาปนกิ หนุ่ม ทต่ี ัดสนิ ใจลา
ออกจากงานเพือ่ กลับมาดูแลพ่อกับแม่ทบ่ี า้ นเกิดใน จ. ระนอง และไดส้ รา้ งบ้านให้พอ่
และแมอ่ าศัย จนเกดิ เป็นกิจการ บ้านไรไ่ ออรุณ ฟาร์มสเตย์ แห่งน้ี ถา้ ใครได้มาพกั
ทนี่ ีจ่ ะรสู้ ึกไดถ้ ึงความอบอ่นุ ความเปน็ กนั เองเหมือนเราอยู่บ้าน
บา้ นไรไ่ ออรณุ ฟารม์ สเตย์ แบง่ ออกเปน็ 2 โซนคอื โซนรา้ นขายสนิ คา้ การเกษตร,
พชื ผกั สวนครวั คุณเบสและครอบครัวชว่ ยกนั ปลกู และมีสวนอาหาร ซง่ึ นกั ท่องเท่ยี ว
ทุกคนสามารถส่ังอาหาร ของทานเล่น และเครื่องดื่มทานกันได้ และโซนบ้านพัก
ท่ีสงวนไว้เฉพาะกับผู้ท่ีมาเข้าพักเท่านั้น บ้านพักของ ‘บ้านไร่ไออรุณ ฟาร์มสเตย์’
เริม่ ตน้ สรา้ งเพยี งแค่ 2 หลัง คอื “บ้านพราวตะวัน” เปน็ บ้าน 2 ช้ัน ชน้ั ลา่ งเปน็ โต๊ะ
วางของ และหอ้ งน้�ำ ส่วนชน้ั บนเปน็ หอ้ งนอน มี 1 เตียง และอกี 1 เตียงบนชนั้ ใต้
หลังคา ตกแต่งดว้ ยไมแ้ ละดอกไมใ้ ห้ความรู้สึกน่ารกั อบอนุ่ ผ่อนคลาย และทสี่ ำ� คัญมัน
โลง่ และโปร่งสบาย สว่ น หลังท่สี อง “บา้ นระเบียงดาว” เป็นแบบ 1 หอ้ งนอนโทน
สขี าวดูอบอนุ่ ความพเิ ศษอย่ตู รงมรี ะเบียงชน้ั บน ซึง่ เราสามารถขึน้ ไปนอนดดู าวบนนัน้
ได้ดว้ ย ปจั จบุ ันไดม้ กี ารสรา้ งเพ่ิมเติมข้นึ อย่างค่อย ๆ เปน็ ค่อย ๆ ไป บนพืน้ ฐาน
ของความพอดี และใช้ฝีมอื ช่างในพื้นทเ่ี พื่อสรา้ งอาชีพใหก้ ับคนในชมุ ชน

ลอ่ งเรอื ไทม์แมชชีนระนอง ร.ศ. 109

ระนองเปน็ จงั หวดั ชายฝง่ั ทะเลตะวนั ตกของภาคใต้ ซง่ึ แตล่ ะทศิ นน้ั ตดิ กบั หลาย
จงั หวดั รวมถงึ ประเทศเพอ่ื นบา้ นอยา่ ง พมา่ ดว้ ย ระนองเปน็ อกี จงั หวดั หนง่ึ ทมี่ ปี ระวตั ิ
ความเปน็ มายาวนาน นบั ตงั้ แตค่ รงั้ กรงุ ศรอี ยธุ ยาเรอื งอำ� นาจ เดมิ เปน็ หวั เมอื งขนาดเลก็
ขนึ้ กบั เมอื งชมุ พร คำ� วา่ ระนองเพยี้ นมาจากคำ� วา่ แรน่ อง เนอื่ งจากในพน้ื ทจี่ งั หวดั มแี ร่
อยมู่ ากมาย
ลอ่ งเรอื นง่ั ไทมแ์ มชซนี เวลากลบั ไปในอดตี อนั แสนเรงิ รา่ ดงั่ ในนทิ าน สถานทท่ี อ่ ง
เทยี่ วใหมก่ ลางเมอื ง “ระนอง” ชมเมอื งเลก็ ๆ แสนอบอนุ่ ทจี่ ะพาเรายอ้ นเวลากลบั ไป
สจู่ งั หวดั ระนอง ในยคุ เหมอื นแรใ่ นปี ร.ศ. 109 ครง้ั ทรี่ ชั กาลที่ 5 เสดจ็ ประพาส
แหลมมาลายู
ความพเิ ศษ คอื การไดล้ อ่ งเรอื ไปตามสถานทจ่ี รงิ ๆ ในอดตี ทรี่ ชั กาลที่ 5
เสดจ็ เขา้ ไปอยใู่ นหว้ งเวลาอดตี อนั สวยงามของระนองอยา่ งแทจ้ รงิ

วัดบา้ นหงาว

เปน็ สถานทท่ี อ่ งเทยี่ วทสี่ ำ� คญั ของจงั หวดั ระนอง ใกลก้ บั ภเู ขาหญา้ ระนอง เดมิ ที
เปน็ เพยี งทพี่ กั พระสงฆจ์ นกระทง่ั หลวงพอ่ เขยี ด พระธดุ งคม์ าจากปตั ตานมี าปกั กลดบำ� เพญ็
แลว้ ชาวบา้ นเกดิ การเลอ่ื มใสศรทั ธา จงึ ไดส้ รา้ งวดั ขนึ้ ในปี พ.ศ.2530 ปจั จบุ นั มอี โุ บสถ
หลงั ใหมท่ ใี่ หญแ่ ละสวยงาม เปน็ อโุ บสถ 2 ชน้ั หรอื ทเี่ รยี กวา่ อโุ บสถลอยฟา้ รอบอโุ บสถ
เทคอนกรตี เปน็ ลานกวา้ งมลี กู กรงลอ้ มรอบ ในแตล่ ะมมุ ทง้ั 4 ดา้ น มอี าคารจตั รุ มขุ กวา้ ง
มบี นั ไดขน้ึ ลงรอบทศิ เหนอื ใต้ ตะวนั ออก ตะวนั ตก ดา้ นลา่ งของอโุ บสถเปน็ หอ้ งโถง
ใชส้ ำ� หรบั การประชมุ สมั มนา ภายในอโุ บสถวดั บา้ นหงาว เปน็ ทป่ี ระดษิ ฐานพระประธาน
มนี ามวา่ “หลวงพอ่ ดบี กุ ” เปน็ พระพทุ ธรปู ปางมารวชิ ยั มชี อื่ เปน็ ทางการวา่ “พระตปิ กุ ะ
พทุ ธมหาศากยมนุ ศี รรี ณงั ค”์ อนั มคี วามหมายวา่ “พระพทุ ธรปู ดบี กุ องคใ์ หญเ่ ปน็ สริ มิ งคล
และศกั ดศิ์ รขี องเมอื งระนอง” และยงั มคี วามสวยงามของฝาผนงั ทแ่ี กะสลกั เปน็ ลวดลายตา่ งๆ
ภายในวดั เปน็ ทต่ี งั้ ของพพิ ธิ ภณั ฑท์ อ้ งถน่ิ ซง่ึ มกี ารรวบรวมสง่ิ ของเครอื่ งใชต้ า่ ง ๆ
ตงั้ แตอ่ ดตี จนถงึ ปจั จบุ นั ภายในวดั ยงั มวี งั มจั ฉามพี นั ธป์ุ ลานำ้� จดื นานาชนดิ ทส่ี ามารถให้
อาหารไดอ้ ยา่ งใกลช้ ดิ และทส่ี ำ� คญั มบี นั ไดคอนกรตี กวา่ 300 ขนั้ ทส่ี ามารถใชเ้ ดนิ ขน้ึ ไป
บนยอดของภเู ขาเพอื่ ดทู วิ ทศั นข์ องจงั หวดั ระนองไดร้ อบ 360 องศา ซง่ึ ไดร้ บั การพฒั นา
ใหเ้ ปน็ สถานทท่ี อ่ งเทยี่ วทางวฒั นธรรม

ขอ้ มูลจงั หวดั ชมุ พร

จังหวดั ชุมพร

คอื ประตสู ภู่ าคใต้ และเปน็ หวั เมอื งหนา้ ดา่ นในครง้ั อดตี อดตี เมอื ง
12 นกั ษตั รนอ้ี ดุ มสมบรู ณด์ ว้ ย ทรพั ยากร ธรรมชาติ โดยมพี รอ้ มทง้ั ปา่ ไม้
ทะเล อกี ทง้ั เปน็ สะพานเชอ่ื มระหวา่ งอา่ วไทยและอนั ดามนั ซง่ึ ยากนกั
ทจี่ ะทกุ อยา่ งพรอ้ มสรรพในจงั หวดั เดยี ว ลองหยดุ ทำ� ความรจู้ กั ชมุ พรสกั นดิ
แลว้ จะรวู้ า่ ทนี่ ไ่ี มธ่ รรมดา จงั หวดั ชมุ พร มเี นอื้ ทป่ี ระมาณ 6,010 ตารางกโิ ลเมตร ลกั ษณะ
ภมู ปิ ระเทศของจงั หวดั ชมุ พร คอื ดา้ นทศิ ตะวนั ตกมเี ทอื กเขา ตะนาวศรแี ละเทอื กเขาภเู กต็ เปน็ แนว
กนั้ เขตแดนระหวา่ งประเทศไทยกบั สหภาพพมา่ มลี กั ษณะเปน็ พน้ื ทส่ี งู ลาด เทจากทศิ ตะวนั ตก
สพู่ นื้ ทตี่ ำ�่ ทางทศิ ตะวนั ออกประกอบดว้ ยภเู ขาและปา่ ไม้ ซง่ึ เปน็ แหลง่ กำ� เนดิ ของตน้ นำ้� ลำ� ธาร ที่
สำ� คญั สายสน้ั ๆ หลายสาย เชน่ แมน่ ำ�้ ทา่ ตะเภา แมน่ ำ้� หลงั สวน แมน่ ำ้� สวี เปน็ ตน้ สว่ นบรเิ วณ
ตอนกลางของ จงั หวดั มลี กั ษณะเปน็ ทรี่ าบลกู คลน่ื และทรี่ าบลมุ่ แมน่ ำ�้ มคี วามอดุ มสมบรู ณส์ งู
เหมาะแกก่ ารเพาะปลกู มเี นอื้ ทดี่ นิ ประมาณ 1 ใน 4 ของพน้ื ทจ่ี งั หวดั และดา้ นทศิ ตะวนั ออก
มลี กั ษณะเปน็ ทร่ี าบตามแนวชายฝง่ั ทะเลอา่ วไทย ชายหาดคอ่ นขา้ งเรยี บ มคี วามโคง้ เวา้ นอ้ ย และ
สวยงามมาก จงึ เปน็ สถานทพ่ี กั ผอ่ นและสถานทท่ี อ่ งเทยี่ ว สำ� คญั ของจงั หวดั

คำ� ขวญั
"ประตภู าคใต้ ไหวเ้ สดจ็ ในกรมฯ

ชมไรก่ าแฟ แลหาดทรายรี ดกี ลว้ ยเลบ็ มอื ขน้ึ ชอื่ รงั นก"

พะโตะ๊

“ดินแดนแห่งภูเขาเขียว เท่ียวล่องแพ แลหมอกปก น้�ำตกงาม ลือนามผลไม้”
คอื คำ� ขวัญประจ�ำอ�ำเภอพะโตะ๊ สะท้อนใหเ้ ห็นถงึ ความเปน็ ดนิ แดนทห่ี ลากหลาย อุดม
สมบูรณ์ เตม็ เป่ียมไปดว้ ยอากาศอนั แสนบริสุทธ์ิ สัมผัสถงึ ไอเย็นแหง่ ธรรมชาตแิ ห่ง
สายนำ้� และขุนเขาท่ีโอบลอ้ ม เมอื่ พูดถงึ การท่องเท่ียวพะโต๊ะ;ก็ต้องนึกถงึ การล่องแพเปน็
อนั ดับแรก ซงึ่ เป็น กิจกรรมเดน่ ที่อย่คู กู่ ับพะโตะ๊ มาช้านาน และเป็นกิจกรรมการทอ่ ง
เท่ยี วท่ีสร้างชือ่ เสยี งให้กบั อ�ำเภอพะโต๊ะ เปน็ อยา่ งมาก ถอื เป็น การการท่องเทีย่ วเชงิ
อนุรกั ษแ์ ละเป็นเทศกาลส�ำคัญของอ�ำเภอพะโต๊ะ

ผนื ปา่ ในเขตอำ� เภอพะโตะ๊ เปน็ แหลง่ ตน้ นำ�้ หลายสายทไ่ี หลคดเคยี้ วมาตามขนุ เขาและ
สวนผลไม้ บางชว่ งเป็นแกง่ นำ้� ขนาดใหญ่ จึงมีการจดั กจิ กรรมผจญภยั ในคลองพะโต๊ะ
ตลอดทัง้ ปี โดยการสนบั สนุนและสง่ เสริมจากหนว่ ยอนรุ กั ษแ์ ละจัดการตน้ น้�ำ พะโตะ๊
ซึ่งได้รับรางวัลดีเด่นอุตสาหกรรมท่องเที่ยวไทยจากททท.การล่องแพจะเร่ิมตั้งแต่คลอง
ต้นน�้ำซ่ึงเป็นพืน้ ทป่ี า่ สมบูรณ์ พบเห็นสตั วป์ ่า ที่นา่ สนใจไดแ้ ก่ คา่ งแวน่ ถิ่นใต้ลงิ นก
เงือก หากินอย่างอสิ ระในป่าธรรมชาติริมคลอง ผา่ นมาอีกชว่ งหนง่ึ จะเป็นสวนทเุ รยี น
สวนกาแฟ และสวนมังคุด และหากชอบเดนิ ป่ายังมีการจัดเดินป่าขึ้นไปชมป่าต้นน�ำ้ และ
พักคา้ งแรมแบบแค้มปงิ้ หรอื ข่ชี ้างเทีย่ ว ป่าชมสวน

อุทยานแห่งชาตหิ มูเ่ กาะชมุ พร

เปน็ แหลง่ ทอ่ งเทยี่ วทางทะเลทโี่ ดดเดน่ มากอกี แหง่ หนง่ึ เหมาะสำ� หรบั ผรู้ กั ทะเล และ
ชอบด�ำนำ้� ชมปะการัง มีเกาะเรยี งรายมากกวา่ 40 เกาะ แต่ละเกาะล้วนเต็มไปด้วยความ
งดงาม ของธรรมชาติ แตกต่างกัน บางเกาะมหี าดทรายขาวละเอยี ด บางเกาะ เปน็
ภเู ขาหนิ ปูนทม่ี ีรูปทรงแปลกตาน่าชม รอบเกาะ ยงั คงเตม็ ไปดว้ ยแนวปะการงั สมบูรณ์
เกาะทน่ี ยิ มไปเที่ยวกันมีประมาณเจ็ดแปดเกาะ เชน่ เกาะงา่ มใหญ่ เกาะงา่ มนอ้ ย เกาะ
ทะลุ ฯลฯ
ทะเลชมุ พร สวยงามและเหมาะสำ� หรบั การดำ� นำ้� ทง้ั นำ้� ตนื้ และนำ้� ลกึ เปน็ จดุ ดำ� นำ�้
อกี จดุ หนงึ่ ทน่ี กั ดำ� นำ้� ไมค่ วร จะมองผา่ นเลยไป เพราะเปน็ จดุ ดำ� นำ้� ทคี่ งความสมบรู ณ์
ของทรัพยากรทางทะเล และฝูงปลานานาชนิด ปะการงั ด�ำ ดงดอกไมท้ ะเลสุดลกู หลู กู
ตา และฉลามวาฬ ที่แวะเวยี นมาทกุ หนา้ ร้อน โดยเฉพาะเดือนเมษายน จะมีโอกาสพบ
ได้บอ่ ย บรเิ วณทีท่ �ำการอทุ ยานฯ ตง้ั อยกู่ ลางปา่ ชายเลน มีอาคารศนู ยบ์ ริการนกั ทอ่ ง
เทยี่ ว เช่ือมดว้ ย สะพานไม้ทอดยาว และยังเปน็ เส้นทาง เดนิ ศึกษาธรรมชาติเลยี บคลอง
เขา้ ไปในปา่ ชายเลนซง่ึ มหี ลายเสน้ ทาง เหมาะ ส�ำหรบั ศึกษา พันธุ์ไมแ้ ละ สตั ว์ปา่ ใน
ป่าชายเลน มีปา้ ยบอธบิ ายพนั ธ์ไมแ้ ต่ละชนดิ ตลอดทาง เรยี กได้ว่าสถานท่ี แห่งนี้ เปน็
"ปา่ พูดได้" แหง่ แรกในประเทศไทย

ศาลกรมหลวงชมุ พรเขตอุดมศักดิ์

ตงั้ อยู่บริเวณหาดทรายรหี าดทรายยาว ทรายขาวสะอาด ซึง่ เปน็ ทต่ี งั้ ของอนสุ รณ์
สถานของ พลเรือเอก พระบรมวงศ์เธอกรมหลวงชุมพรเขตร อุดมศกั ดผิ์ ทู้ รงสถาปนา
กองทัพเรือสมยั ใหมใ่ ห้กับประเทศไทยทรงเป็นเสดจ็ เตีย่ ของชาวเรอื ทัง้ ปวงและ เป็นท่ี
เคารพสกั การะของประชาชนทวั่ ไปอนสุ รณส์ ถานประกอบดว้ ยศาลเจา้ พอ่ กรมหลวงชมุ พรฯ
หลงั เกา่ และ หลงั ใหม่ ทส่ี รา้ งขน้ึ บนเนนิ เขา ซง่ึ หาดทรายรเี ปน็ สถานทส่ี น้ิ พระชนมข์ อง
พระองค์ ตัวศาลอยบู่ นเรอื รบหลวงพระรว่ งจ�ำลองท่ีหันหน้าออก สทู่ ะเล จงึ เปน็ จดุ
ทีม่ องเหน็ ทวิ ทศั น์ของหาดทรายรไี ดช้ ัดเจนตลอดเวิ้งอา่ ว
ดา้ นหนา้ ศาลฯ มผี คู้ นมากราบไหว้ ขอพรและมเี สยี งจดุ ประทดั แกบ้ นอยตู่ ลอดเวลา
กรมหลวงชมุ พรฯ เป็นทีเ่ คารพของทหารเรือ นักเดินเรือและชาวประมงมาก บริเวณ
ภายนอก สรา้ งเปน็ รูปเรอื จำ� ลองจกั รนี ฤเบศร เรือจ�ำลองมีขนาด กว้าง 29 เมตร
ยาว 79 เมตร สูง 6 เมตร

วทิ ยากร

ก้อง หรอื สุพจน์ กรประสทิ ธ์ิวฒั น์
เกดิ อำ� เภอกระบรุ ี ระนอง จบการศกึ ษาทพ่ี ณชิ ยการพระนคร เอกการโฆษณา
เรียนจบก็เกษยี ณเลย คน้ หาตวั เองโดยการเท่ียวในโลกกว้าง ไดเ้ รยี นรปู้ ระสบการณ์
ใหมจ่ ากเพือ่ นทุกมมุ โลก กอ่ นผนั ตัวเองมาเป็นเกษตรกรโดยการบงั เอญิ เม่ือไมก่ ่ีปกี ่อน
จากการอ่านพระราชด�ำรัสของในหลวงรัชกาลทเ่ี ก้าแคป่ ระโยคสั้นส้ันประโยคเดยี ว
กอ้ ง รวมกลุม่ เพอื่ นเกษตรกรระนอง ชุมพรและอีกหลายพน้ื ท่ีทม่ี ีอดุ มการณ์
เดียวกันคือ เกษตรกรต้องก�ำหนดราคาสินค้าเกษตรเองได้และไม่อิงราคาตลาดโลก
โดยสร้างตลาดเราเอง our market และทำ� งานกาแฟเกรด speciality grade เท่านัน้
แบง่ งานตามหน้าท่ถี นัดของเกษตรกร แปรรปู และตลาด อยา่ งสากล
ปจั จุบันสมาชิกมากข้ึนและมากขน้ึ และได้การยอมรับจากโรงคั่วระดับโลก และ
วางจ�ำหนา่ ยเป็นทางการท่สี วเี ดน ส่วนทท่ี ำ� การกลุ่มจะเปน็ สถานทเ่ี รียนร้แู กเ่ กษตรกร
นกั ศกึ ษา ประชาชน และนักทอ่ งเทย่ี วท่ัวโลกปีละหลายหม่นื คนท่เี ขา้ มาเย่ียมชม

คุณเบส - วโิ รจน์ ฉมิ มี
วยั 32 ปี สถาปนิกหนมุ่ จากมหาวิทยาลัย

เทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี เป็นผู้ริเร่ิมกิจการ
บ้านไร่ไออรุณ ซ่ึงปัจจุบันเป็นกิจการที่ได้รับ
การกล่าวขานถึงกันอย่างกว้างขวางถึงความพอดี
และพอเพียง จึงจนถูกจัดให้เป็นฟาร์มสเตย์
มาแรงสดุ ในเวลานี้ เพราะมคี นจองควิ ยาวเหยยี ด
เตม็ ตลอดทงั้ ปี สง่ิ ทผ่ี มกำ� ลงั ทำ� เเละเเบง่ ปนั ออกไป
"ผมไม่ได้อยากเเละมีเจตนาที่จะเชื้อเชิญ หรือให้
ทกุ คนบนโลกใบนเ้ี ดนิ ทางมาทบ่ี า้ นของผม เเตผ่ มอยากใหท้ กุ ๆ คนกลบั บา้ นของคณุ เอง
เเลว้ สรา้ งบา้ นใหม้ ชี วี ติ เตมิ เตม็ ความสขุ ใหก้ บั คำ� วา่ บา้ นหลงั นนั้ ของคณุ อกี ครงั้ หลงั จาก
เรียนจบปริญญาตรี ท�ำงานในกรุงเทพฯ ได้ 3 ปกี วา่ จึงลาออกและเดินทางกลับ
บ้านเกดิ เพอ่ื สรา้ งฝนั ของตวั เอง ดว้ ยการปลกู บ้านเพอ่ื อยูก่ บั ครอบครวั แบบพร้อมหน้า
พร้อมตาช่วงแรกไม่มีใครเห็นด้วย เพราะคิดว่าส่งลูกเรียนแล้ว ลูกต้องได้ท�ำงานใน
กรุงเทพฯ จะได้ไมม่ าเหน่อื ยแบบพ่อแมท่ ่ีต่างจงั หวัด แตเ่ ขาคดิ กลบั กนั คอื อยากน�ำ
ความรทู้ ่เี รยี นมาพฒั นาต่อยอดจากสงิ่ ท่ีมอี ยู่ ดว้ ยการออกแบบบ้านให้ผสมผสานเข้ากนั
กบั อาชีพเกษตรกรรมของพ่อแม่ ก่อนต่อยอดด้วยการสรา้ งแบรนดใ์ หเ้ ติบโตอย่างยง่ั ยืน
3 ปี ที่กลับมาพัฒนาพ้ืนที่ตรงน้ีเป็นมากกว่าบ้าน ส่ิงที่ได้คือรอยย้ิมความสุขและ
ความภาคภมู ใิ จของครอบครวั ทไี่ ดช้ ว่ ยกนั สรา้ งพน้ื ทต่ี รงนใี้ หด้ ขี นึ้ ดว้ ยตวั เอง ซง่ึ ความสขุ
ไม่ได้ขึ้นอยู่กับจ�ำนวนเงินแต่สุขอยู่ที่ได้แบ่งปันอย่างผักที่ช่วยกันปลูกนั้น เรามั่นใจว่า
ปลอดสารพิษ และถูกแบ่งปันให้กับคนในชุมชนได้กิน อย่างไรก็ตามงานหลายอย่าง
ที่ท�ำน้ันต้องใช้เวลาด้วยความเชื่อมั่นสุดหัวใจว่าทุกคนในบ้านและในชุมชนจะต้องมีชีวิต
ทด่ี ไี ปดว้ ยกนั " เบสบอกหนักแนน่ ล่าสุดมกี ิจกรรมใหน้ กั ท่องเท่ียว ปลกู ผักทำ� กับขา้ ว

กจิ กรรมวนั เดย์ทริป น่งั เรือไปเทยี่ วทะเล เท่ยี ว เกาะก�ำ เกาะค้างคาว เกาะญป่ี นุ่
ซึ่งเป็นพื้นที่ของอุทยานแห่งชาติ เป็นการสร้างรายได้ให้ชาวบ้านที่ขับเรือทางทุกวันน้ี
ชาวบ้านเร่ิมเกิดความภาคภูมิใจในบ้านเกิด เด็กที่เรียนในกรุงเทพฯ กลับมาอยู่บ้าน
ถอื เปน็ การสรา้ งคา่ นยิ มใหค้ นในชมุ ชนอยา่ งหนง่ึ ซงึ่ ไมไ่ ดเ้ ปน็ การบอกทางตรง แตเ่ ปน็
ทางอ้อมและส่ิงส�ำคัญอยากให้คนมีบ้านต่างจังหวัดกลับไปพัฒนาบ้านเกิดตัวเอง
หลงั จากดำ� เนนิ ธรุ กจิ ภายใตแ้ นวคดิ นา่ ชน่ื ชมจนประสบความสำ� เรจ็ ลา่ สดุ เบสไดร้ บั เลอื ก
จากโครงการพอแลว้ ดี THE CREATOR ให้เปน็ 1 ใน 13 คนตน้ แบบในฐานะ
นักธุรกิจรุ่นใหม่ที่มีความเชื่อและด�ำเนินธุรกิจให้ส�ำเร็จด้วยหลักคิดพอเพียง+
สร้างสรรค์ซึ่งใช้ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาพัฒนาธุรกิจในท้องถ่ินควบคู่ไปกับ
แนวคิดเศรษฐกิจสร้างสรรค์ก่อให้เกิดกระบวนการคิดและการท�ำงานอย่างเป็นรูป


Click to View FlipBook Version