แผนการจดั การเรยี นรู้
รหสั วชิ า ว14101 ชอื่ วิชา วิทยาศาสตร์ กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
หน่วยการเรยี นรทู้ ี่ 1 ความหลากหลายของสง่ิ มีชีวติ บทที่ 1 ความหลากหลายของสง่ิ มชี ีวติ
เรือ่ งที่ 1 การจดั กลมุ่ สิง่ มชี ีวติ เวลาเรียน 3 ช่ัวโมง
ช้ันประถมศึกษาปที ี่ 4 วนั ท่ี .......................................................
ผสู้ อน นางสาวลลิดา กุลสวุ รรณ โรงเรยี นวัดดาปานนิมติ มิตรภาพท่ี 142
.....................................................................................
1. มาตรฐานการเรยี นรู้
ว 1.3 เข้าใจกระบวนการและความสำคญั ของการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม สารพนั ธกุ รรม การ
เปลีย่ นแปลงทางพนั ธุกรรมที่มีผลตอ่ ส่ิงมชี ีวติ ความหลากหลายทางชวี ภาพและวิวฒั นาการของ
สิ่งมีชวี ิต รวมทง้ั นำความรูไ้ ปใชป้ ระโยชน์
2. ตวั ชี้วดั ชั้นปี
ว 1.3 ป.4/1 จำแนกสิ่งมชี ีวติ โดยใช้ความเหมือนและความแตกต่างของลกั ษณะของสงิ่ มชี วี ติ ออกเปน็ กลุ่ม
พชื กลุ่มสัตว์ และกลุม่ ท่ไี ม่ใช่พืชและสตั ว์
3. สาระสำคัญ
ส่ิงมชี ีวิตรอบตวั เรามหี ลายชนดิ ซึง่ สงิ่ มชี วี ิตแตล่ ะชนดิ จะมีลักษณะสำคัญบางอย่างเหมือนกนั และมี
ลกั ษณะสำคัญบางอยา่ งแตกต่างกนั ไป โดยเราสามารถใช้ความเหมือนและความแตกต่างของลกั ษณะตา่ งๆ
ของสิง่ มีชีวติ มาจดั กลมุ่ สิง่ มชี ีวิตออกจากกนั ได้ 3 กลุ่ม คอื กลุ่มพชื กลุ่มสัตว์ และกลุ่มท่ีไมใ่ ชพ่ ชื และสตั ว์
4. จุดประสงค์การเรียนรู้
1. สงั เกตและบรรยายลักษณะของสิง่ มชี ีวติ แต่ละกลุ่มได้ (K)
2. เปรียบเทยี บความเหมอื นและความแตกตา่ งของลักษณะต่าง ๆ ของสง่ิ มชี ีวิตแตล่ ะกลุม่ ได้ (P)
3. จำแนกสงิ่ มีชวี ิตออกเปน็ กล่มุ โดยใชค้ วามเหมือนและความแตกต่างของลักษณะสิง่ มีชีวติ เปน็
เกณฑ์ได้ (P)
4. มีความสนใจใฝ่เรยี นรู้และมุ่งมั่นในการทำงาน (A)
5. สาระการเรียนรู้
ใชค้ วามเหมือนและความแตกต่างของลักษณะต่าง ๆ ของส่ิงมีชีวติ มาจัดกลมุ่ สง่ิ มชี วี ติ ได้
6. คุณลักษณะอนั พงึ ประสงค์
1. มีวนิ ัย
2. ใฝเ่ รยี นรู้
3. มงุ่ ม่ันในการทำงาน
7. สมรรถนะสำคญั ของผู้เรยี น
1. ความสามารถในการสือ่ สาร
2. ความสามารถในการคดิ
1) ทักษะการสงั เกต
2) ทกั ษะการสำรวจค้นหา
3) ทกั ษะการรวบรวมขอ้ มูล
4) ทักษะการจำแนกประเภท
3. ความสามารถในการแก้ปัญหา
4. ความสามารถในการใชท้ ักษะชีวติ
5. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี
8. กจิ กรรมการเรียนรู้
เทคนิค : สืบเสาะหาความรู้ (5Es Instructional Model)
1) ข้ันนำเขา้ สบู่ ทเรียน
ขน้ั กระตนุ้ ความสนใจ (Engage)
1. ครทู กั ทายกบั นักเรียน แลว้ แจง้ ผลการเรียนรู้ทจี่ ะเรียนในวันน้ีให้นักเรียนทราบ
2. ครใู ห้นักเรยี นทำแบบทดสอบกอ่ นเรยี น เพ่ือวดั ความร้เู ดมิ ของนักเรียนกอ่ นเข้าสกู่ ิจกรรม
3. ครูกระต้นุ ความสนใจของนักเรียนกอ่ นทจ่ี ะเรยี นในวนั น้ี โดยนำลูกอมท่ีมีสตี า่ ง ๆ คละกนั มาแจก
นักเรียนคนละ 1 เมด็
4. ครสู ่มุ เลอื กสีของลูกอม โดยใหน้ ักเรยี นยกมือชูลูกอมทต่ี นเองไดร้ บั จากนน้ั ครูเลือกสีลกู อมที่มี
จำนวนนกั เรียนอยใู่ นสีนนั้ น้อยท่ีสุดออกมาหน้าชน้ั เรยี น
5. ใหน้ ักเรยี นในห้องสังเกตลักษณะต่าง ๆ ของเพื่อนท่ีอย่หู นา้ ชัน้ จากน้ันตั้งคำถามเพื่อกระต้นุ
ความคิด เชน่
1) นักเรยี นสงั เกตเห็นอะไรเก่ยี วกับเพ่อื นๆ ที่อยหู่ นา้ ชัน้ เรยี นบา้ ง
2) ลักษณะของเพอ่ื นท่อี ยู่หนา้ ห้องเปน็ อย่างไร มีจดุ สังเกตอะไรบา้ ง
(แนวตอบ : ขึ้นอย่กู บั สิ่งทีน่ ักเรียนสงั เกตเหน็ เชน่ มีทงั้ ผ้หู ญิงและผู้ชาย มีทง้ั ใสแ่ วน่ และ
ไมใ่ ส่แวน่ มีทง้ั ใส่กางเกงและใสก่ ระโปรง มที ั้งผมสนั้ และผมยาว เป็นต้น)
6. ครูอธิบายเพิ่มเติมว่า สิ่งที่นักเรียนสังเกตเห็นและตอบมานั้น เป็นลักษณะภายนอกที่สังเกตได้ง่าย
ซึ่งสามารถใช้กำหนดเป็นเกณฑ์ในการจดั กลุ่มเพ่ือนๆ ได้
7. ครูตั้งคำถามเพิ่มเติมว่า หากต้องการจัดกลุ่มหรือจำแนกเพื่อนหน้าชั้นเรียนออกเป็นกลุ่ม นักเรียน
จะใช้เกณฑใ์ ดได้บา้ ง จากนั้นใหน้ กั เรยี นชว่ ยกันระดมความคดิ ในการตอบคำถาม
8. ครขู ออาสาสมัครนักเรียน 2 คน กำหนดเกณฑ์ที่ใชส้ ำหรบั จัดกลุ่มเพื่อหน้าห้องเรียนคนละ1 เกณฑ์
แลว้ เพอ่ื นในห้องช่วยกันตรวจสอบว่าสามารถจดั กลุ่มเพือ่ นตามเกณฑน์ ้ันได้หรอื ไม่
9. ครูให้คำชมเชยนักเรียนทั้งห้องที่ช่วยกันทำกิจกรรม แล้วมอบรางวัลหรือของขวัญให้กับนักเรียน
กลุม่ ตวั อย่างที่ออกมายนื หนา้ ชั้นเรียน
(หมายเหตุ : ครเู ร่ิมประเมนิ นักเรยี น โดยใชแ้ บบสงั เกตพฤตกิ รรมการทำงานรายบคุ คล)
2) ขน้ั ประกอบกจิ กรรมการเรยี น
ขั้นสำรวจค้นหา (Explore)
1. ครูให้นักเรยี นอ่านสาระสำคัญและดูภาพ หน่วยการเรียนรูท้ ี่ 1 ความหลากหลายของสิง่ มีชีวิต จาก
หนังสือเรียนวิทยาศาสตร์ ป.4 เล่ม 1 หน้า 2 จากนั้นถามนักเรียนว่า ภาพนี้มีสิ่งมีชีวิตอะไรบ้าง
นกั เรยี นรู้จกั หรอื ไม่ แลว้ ใหน้ กั เรยี นช่วยกันตอบคำถามอย่างอิสระ
(แนวตอบ : ผีเสื้อ กบั ดอกไม้)
2. ครูให้นักเรียนดูภาพในหน้าบทที่ 1 กลุ่มสิ่งมีชีวิต จากหนังสือเรียนวิทยาศาสตร์ หน้า 3 แล้วถาม
คำถามสำคัญประจำบทว่า นักเรียนสามารถใช้เกณฑ์ใดในการจำแนกกลุ่มสิ่งมีชีวิตได้บ้าง จากน้ัน
ให้นักเรียนชว่ ยกันอธิบายคำตอบ โดยครูชี้แจงเพิม่ เติมวา่ ให้นักเรียนนึกถงึ กิจกรรมที่มีการจัดกล่มุ
เพือ่ นหน้าชนั้ เรียนทผ่ี ่านมา
(แนวตอบ : ลักษณะของสิ่งมีชีวิต การกินอาหาร การสร้างอาหาร การย่อยสลายสิ่งมีชีวิตอื่นเป็น
อาหาร เป็นตน้ )
3. ครูให้นักเรียนเรียนรู้คำศัพท์ที่เกี่ยวข้องกับการเรียนในบทที่ 1 โดยครูเป็นผู้อ่านนำและให้นักเรียน
อา่ นตาม ดงั นี้
Organism (‘ออกะนิซมึ ) สิง่ มชี ีวิต
Plant (พลาน) พืช
Animal (‘แอ็นนิมลั ) สตั ว์
Fungus (‘ฟังกัส) เหด็ รา
4. ครูให้นักเรียนวาดภาพหรือติดภาพสิ่งมีชีวิตต่าง ๆ ที่นักเรียนรู้จัก 5-10 ภาพ ลงในสมุดประจำตัว
แล้วจดั กลุ่มสิง่ มีชวี ิตเหล่านั้น โดยใชเ้ กณฑ์ท่ีกำหนดเอง หรอื ให้นกั เรยี นทำกิจกรรมนำสกู่ ารเรียนใน
แบบฝกึ หดั วิทยาศาสตร์ ป.4 เล่ม 1 หนา้ 2
(หมายเหตุ : ครูเรมิ่ ประเมนิ นกั เรยี น โดยใชแ้ บบสังเกตพฤตกิ รรมการทำงานรายบคุ คล)
5. ครูให้นักเรียนเล่นเกมผึ้งสร้างรัง เพื่อแบ่งกลุ่มนักเรียนออกเป็นกลุ่ม กลุ่มละ 4-5 คน โดยครู
อธิบายวิธีการเล่นให้นักเรียนฟัง จากนั้นให้นักเรียนเล่นเกม 2-3 ครั้ง จนได้กลุ่มครบทุกคน ซึ่งมี
วธิ ีการเล่น ดงั น้ี
ครใู หน้ ักเรียนแต่ละคนคิดว่า ตนเองต้องการเปน็ ตัวผึ้ง หรอื ต้องการเป็นรังผ้ึง โดยครู
จะออกคำสั่งแล้วให้นักเรียนวิ่งไปรวมกลุ่มกัน ซึ่งกำหนดให้นักเรียนยืนล้อมวง คือ รังผึ้ง และ
นักเรียนที่ยนื อย่ใู นวง คือ ตวั ผง้ึ ท้ังนี้นักเรยี นคนใดทไ่ี ม่มีกล่มุ หรือนักเรียนกล่มุ ใดมจี ำนวนรังผ้ึง
หรือจำนวนตัวผึ้งไม่ครบตามจำนวนท่ีครูออกคำสั่ง จะถูกลงโทษด้วยวิธีการต่าง ๆ กันไป เช่น
การเต้นตามเพลง การร้องเพลง หรืออื่น ๆ ตามความเหมาะสม ตัวอย่างการออกคำสั่งของครู
เช่น
▪ มผี ง้ึ 2 ตัว อยู่ในรังผง้ึ 4 รงั
▪ มรี งั ผ้ึง 6 รงั ลอ้ มผง้ึ 3 ตวั
▪ มผี ง้ึ และรังผงึ้ ล้อมวง 8 ตวั
6. เมื่อนักเรียนแบ่งกลุ่มเรียบร้อยแล้ว ครูให้แต่ละกลุ่มร่วมกันศึกษาข้อมูลและรูปภาพในหัวข้อที่ 1
การจดั กลุ่มสงิ่ มีชวี ิต จากหนงั สอื เรียนวิทยาศาสตร์ หน้า 4
7. ครเู ปดิ PPT เรอ่ื ง กลุ่มสง่ิ มีชวี ิต ให้นักเรยี นดู จากนน้ั ถามคำถามกระต้นุ ความคดิ โดยให้นักเรียนแต่
ละกลุ่มอภิปรายและหาคำตอบร่วมกันว่า สิ่งมีชีวิตแต่ละกลุ่มนั้นมีลักษณะเหมือนกันหรือแตกต่าง
กัน อยา่ งไร
(แนวตอบ : มีลักษณะแตกต่างกนั ไป เช่น บางชนิดสร้างอาหารได้ บางชนิดสร้างอาหารไม่ได้ บาง
ชนิดกนิ สงิ่ มชี วี ิตอืน่ เป็นอาหาร บางชนิดยอ่ ยสลายสง่ิ มีชีวติ อ่ืนได้ เป็นตน้ )
8. ครูให้นักเรียนรวมกลุ่มเดิมที่ได้แบ่งไว้เมื่อชั่วโมงที่ผ่านมา จากนั้นครูแจ้งว่าจะให้นักเรียนได้ทำ
กจิ กรรมการสำรวจและจดั กลุ่มสง่ิ มีชีวิตในกิจกรรมที่ 1 เรื่อง การจดั กลุม่ สง่ิ มชี ีวติ ตอนที่ 1-2 จาก
หนังสือเรียนวิทยาศาสตร์ หน้า 5 โดยครูแจ้งจุดประสงค์ของการทำกิจกรรมให้นักเรียนทราบก่อน
ทำกจิ กรรม
9. นักเรียนแต่ละกลุ่มร่วมกันทำกิจกรรมที่ 1 เรื่อง การจัดกลุ่มสิ่งมีชีวิต ตอนที่ 1-2 โดยปฏิบัติ
กิจกรรม ดังน้ี
1) ศึกษาขน้ั ตอนการทำกิจกรรมจากหนังสือเรียนวิทยาศาสตร์ หน้า 5 อย่างละเอียด หากมี
ขอ้ สงสยั ใหส้ อบถามครู
2) ร่วมกันกำหนดปัญหาและตั้งสมมตฐิ านในการทำกิจกรรม แล้วบนั ทึกผลลงในแบบฝึกหัด
วิทยาศาสตร์ ป.4 เลม่ 1 หน้า 4
3) รว่ มกนั ทำกจิ กรรมตามข้นั ตอนใหค้ รบถว้ นและถูกต้องทุกขนั้ ตอน จากนน้ั บันทึกผล
(หมายเหตุ : ครเู ริ่มประเมนิ นักเรยี น โดยใช้แบบสังเกตพฤตกิ รรมการทำงานกลุ่ม)
ขัน้ อธบิ ายความรู้ (Explain)
1. นกั เรียนแต่ละกลมุ่ รว่ มกนั อภิปรายและสรปุ ผลจากการทำกจิ กรรมภายในกลุ่ม
2. ให้นักเรียนแต่ละกลุ่มส่งตัวแทนออกมานำเสนอผลงานของกลุ่มหน้าชั้นเรียน โดยครูสุ่มจับสลาก
เลอื กนักเรียนทลี ะกลุม่
3. นกั เรียนแต่ละกลมุ่ ออกมานำเสนอผลงานหนา้ ชั้นเรียน จากน้ันรว่ มกันอภิปรายและสรปุ ผลเก่ียวกับ
การจดั กล่มุ สง่ิ มีชีวติ โดยใช้ลักษณะของสง่ิ มีชวี ิตที่สังเกตได้เปน็ เกณฑ์
(หมายเหตุ : ครเู ร่ิมประเมินนักเรียน โดยใช้แบบสังเกตพฤตกิ รรมการทำงานกล่มุ )
3) ขนั้ สรุป
ข้ันขยายความเขา้ ใจ (Elaborate)
1. ครใู ห้นักเรยี นแตล่ ะกลุม่ ช่วยกนั ศกึ ษาขอ้ มลู เกย่ี วกับลกั ษณะของสิง่ มชี วี ิตในกลุ่มตา่ ง ๆ จากหนังสือ
เรียนวิทยาศาสตร์ หนา้ 6-7 แลว้ ครูสุม่ เลือกตัวแทนกลุ่มใหส้ รปุ เนือ้ หาทีศ่ ึกษาใหเ้ พือ่ นในหอ้ งฟงั
2. ครขู ออาสามาสมัครนักเรียน 3 คน ใหย้ กตัวอย่างสิง่ มชี วี ิตท่ีอย่ใู นแต่ละกลุ่ม ดงั น้ี
• คนท่ี 1 ให้ยกตัวอยา่ งสงิ่ มชี วี ิตกลุ่มพืช 3 ตวั อยา่ ง
• คนที่ 2 ใหย้ กตวั อยา่ งสิง่ มชี ีวิตกลุ่มสตั ว์ 3 ตวั อย่าง
• คนที่ 2 ให้ยกตวั อย่างส่ิงมีชีวิตกลุ่มที่ไม่ใชพ่ ชื และสัตว์ 3 ตวั อย่าง
3. ครูอธิบายให้นกั เรยี นเข้าใจเพิ่มเติมเกี่ยวกับสิ่งมีชีวิตกลุ่มที่ไม่ใช่พืชและสตั ว์ว่า รา แบคทีเรีย ไวรัส
ยีสต์ เป็นต้น เราเรียกรวมว่า จุลินทรีย์ ซึ่งเป็นสิ่งมีชีวิตที่เราไม่สามารถมองเห็นได้ด้วยตาเปล่า
เพราะมีขนาดเล็กมาก ซึ่งจุลินทรีย์ที่มีประโยชน์กับเราและเราสามารถรับประทานได้ใน
ชีวิตประจำวนั เช่น จุลินทรีย์ที่อยู่ในโยเกิร์ต คือ แบคทีเรียที่สามารถย่อยสลายโปรตีนในนม ทำให้
เกดิ การหมักของสารอาหาร จึงทำให้เกิดประโยชนต์ อ่ รา่ งกายของเราได้ เปน็ ต้น
4. ครูให้นักเรียนแต่ละคนทำกิจกรรมหนูตอบได้จากหนังสือเรียนวิทยาศาสตร์ หน้า 5 ลงในสมุด
ประจำตัวนกั เรียน หรือทำในแบบฝึกหัดวทิ ยาศาสตร์ หน้า 5
5. ครูให้นักเรียนแต่ละคนนำกิจกรรมพัฒนาการเรียนรู้ที่ 1 จากหนังสือเรียนวิทยาศาสตร์ หน้า 7
ไปทำเป็นการบ้าน โดยให้ทำลงในสมุดประจำตัวนักเรียน หรือให้นักเรียนทำในใบงาน ที่ครูแจกให้
แล้วนำมาส่งในชวั่ โมงถัดไป
(หมายเหตุ : ครูเรมิ่ ประเมินนกั เรยี น โดยใช้แบบสังเกตพฤติกรรมการทำงานรายบุคคล)
ขัน้ ตรวจสอบผล (Evaluate)
1. ครูให้นักเรียนสรุปความรู้จากการเรียนจนได้ข้อสรุปร่วมกันว่า สิ่งมีชีวิตต่าง ๆ บนโลกมีมากมาย
หลายชนิด ซึ่งสิ่งมีชีวิตแต่ละชนิดมีลักษณะต่าง ๆ ที่แตกต่างกันไป นักวิทยาศาสตร์จึงใช้ลักษณะ
ความเหมือนและความแตกต่างของสิ่งมีชีวิตต่าง ๆ มาจัดกลุ่มสิ่งมีชีวิตได้เป็น 3 กลุ่มใหญ่ คือ
สิ่งมชี วี ติ กลมุ่ พืช สิ่งมชี ีวิตกลมุ่ สตั ว์ และสิง่ มชี ีวติ กลุ่มทไ่ี มใ่ ช่พชื และสัตว์
2. ครตู รวจสอบผลการทำแบบทดสอบกอ่ นเรยี น เพื่อตรวจสอบความเข้าใจก่อนเรียนของนักเรยี น
3. ครูประเมินผลนักเรียน โดยการสังเกตพฤติกรรมการตอบคำถาม พฤติกรรมการทำงานรายบุคคล
พฤตกิ รรมการทำงานกลุ่ม และจากการนำเสนอผลการทำกจิ กรรมหน้าชั้นเรยี น
4. ครูตรวจการวาดภาพหรือติดภาพสิ่งมีชีวิตต่าง ๆ ที่นักเรียนรู้จักในสมุดประจำตัวนักเรียน หรือ
ตรวจผลการทำกจิ กรรมนำส่กู ารเรยี นในแบบฝกึ หดั วทิ ยาศาสตร์ หน้า 2
5. ครูตรวจสอบผลการทำกิจกรรมที่ 1 เรื่อง การจัดกลุ่มสิ่งมีชีวิต ในสมุดประจำตัวนักเรียน หรือใน
แบบฝกึ หัดวทิ ยาศาสตร์ หนา้ 4
6. ครูตรวจสอบผลการทำกจิ กรรมหนูตอบไดใ้ นสมุดประจำตัวนกั เรยี น หรือในแบบฝึกหดั วิทยาศาสตร์
หนา้ 5
7. ครูตรวจสอบผลการทำกิจกรรมพัฒนาการเรยี นรู้ที่ 1 ในสมุดประจำตวั นกั เรียน หรอื ในใบงาน
9. ชนิ้ งาน/ภาระงาน
• ใบงาน เรอื่ ง เกณฑ์ท่ีใชใ้ นการแบ่งกลมุ่ สง่ิ มีชวี ติ
• ใบงาน เรอ่ื ง การจัดกล่มุ สงิ่ ชีวติ
• ใบงาน เรอ่ื ง ลักษณะของสง่ิ มีชวี ติ ทน่ี า่ สนใจ
10. ส่ือการเรยี นรู้
1) หนังสือเรยี นวิทยาศาสตร์ ป.4 เลม่ 1 หนว่ ยการเรียนรู้ที่ 1 ความหลากหลายของส่งิ มชี วี ิต
2) ใบงาน เรอื่ ง เกณฑท์ ่ีใช้ในการแบง่ กลมุ่ สิง่ มีชวี ติ
3) ใบงาน เรอื่ ง การจัดกลุ่มสิง่ ชีวิต
4) ใบงาน เรอ่ื ง ลกั ษณะของสง่ิ มีชวี ิตที่น่าสนใจ
5) PowerPoint เรือ่ ง กลุ่มส่งิ มชี ีวิต
6) สมุดประจำตัวนักเรยี น
11. แหล่งการเรยี นรู้
1) ห้องเรียน
2) หอ้ งสมดุ
3) อินเทอร์เนต็
12. การวัดผลและประเมินผล
1) การประเมนิ ระหวา่ งการจัดกิจกรรมการเรยี นรู้
รายการวดั วธิ ีการ เครอ่ื งมอื เกณฑก์ ารประเมนิ
การประเมินก่อนเรียน - แบบทดสอบก่อนเรียน - ประเมนิ ตาม
สภาพจริง
- แบบทดสอบกอ่ น - ตรวจแบบทดสอบ - สมดุ ประจำตวั หรอื
แบบฝึกหดั วทิ ยาศาสตร์ - รอ้ ยละ 60
เรียน หน่วยการ กอ่ นเรยี น ป.4 เลม่ 1 หนา้ 2 ผา่ นเกณฑ์
- สมุดประจำตัว หรอื
เรียนรทู้ ี่ 1 ความ แบบฝกึ หัดวทิ ยาศาสตร์ - ร้อยละ 60
ป.4 เล่ม 1 หน้า 4 ผา่ นเกณฑ์
หลากหลายของ - สมดุ ประจำตัว หรือใบ
งาน - ร้อยละ 60
สิ่งมชี วี ติ - สมุดประจำตวั หรือ ผ่านเกณฑ์
แบบฝกึ หดั วทิ ยาศาสตร์ - รอ้ ยละ 60
ประเมนิ ระหวา่ งการจัด ป.4 เลม่ 1 หน้า 5 ผา่ นเกณฑ์
- แบบประเมินการ
กิจกรรมการเรยี นรู้ นำเสนอผลงาน - ระดับคณุ ภาพ 2
ผา่ นเกณฑ์
1) การจดั กลุ่มสง่ิ มีชีวติ - ตรวจสมุดประจำตวั หรือ
หรอื กิจกรรมนำสู่ แบบฝกึ หัดวทิ ยาศาสตร์
การเรียน ป.4 เลม่ 1 หน้า 2
2) ผลบนั ทกึ การทำ - ตรวจสมดุ ประจำตวั หรอื
กิจกรรมที่ 1 แบบฝกึ หดั วิทยาศาสตร์
ป.4 เล่ม 1 หนา้ 4
3) กิจกรรมพฒั นาการ - ตรวจสมุดประจำตัว หรอื
เรยี นรทู้ ี่ 1 ใบงาน
4) กิจกรรมหนตู อบได้ - ตรวจสมุดประจำตวั
แบบฝึกหดั วทิ ยาศาสตร์
ป.4 เลม่ 1 หน้า 5
5) การนำเสนอผล - ประเมนิ การนำเสนอ
การทำกจิ กรรม ผลการทำกจิ กรรม
รายการวดั วธิ ีการ เครอ่ื งมือ เกณฑก์ ารประเมิน
6) พฤตกิ รรม - สงั เกตพฤติกรรม - แบบสังเกตพฤตกิ รรม - ระดบั คณุ ภาพ 2
การทำงานรายบุคคล การทำงานรายบุคคล
การทำงาน ผา่ นเกณฑ์
รายบุคคล - สงั เกตพฤติกรรม
7) พฤตกิ รรม การทำงานกลุ่ม - แบบสังเกตพฤติกรรม - ระดับคณุ ภาพ 2
การทำงานกลุ่ม
การทำงานกลุ่ม ผ่านเกณฑ์
2) การประเมนิ หลังเรียน
ต้ังคำถามตามเนื้อหาที่เพิ่งได้เรยี นรู้ไปให้นักเรียนตอบ เพื่อวัดความเข้าใจของนักเรยี น ตาม
วิธีการจัดการเรยี นรู้ ข้ันตรวจสอบผล (Evaluate)
3) การประเมินชิ้นงาน/ภาระงาน
ตรวจความถูกต้องของใบงาน ร้อยละ 60 ผ่านเกณฑ์
แผนการจดั การเรยี นรู้
รหัสวชิ า ว14101 ชื่อวชิ า วทิ ยาศาสตร์ กลุ่มสาระการเรยี นรู้ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
หนว่ ยการเรียนรู้ท่ี 1 ความหลากหลายของสง่ิ มีชีวิต บทที่ 1 ความหลากหลายของส่งิ มชี วี ติ
เรื่องท่ี 2 ความหลากหลายของพืช เวลาเรียน 5 ชั่วโมง
ชั้นประถมศกึ ษาปีที่ 4 วนั ท่ี .......................................................
ผ้สู อน นางสาวลลิดา กุลสุวรรณ โรงเรยี นวัดดาปานนิมิตมติ รภาพที่ 142
.....................................................................................
1. มาตรฐานการเรยี นรู้
ว 1.3 เขา้ ใจกระบวนการและความสำคัญของการถ่ายทอดลกั ษณะทางพนั ธุกรรม สารพันธกุ รรม การ
เปลี่ยนแปลงทางพันธุกรรมที่มีผลตอ่ สง่ิ มชี วี ิต ความหลากหลายทางชีวภาพและวิวัฒนาการของ
ส่ิงมีชีวติ รวมทง้ั นำความร้ไู ปใชป้ ระโยชน์
2. ตวั ชี้วัดชน้ั ปี
ว 1.3 ป.4/2 จำแนกพืชออกเปน็ พืชดอกและพืชไมม่ ดี อกโดยใช้การมดี อกเปน็ เกณฑ์ โดยใช้ขอ้ มลู ท่รี วบรวม
ได้
3. สาระสำคญั
ส่ิงมีชีวติ ต่าง ๆ ในโลกถูกจำแนกออกเป็นหมวดหมู่ เพ่ือง่ายต่อการศึกษา โดยสิ่งมชี วี ติ ที่มีลักษณะ
สำคัญร่วมกันจะถูกจำแนกเอาไว้ในกลุม่ เดยี วกนั ซง่ึ ในการจำแนกพชื เราสามารถใช้ลกั ษณะภายนอกของพชื ที่
สงั เกตได้มาเป็นเกณฑ์ในการจำแนกพชื ออกเป็นกลุ่ม เชน่ ใช้การมีดอก มาจำแนกพชื ได้เป็นพืชมดี อกและพชื
ไม่มีดอก เป็นตน้
4. จุดประสงคก์ ารเรยี นรู้
1. สังเกตและอธบิ ายลกั ษณะภายนอกของพืชชนดิ ตา่ ง ๆ ได้ (K)
2. จำแนกพืชออกเปน็ พชื ดอกและพชื ไม่มดี อก โดยใช้การมีดอกเป็นเกณฑ์ได้ (P)
3. ปฏบิ ัตกิ จิ กรรมเพ่ือจำแนกพืชชนดิ ต่าง ๆ ออกเป็นกลมุ่ ไดค้ รบถว้ นทกุ ขั้นตอน (P)
4. มคี วามสนใจและกระตือรือร้นในการเรียนรู้ (A)
5. สาระการเรยี นรู้
ใช้การมดี อกเปน็ เกณฑ์ในการจำแนกพืชออกเป็นพชื ดอกและพชื ไม่มดี อก
6. คุณลกั ษณะอนั พึงประสงค์
1. มีวนิ ยั
2. ใฝเ่ รียนรู้
3. มุง่ มัน่ ในการทำงาน
7. สมรรถนะสำคญั ของผเู้ รยี น
1. ความสามารถในการส่ือสาร
2. ความสามารถในการคดิ
1) ทกั ษะการสงั เกต
2) ทักษะการสำรวจค้นหา
3) ทักษะการรวบรวมขอ้ มูล
4) ทกั ษะการจำแนกประเภท
3. ความสามารถในการแกป้ ัญหา
4. ความสามารถในการใชท้ ักษะชีวติ
5. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี
8. กิจกรรมการเรียนรู้
เทคนิค : สบื เสาะหาความรู้ (5Es Instructional Model)
1) ขน้ั นำเข้าสูบ่ ทเรียน
ขน้ั กระตนุ้ ความสนใจ (Engage)
1. ครูเตรียมตัวอยา่ งต้นพชื มาอย่างน้อย 2 ชนิด (เชน่ มอสส์ มะเขือเทศ) มาวางไวห้ น้าช้ันเรียนเพ่ือให้
นกั เรยี นสงั เกต แล้วให้ร่วมกนั แสดงความคดิ เหน็ เกย่ี วกบั ลกั ษณะภายนอกของพชื ท่สี งั เกตได้
2. ครูถามคำถามนกั เรยี นเพ่อื กระตุน้ ความคิด โดยให้นกั เรียนตอบคำถามไดอ้ ยา่ งอสิ ระ ดังนี้
1) พชื ท้งั 2 ชนดิ มีลกั ษณะภายนอกแตกต่างกนั หรือไม่ อยา่ งไร
(แนวตอบ : ต่างกนั เช่น ใบมีลกั ษณะต่างกนั ตน้ หนึ่งมดี อก อีกตน้ หนงึ่ ไม่มีดอก เปน็ ต้น)
2) นักเรียนคิดว่า พืชตัวอย่างต้นใดเป็นพืชดอก และพืชตัวอย่างต้นใดเป็นพืชไม่มีดอก
สงั เกตไดจ้ ากสิง่ ใด
(แนวตอบ : มะเขือเทศเป็นพชื มดี อก สว่ นมอสส์ เปน็ พชื ไมม่ ีดอก)
(หมายเหตุ : ครูเรม่ิ ประเมนิ นักเรียน โดยใช้แบบสงั เกตพฤตกิ รรมการทำงานรายบุคคล)
3. ครูอธิบายให้นกั เรียนฟังว่า ถ้าสังเกตรอบๆ ตัวเราจะพบว่า พืชมีมากมายหลายชนิด พืชบางชนิดมี
ลำต้นสูงใหญ่ พืชบางชนิดมีลำต้นขนาดเล็ก พืชบางชนิดมีดอก พืชบางชนิดไม่มีดอก จะเห็นได้ว่า
พืชแต่ละชนิดมลี ักษณะบางอยา่ งแตกต่างกัน และอาจมีลักษณะบางอย่างเหมือนกัน ดังน้ัน เพ่ือให้
ง่ายต่อการศึกษาเกี่ยวกับการดำรงชีวิตของพืช นักวิทยาศาสตร์จึงมีการแยกประเภทออกเป็น 2
ประเภท ได้แก่ พืชดอก และพืชไมม่ ีดอก
4. ครูแจ้งชือ่ เร่ืองทจ่ี ะเรียนรู้ในวันนี้และจุดประสงค์การเรียนรูใ้ หน้ ักเรียนทราบ
2) ขนั้ ประกอบกิจกรรมการเรยี น
ข้ันสำรวจค้นหา (Explore)
1. ครูให้นักเรียนอ่านข้อมูลและดูรูปภาพจากหนังสือเรียนวิทยาศาสตร์ ป.4 เล่ม 1 หน้า 8 ในหัวข้อท่ี
2 ความหลากหลายของพืช จากนน้ั ครสู มุ่ นักเรียนตามลำดบั เลขท่ี 2-3 คน ให้ตอบคำถาม ดังน้ี
1) นักเรยี นรจู้ ักพชื ท่อี ยใู่ นรูปภาพหรอื ไม่
(แนวตอบ : ข้นึ อยกู่ บั คำตอบของนกั เรียน ใหอ้ ยกู่ ับดุลยพินจิ ของครูผสู้ อน)
2) นักเรยี นคิดว่า พชื ในภาพชนดิ ใดเป็นพชื ดอก และพืชในภาพชนิดใดเปน็ พชื ไม่มดี อก
(แนวตอบ : กุหลาบ บัว และมะระ เปน็ พชื ดอก ส่วน เฟริ น์ ขา้ หลวง และมอสส์ เป็นพืช
ไม่มีดอก)
(หมายเหตุ : ครเู ริ่มประเมนิ นกั เรยี น โดยใชแ้ บบสังเกตพฤตกิ รรมการทำงานรายบุคคล)
2. ครูใหน้ กั เรยี นแบ่งกลุ่มตามความสมัครใจ กล่มุ ละ 4 คน แลว้ ให้ตง้ั ชอื่ กลมุ่ เป็นช่ือต้นพืชที่กลุ่มชอบ
หรือสนใจ
3. ให้แต่ละกล่มุ ชว่ ยกนั เขียนช่ือพืชมีดอกและพชื ไมม่ ีดอกลงในกระดาษของกล่มุ ให้ได้มากท่ีสดุ โดยให้
ครูจับเวลา 5 นาที หากหมดเวลาให้ครูส่งสัญญาณเพื่อให้ทุกกลุ่มหยุดเขียน จากนั้นให้แต่ละกลุ่ม
ชว่ ยกันตรวจสอบวา่ กลมุ่ ใดเขียนไดถ้ กู ต้องมากทีส่ ดุ จะเป็นผ้ชู นะ
(หมายเหตุ : ครูเริ่มประเมินนักเรยี น โดยใช้แบบสงั เกตพฤตกิ รรมการทำงานกลุ่ม)
4. ครูมอบรางวัลหรือของขวญั แก่กล่มุ ท่ีชนะ เพ่อื เปน็ การเสรมิ แรงในการทำกิจกรรม
5. ครูถามคำถามนักเรียน แล้วใหช้ ว่ ยกนั ตอบคำถามไดอ้ ย่างอิสระ ดังนี้
1) พชื ดอก และพชื ไม่มีดอก มโี ครงสรา้ งภายนอกแตกตา่ งกันหรอื ไม่ อยา่ งไร
(แนวตอบ : ตา่ งกนั พชื มดี อกประกอบดว้ ย ราก ลำตน้ ใบ และดอก สว่ นพืชไม่มดี อก
ประกอบดว้ ย ราก ลำตน้ และใบ แตจ่ ะไม่มดี อกตลอดชวี ิต)
2) พชื มดี อกจะเริม่ มีดอกเมอื่ ใด
(แนวตอบ : เม่ือพชื ดอกเจริญเติบโตเต็มทีแ่ ลว้ จะออกดอกเพอื่ ใชใ้ นการสืบพันธ์ุ)
6. ครูให้นกั เรียนจบั กลมุ่ เดิมจากช่วั โมงทผี่ ่านมาแล้ว จากนน้ั ให้สมาชกิ แต่ละกลมุ่ ทำกิจกรรมท่ี 2 เรื่อง
การจดั กลุม่ พืช ตอนที่ 1 โดยปฏบิ ตั ิ ดงั น้ี
1) ศึกษาขั้นตอนการทำกิจกรรมที่ 2 เรื่องการจัดกลุ่มพืช ตอนท่ี 1 จากหนังสือเรียน
วทิ ยาศาสตร์ หนา้ 9 อย่างละเอยี ด หากมขี อ้ สงสัยใหส้ อบถามครู
2) แต่ละกลุม่ สง่ ตัวแทนรับบตั รภาพตน้ พชื ชนิดตา่ ง ๆ จากครู กลมุ่ ละ 1 ชุด ชดุ ละ 8-10 ใบ
(บัตรภาพพืชมีดอก เช่น กุหลาบ ทานตะวัน กล้วยไม้ เป็นต้น และบัตรภาพพืชไมม่ ีดอก
เชน่ มอสส์ เฟิรน์ ผักกดู เป็นต้น)
3) แตล่ ะกลมุ่ รว่ มกนั ต้งั สมมติฐานก่อนการทำกิจกรรมเกยี่ วกับการจดั กลุม่ พืช
4) ร่วมกันสังเกตบัตรภาพพืชนิดต่าง ๆ จากนั้นช่วยกันจัดกลุ่มพืชโดยใช้ลักษณะภายนอก
ของพชื เปน็ เกณฑ์ แลว้ บนั ทึกผลลงในแบบฝึกหดั วิทยาศาสตร์ ป.4 เล่ม 1 หน้า 8
5) รว่ มกันอภิปรายและสรปุ ผลการทำกิจกรรม จากนนั้ นำขอ้ มูลการจำแนกพืชมาจัดทำเป็น
แผนผงั แผนภาพ หรอื อื่นๆ ลงในกระดาษแขง็ แผน่ ใหญ่ เพื่อนำเสนอข้อมูลหนา้ ช้ันเรียน
(หมายเหตุ : ครเู ริม่ ประเมนิ นกั เรียน โดยใชแ้ บบสงั เกตพฤตกิ รรมการทำงานกลมุ่ )
7. ครูชวนนักเรียนสนทนาเพื่อทบทวนการทำกิจกรรมจากชั่วโมงที่ผ่านมาว่า พืชบางชนิดมีราก ลำต้น
ใบ และดอก เหมือนกันจัดเป็นกลุ่มพืชดอก ส่วนพืชบางชนิดที่มีราก ลำต้น ใบ แต่ไม่มีดอก
เหมือนกันจัดเป็นกล่มุ พืชไมม่ ีดอก
8. ครูขออาสาสมัครนักเรียน 2 คน โดยคนหน่ึงให้ยกตวั อยา่ งพืชดอก 3 ชนิด และอีกคนให้ยกตัวอย่าง
พืชไม่มีดอก 3 ชนิด แล้วให้นักเรียนทั้งห้องช่วยกับตรวจสอบว่าถูกต้องหรือไม่ จากนั้นครูให้คำชม
เพอ่ื เปน็ กำลงั ใจ
9. ครูใหน้ ักเรียนจับกล่มุ เดิมจากช่วั โมงท่ผี ่านมา จากนน้ั ให้สมาชิกแต่ละกลมุ่ ทำกิจกรรมที่ 2 เร่อื ง การ
จัดกลมุ่ พืช ตอนท่ี 2 โดยปฏบิ ัติ ดงั นี้
1) ศึกษาขั้นตอนการทำกิจกรรมที่ 2 เรื่อง การจัดกลุ่มพืช ตอนที่ 2 จากหนังสือเรียน
วิทยาศาสตร์ หน้า 10 อย่างละเอียด หากมีขอ้ สงสยั ใหส้ อบถามครู
2) แต่ละกลุ่มร่วมกันกำหนดปัญหาและตั้งสมมติฐานล่วงหน้าก่อนการทำกิจกรรม แล้ว
บนั ทึกลงในแบบฝึกหดั วทิ ยาศาสตร์ หน้า 9
3) ร่วมกันสังเกตลักษณะภายนอกของต้นพืช 2 ชนิด ที่ครูเตรียมมาให้ ได้แก่ ต้นพริก และ
ตน้ เฟริ น์ จากนน้ั บนั ทึกผลลงในแบบฝกึ หัดวิทยาศาสตร์ หน้า 9
4) สืบค้นข้อมูลเพิ่มเติมจากแหล่งการเรียนรู้ต่าง ๆ เกี่ยวกับพืชทั้ง 2 ชนิดนี้ แล้ว
เปรียบเทียบความแตกต่าง จากนั้นร่วมกันอภิปรายและสรุปผลการทำกิจกรรมภายใน
กลุม่
10. ครูเปิด PPT เรื่อง ความหลากหลายของพืช ให้นักเรียนดู จากนั้นใหน้ กั เรียนแต่ละกลุ่มศึกษาข้อมูล
เกี่ยวกับพืชดอกและพืชไม่มีดอกเพิ่มเติมจากหนังสือเรียนวิทยาศาสตร์ หน้า 11-12 เพื่อใช้เป็น
ขอ้ มลู ในการนำมาสรปุ ร่วมกับผลการทำกิจกรรมท่ี 2 ตอนที่ 1-2 โดยครคู อยอธิบายและตอบคำถาม
ให้กบั นักเรียนทีม่ ขี ้อสงสัยอยา่ งใกล้ชดิ
(หมายเหตุ : ครูเรมิ่ ประเมินนกั เรียน โดยใช้แบบสงั เกตพฤตกิ รรมการทำงานกลมุ่ )
ขน้ั อธิบายความรู้ (Explain)
1. ครใู ช้วิธีการสุ่มวันเกิดของนักเรียน เพือ่ เลือกตวั แทนกลุม่ นักเรียนให้ออกมานำเสนอผลงานหน้าช้ัน
จนครบทุกกลมุ่ จากนน้ั รว่ มกันสรปุ ผลการทำกิจกรรมท่ี 2 เรอ่ื ง การจดั กล่มุ พืช ดังนี้
1) ให้ตัวแทนของแต่ละกลุ่มออกมานำเสนอแผนผัง แผนภาพ หรือตาราง ที่ได้จากการทำ
กจิ กรรมที่ 2 เรื่องการจัดกลมุ่ พืช ตอนท่ี 1 จากนัน้ ใหร้ ่วมกันอภิปรายผลการจดั กล่มุ พชื
2) ใหต้ วั แทนของแต่ละกลุ่มออกมานำเสนอผลการทำกิจกรรมท่ี 2 เรอ่ื งการจดั กลมุ่ พืช ตอน
ท่ี 2 จากนน้ั ใหน้ กั เรยี นร่วมกนั อภิปรายผลการสงั เกตความแตกต่างของลกั ษณะภายนอก
ของพืชดอกและพชื ไมม่ ีดอก
2. ให้นักเรียนร่วมกันอภิปรายผลการทำกิจกรรมจนได้ข้อสรุปว่า พืชบางชนิดมีโครงสร้างส่วนต่าง ๆ
ภายนอกที่สำคัญ ได้แก่ ราก ลำต้น ใบ และดอก เหมือนกัน จึงจัดเป็นกลุ่มพืชดอก ส่วนพืชบาง
ชนิดที่มีมีโครงสร้างส่วนต่าง ๆ ภายนอกที่สำคัญ ได้แก่ ราก ลำต้น และใบ แต่ไม่มีดอกตลอดการ
ดำรงชวี ติ เหมือนกัน จดั เป็นกลุ่มพชื ไมม่ ีดอก
3) ข้ันสรุป
ข้ันขยายความเขา้ ใจ (Elaborate)
1. ครูถามคำถามท้าทายการคิดขั้นสูง จากหนังสือเรียนวิทยาศาสตร์ หน้า 12 แล้วให้นักเรียนชว่ ยกัน
นำความรทู้ ไ่ี ด้จากการศกึ ษาและทำกิจกรรมมาตอบคำถาม ดังน้ี
• พืชดอก เป็นพืชที่มีดอกสำหรับใช้ในการสบื พนั ธุ์ นักเรียนคดิ ว่า พืชดอกสามารถสืบพันธุ์
หรอื ขยายพนั ธุ์ดว้ ยวิธีการอ่นื หรอื ไม่ อย่างไร
(แนวตอบ : ขน้ึ อยู่กบั ดุลยพนิ ิจของครผู ้สู อน ยกตัวอยา่ งเชน่ พชื ดอกสามารถขยายพันธ์ุ
ด้วยวิธอี ืน่ ได้ เชน่ การปกั ชำ การติดตา การทาบก่งิ การตอนกง่ิ การเสยี บยอด เปน็ ต้น)
(หมายเหตุ : ครเู ริ่มประเมนิ นักเรียน โดยใชแ้ บบสังเกตพฤติกรรมการทำงานรายบคุ คล
2. ครูชูบัตรภาพข้าวโพดและบัตรภาพไผ่ จากนั้นให้นักเรียนช่วยกันอภิปรายว่า พืชทั้ง 2 ชนิดนี้มี
ลักษณะโครงสร้างภายนอกเหมือนกันหรอื แตกต่างกัน อยา่ งไร
3. หากนักเรยี นไมท่ ราบคำตอบ ครอู าจให้ชว่ ยกันสืบค้นข้อมลู เพม่ิ เติมจากแหล่งการเรียนรตู้ ่าง ๆ เช่น
หนังสือเรียน หอ้ งสมดุ อินเทอร์เนต็ เปน็ ตน้ โดยมีครคู อยแนะนำเพิ่มเตมิ ในส่วนทีบ่ กพรอ่ ง
4. ครูขออาสาสมัครนักเรียน 3-4 คน ให้ออกมาอธิบายคำตอบที่สืบค้นได้หน้าชั้นเรียน โดยมีครูคอย
ตรวจสอบความถกู ตอ้ งของคำตอบ
(หมายเหตุ : ครูเรมิ่ ประเมินนกั เรยี น โดยใชแ้ บบสงั เกตพฤตกิ รรมการทำงานรายบคุ คล)
5. ให้นักเรียนแต่ละคนทำกิจกรรมหนูตอบได้จากหนังสือเรียนวิทยาศาสตร์ หน้า 10 ลงในสมุด
ประจำตัวนกั เรยี น หรือทำในแบบฝกึ หดั วิทยาศาสตร์ หนา้ 10
6. ครูให้นักเรียนแตล่ ะคนนำกจิ กรรมพฒั นาการเรยี นรทู้ ่ี 2 จากหนังสอื เรียนวิทยาศาสตร์ หน้า 12 ไป
ทำเปน็ การบ้าน โดยให้ทำลงใสสมุดประจำตวั นักเรยี น หรือใหน้ ักเรียนทำในใบงานท่ีครูแจกให้ แล้ว
นำมาสง่ ในชั่วโมงถดั ไป
(หมายเหตุ : ครูเรม่ิ ประเมินนักเรียน โดยใชแ้ บบสังเกตพฤตกิ รรมการทำงานรายบคุ คล)
ขัน้ ตรวจสอบผล (Evaluate)
8. ครูสุ่มนักเรียนตามเลขที่ 4-5 คน จากนั้นให้แต่ละคนอธิบายความรู้เกี่ยวกับความหลากหลายของ
พชื การจดั กลมุ่ พชื ดอก จากนนั้ ให้นกั เรียนทัง้ ห้องสรุปความรรู้ ว่ มกัน
9. ครูประเมินผลนักเรียน โดยการสังเกตพฤติกรรมการตอบคำถาม พฤติกรรมการทำงานรายบุคคล
พฤติกรรมการทำงานกลุม่ และจากการนำเสนอผลการทำกจิ กรรมหนา้ ช้นั เรียน
10. ครูตรวจสอบผลการทำกิจกรรมที่ 2 เรื่อง การจัดกลุ่มสิ่งมีชีวิต ในสมุดประจำตัวนักเรียน หรือใน
แบบฝกึ หดั วิทยาศาสตร์ หนา้ 8-9
11. ครูตรวจสอบผลการทำกิจกรรมหนูตอบได้ในสมุดประจำตัวนักเรียน หรือแบบฝึกหัดวิทยาศาสตร์
หน้า 10
12. ครตู รวจสอบผลการทำกจิ กรรมพัฒนาการเรยี นรทู้ ่ี 2 ในสมุดประจำตวั นักเรยี น หรอื ในใบงาน
9. ชิ้นงาน/ภาระงาน
• ใบงาน เรอื่ ง พืชดอกและพืชไม่มีดอก
• ใบงาน เร่ือง ส่วนประกอบและประโยชน์ขงตน้ กล้วย
10. ส่ือการเรียนรู้
7) หนงั สอื เรียนวิทยาศาสตร์ ป.4 เลม่ 1 หนว่ ยการเรียนร้ทู ่ี 1 ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต
8) วัสดุ-อปุ กรณ์การทดลองในกิจกรรมที่ 2 เช่น บัตรภาพพชื มดี อกและพชื ไม่มีดอก เปน็ ต้น
9) ต้นพชื ตวั อย่าง ไดแ้ ก่ ต้นพริก ตน้ เฟิร์น ตน้ มอสส์ และต้นมะเขอื เทศ
10) PowerPoint เรือ่ ง ความหลากหลายของพชื
11) ใบงาน เรอ่ื ง พชื ดอกและพืชไมม่ ดี อก
12) ใบงาน เร่อื ง สว่ นประกอบและประโยชน์ขงต้นกล้วย
13) บัตรภาพพชื (ต้นข้าวโพด และต้นไผ)่
14) กระดาษแข็งแผน่ ใหญ่
15) สมุดประจำตัวนักเรียน
11. แหล่งการเรยี นรู้
4) ห้องเรียน
5) หอ้ งสมุด
6) อนิ เทอรเ์ นต็
12. การวดั ผลและประเมินผล
1) การประเมนิ ระหวา่ งการจัดกจิ กรรมการเรียนรู้
รายการวัด วิธีการ เคร่อื งมือ เกณฑก์ ารประเมนิ
7.1 ประเมนิ ระหว่าง - ตรวจสมุดประจำตัว หรอื - สมดุ ประจำตวั หรอื - รอ้ ยละ 60
การจดั กิจกรรม แบบฝกึ หดั วิทยาศาสตร์ แบบฝกึ หดั ผ่านเกณฑ์
การเรียนรู้ ป.4 เล่ม 1 หนา้ 8-9 วิทยาศาสตร์ ป.4 เล่ม
1) ผลบันทกึ การทำ 1 หน้า 8-9
กจิ กรรมท่ี 2
2) กจิ กรรมพฒั นาการ - ตรวจสมดุ ประจำตวั หรือ - สมดุ ประจำตัว หรือใบ - รอ้ ยละ 60
เรียนร้ทู ี่ 2 ใบงาน งาน ผ่านเกณฑ์
3) กจิ กรรมหนูตอบได้ - ตรวจสมดุ ประจำตัว หรอื - สมุดประจำตวั หรอื - รอ้ ยละ 60
แบบฝกึ หัดวิทยาศาสตร์ แบบฝึกหดั วทิ ยาศาสตร์ ผ่านเกณฑ์
4) การนำเสนอผล
การทำกจิ กรรม ป.4 เล่ม 1 หนา้ 10 ป.4 เล่ม 1 หน้า 10 - ระดับคณุ ภาพ 2
- ประเมนิ การนำเสนอ - แบบประเมนิ การ ผ่านเกณฑ์
5) พฤติกรรม นำเสนอผลงาน - ระดบั คณุ ภาพ 2
การทำงาน ผลการทำกิจกรรม - แบบสังเกตพฤติกรรม
รายบุคคล - สังเกตพฤติกรรม ผ่านเกณฑ์
การทำงานรายบุคคล การทำงานรายบุคคล
6) พฤติกรรม - ระดบั คณุ ภาพ 2
การทำงานกลมุ่ - สงั เกตพฤติกรรม - แบบสงั เกตพฤตกิ รรม ผ่านเกณฑ์
การทำงานกลุ่ม การทำงานกลุ่ม
2) การประเมนิ หลังเรียน
ตั้งคำถามตามเนื้อหาที่เพง่ิ ได้เรยี นรู้ไปใหน้ ักเรยี นตอบ เพื่อวัดความเขา้ ใจของนักเรยี น ตาม
วิธีการจดั การเรียนรู้ ขน้ั ตรวจสอบผล (Evaluate)
3) การประเมินชิน้ งาน/ภาระงาน
ตรวจความถูกต้องของใบงาน รอ้ ยละ 60 ผ่านเกณฑ์
บตั รภาพ ตน้ ขา้ วโพด
บตั รภาพ ตน้ ไผ่
แผนการจดั การเรียนรู้
รหัสวชิ า ว14101 ชื่อวชิ า วิทยาศาสตร์ กลมุ่ สาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
หน่วยการเรียนรทู้ ี่ 1 ความหลากหลายของสิ่งมีชวี ิต บทท่ี 1 ความหลากหลายของสิ่งมชี ีวิต
เร่ืองท่ี 3 ศกึ ษากลมุ่ พืชดอก เวลาเรียน 6 ชั่วโมง
ชัน้ ประถมศึกษาปีท่ี 4 วนั ท่ี .......................................................
ผูส้ อน นางสาวลลดิ า กุลสุวรรณ โรงเรียนวดั ดาปานนิมิตมิตรภาพท่ี 142
.....................................................................................
1. มาตรฐานการเรยี นรู้
ว 1.3 เขา้ ใจกระบวนการและความสำคญั ของการถ่ายทอดลักษณะทางพนั ธุกรรม สารพันธกุ รรม การ
เปลยี่ นแปลงทางพันธกุ รรมที่มผี ลตอ่ ส่ิงมีชีวิต ความหลากหลายทางชีวภาพและวิวฒั นาการของ
ส่ิงมชี วี ิต รวมท้งั นำความร้ไู ปใชป้ ระโยชน์
2. ตัวชี้วัดชน้ั ปี
ว 1.3 ป.4/2 จำแนกพชื ออกเป็นพืชดอกและพชื ไมม่ ดี อกโดยใชก้ ารมีดอกเปน็ เกณฑ์ โดยใช้ขอ้ มลู ทรี่ วบรวม
ได้
3. สาระสำคัญ
พชื ดอก เปน็ พืชท่ีมีส่วนสำคัญ ไดแ้ ก่ ราก ลำต้น ใบ ดอก ผลและเมลด็ เม่ือพืชดอกเจริญเติบโตเต็มท่ี
แลว้ จะผลติ ดอกเพ่ือใชส้ ำหรับการสบื พนั ธ์ุ หากจดั กลุ่มพชื ดอกโดยใชล้ ักษณะภายนอกเปน็ เกณฑ์ จะแบง่ ได้
เป็น 2 กล่มุ ใหญ่ คือพชื ใบเลย้ี งเดย่ี ว และพืชใบเล้ียงคู่ โดยพืชดอกทง้ั 2 กลุ่มนี้ จะมลี ักษณะโครงสร้างส่วน
ต่างๆ แตกต่างกันไป
4. จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้
1. สังเกตและอธิบายลกั ษณะภายนอกของพืชดอกได้ (K)
2. จำแนกพืชดอกเป็นพืชใบเลี้ยงเด่ียวและพชื ใบเล้ียงคู่ โดยใชล้ ักษณะภายนอกของพืชเป็นเกณฑ์ (P)
3. ปฏิบัติกจิ กรรมเพอ่ื เปรยี บเทยี บลักษณะภายนอกของพืชดอกแตล่ ะชนดิ ได้ครบทุกขัน้ ตอน (P)
4. มคี วามสนใจในการเรียนรู้และมคี วามรบั ผดิ ชอบต่องานที่ไดร้ บั มอบหมาย (A)
5. สาระการเรียนรู้
พชื ดอกจำแนกไดเ้ ปน็ พืชใบเล้ียงเดี่ยวและพืชใบเลยี้ งคู่
6. คุณลักษณะอันพงึ ประสงค์
1. มวี ินยั
2. ใฝเ่ รียนรู้
3. มงุ่ มั่นในการทำงาน
7. สมรรถนะสำคัญของผเู้ รียน
1. ความสามารถในการสื่อสาร
2. ความสามารถในการคิด
1) ทกั ษะการสงั เกต
2) ทักษะการสำรวจค้นหา
3) ทักษะการรวบรวมข้อมูล
4) ทกั ษะการจำแนกประเภท
3. ความสามารถในการแก้ปัญหา
4. ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต
5. ความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยี
8. กิจกรรมการเรยี นรู้
เทคนิค : สืบเสาะหาความรู้ (5Es Instructional Model)
ชัว่ โมงที่ 1-3
1) ข้ันนำเขา้ สู่บทเรียน
ขนั้ กระตนุ้ ความสนใจ (Engage)
5. ครูกลา่ วทักทายนักเรียน จากนัน้ สนทนากับนักเรยี นเพื่อทบทวนความรเู้ ดิมเกี่ยวกบั พืชดอกและพืช
ไม่มดี อกทีไ่ ดเ้ รียนผา่ นมาจากชว่ั โมงก่อน
6. ครตู ดิ บตั รภาพตน้ ข้าวโพดและต้นทานตะวันไว้ท่กี ระดาน จากนัน้ ตงั้ ประเด็นคำถามถามนักเรียนว่า
นกั เรียนรจู้ ักต้นขา้ วโพดกับตน้ ทานตะวนั หรอื ไม่
(แนวตอบ : รู้จกั /ไมร่ จู้ ัก)
7. ครูถามต่อว่า นักเรียนคิดว่าพืช 2 ชนิดนี้ มีลักษณะภายนอกเหมือนกันหรือแตกต่างกันหรือไม่
อย่างไร โดยครใู ห้นักเรยี นตอบคำถามอยา่ งอสิ ระโดยและยังไมเ่ ฉลยคำตอบ
(แนวตอบ : ข้ึนอยู่กบั คำตอบของนกั เรยี น ใหอ้ ยู่ในดุลยพินจิ ของครผู สู้ อน)
8. ครแู จ้งชือ่ เร่ืองท่ีจะเรยี นรู้ในวนั น้ีและผลการเรยี นรู้ให้นกั เรยี นทราบ
2) ขัน้ ประกอบกิจกรรมการเรียน
ขน้ั สำรวจคน้ หา (Explore)
7. ครูใช้เทคนคิ คู่คิดสีส่ หายในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ โดยแบ่งนกั เรียนออกเป็นกลุ่ม กล่มุ ละ 4 คน
ให้มคี วามสามารถคละกัน (เกง่ -คอ่ นขา้ งเกง่ -ปานกลาง-อ่อน)
8. ให้สมาชิกแต่ละกลุ่มร่วมกันกำหนดปัญหาและตั้งสมมติฐานก่อนการทำกิจกรรมน จากนั้นให้
สมาชิกแต่ละคนของกลุ่มไปทำกิจกรรมที่ 3 เรื่อง การจัดกลุ่มพืชดอก ตอนที่ 1 จากหนังสือเรียน
วิทยาศาสตร์ ป.4 เล่ม 1 หน้า 13-14 จากนั้นบนั ทึกลงในแบบฝึกหัดวิทยาศาสตร์ ป.4 เล่ม 1 หน้า
13
9. เมอ่ื นักเรยี นแตล่ ะคนทำกจิ กรรมเสร็จแล้ว ครูให้นักเรยี นจบั คกู่ บั เพื่อนที่อยู่ในกลุ่มเดยี วกัน จากนั้น
นำคำตอบที่ไดจ้ ากการทำกจิ กรรมที่ 3 เรือ่ ง การจดั กลุม่ พืชดอก ตอนที่ 1 มาผลัดกันอธิบายข้อมูล
หรอื คำตอบทีไ่ ดจ้ ากการทำกิจกรรม
10. ให้นักเรียนทั้ง 2 คู่ กลับมารวมกลุ่ม 4 คนเหมือนเดิม จากนั้นร่วมกันอธิบายคำตอบของตนเองให้
เพือ่ นในกลุ่มฟัง แล้วสรุปผลร่วมกนั
(หมายเหตุ : ครเู ริ่มประเมินนักเรียน โดยใชแ้ บบสังเกตพฤตกิ รรมการทำงานกล่มุ )
ขั้นอธบิ ายความรู้ (Explain)
ให้แตล่ ะกลุ่มสง่ ตวั แทนออกมานำเสนอผลการทำกจิ กรรมท่ี 3 เรอื่ ง การจดั กล่มุ พืชดอก ตอน
ที่ 1 ทีละกลุ่ม แล้วร่วมกันอภิปรายจนได้ข้อสรุปว่า ต้นข้าวโพดและต้นทานตะวันเป็นพืชดอกที่
โครงสรา้ งส่วนตา่ ง ๆ ภายนอกมลี ักษณะแตกต่างกนั ซง่ึ สังเกตได้จาก ลักษณะของราก ลำต้น และ
ใบ ดงั นน้ั โครงสร้างสว่ นต่าง ๆ ภายนอกของพชื ดอกแต่ละชนิดมีลกั ษณะแตกต่างกัน
3) ขน้ั สรุป
ขัน้ ขยายความเข้าใจ (Elaborate)
1. ครูแบ่งครึ่งบนกระดาน แล้วเขียนชื่อต้นข้าวโพดไว้ฝั่งซ้าย เขียนชื่อต้นทานตะวันไว้ฝ่ังขวา จากน้ัน
แบง่ นกั เรียนออกเปน็ 2 ฝา่ ย ฝ่ายหนง่ึ คอื ทีมตน้ ข้าวโพด อีกฝ่ายหน่ึงคอื ทมี ตน้ ทานตะวนั
2. ใหน้ ักเรยี นทั้ง 2 ฝ่ายผลัดกนั ออกมาเขยี นช่ือพืชชนิดอ่ืนๆ ท่มี ลี กั ษณะภายนอกเหมือนต้นพืชที่เป็น
ชอื่ ฝ่ายของตน้ โดยให้เวลา 5 นาที
3. เมื่อหมดเวลาให้ครตู รวจสอบความถกู ต้องบนกระดาน จากนั้นสรุปผลและใหค้ ำชมเชยแก่นักเรียน
ฝ่ายทชี่ นะ
(หมายเหตุ : ครูเรม่ิ ประเมนิ นกั เรียน โดยใชแ้ บบสังเกตพฤติกรรมการทำงานรายบุคคล)
ขั้นตรวจสอบผล (Evaluate)
1. ครูและนักเรยี นรว่ มกนั สรุปความรเู้ กย่ี วกับลักษณะภายนอกของพชื ดอก
2. ครูประเมินผลนักเรียน โดยการสังเกตพฤติกรรมการตอบคำถาม พฤติกรรมการทำงานรายบุคคล
พฤติกรรมการทำงานกล่มุ และจากการนำเสนอผลการทำกิจกรรมหน้าชัน้ เรยี น
3. ครูตรวจสอบผลการทำกิจกรรมที่ 3 เรื่อง การจัดกลุ่มพืชดอก ตอนที่ 1 ในสมุดประจำตัวนักเรียน
หรอื ในแบบฝกึ หดั วทิ ยาศาสตร์ หนา้ 13
ชัว่ โมงท่ี 4-5
1) ข้นั นำเขา้ สบู่ ทเรียน
ขนั้ กระตุ้นความสนใจ (Engage)
1. ครูชวนนกั เรียนสนทนาเก่ียวกับพชื ใบเล้ียงเดย่ี วและพืชใบเลี้ยงควู่ ่า นักเรยี นรู้จักหรือไม่
(แนวตอบ : รจู้ กั /ไม่รู้จกั )
2. ครูนำตัวอย่างใบของพืชใบเลี้ยงเดี่ยวและใบของพืชใบเลี้ยงคู่อย่างละ 2-3 ชนิด มาให้นักเรียนดู
แล้วให้ชว่ ยกันสังเกต
3. ครูขออาสาสมัครหรือสุ่มตัวแทนของชั้นเรียน 2-3 คน ให้ออกมาเขียนชื่อและชนิดของใบพืชท่ี
สังเกตบนกระดาน โดยครยู ังไมเ่ ฉลยคำตอบ
4. ครูถามนักเรียนว่า นักเรียนทราบได้อย่างไรว่า ใบพืชชนิดใดเป็นพืชใบเลี้ยงเดี่ยว และใบใดเป็นพืช
ใบเลย้ี งคู่
(แนวตอบ : เช่น สังเกตได้จากเสน้ ใบ เนื่องจากใบของพืชใบเลีย้ งเดี่ยว มีเส้นใบเรยี งขนาน ใบของ
พืชใบเลี้ยงคูม่ เี สน้ ใบเปน็ ร่างแห)
2) ข้นั ประกอบกิจกรรมการเรยี น
ขนั้ สำรวจคน้ หา (Explore)
1. ครเู ปิด PPT เรือ่ ง พชื ใบเลย้ี งเดย่ี วและพืชใบเลี้ยงคู่ ให้นกั เรียนดู จากนัน้ ครใู ห้นักเรียนจับกลุ่มเดิม
จากชว่ั โมงท่แี ล้ว
2. ครูให้นักเรียนแต่ละกลุ่มร่วมกันศึกษาและปฏิบัติกิจกรรมที่ 3 เรื่อง การจัดกลุ่มพืชดอก ตอนที่ 2
จากหนังสือเรียนวทิ ยาศาสตร์ ป.4 เล่ม 1 หน้า 14 จากนั้นให้สมาชกิ แต่ละกลุ่มกำหนดปญั หาและ
ตัง้ สมมติฐานก่อนการทำกิจกรรมรว่ มกัน แล้วใหป้ ฏบิ ัตกิ ิจกรรม ดังนี้
1) สำรวจพืชดอกชนดิ ต่าง ๆ ภายในบรเิ วณโรงเรียนหรือบา้ น มา 8-10 ชนิด
2) ช่วยกันสังเกตราก ลำต้น และใบ ของพืชแต่ละชนิดที่สำรวจมา แล้วบันทึกผลลงใน
แบบฝกึ หดั วทิ ยาศาสตร์ หน้า 14 หรอื สมดุ หรือใบงาน
3) นำข้อมูลที่รวบรวมได้มาอภิปรายและสรุปร่วมกัน จากนั้นช่วยกันกำหนดเกณฑ์ที่ใช้ใน
การจำแนกชนิดพชื ว่า เปน็ พชื ดอกประเภทใบเลย้ี งเด่ยี ว หรือพืชใบเลี้ยงคู่
(หมายเหตุ : ครเู ร่มิ ประเมินนักเรยี น โดยใชแ้ บบสงั เกตพฤตกิ รรมการทำงานกลุ่ม)
ขนั้ อธิบายความรู้ (Explain)
1. ให้นักเรียนจับคู่กับเพื่อนที่อยู่ในกลุ่มเดียวกัน จากนั้นนำคำตอบที่ได้จากการทำกิจกรรมที่ 3 เรื่อง
การจัดกลุ่มพืชดอก ตอนที่ 2 แลว้ ผลดั กันอธบิ ายคำตอบ
2. ให้นักเรียน 2 คู่ กลับมารวมกลุ่ม 4 คนเหมือนเดิม จากนั้นอธิบายคำตอบของตนเองให้เพื่อนใน
กล่มุ ฟงั จากนัน้ สรุปคำตอบรว่ มกนั
3. ครูสุ่มเลือกตัวแทนนักเรียนแต่ละกลุ่มให้ออกมานำเสนอผลการทำกิจกรรม โดยวิธีการจับสลาก
หมายเลข จากนั้นตวั แทนของแตล่ ะกลุม่ ออกมานำเสนอผลการทำกจิ กรรมจนครบทุกกลมุ่
นักเรียนทุกกลุ่มร่วมกันอภปิ รายจนได้ขอ้ สรุปวา่ เราสามารถใช้ลักษณะของราก ลำต้น และใบของ
พืชดอกชนิดต่าง ๆ เป็นเกณฑ์ร่วมกันเพื่อใช้ในการจัดกลุ่มพืชดอก ซึ่งแบ่งพืชดอกได้เป็น 2 กลุ่ม
คอื กลมุ่ พชื ใบเลีย้ งเดย่ี ว และกล่มุ พชื ใบเลีย้ งคู่
(หมายเหตุ : ครเู รม่ิ ประเมินนกั เรียน โดยใชแ้ บบสงั เกตพฤติกรรมการทำงานกลุ่ม)
ชัว่ โมงท่ี 6
3) ขัน้ สรุป
ขั้นขยายความเข้าใจ (Elaborate)
1. ให้นักเรียนแต่ละคนศกึ ษาข้อมูลเกี่ยวกับพืชใบเลี้ยงเด่ียวและพืชใบเลี้ยงคู่เพิ่มเติมจากหนังสอื เรยี น
วิทยาศาสตร์ หนา้ 15-16
2. ครูสุ่มเลือกนักเรียน 4-5 คน จากลำดับเลขที่ จากนั้นให้นักเรียนแต่ละคนบอกชื่อพืชคนละ 1 ชนิด
และอธบิ ายว่าเป็นพชื ใบเลี้ยงเดี่ยวหรอื พชื ใบเล้ียงคู่ เพราะเหตใุ ด
(แนวตอบ : ขึน้ อยกู่ ับคำตอบของนกั เรียน ใหอ้ ยใู่ นดุลยพินจิ ของครูผู้สอน)
3. ครชู บู ตั รภาพพชื ดอกทีละใบ แล้วใหน้ กั เรียนผลัดกันตอบว่า เปน็ พืชใบเล้ียงเดย่ี วหรอื พืชใบเลี้ยงคู่
4. ใหน้ กั เรยี นยกตัวอย่างพืช 1 ชนดิ ท่ีชอบหรือสนใจ โดยให้วาดภาพและระบายสลี งในสมดุ ประจำตัว
นักเรียน พร้อมบอกว่าพืชชนิดนั้นชื่ออะไร และจัดเป็นพืชประเภทใด (พืชใบเลี้ยงเดี่ยวหรือพืชใบ
เล้ยี งคู)่ หรือครใู หน้ ักเรยี นทำใบงาน
5. ครูให้นักเรียนแต่ละคนทำกิจกรรมหนูตอบได้จากหนังสือเรียนวิทยาศาสตร์ หน้า 14 ลงในสมุด
ประจำตัวนักเรยี นหรอื ทำในแบบฝกึ หดั วทิ ยาศาสตร์ หน้า 15
ขนั้ ตรวจสอบผล (Evaluate)
13. ครใู ห้นกั เรียนช่วยกันสรปุ เกี่ยวกับการจัดกลุ่มพชื ดอก (พชื ใบเล้ยี งเดย่ี วและพชื ใบเลีย้ งคู่) จากนัน้ ให้
ครูอธิบายเสรมิ เพมิ่ เติมในส่วนที่บกพรอ่ ง
14. ครูประเมินผลนักเรียน โดยการสังเกตพฤติกรรมการตอบคำถาม พฤติกรรมการทำงานรายบุคคล
พฤตกิ รรมการทำงานกลุม่ และจากการนำเสนอผลการทำกิจกรรมหนา้ ช้นั เรยี น
15. ครูตรวจสอบผลการทำกิจกรรมที่ 3 เรื่อง การจัดกลุ่มพืชดอก ในสมุดประจำตัวนักเรียน หรือใน
แบบฝกึ หัดวิทยาศาสตร์ หนา้ 13-14
16. ครตู รวจสอบผลการทำกิจกรรมหนตู อบได้ในสมดุ ประจำตวั นักเรียน หรอื ในแบบฝกึ หดั วิทยาศาสตร์
หนา้ 15
17. ครูตรวจสอบผลการยกตัวอยา่ งพชื ดอกท่ีนกั เรยี นชอบในสมุดประจำตัวนกั เรยี นหรือในใบงาน
9. ชิ้นงาน/ภาระงาน
• ใบงาน เรือ่ ง โครงสรา้ งของพืช
• ใบงาน เรื่อง เกณฑ์ในการจำแนกพชื ใบเลี้ยงเด่ยี วและพืชใบเลย้ี งคู่
10. สื่อการเรียนรู้
16) หนงั สือเรยี นวิทยาศาสตร์ ป.4 เลม่ 1 หน่วยการเรยี นรทู้ ี่ 1 ความหลากหลายของสิง่ มชี วี ติ
17) แบบฝกึ หัดวิทยาศาสตร์ ป.4 เลม่ 1 หนว่ ยการเรยี นรทู้ ่ี 1 ความหลากหลายของสิ่งมีชีวติ
18) บตั รภาพพืชดอกชนิดตา่ ง ๆ เชน่ ทานตะวัน ชบา กล้วยไม้ ข้าวโพด กลว้ ย เป็นต้น
19) วสั ดุ-อปุ กรณก์ ารทดลองในกิจกรรมที่ 3 เช่น แวน่ ขยาย เปน็ ต้น
20) ใบงาน เรื่อง โครงสร้างของพืช
21) ใบงาน เรอื่ ง เกณฑ์ในการจำแนกพืชใบเลย้ี งเด่ียวและพชื ใบเล้ียงคู่
22) PowerPoint เร่อื ง พืชใบเลี้ยงเดีย่ วและพชื ใบเลย้ี งคู่
23) ตวั อย่างใบพชื เช่น ใบข้าวโพด ใบชบา เป็นตน้
24) แผนภาพลกั ษณะภายนอกของตน้ ทานตะวนั
25) แผนภาพลักษณะภายนอกของต้นข้าวโพด
26) สมดุ ประจำตวั นักเรยี น
11. แหล่งการเรยี นรู้
7) หอ้ งเรียน
8) ห้องสมุด
9) อินเทอร์เนต็
12. การวัดผลและประเมนิ ผล
1) การประเมนิ ระหวา่ งการจัดกิจกรรมการเรยี นรู้
รายการวดั วธิ กี าร เคร่อื งมอื เกณฑ์การประเมิน
- รอ้ ยละ 60
1) ผลบนั ทกึ การทำ - ตรวจสมุดประจำตวั หรือ - สมุดประจำตัว หรอื
ผา่ นเกณฑ์
กิจกรรมท่ี 3 แบบฝกึ หัดวิทยาศาสตร์ แบบฝกึ หัด
- ร้อยละ 60
ป.4 เลม่ 1 หน้า 13-14 วิทยาศาสตร์ ป.4 เลม่ ผา่ นเกณฑ์
1 หน้า 13-14 - รอ้ ยละ 60
ผา่ นเกณฑ์
2) พืชใบเลีย้ งเด่ยี ว - ตรวจสมดุ ประจำตัว หรือ - สมดุ ประจำตัว หรอื
- ระดบั คุณภาพ 2
และ ใบงาน ใบงาน ผา่ นเกณฑ์
พืชใบเลีย้ งคู่ - ระดบั คุณภาพ 2
ผา่ นเกณฑ์
3) กจิ กรรมหนตู อบได้ - ตรวจสมดุ ประจำตวั - สมดุ ประจำตวั หรอื
แบบฝกึ หดั วิทยาศาสตร์ แบบฝกึ หดั
ป.4 เล่ม 1 หนา้ 15 วิทยาศาสตร์ ป.4 เลม่
1 หน้า 15
4) การนำเสนอผล - ประเมินการนำเสนอ - แบบประเมินการ
การทำกจิ กรรม ผลการทำกิจกรรม นำเสนอผลงาน
5) พฤติกรรม - สังเกตพฤติกรรม - แบบสังเกตพฤติกรรม
การทำงาน การทำงานรายบุคคล การทำงานรายบุคคล
รายบุคคล
6) พฤติกรรม - สงั เกตพฤติกรรม - แบบสงั เกตพฤติกรรม - ระดับคุณภาพ 2
การทำงานกล่มุ การทำงานกลุ่ม การทำงานกลุ่ม ผ่านเกณฑ์
2) การประเมนิ หลังเรยี น
ตัง้ คำถามตามเนื้อหาท่ีเพ่งิ ได้เรียนรู้ไปใหน้ กั เรียนตอบ เพ่ือวดั ความเข้าใจของนักเรยี น ตาม
วิธกี ารจดั การเรียนรู้ ขน้ั ตรวจสอบผล (Evaluate)
3) การประเมนิ ชิ้นงาน/ภาระงาน
ตรวจความถูกต้องของใบงาน รอ้ ยละ 60 ผ่านเกณฑ์
แผนภาพ ตน้ ขา้ วโพด
แผนภาพ ตน้ ทานตะวนั
แผนการจัดการเรียนรู้
รหัสวิชา ว14101 ช่อื วิชา วิทยาศาสตร์ กลมุ่ สาระการเรียนรู้ วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี
หนว่ ยการเรยี นร้ทู ี่ 1 ความหลากหลายของสงิ่ มีชวี ติ บทท่ี 1 ความหลากหลายของสิง่ มีชีวติ
เรือ่ งท่ี 4 ความหลากหลายของสัตว์ เวลาเรยี น 8 ชวั่ โมง
ช้นั ประถมศึกษาปที ี่ 4 วนั ท่ี .......................................................
ผูส้ อน นางสาวลลิดา กุลสวุ รรณ โรงเรยี นวดั ดาปานนมิ ิตมติ รภาพที่ 142
.....................................................................................
1. มาตรฐานการเรยี นรู้
ว 1.3 เขา้ ใจกระบวนการและความสำคญั ของการถา่ ยทอดลักษณะทางพนั ธุกรรม สารพนั ธุกรรม การ
เปลย่ี นแปลงทางพนั ธกุ รรมท่ีมีผลตอ่ ส่ิงมีชวี ติ ความหลากหลายทางชวี ภาพและววิ ัฒนาการของ
ส่ิงมีชีวิต รวมทงั้ นำความรู้ไปใชป้ ระโยชน์
2. ตวั ช้ีวดั ช้นั ปี
ว 1.3 ป.4/3 จำแนกสัตวอ์ อกเปน็ สัตว์มีกระดูกสันหลังและสตั วไ์ ม่มีกระดูกสันหลงั โดยใช้การมีกระดูกสัน
หลังเปน็ เกณฑ์ โดยใช้ข้อมลู ท่ีรวบรวมได้
ว 1.3 ป.4/4 บรรยายลกั ษณะเฉพาะที่สังเกตได้ของสัตว์มกี ระดูกสนั หลงั ในกล่มุ ปลา กลุม่ สัตว์สะเทินน้ำ
สะเทินบก กลุ่มสตั ว์เลือ้ ยคลาน กล่มุ นก และกลมุ่ สตั ว์เลย้ี งลกู ด้วยน้ำนม และยกตัวอย่าง
สิ่งมชี ีวิตในแต่ละกลุ่ม
3. สาระสำคัญ
สัตวต์ ่าง ๆ มมี ากมายหลายชนดิ ในการจำแนกสตั ว์ออกเป็นกลุ่มสามารถใช้การมีกระดูกสันหลังเปน็
เกณฑ์ จึงจำแนกสตั ว์ได้เป็นสัตว์มกี ระดูกสนั หลังและสตั วไ์ ม่มกี ระดกู สันหลงั
สัตว์มกี ระดูกสันหลังมีหลายกลมุ่ ได้แก่ กลุ่มปลา กล่มุ สตั ว์สะเทินน้ำสะเทนิ บก กลุม่ สัตว์เลอื้ ยคลาน
กลุ่มนก และกลุม่ สัตวเ์ ล้ียงลกู ด้วยนำ้ นม ซ่งึ สตั ว์แตล่ ะกลุ่มจะมีลักษณะเฉพาะทส่ี ังเกตได้แตกตา่ งกนั ไป
4. จุดประสงค์การเรียนรู้
1. สงั เกตและบรรยายลกั ษณะเฉพาะทีส่ งั เกตได้ของสัตวม์ ีกระดูกสันหลังได้ (K)
2. จำแนกสัตวอ์ อกเป็นสัตว์มีกระดูกสนั หลังและสัตว์ไมม่ ีกระดกู สันหลัง โดยใชก้ ารมีกระดกู สนั หลงั เป็น
เกณฑ์ได้ (P)
3. ปฏบิ ัติกจิ กรรมเพ่ือจำแนกสัตว์ออกเป็นกลมุ่ ไดถ้ ูกต้องตามขนั้ ตอน (P)
4. มีความสนใจและกระตือรือร้นในการเรยี นรู้ (A)
5. สาระการเรยี นรู้
- ใช้การมกี ระดูกสนั หลงั เป็นเกณฑใ์ นการจำแนก สตั ว์มกี ระดกู สนั หลงั และสัตว์ไมม่ กี ระดกู สนั หลัง
- สัตว์มีกระดูกสันหลังมีหลายกลุ่ม ได้แก่ กลุ่มปลา กลุ่มสัตว์สะเทินน้ำสะเทินบก กลุ่ม
สัตว์เลือ้ ยคลาน กลุ่มนก และกลมุ่ สตั ว์เล้ยี งลูกด้วยน้ำนม
6. คุณลักษณะอันพงึ ประสงค์
1. มีวนิ ัย
2. ใฝ่เรียนรู้
3. มุ่งมน่ั ในการทำงาน
7. สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน
1. ความสามารถในการสื่อสาร
2. ความสามารถในการคดิ
1) ทักษะการสังเกต
2) ทกั ษะการสำรวจค้นหา
3) ทกั ษะการรวบรวมขอ้ มูล
4) ทกั ษะการจำแนกประเภท
5) ทกั ษะการสรุปอา้ งอิง
6) ทกั ษะการใหเ้ หตผุ ล
7) ทักษะการคิดวเิ คราะห์
3. ความสามารถในการแก้ปัญหา
4. ความสามารถในการใช้ทักษะชวี ติ
5. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี
8. กจิ กรรมการเรยี นรู้
เทคนคิ : สืบเสาะหาความรู้ (5Es Instructional Model)
1) ขัน้ นำเข้าส่บู ทเรยี น
ขั้นกระตนุ้ ความสนใจ (Engage)
9. ครูใหน้ ักเรียนดูภาพสัตว์ 5 ชนิด จากหนังสอื เรียนวิทยาศาสตร์ ป.4 เลม่ 1 หน้า 17 แล้วให้ร่วมกัน
อภปิ ราย ดงั น้ี
1) จากภาพ เป็นสัตวช์ นิดใด นักเรยี นร้จู กั สตั วท์ ั้ง 5 ชนดิ นห้ี รอื ไม่
(แนวตอบ : ชา้ ง ปู นก ตก๊ั แตน และววั )
2) นักเรียนคดิ ว่า สตั ว์ทั้ง 5 ชนิดนี้ มีลักษณะเหมือนกันหรือแตกตา่ งกันอย่างไรบ้าง
(แนวตอบ : ข้นึ อยู่กบั คำตอบของนกั เรยี น ให้อยกู่ ับดลุ ยพนิ จิ ของครูผสู้ อน)
(หมายเหตุ : ครูเร่ิมประเมนิ นักเรียน โดยใช้แบบสงั เกตพฤติกรรมการทำงานรายบคุ คล)
2) ขัน้ ประกอบกิจกรรมการเรียน
ขนั้ สำรวจค้นหา (Explore)
1. ครใู หน้ ักเรียนอ่านขอ้ มูลในหวั ขอ้ ที่ 3 ความหลากของสตั ว์ จากหนังสอื เรยี นวิทยาศาสตร์ หน้า 17
2. ครูถามนักเรียนเพื่อกระตุ้นความคิดว่า สัตว์แต่ละชนิดมีโครงสร้างภายในร่างกายเหมือนกันหรือ
ต่างกัน อยา่ งไร โดยใหน้ ักเรยี นช่วยกนั แสดงความคดิ เห็นได้อยา่ งอิสระ
3. ครูสนทนากับนักเรียนว่า นักเรียนเคยสังเกตหรือไม่ว่า บริเวณบ้าน โรงเรียน หรือชุมชนที่นักเรียน
อาศยั อยู่น้ันมีสัตว์อะไรบา้ ง แลว้ ให้นกั เรยี นชว่ ยกนั ยกตวั อยา่ ง
4. ครูอธิบายเพิ่มเติมว่า จากการสังเกตบริเวณบ้าน โรงเรียน หรือในชุมชน เราจะพบสัตว์ต่างๆ
มากมายทั้งที่มีขนาดเล็กและขนาดใหญ่ ทั้งที่อาศัยอยู่บนบกและอาศัยอยู่ในน้ำ ทั้งที่มีขาและไม่มี
ขา ดังนั้น เพื่อให้สามารถศึกษาเกี่ยวกับสัตว์ต่างๆ ได้สะดวกขึ้น นักวิทยาศาสตร์จึงจำแนกสัตว์
ออกเปน็ กลุม่ โดยใช้การมกี ระดูกสันหลงั เปน็ เกณฑ์
5. ครูสนทนากับนักเรียนเกี่ยวกับลักษณะของสัตว์ที่มีกระดูกสันหลัง โดยให้นักเรียนจับคู่กับเพื่อน
(เพศเดยี วกัน) แล้วให้นกั เรยี นคนหนึง่ ช้ีกระดกู สนั หลงั ของเพือ่ นวา่ อย่บู รเิ วณใดของร่างกาย จากนั้น
ให้นักเรยี นลองใช้มือคลำแนวกระดูกสันหลังของตนเอง
6. ให้นักเรียนชว่ ยกนั อธบิ ายลักษณะของกระดูกสันหลงั จากนน้ั ครอู ธบิ ายเพ่ิมเตมิ ให้นักเรียนเข้าใจว่า
กระดูกสันหลงั เปน็ กระดูกทม่ี ลี ักษณะต่อกันเป็นขอ้ ๆ และทำหน้าท่เี ป็นแกนกลางของร่างกาย
(หมายเหตุ : ครเู ร่มิ ประเมินนกั เรียน โดยใช้แบบสังเกตพฤติกรรมการทำงานกลุ่ม)
7. ครูให้นักเรียนแบ่งกลุ่มกลุ่มละ 4 คน โดยครูใช้วิธีการจับสลากหมายเลขกลุ่มกลุ่มที่ 1-10 หาก
นักเรียนคนใดจับสลากได้หมายเลขใดก็ให้ไปอยู่ที่กลุ่มนั้น จากนั้นครูให้นักเรียนแต่ละคนเข้ากลุ่ม
ของตนเอง แล้วให้นักเรียนแต่ละกลุ่มไปชว่ ยกันศกึ ษาวิธีการทำกิจกรรมที่ 4 การจัดกลุ่มสัตว์ ตอน
ที่ 1-2 จากหนังสือเรียนวทิ ยาศาสตร์ หน้า 18 พร้อมกับเตรยี มวัสดุ-อุปกรณ์สำหรับการทำกิจกรรม
ในช่ัวโมงถดั ไปใหค้ รบถว้ น
8. ครูให้นักเรียนศึกษาความรู้จาก PPT เรื่อง ความหลากหลายของสัตว์ จากนั้นสนทนากับนักเรียน
เกีย่ วกบั การเตรียมตัวและการเตรียมวสั ดุ-อุปกรณส์ ำหรบั การทำกจิ กรรมของนักเรยี นแตล่ ะกล่มุ
9. ครูให้นักเรยี นแตล่ ะกล่มุ แต่ละกลมุ่ ทำกิจกรรมท่ี 4 เรือ่ ง การจดั กล่มุ สตั ว์ ตอนที่ 1 โดยปฏบิ ัติ ดงั น้ี
5) ให้ศึกษาขั้นตอนการทำกิจกรรมที่ 4 เรื่อง การจัดกลุ่มสัตว์ ตอนที่ 1 จากหนังสือเรียน
วิทยาศาสตร์ หน้า 18 อยา่ งละเอียด หากมีข้อสงสยั ใหส้ อบถามครู
6) สมาชิกแต่ละกลุ่มร่วมกันกำหนดปัญหาและตั้งสมมติฐานล่วงหน้าก่อนการทำกิจกรรม
แลว้ บนั ทึกลงในแบบฝกึ หดั วิทยาศาสตร์ หน้า 18
7) แต่ละกลุ่มนำสตั ว์ 3 ชนิด ทีน่ ง่ึ สกุ แลว้ ได้แก่ ก้งุ หอย และปลาทู มาทำกิจกรรม โดยวาง
สัตว์ลงในถาด จากนน้ั สงั เกตลกั ษณะภายนอกของสตั ว์ แลว้ บันทึกผล
8) ศึกษาลักษณะภายในของสตั ว์โดยใชม้ ีดผ่าตดั ตวั สตั วต์ ามแนวยาว แล้วบนั ทึกผล
9) รวบรวมขอ้ มลู จากน้ันอภิปรายผลการทำกิจกรรมและสรปุ ผลร่วมกนั ภายในกลุ่ม
(หมายเหตุ : ครูเร่ิมประเมินนักเรยี น โดยใชแ้ บบสงั เกตพฤตกิ รรมการทำงานกลมุ่ )
10. ครูสุ่มเรียกนักเรียน 2-3 กลุ่ม ให้ออกมานำเสนอผลการทำกิจกรรมหน้าชั้นเรียน จากนั้นร่วมกัน
อภปิ รายและสรุปผลการทำกิจกรรมในช้นั เรียน
11. ครูสนทนกับนักเรียนเกี่ยวกับผลการทำกิจกรรมในการสำรวจโครงสร้างภายนอกและโครงสร้าง
ภายในของปลาทู หอย และกุ้ง จากช่ัวโมงทแ่ี ลว้ จากน้นั ขออาสาสมัครนักเรยี น 1-2 ให้สรุปอีกคร้ัง
เพื่อทบทวนร่วมกันว่า ปลามีกระดูกเป็นข้อๆ อยู่ภายในลำตัวจึงจัดเป็นสัตว์มีกระดูกสันหลัง ส่วน
กุง้ และหอยเมื่อผา่ ดแู ลว้ ไมพ่ บกระดูกภายในลำตวั จึงจดั เปน็ สตั วไ์ ม่มกี ระดกู สนั หลัง
12. ครูตงั้ คำถามกระตนุ้ ความคิด โดยใหน้ ักเรียนรว่ มกันแสดงความคดิ เห็น ดังน้ี
1) นักเรียนคิดว่า สัตว์มีกระดูกสันหลังกับสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง มีลักษณะแตกต่างกัน
อย่างไรบา้ ง
(แนวตอบ : สัตว์มีกระดูกสันหลังมีกระดูกแข็งเป็นแกนกลางของลำตัว ส่วนสัตว์ไม่มี
กระดูกสนั หลงั เปน็ สตั ว์ท่ไี มม่ ีกระดกู แขง็ เป็นแกนกลางของลำตวั )
2) สตั ว์ชนิดใดบ้างเป็นสตั วม์ ีกระดกู สันหลงั สตั วช์ นิดใดบา้ งเป็นสตั ว์ไม่มกี ระดกู สันหลัง
(แนวตอบ : สัตวม์ กี ระดูกสนั หลงั เช่น สนุ ขั กระตา่ ย แมว งู จระเข้ ลิง เพนกวนิ เป็นต้น
สตั ว์ไมม่ ีกระดกู สนั หลงั เช่น กิ้งกอื หอยทาก มด แมงปอ เปน็ ต้น)
13. ครูให้นักเรียนจับกลุ่มเดิมจากชั่วโมงก่อน แล้วให้แต่ละกลุ่มทำกิจกรรมที่ 4 เรื่อง การจัดกลุ่มสัตว์
ตอนท่ี 2 โดยปฏบิ ัติ ดงั นี้
1) ให้ศึกษาขั้นตอนการทำกิจกรรมที่ 4 เรื่อง การจัดกลุ่มสัตว์ ตอนที่ 2 จากหนังสือเรียน
วิทยาศาสตร์ หน้า 19 อยา่ งละเอยี ด หากมขี อ้ สงสยั ใหส้ อบถามครู
2) แต่ละกลุ่มช่วยกันสืบค้นข้อมูลเกี่ยวกับสัตว์มีกระดูกสันหลังและสัตว์ไม่มีกระดูสัน
หลังจากแหล่งการเรียนรู้ต่างๆ เช่น ห้องสมุด หนังสือ อินเทอร์เน็ต เป็นต้น จากน้ันนำ
ข้อมลู ที่ไดม้ าสรปุ ร่วมกนั
3) แตล่ ะกลุม่ ส่งตวั แทนรบั บตั รภาพสตั วต์ า่ งๆ จากครู กลมุ่ ละ 8-10 ภาพ จากนั้นให้ช่วยกัน
สังเกตโครงสร้างและลกั ษณะของสตั ว์ในภาพ
4) ช่วยกันจดั กลุม่ สัตว์ในภาพ โดยใช้การมีกระดูกสันหลังเป็นเกณฑ์ หรือจากเกณฑ์อื่นๆ ที่
สมาชิกในกลมุ่ ชว่ ยกันคิด
5) นำข้อมูลการจัดกลุ่มสัตว์มาจัดทำแผนผัง แผนภาพ หรืออื่นๆ ลงในกระดาษแข็งแผ่น
ใหญ่แลว้ ตกแตง่ ใหส้ วยงาม จากน้นั สง่ ตัวแทนนำเสนอหนา้ ชั้นเรยี น
(หมายเหตุ : ครเู ร่ิมประเมนิ นักเรียน โดยใช้แบบสังเกตพฤตกิ รรมการทำงานกล่มุ )
14. ครูสุ่มเรียกนักเรียน 2-3 กลุ่ม ให้ออกมานำเสนอผลการทำกิจกรรมหน้าชั้นเรียน จากนั้นร่วมกัน
อภปิ รายและสรุปผลการทำกจิ กรรมภายในชัน้ เรียน
ขนั้ อธบิ ายความรู้ (Explain)
3. ครูใหแ้ ตล่ ะกลุม่ ผลดั กนั ออกมานำเสนอผลการจดั กลุ่มสัตว์ จากนั้นใหน้ กั เรียนร่วมกันอภปิ รายจนได้
ขอ้ สรปุ วา่ สัตวบ์ างชนดิ มกี ระดูกต่อกนั เป็นข้อๆ ทำหน้าท่เี ปน็ แกนกลางของรา่ งกาย เชน่ ปลา แมว
วัว เป็นต้น และสัตว์บางชนิดไม่มีกระดูกต่อกันเป็นข้อๆ ทำหน้าที่เป็นแกนกลางของร่างกาย เช่น
กงุ้ หมึก ผเี ส้ือ เปน็ ต้น จากลกั ษณะเชน่ นี้ จึงสามารถนำมาใช้เป็นเกณฑใ์ นการจำแนกสัตว์ออกเป็น
2 ประเภท ได้แก่ สัตว์มกี ระดกู สันหลงั และสตั วไ์ มม่ ีกระดกู สนั หลัง
3) ขั้นสรุป
ข้นั ขยายความเขา้ ใจ (Elaborate)
7. ครูให้นักเรียนแต่ละคนทำกิจกรรมหนูตอบได้จากหนังสือเรียนวิทยาศาสตร์ หน้า 10 ลงในสมุด
ประจำตวั นกั เรยี นหรอื ทำในแบบฝึกหัดวทิ ยาศาสตร์ หนา้ x
8. ครใู หน้ กั เรียนร่วมกนั อภิปรายว่า นอกจากการใชเ้ กณฑ์การมีกระดกู สันหลงั แลว้ นักเรียนสามารถ
จดั กลุ่มสัตวโ์ ดยใช้เกณฑ์อ่นื อีกไดห้ รือไม่ อยา่ งไร จากนัน้ ครใู หน้ กั เรยี นรว่ มกนั แสดงความคิดเห็น
อยา่ งอสิ ระ
(แนวตอบ : ขนึ้ อยกู่ บั ดุลยพนิ จิ ของครูผูส้ อน)
(หมายเหตุ : ครเู ริ่มประเมินนกั เรยี น โดยใชแ้ บบสงั เกตพฤติกรรมการทำงานรายบุคคล)
9. ครูให้นักเรียนทุกคนศึกษาข้อมูลในหัวข้อ 3.1 สัตว์มีกระดูกสันหลังและสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง
จากหนังสอื เรียนวิทยาศาสตร์ หนา้ 20
10. ครูให้นักเรียนแต่ละคนทำกิจกรรมพัฒนาการเรียนรู้ที่ 3 จากหนังสือเรียนวิทยาศาสตร์ หน้า 20
โดยให้ทำลงใสสมุดประจำตัวนักเรียน หรือทำในใบงานท่ี 1.4 เรื่อง จำแนกสัตว์มีกระดูกสันหลัง
ที่ครูแจกให้ โดยให้ดูภาพสัตวแ์ ลว้ จำแนกวา่ เป็นสัตว์มกี ระดูกสันหลังประเภทใด พร้อมให้เหตุผล
ประกอบ
(หมายเหตุ : ครูเริม่ ประเมนิ นกั เรียน โดยใชแ้ บบสังเกตพฤติกรรมการทำงานรายบุคคล)
11. ครูให้นักเรียนดูวีดิทัศน์สารคดีเกี่ยวกับสัตว์มีกระดูกสันหลัง จากนั้นครูนำบัตรภาพ ปลา กบ
จระเข้ นก และสุนัข มาให้นักเรียนดู และร่วมกันอภิปรายว่า เราควรแบ่งสัตว์มีกระดูกสันหลัง
เปน็ ก่ีประเภท โดยสังเกตไดจ้ ากอะไร โดยให้นกั เรียนชว่ ยกนั คดิ และอธิบายคำตอบร่วมกนั
(แนวตอบ : ข้นึ อยู่กับดลุ ยพินิจของครผู ู้สอน เชน่ เราจัดประเภทของสัตว์มีกระดกู สันหลัง โดยดู
จากลกั ษณะสำคญั ในการเคลอื่ นท่ี การหายใจ และการสืบพนั ธ)์ุ
12. ครูให้นักเรียนศึกษาความรู้เพิ่มเติมเกี่ยวกับประเภทของสัตว์มีกระดูกสันหลัง จากหนังสือเรียน
วทิ ยาศาสตร์ หนา้ 21-26
13. ครูให้นักเรียนแบ่งกลุ่มตามความสมัครใจ กลุ่มละ 3-4 คน เพื่อทำกิจกรรมพัฒนาการเรียนรู้ที่ 4
จากหนังสือเรียนวิทยาศาสตร์ หน้า 26 โดยให้ทำลงใสสมุดประจำตัวนักเรียน หรือทำในใบงานที่
1.5 เรื่อง วเิ คราะห์ลกั ษณะของสัตว์มีกระดกู สันหลัง ท่ีครแู จกให้ โดยให้ร่วมกันวิเคราะห์ลักษณะ
ของสัตว์และจำแนกว่าเปน็ สัตว์มกี ระดกู สันหลงั ประเภทใด และยกตวั อยา่ งชอื่ สัตว์ประเภทนี้
(หมายเหตุ : ครเู ริ่มประเมนิ นักเรยี น โดยใช้แบบสงั เกตพฤตกิ รรมการทำงานกล่มุ )
14. ครูสุ่มเรียกตัวแทนนักเรียน 5 คน จากกลุ่มต่างๆ ออกมานำเสนอผลการทำกิจกรรมที่หน้าชั้น
เรยี นคนละ 1 ขอ้ โดยครูเฉลยคำตอบทีถ่ กู ต้อง พรอ้ มอธิบายเพ่ือใหน้ ักเรียนเกดิ ความเข้าใจ
15. ครูให้นักเรยี นดวู ีดทิ ัศน์สารคดีเกี่ยวกับสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลงั จากนั้นครนู ำบัตรภาพฟองนำ้
แมงกะพรนุ พยาธิใบไม้ ไสเ้ ดอื น ดาวทะเล หอยแครง ผเี สือ้ มาใหน้ กั เรียนดู และร่วมกันอภปิ ราย
ว่า เราแบง่ สตั วไ์ ม่มกี ระดกู สนั หลงั ไดเ้ ปน็ กีป่ ระเภท โดยสังเกตไดจ้ ากอะไร
(แนวตอบ : ข้นึ อยกู่ ับดุลยพนิ ิจของครูผ้สู อน)
16. ครูให้นักเรียนศึกษาความรู้เพิ่มเติมเกี่ยวกับประเภทของสัตว์มีกระดูกสันหลัง จากหนังสือเรียน
วทิ ยาศาสตร์ หนา้ 27-29
17. ครูให้นักเรียนแต่ละคนทำกิจกรรมพัฒนาการเรียนรู้ที่ 5 จากหนังสือเรียนวิทยาศาสตร์ หน้า 30
โดยให้ทำลงใสสมุดประจำตัวนักเรียน หรือทำในใบงานที่ 1.6 เรื่อง จำแนกสัตว์มีกระดูกสันหลัง
และสตั ว์ไม่มีกระดกู สันหลัง ที่ครแู จกให้ โดยให้ดภู าพและจำแนกว่า สัตวช์ นดิ ใดเปน็ สัตว์มกี ระดูก
สนั หลงั หรอื สัตวไ์ มม่ ีกระดูกสันหลงั พร้อมกบั บอกเหตุผลประกอบ
(หมายเหตุ : ครเู รมิ่ ประเมินนกั เรยี น โดยใชแ้ บบสงั เกตพฤตกิ รรมการทำงานรายบุคคล)
18. ครูสุ่มเรียกตัวแทนนักเรียนประมาณ 5-6 คน ออกมานำเสนอผลการทำกิจกรรมที่หน้าชั้นเรียน
โดยให้ครอู ธบิ ายเสรมิ เพิม่ เตมิ เพอื่ ให้นักเรียนเกิดความเข้าใจมากยิง่ ขึน้
19. ครูถามคำถามท้าทายการคดิ ขัน้ สูง จากหนงั สือเรยี นวิทยาศาสตร์ หน้า 12 แลว้ ใหน้ ักเรียนช่วยกัน
นำความรทู้ ่ีไดจ้ ากการศกึ ษาและทำกิจกรรมมาตอบคำถาม ดังน้ี
• ถ้านำสุนัขและเต่าไปอยู่ด้วยกันในบริเวณที่มีอุณหภูมิต่ำ นักเรียนคิดว่า อุณหภูมิภายใน
ร่างกายของสัตวท์ ั้ง 2 ชนิดน้ี จะแตกตา่ งกันหรอื ไม่ เพราะอะไร
(แนวตอบ : แตกต่างกัน เพราะสุนัขเป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้ำนม จัดเป็นสัตว์เลือดอุ่น มี
อณุ หภูมริ า่ งกายคงท่ี ไม่เปล่ียนแปลงไปตามสภาพแวดล้อม สว่ นเต่าเป็นสัตว์เล้ือยคลาน
จัดเป็นสัตว์เลือดเย็น มีอุณหภูมิร่างกายเปลี่ยนไปตามสภาพแวดล้อมที่อาศัยอยู่ ดังน้ัน
เมอื่ นำเตา่ ไปอยใู่ นบริเวณท่มี ีอุณหภูมติ ำ่ อุณหภมู ิภายในร่างกายของเต่าจะต่ำลงไปด้วย)
(หมายเหตุ : ครเู ริ่มประเมินนกั เรียน โดยใช้แบบสงั เกตพฤตกิ รรมการทำงานรายบุคคล)
20. ครูใหน้ กั เรียนชว่ ยกันพูดสรุปเกย่ี วกับลักษณะสำคญั ของสตั ว์มีกระดูกสันหลงั และสัตว์ไม่มีกระดูก
สันหลัง จากน้ันครอู ธิบายเสริมเพ่มิ เตมิ ในส่วนท่บี กพรอ่ ง
21. ครูสนทนากับนักเรียนเพื่อทบทวนความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับเนื้อหาที่ได้เรียนผ่านมาจากหน่วย
การเรียนรู้ที่ 1 บทที่ 1 กลุ่มสิ่งมีชีวิต โดยสุ่มเรียกชื่อนักเรียนให้ออกมาเล่าวา่ ตนเองได้รับความรู้
อะไรบ้าง
(หมายเหตุ : ครเู ร่ิมประเมินนักเรียน โดยใชแ้ บบสงั เกตพฤติกรรมการทำงานรายบุคคล)
22. ให้นักเรียนเขียนสรปุ ความรูเ้ กี่ยวกับเรื่องทีไ่ ด้เรียนมาจากบทที่ 1 ในรูปแบบต่างๆ เช่น แผนภาพ
แผนผงั ความคดิ เปน็ ต้น ลงในสมุดประจำตัวนักเรียนหรืออาจทำกิจกรรมสรุปความรู้ประจำบทท่ี
1 ในแบบฝึกหดั วิทยาศาสตร์ หน้า 20
23. นักเรียนทำกิจกรรมฝึกทักษะบทที่ 1 จากหนังสือเรียนวิทยาศาสตร์ หน้า 31-33 ข้อ 1-8 ลงใน
สมดุ ประจำตวั นักเรยี น หรอื ทำในแบบฝกึ หดั วทิ ยาศาสตร์ หน้า 21-24
24. นักเรียนแตล่ ะคนทำกจิ กรรมท้าทายการคดิ ขนั้ สงู ในแบบฝกึ หัดวิทยาศาสตร์ หนา้ 25
25. ให้นักเรียนแบ่งกลุ่ม กลุ่มละ 3-4 คน จากนั้นศึกษากิจกรรมสร้างสรรค์ผลงานจากหนังสือเรียน
หนา้ 33 แลว้ ใหป้ ฏบิ ัติกจิ กรรมโดยมีขั้นตอน ดังน้ี
• ใหร้ วบรวมภาพพชื จากหนังสือตา่ งๆ หรือนติ ยสารตา่ งๆ ท่ีไมใ่ ช้แลว้
• นำภาพพชื ท่ีรวบรวมได้มาจดั ทำเปน็ โมบายแขวนหน้าต่าง เพื่อจำแนกกลุ่มพชื
• ตกแต่งใหส้ วยงาม แลว้ นำเสนอหนา้ ชั้นเรยี น พร้อมอธิบายเกณฑท์ ใี่ ช้ในการจดั กลุ่มพชื
(หมายเหตุ : ครเู ร่ิมประเมินนกั เรียน โดยใชแ้ บบสังเกตพฤตกิ รรมการทำงานกลมุ่ )
ขนั้ ตรวจสอบผล (Evaluate)
18. ใหน้ ักเรียนดตู ารางตรวจสอบตนเอง จากหนงั สือเรียนวิทยาศาสตร์ หนา้ 30 จากน้นั ครูถามนักเรียน
เป็นรายบุคคลตามรายการข้อ 1-5 จากตาราง เพื่อเป็นการตรวจสอบความรู้ความเข้าใจของ
นักเรยี นหลงั จากการเรยี น หากนักเรียนคนใดตรวจสอบตนเองโดยให้อยใู่ นเกณฑ์ที่ควรปรับปรุง ให้
ครทู บทวนบทเรยี นหรอื หากจิ กรรมอ่นื ซอ่ มเสริม เพื่อใหน้ ักเรยี นมีความรคู้ วามใจในบทเรยี นมากขน้ึ
19. ครูประเมินผลนักเรียน โดยการสังเกตพฤติกรรมการตอบคำถาม พฤติกรรมการทำงานรายบุคคล
พฤตกิ รรมการทำงานกล่มุ และจากการนำเสนอผลการทำกิจกรรมหนา้ ช้ันเรยี น
20. ครูตรวจสอบผลการทำกิจกรรมที่ 4 เรื่อง การจัดกลุ่มสัตว์ ในสมุดประจำตัวนักเรียน หรือใน
แบบฝกึ หดั วิทยาศาสตร์ หน้า 18
21. ครูตรวจสอบผลการทำกิจกรรมหนตู อบไดใ้ นสมุดประจำตวั นักเรยี น หรือในแบบฝกึ หัดวิทยาศาสตร์
หน้า 19
22. ครตู รวจสอบผลการทำกิจกรรมพฒั นาการเรียนรู้ท่ี 3 4 และ 5 ในสมดุ ประจำตวั นักเรียน หรือใน
ใบงานที่ 1.4 1.5 และ 1.6
23. ครูตรวจสอบผลการทำกิจกรรมสรุปความรู้ประจำบทที่ 1 ในสมุดประจำตัวนักเรียน หรือใน
แบบฝกึ หัดวทิ ยาศาสตร์ หนา้ 20
24. ครูตรวจสอบผลการทำกิจกรรมฝึกฝนทักษะบทที่ 1 ในสมุดประจำตัวนักเรียน หรือในแบบฝึกหัด
วทิ ยาศาสตร์ หนา้ 21-24
25. ครตู รวจสอบผลการทำกิจกรรมท้าทายการคิดขั้นสูงในแบบฝกึ หัดวิทยาศาสตร์ หนา้ 25
26. ครตู รวจชิน้ งานโมบายแขวนจำแนกกล่มุ พชื และการนำเสนอชน้ิ งาน/ผลงาน หนา้ ชั้นเรยี น
9. ช้นิ งาน/ภาระงาน
• ใบงาน เรื่อง ลกั ษณะเฉพาะของสตั ว์มกี ระดกู สนั หลัง
• ใบงาน เร่ือง การจัดกลุ่มของสตั ว์
• ใบงาน เร่อื ง เกณฑ์ทีใ่ ช้ในการแบ่งกลุม่ สิ่งมีชีวติ
10. ส่ือการเรยี นรู้
27) หนงั สือเรียนวทิ ยาศาสตร์ ป.4 เลม่ 1 หน่วยการเรยี นรทู้ ่ี 1 ความหลากหลายของสงิ่ มชี วี ิต
28) แบบฝึกหัดวิทยาศาสตร์ ป.4 เลม่ 1 หนว่ ยการเรยี นรทู้ ่ี 1 ความหลากหลายของสิง่ มชี ีวิต
29) วัสดุ-อปุ กรณ์การทดลองในกจิ กรรมที่ 4 เช่น ปลาทู ก้งุ และหอยท่นี ่งึ สกุ แล้ว เป็นต้น
30) วสั ดุ-อปุ กรณใ์ นการทำกิจกรรมสรา้ งสรรคผ์ ลงาน เชน่ เชอื ก หลอดพลาสติก กระดาษสี เปน็ ตน้
31) ใบงาน เรอ่ื ง ลกั ษณะเฉพาะของสตั วม์ กี ระดกู สนั หลัง
32) ใบงาน เรอ่ื ง การจัดกลุม่ ของสตั ว์
33) ใบงาน เรื่อง เกณฑท์ ใ่ี ชใ้ นการแบ่งกลมุ่ สงิ่ มชี ีวติ
34) วดี ทิ ัศนส์ ารคดีเกีย่ วกับสัตวม์ ีกระดูกสันหลงั และสตั ว์ไม่มกี ระดูกสนั หลงั
35) PowerPoint เรื่อง ความหลากหลายของสตั ว์
36) บตั รภาพสัตว์มีกระดกู สันหลัง เชน่ ปลา กบ จระเข้ นก สุนขั เป็นต้น
37) บัตรภาพสัตว์ไมม่ ีกระดกู สนั หลงั เช่น แมงกะพรุน ไสเ้ ดอื น ดาวทะเล หอยแครง ผเี สอื้ เป็นต้น