The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by noozomza08, 2021-12-22 03:42:32

พืชผักสวนครัว

พืชผักสวนครัว

1.มะเขอื เทศ (ชือ่ วทิ ยาศาสตร์: Lycopersicon
esculentum Mill.) เป็ นพืชชนิดหนึง่ ในตระกลู ผลมีเนื้อหลายเมล็ด

อุดมไปดว้ ยคุณคา่ ทางอาหาร
มะเขอื เทศขนาดปานกลางจะมปี รมิ าณวติ ามนิ ซีครง่ึ หนึ่งของสม้ โอทง้ั ผล
มะเขอื เทศผลหน่ึงจะมีวติ ามนิ เอราว 1 ใน 3
ของวติ ามนิ เอทรี่ า่ งกายตอ้ งการในหน่ึงวนั
นอกจากนี้มะเขือเทศยงั มีโปแตสเซยี ม ฟอสฟอรสั แมกนีเซยี มและแรธ่ าตุอนื่ ๆ
อกี หลายชนิด

ลกั ษณะ

มะเขือเทศเป็ นพชื ลม้ ลกุ อายเุ พยี ง 1 ปี ลาตน้ ตง้ั ตรง มีลกั ษณะเป็ นพมุ่
มีขนออ่ น ๆ ปกคลุม ใบเป็ นใบประกอบ ออกสลบั กนั ใบยอ่ ยมขี นาดไมเ่ ทา่ กนั
บางใบเล็กรียาว บางใบกลมใหญ่ ปลายใบแหลม
ขอบใบเป็ นหยกั ลกึ คลา้ ยฟนั เลอื่ ยมขี นออ่ น ๆ ออกดอกเป็ นช่อหรือดอกเดยี่ ว
บรเิ วณซอกใบ ดอกมสี เี หลอื ง มกี ลีบเลย้ี งสเี ขียวประมาณ 5-6 กลบี
ผลเป็ นผลเดยี่ ว มขี นาดรปู รา่ งและสีตา่ งกนั ซงึ่ มขี นาดเล็กประมาณ 3 เซนตเิ มตร
จนถงึ ใหญป่ ระมาณ 10 เซนตเิ มตร รูปรา่ งมที ง้ั กลม กลมแบน หรือกลมรี
ผวิ นอกกลบี เป็ นมนั ผลดบิ มีสเี ขยี ว หรือเขยี วอมเทา เมอื่ สกุ จะมีสเี หลอื ง สสี ม้
หรอื สีแดง เนื้อภายในฉ่าดว้ ยน้ามีรสเปรย้ี ว มเี มล็ดเป็ นจานวนมาก
มะเขือเทศมหี ลายพนั ธุ์ เชน่ พนั ธส์ุ ดี า พนั ธโุ์ รมาเรดเพยี ร์ เป็ นตน้

ชือ่ อนื่ : มะเขอื เทศ (ท่วั ไป) บะเขอื สม้ (ภาคเหนือ/ภาคอีสาน)
เขอื สม้ /เขือเทศ(ภาคใต)้ .

ประโยชน์

 มะเขอื เทศมสี ารทสี่ ามารถยบั ยง้ั การเจรญิ เตบิ โตของเชื้อรา
ดงั นน้ั จงึ ใช้เป็ นยารกั ษาโรคทเี่ กยี่ วกบั ปากทเี่ กดิ จากเช้ือราได้

 มะเขือเทศมสี ารแอนต้ีออกซแิ ดนท์ คอื ไลโคปี น
ทมี่ ีคณุ สมบตั สิ ามารถลดการเกดิ มะเร็งลาไส้
และมะเร็งตอ่ มลกู หมากได้ หากทานมะเขอื เทศ 10 ครง้ั /สปั ดาห์
จะชว่ ยลดอตั ราการเกดิ มะเร็งตอ่ มลูกหมากในเพศชายไดถ้ งึ 45%
นอกจากน้ีมะเขือเทศยงั มบี ตี า-แคโรทนี และฟอสฟอรสั มาก
ทมี่ ะเขือเทศมีรสชาตอิ รอ่ ยนน้ั เพราะมกี รดอะมโิ นทชี่ ือ่ กลตู ามคิ สงู
กรดอะมโิ นนี้เองเป็ นตวั เพม่ิ รสชาตใิ หอ้ าหาร
ทง้ั ยงั เป็ นกรดอะมโิ นตวั เดยี วกบั ทอี่ ยใู่ นผงชูรสดว้ ย

 รกั ษาสวิ สมานผวิ หน้าใหเ้ ตง่ ตงึ โดยใชน้ ้ามะเขือเทศพอกหน้า
หรอื อาจจะนามะเขือเทศสกุ ฝานบาง ๆ แปะบนใบหน้า
จะชว่ ยใหผ้ วิ หน้าออ่ นนุ่ม

 ในผลมะเขอื เทศมีสารจาพวก แคโรทีนอยด์ ชือ่ ไลโคพนี (Lycopene
) ซง่ึ เป็ นสารสีแดง และวติ ามนิ หลายชนดิ เชน่ วติ ามนิ บี 1 วติ ามนิ บี
2 วติ ามนิ เค โดยเฉพาะวติ ามนิ เอ และวติ ามนิ ซี มใี นปรมิ าณสูง
มกี รดมาลกิ กรดซติ รกิ ซงึ่ ใหร้ สเปรย้ี ว และมีกลูตามคิ (Glutamic)
ซง่ึ เป็ นกรดอะมโิ นทชี่ ว่ ยเพม่ิ รสชาตใิ หอ้ าหาร
นอกจากน้ียงั ประกอบดว้ ยสารบตี า-แคโรทนี และแรธ่ าตหุ ลายชนิด
เช่น แคลเซยี ม ฟอสฟอรสั เหล็ก เป็ นตน้

 มะเขือเทศมสี รรพคุณทางยาคอ่ นขา้ งสูง
เพราะมะเขือเทศมี วติ ามนิ พี (citrin)
ซงึ่ จะชว่ ยป้ องกนั การแข็งตวั ของหลอดเลือด มะเขอื เทศยงั มฤี ทธขิ์ บั ปั
สสาวะจงึ สามารถแกอ้ าการความดนั โลหติ สงู มะเขือเทศมีวติ ามนิ เอจงึ
สามารถรกั ษาโรคตาได้
ทสี่ าคญั อกี อยา่ งหนึ่งคอื มีวติ ามนิ ซีมากทาใหส้ ามารถป้ องกนั และรกั ษ
าโรคลกั ปิ ดลกั เปิ ด ช่วยระบบการยอ่ ยและช่วยการขบั ถา่ ยอุจจาระอีกด้
วย

 ช่วยบารงุ ผวิ ลดรว้ิ รอย ผวิ พรรณไมแ่ หง้ กรา้ น
ระบบการหมนุ เวียนเลอื ดดีขน้ึ และยงั สามารถตา้ นมะเร็งไดด้ ว้ ย

 ซอสมะเขือเทศสามารถนามาใช้หมกั ผมได้
โดยจะช่วยป้ องกนั การเปลยี่ นไปของสผี มอนั เนื่องมาจากการวา่ ยใน
น้าในสระทมี่ ีคลอรนี
และยงั นามาใชข้ ดั เครอื่ งประดบั เงนิ ชน้ิ ใหเ้ งางามไดเ้ หมอื นเดมิ [1]

ประโยชน์ของมะเขอื เทศ
ช่วยบารงุ ผวิ พรรณใหช้ ุ่มชนื่ สดใส ไมแ่ หง้ กรา้ น
มสี ารตอ่ ตา้ นอนุมลู อสิ ระทชี่ ่วยลดและชะลอการเกดิ รว้ิ รยั แหง่ วยั
น้ามะเขอื เทศชว่ ยเพม่ิ ความสดชืน่ ใหแ้ กร่ า่ งกาย
ชว่ ยเสรมิ คุม้ กนั ของรา่ งกายใหแ้ ข็งแรง มวี ติ ามนิ เอซง่ึ มสี ว่ นชวยบารุงสายตา
มะเขอื เทศ มบี ตี าแคโรทนี และฟอสฟอรสั ในปรมิ าณมาก
มะเขอื เทศชว่ ยในการรกั ษาสวิ ดว้ ยการนาน้ามะเขือเทศมาพอกผวิ หน้า
หรือฝานบางๆแลว้ นามาแปะหน้าก็ได้ ชว่ ยทาใหผ้ วิ หน้าเตง่ ตงึ สดใส
ดว้ ยการนาน้ามะเขือเทศมาพอกผวิ หน้า หรอื ฝานบางๆแลว้ นามาแปะหน้าก็ได้

มะเขอื เทศใชน้ ามาทาเป็ นน้าผลไม้ โดยน้าผลไมท้ ขี่ นึ้ ชื่อก็คือ
น้ามะเขอื เทศดอยคา เป็ นทนี่ ิยมนามาทาเป็ นอาหารไดห้ ลายเมนู เชน่ ขา้ วผดั ซปุ
ยาตา่ งๆ เป็ นตน้ ชว่ ยใหรา่ งกายสามารถตอ่ สกู้ บั โรคหอบหดื ไดม้ ากถงึ 45%
ช่วยป้ องกนั โรคสมองเสอื่ ม หรอิ อลั ไซเมอร์ ช่วยรกั ษาโรคลกั ปิ ดลกั เปิ ด
เลือดออกตามไรฟนั ช่วยป้ องกนั การแข็งตวั ของหลอดเลอื ด
มะเขือเทศมฤี ทธใิ์ นการช่วยขบั ปสั สาวะ ชว่ ยรกั ษาโรคความดนั โลหติ สงู
ช่วยลดความเสยี่ งในการเกดิ โรคหวั ใจ
ชว่ ยลดความเสยี่ งจากการเกดิ ภาวะเสน้ เลอื ดตีบ การเกดิ โรคหวั ใจวาย
สาหรบั ผทู้ สี่ บู บหุ รเี่ ป็ นประจา ช่วยป้ องกนั การเกดิ โรคหวั ใจขาดเลอื ด
ช่วยในระบบยอ่ ยในกระเพาะอาหารและชว่ ยในการขบั ถา่ ยอจุ จาระไดส้ ะดวก
ชว่ ยยบั ยง้ั การเจรญิ เตบิ โตของเช้ือรา หรือเชื้อราทปี่ าก
ชว่ ยลดความเสยี่ งจากการเกดิ โรคมะเร็งลาไส้
ช่วยลดความเสยี่ งจากโรคมะเร็งตอ่ มลูกหมากในเพศชายไดถ้ งึ 45%
หากรบั ประทานมะเขอื เทศเป็ นประจา
ชว่ ยลดความเสยี่ งในการเกดิ โรคมะเร็งรงั ไข่ ในเพศหญงิ ซอสมะเขือเทศหมกั ผม
ดว้ ยการใชม้ ะเขอื เทศหมกั ผมจะชว่ ยป้ องกนั การเปลยี่ นไปของสผี ม
อนั เนื่องมาจากการวา่ ยในน้าในสระทมี่ คี ลอรนี
ซอสมะเขอื เทศนามาใชข้ ดั เครอื่ งประดบั เงนิ ชน้ิ โปรดของคุณใหเ้ งางามเหมอื นเดิ
มได้ ดว้ ยนาซอสมะเขอื เทศมาถแู ลว้ ลา้ งน้าออก
ซอสมะเขอื เทศช่วยในการดบั กลนิ่ คาว เศษอาหาร กลน่ิ ปลาสลดิ ไดเ้ หมือนกนั นะ
เพยี งแคเ่ ปิ ดฝาซอสทงิ้ ไว้ 1 คนื เทา่ นน้ั
ซอสมะเขอื เทศช่วยบรรเทาอาการเจ็บปวดหลงั จากการหกลม้ หรอื ถกู มีดบาดได้

อา้ งองิ

 หนงั สืออาหารเป็ นยา ทางเลอื กทไี่ มต่ อ้ งใชย้ า
 หนงั สอื ผกั พ้ืนบา้ น: อาหารทไี่ มค่ วรมองขา้ ม
 มะเขือเทศ

2.ใบเตย (ชือ่ วทิ ยาศาสตร์: Pandanus amaryllifolius
come) เป็ นไมย้ ืนตน้ พมุ่ เล็ก ขนึ้ เป็ นกอ ใบเป็ นใบเดยี่ ว

เรยี งสลบั เวียนเป็ นเกลยี วขน้ึ ไปจนถงึ ยอด ใบเป็ นทางยาว สีเขม้ เป็ นมนั เผือก
ขอบใบเรียบ แตใ่ บบางตน้ อาจมหี นาม ในใบมีกลน่ิ หอมจากน้ามนั หอมระเหย
Fragrant Screw Pine สีเขยี วจากใบเป็ นสขี องคลอโรฟิ ลล์ ใช้แตง่ สีขนมได้

การใชป้ ระโยชน์

ในบงั กลาเทศเรียกวา่ ketaki ใช้เพม่ิ กลนิ่ หอมของ ขา้ วพลิ าฟ หรอื ขา้ วปุเลา
บิ ร ย า นี แ ล ะ พุ ด ด้ิ ง ม ะ พ ร้ า ว payesh ใ น อิ น โ ด นี เ ซี ย เ รี ย ก pandan

wangi พ ม่ า เ รี ย ก soon-
mhway ใ น ศ รี ลั ง ก า เ รี ย ก rampe ใ น เ วี ย ด น า ม เ รี ย ก lá

dứa ใ บ ใ ช้ ไ ด้ ท้ั ง ใ บ ส ด แ ล ะ ใ บ แ ห้ ง
แ ล ะ มี ข า ย ใ น รู ป ใ บ แ ช่ แ ข็ ง ใ น ป ร ะ เ ท ศ ที่ ป ลู ก ไ ม่ ไ ด้

ใช้ปรุงกล่ินในอาหารของหลายประเทศเช่น อินโดนีเซีย สิงคโปร์ ฟิ ลิปปิ นส์
ม า เ ล เ ซี ย ไ ท ย บั ง ก ล า เ ท ศ เ วี ย ด น า ม จี น ศ รี ลั ง ก า แ ล ะ พ ม่ า

โดยเฉพาะข้าวและขนม การใช้มีท้งั นาไปขยากบั กะทิ ใส่ในภาชนะหุงต้ม
ไ ก่ ใ บ เ ต ย จ ะ เ ป็ น ก า ร น า ใ บ เ ต ย ม า ห่ อ ไ ก่ แ ล้ ว น า ไ ป ท อ ด
ใ ช้ แ ต่ ง ก ลิ่ น เ ค้ ก ใ บ เ ต ย แ ล ะ ข อ ง ห ว า น อื่ น ๆ

ในฟิ ลปิ ปิ นสใ์ ช้เตยหอมแตง่ กลน่ิ ในสลดั ทเี่ รียก buko pandan

ก ลิ่ น ห อ ม ข อ ง ใ บ เ ต ย เ กิ ด จ า ก ส า ร เ ค มี ที่ เ รี ย ก ว่ า 2-acetyl-1-
pyrroline ซึ่งเป็ นกล่นิ แบบเดยี วกบั ทพี่ บในขนมปงั ขาว ข้าวหอมมะลิและดอกช
มนาด มสี ารสกดั จากใบเตยขาย ซงึ่ มกั จะแตง่ สีเขยี ว ใบใช้ไลแ่ มลงสาบได้

อา้ งองิ

1. ภมู พิ ชิ ญ์ สุชาวรรณ. พชื สมุนไพรใชเ้ ป็ นยา. เลม่ 3 และ 7. กทม.
มปท. 2535

2. ↑ "Duan Pandan or Screwpine Leaves - Nonya Cooking
Ingredient".

3. ↑ IJsselstein. "Lyn's Recipes Corner". Buko Pandan
Salad. Jeroen Hellingman. สบื คน้ เมอื่ 18 October 2011.

4. ↑ Wongpornchai et al. (2003).
5. ↑ Li & Ho (2003).

 Li J. and Ho S.H. (2003). Pandan leaves (Pandanus
amaryllifolius Roxb.) As A Natural Cockroach
Repellent Archived 2017-01-10
ที่ เวย์แบ็กแมชชีน. Proceedings of the 9th National
Undergraduate Research Opportunites
Programme (2003-09-13).

 Van Wyk, Ben-Erik (2005). Food Plants of the World.
Portland, Oregon: Timber Press, Inc. ISBN 0-88192-743-
0

 Wongpornchai, S.; Sriseadka, T.; & Choonvisase, S.
(2003). "Identification and quantitation of the rice aroma
compound, 2-acetyl-1-pyrroline, in bread flowers
(Vallaris glabra Ktze)". J. Agric. Food. Chem. 51 (2):
457–462. doi:10.1021/jf025856x. PMID 12517110.

3.ตะไคร้ (ชือ่ วทิ ยาศาสตร์: Cymbopogon citratus) ชื่อทอ้ งถนิ่ :

จะไคร (ภาคเหนือ), หวั ซงิ ไค (ภาคอีสาน), ไคร (ภาคใต)้ , คาหอม (แมฮ่ อ่ งสอน),
เชิดเกรย, เหลอะเกรย (เขมร-สุรินทร์), ห่อวอตะโป่ (กะเหรี่ยง-แม่ฮอ่ งสอน) )
เป็ นพืชล้มลุก ในวงศ์หญ้า (Poaceae) ความสูงประมาณ 4-6 ฟุต ใบยาวเรียว
ป ล า ย ใ บ มี ข น ห น า ม ล า ต้ น ร ว ม กั น เ ป็ น ก อ มี ก ลิ่ น ห อ ม
เ ป็ น ช่ อ ย า ว มี ด อ ก เ ล็ ก ฝ อ ย เ ป็ น จ า น ว น ม า ก
ต ะ ไ ค ร้ เ ป็ น พื ช ที่ ส า ม า ร ถ น า ส่ ว น ต้ น หั ว ไ ป ป ร ะ ก อ บ อ า ห า ร
และจดั เป็ นพืชสมนุ ไพรดว้ ย

ถน่ิ กาเนิด

ต ะ ไ ค ร้ มี ถิ่ น ก า เ นิ ด
ในประเทศอนิ โดนีเซีย ศรลี งั กา พมา่ อนิ เดีย ไทย ในทวีปอเมรกิ าใต้ และคองโก

ลกั ษณะโดยทว่ั ไป

โดยท่วั ไปแบง่ ตะไครอ้ อกเป็ น 6 ชนิด ไดแ้ ก่

1. ตะไครก้ อ
2. ตะไครต้ น้
3. ตะไครห้ างนาค
4. ตะไครน้ ้า
5. ตะไครห้ างสงิ ห์
6. ตะไครห้ อม

เป็ นพชื ตระกลู หญา้ ตะไครเ้ ป็ นพชื ทเี่ จรญิ เตบิ โตงา่ ย อาจมีทรงพมุ่ สูงถงึ 1
เมตร มลี าตน้ ทแี่ ทจ้ รงิ ประมาณ 4-7 เซนตเิ มตร
ลาของตน้ จะถูกหอ่ หมุ้ ไปดว้ ยกาบใบโดยรอบ ใบยาวแคบเสน้ ใบขนานกบั กา้ นใบ
ใบของตะไครอ้ ดุ มไปดว้ ยน้ามนั หอมระเหย ทนี่ ยิ มนามาปลูกเป็ นพนั ธุ์พน้ื เมืองที่
ปลกู กนั โดยท่วั ไป

การปลกู และขยายพนั ธ์ุ

ปลูกไดก้ ารปกั ชาตน้ เหงา้ โดยตดั ใบออกใหเ้ หลือตอนโคนประมาณหน่ึงคืบ
นามาปกั ชาไวส้ กั หน่ึงสปั ดาหก์ ็จะมรี ากงอกออกมา
แลว้ นาไปลงแปลงดนิ ทเี่ ตรยี มไว้
หรืออาจใชว้ ธิ ีเอาโคนปกั ลงไปทดี่ นิ ซง่ึ เตรียมไวเ้ ลย ใหห้ า่ งประมาณหน่ึงศอก
ถา้ ปลูกในกระถางใช้วธิ ปี กั โคนลงในกระถาง ๆ ละ 2-3 ตน้ ก็ได้
แลว้ หม่นั รดน้าใหช้ ุ่มเชา้ เยน็ ตง้ั ไวใ้ หโ้ ดนแดดตลอดวนั จะทาใหโ้ ตไดเ้ ร็ว
ตะไครช้ อบดนิ รว่ นซุย เป็ นพชื ทชี่ อบน้า ชอบแดด
ดูแลรดน้าเสมอและโดนแดดไดต้ ลอดวนั เจรญิ ไดใ้ นดนิ แทบทกุ ชนิด
เวลาจะใช้ก็ใหต้ ดั ทโี่ คนสดุ สว่ นรากเลย แลว้ ถอนออกมาทง้ั ตน้ ตามตอ้ งการ
ตอ้ งคอยตรวจดูเมอื่ ตะไครม้ กี อเจรญิ เตบิ โตไดเ้ ต็มทแี่ ลว้
ตอ้ งถอนทงิ้ หรอื แยกออกไปปลูกใหมบ่ า้ งหรอื เอาไปใช้บา้ ง จะนามาห่นั เป็ นฝอย
ๆ ตากลมไวใ้ หแ้ หง้ สนิทแลว้ แพ็คเก็บไวใ้ ช้ไดน้ าน ๆ
เพอื่ ใหต้ น้ ออ่ นโตขน้ึ มาใหม่ ถา้ ไมแ่ ยกออกไปตน้ จะเล็กและลีบลงเรอื่ ย ๆ
และบางทกี่ ็แคระแกร็น ตน้ และกอก็จะโทรม
ตอ้ งลา้ งและปลูกใหมท่ ง้ั หมดเปลยี่ นเป็ นการแตกหน่อทาใหก้ ารปลูกและการขยาย
พนั ธไ์ ดง้ า่ ย

ประโยชน์

น้ามนั ตะไคร้

ใชส้ ว่ นของเหงา้ และลาตน้ แก่
ใช้เป็ นสว่ นประกอบของอาหารทสี่ าคญั หลายชนิดเชน่ ตม้ ยา
และอาหารไทยหลายชนดิ ใหก้ ลน่ิ หอม มีสรรพคุณทางยาเชน่ บารงุ ธาตุ
แกโ้ รคทางเดนิ ปสั สาวะ ขบั ลมในลาไสท้ าใหเ้ จรญิ อาหาร แกโ้ รคหดื
แกอ้ หวิ าตกโรค บารงุ สมอง ช่วยใหส้ มาธดิ ี ตม้ กบั น้าใชด้ มื่ แกอ้ าเจยี น
ใชต้ น้ สดโขลกคน้ั เอาน้าดมื่ แกอ้ าการเมาในกรณีผทู้ เี่ มามาก ๆ ชว่ ยใหส้ รา่ งเร็ว
สว่ นหวั สามารถใชแ้ กโ้ รคเกลอื้ น ทอ้ งอดื ทอ้ งเฟ้ อ โรคนิ่ว
มากไปกวา่ นน้ั ยงั สามารถทาเป็ นยาช่วยนอนหลบั
ชว่ ยลดความดนั สูง น้ามนั ตะไครห้ อมใชท้ ากนั ยงุ ได้ ถา้ ปลูกใกลผ้ กั อนื่ ๆ
จะช่วยกนั แมลงไดแ้ ละยงั ใหก้ ลน่ิ หอม

ทดี่ บั กลนิ่ บางชนิดใชต้ ะไครเ้ ป็ นสว่ นผสมเพราะมีกลน่ิ ทหี่ อม
และทกี่ าจดั ยุงบางชนิดก็ใชต้ ะไครเ้ ป็ นสว่ นผสมดว้ ยเนื่องจากมกี ลน่ิ ทแี่ รงจงึ ช่วย
ทาใหไ้ ลย่ ุงได้ นอกจากน้ีตะไครย้ งั แกก้ ลนิ่ คาวหรือดบั กลนิ่ คาวของปลา
และเนื้อสตั ว์ไดด้ ีมาก ๆ

สรรพคณุ : ทง้ั ตน้ ใชเ้ ป็ นยารกั ษาโรคหดื แกป้ วดทอ้ ง
ขบั ปสั สาวะและแกอ้ หวิ าตกโรค หรอื ทาเป็ นยาทานวดก็ได้
และยงั ใชร้ วมกบั สมนุ ไพรชนดิ อนื่ รกั ษาโรคได้ เชน่ บารุงธาตุ เจรญิ อาหาร
และขบั เหงอื่ และมีกลน่ิ ฉุนสามารถไลแ่ มลงได้

หวั เป็ นยารกั ษาเกล้อื น แกท้ อ้ งอดื ทอ้ งเฟ้ อ แกป้ สั สาวะพกิ าร แกน้ ิ่ว
บารุงไฟธาตุ แกอ้ าการขดั เบา ถา้ ใช้รวมกบั สมุนไพรชนดิ อนื่
จะเป็ นยาแกอ้ าเจียน แกท้ ราง ยานอนหลบั ลดความดนั สงู แกล้ มอมั พาต
แกก้ ษยั เสน้ และแกล้ มใบ ใบสด ๆ จะช่วยลดความดนั โลหติ สูง แกไ้ ข้

ราก ใช้เป็ นยาแกไ้ ขเ้ หนือ ปวดทอ้ งและทอ้ งเสยี

ตน้ ใชเ้ ป็ นยาแกข้ บั ลม แกเ้ บอื่ อาหาร แกผ้ มแตก
แกโ้ รคทางเดนิ ปสั สาวะ นิ่ว เป็ นยาบารุงไฟธาตุใหเ้ จรญิ
แตถ่ า้ เอาผสมกบั สมุนไพรชนิดอนื่
จะแกโ้ รคหนองใน และนอกจากนี้ยงั ใชด้ บั กลนิ่ คาวไดด้ ว้ ย

คุณคา่ ทางโภชนาการ

ตะไคร้ (100 กรมั ) มคี ุณคา่ ทางโภชนาการ ดงั น้ี

 ใหพ้ ลงั งาน 143 กโิ ลแคลอรี่
 มีโปรตนี 1.2 กรมั
 มไี ขมนั 2.1 กรมั
 มีคารโ์ บไฮเดรต 29.7 กรมั
 มีเสน้ ใย 4.2 กรมั
 มีแคลเซียม 35 มลิ ลกิ รมั
 มีฟอสฟอรสั 30 มลิ ลกิ รมั
 มีเหล็ก 2.6 มลิ ลกิ รมั
 มีวติ ามนิ เอ 43 ไมโครกรมั
 มีไทอามีน 0.05 มลิ ลกิ รมั
 มไี รโบฟลาวนิ 0.02 มลิ ลกิ รมั
 มไี นอาซนิ 2.2 มลิ ลกิ รมั
 มวี ติ ามนิ ซี 1 มลิ ลกิ รมั

 มีเถา้ 1.4 กรมั

สารสาคญั ทพี่ บ

สารสาคญั พบทีส่ ว่ นของลาตน้ และใบซงึ่ มนี ้ามนั หอมระเหย (Volatile oil)
ทปี่ ระกอบดว้ ยสารจานวนหลายชนดิ ไดแ้ ก่

 ซทิ ราล (Citral) พบมากทสี่ ดุ 75-90%
 ทรานซ์ ไอโซซทิ ราล (Trans-isocitral)
 ไลโมเนน (Limonene)
 ยจู ีนอล (Eugenol)
 ลนิ าลลู (Linalool)
 เจอรานิออล (Geraniol)
 คารโิ อฟิ วลนี ออกไซด์ (Caryophyllene oxide)
 เจอรานิล อะซเิ ตท (Geranyl acetate)
 6-เมทลิ 5-เฮพเทน-2-วนั (6-Methyl 5-hepten-2-one)
 4-โนนาโนน (4-Nonanone)
 เมทลิ เฮพทีโนน (Methyl heptennone)
 ซโิ ทรเนลลอล (Citronellol)
 ไมรซ์ นี (Myrcene)
 การบรู (Camphor)

อา้ งองิ

1. ↑ "Cymbopogon citratus information from NPGS/GRIN".
www.ars-grin.gov. สืบคน้ เมอื่ 2008-03-02.

2. ↑ https://puechkaset.com/ตะไคร/้

4.โหระพา (ชือ่ วทิ ยาศาสตร์: Ocimum basilicum Linn.;
วงศ์: LABIATAE; ชือ่ อนื่ : อม่ิ คมิ ขาว, ฉาน - แมฮ่ อ่ งสอน)

เป็ นไมล้ ม้ ลุก สงู 0.5–1 เมตร ลาตน้ เป็ นสเี่ หลยี่ มมกี งิ่ ออ่ นสมี ว่ งแดง
ใบเป็ นใบเดยี่ วออกตรงขา้ ม รูปไขห่ รอื รปู รีกวา้ ง 3–4 เซนตเิ มตร ยาว 4–6
เซนตเิ มตร ปลายแหลม โคนมน ขอบจะเป็ นฟนั เลอื่ ยหา่ ง ๆ
ดอกสขี าวหรือชมพูออ่ น ออกเป็ นช่อทปี่ ลายกงิ่ ยาว 7–12 เซนตเิ มตร

ใบประดบั สีเขยี วอมมว่ งจะคงอยเู่ มือ่ เป็ นผล กลีบดอกโคนเชอื่ มกนั ปลายแยกเป็ น
2 สว่ น มเี กสรตวั ผู้ 4 อนั

ประโยชน์

ใบสด มนี ้ามนั หอมระเหย เชน่ methyl chavicol และ linalool ฯลฯ
ขบั ลมแกท้ อ้ งอืดเฟ้ อ ใช้เป็ นอาหาร แตง่ กลน่ิ อาหาร แตง่ กลนิ่ สาอางบางชนิด
เมล็ดเมอื่ แชน่ ้าจะพองเป็ นเมอื ก เป็ นยาระบาย
เนื่องจากไปเพม่ิ จานวนกากอาหาร (bulk laxative)

ใช้เป็ นยาไดห้ ลายชนดิ เช่น ปรงุ รว่ มกบั นา้ นมราชสหี ์เพอื่ กนิ เพมิ่ น้านม
ตารวมกบั แมงดาตวั ผใู้ ชแ้ กพ้ ษิ แมลงกดั ตอ่ ย
นิยมรบั ประทานรว่ มกบั อาหารประเภท
หลน ลาบ ยา สม้ ตา ใสใ่ นแกงเขยี วหวาน แกงเผ็ด[1] กว๋ ยเตยี๋ วเรอื

ลกั ษณะพชื

พืชลม้ ลุก อายหุ ลายปี สงู 0.3–0.9 เมตร ลาตน้ กงิ่ กา้ นเป็ นเหลยี่ ม
สมี ว่ งหรอื แดงเขม้ ใบคู่ เรยี งตรงขา้ ม รูปไขห่ รือวงรี ขอบใบหยกั ฟนั เลอื่ ย
ดอกสขี าว ออกทปี่ ลายยอดลาตน้ ผลแหง้ มี 4 ผลยอ่ ย เมล็ดเล็กเทา่ เมล็ดงา
สีน้าตาลเขม้ โหระพาเป็ นพชื พน้ื เมืองของอนิ เดยี
แตแ่ พรห่ ลายทง้ั ในเอเชียและตะวนั ตก ทางตะวนั ตกนิยมบรโิ ภคใบแหง้
น้าสลดั ใช้โหระพาเป็ นสว่ นผสมเป็ นน้าสลดั ทคี่ กู่ บั อาหารอติ าเลยี น
ในอเมรกิ าก็นยิ มบรโิ ภค โดยโหระพามาจากอยี ปิ ต์ ฝร่งั เศส และแคลฟิ อเนีย
มกี ลนิ่ แตกตา่ งกนั กบั ของไทย สาหรบั คณุ สมบตั ทิ างยาของโหระพาทสี่ ุดยอดมาก
ๆ ก็คือ ช่วยในการยอ่ ยอาหาร แกอ้ าการจุกเสียด แน่นทอ้ ง
เพราะในโหระพาสามารถชว่ ยขบั ลมในลาไสไ้ ดเ้ ป็ นอยา่ งดี
แตส่ าหรบั บางคนทเี่ กลยี ดโหระพาละก็
คณุ อาจจะแอบชอบผกั ชนิดน้ีขนึ้ มาก็ไดท้ ไี่ ดร้ ูว้ า่ ผกั สวนครวั อยา่ งโหระพาไมไ่ ดม้ ี
ดีแคใ่ บ
แตเ่ มล็ดยงั สามารถนามาแชน่ ้าใหพ้ องรบั ประทานเป็ นยาแกบ้ ดิ ไดอ้ กี ดว้ ย

การปลกู และขยายพนั ธุ์

 พนั ธ์ุการคา้ -จมั โบ้ เป็ นพนั ธทุ์ มี่ ีใบใหญ่ นยิ มท่วั ไป
พนั ธพ์ุ น้ื เมอื งมกั มกี ลนิ่ หอมแรง

 การเตรยี มดนิ ไถดนิ ใหล้ กึ 30-40 ซม. ตากดนิ 2 อาทติ ย์
ยอ่ ยดนิ ใหล้ ะเอยี ดใสป่ ๋ ยุ คอกหรือป๋ ยุ หมกั ใหม้ อี นิ ทรยี วตั ถสุ ูง ดนิ รว่ น
มีความชืน้ ในดนิ สงู และแสงแดดปานกลาง การปลูกใช้ระยะปลูก
ระยะระหวา่ งตน้ 25 ซม. ระหวา่ งแถว 50 ซม. ใหน้ ้าสม่าเสมอ

 ใช้กง่ิ ปกั ชาในกระบะทราย หรือแกลบดาชนื้ ในที่ ประมาณ 1 สปั ดาห์
ก็ยา้ ยปลกู ได้ หรือเพาะดว้ ยเมล็ด อาจใชว้ ธิ ีหวา่ นเมล็ดใหท้ ่วั แปลง
ใชฟ้ างกลบ หรือป๋ ยุ คอกทยี่ อ่ ยสลายดีแลว้ โรยทบั บาง ๆ
รดน้าตามทนั ทีดว้ ยบวั รดน้าตาถใี่ นกระบะเพาะชา
กลา้ เจรญิ เตบิ โดสูงประมาณ 10-15 ซม. จงึ ยา้ ยปลกู

 การเก็บเกยี่ ว ใชม้ ดี คม ๆ ตดั กง่ิ ทเี่ จรญิ เตบิ โตเต็มที่ อายเุ ก็บเกยี่ ว 50
วนั หลงั หยอดเมล็ดสามารถเก็บเกยี่ วไดห้ ลายครง้ั ผลผลติ 4-6 ตนั

การใช้ประโยชน์

ใบโหระพาเป็ นแหลง่ บตี า-แคโรทนี ซง่ึ มสี ว่ นสาคญั ในการป้ องกนั โรค
เช่น มะเร็ง ใบโหระพามกี ลนิ่ เฉพาะใช้เป็ นผกั สด
ใช้ปรงุ แตง่ กลน่ิ อาหารและมีธาตุแคลเซยี มสูงดว้ ย

น้ามนั โหระพา

น้ามนั โหระพา เป็ นน้ามนั หอมระเหยทพี่ บในใบโหระพามรี อ้ ยละ 1.5
องค์ประกอบทางเคมที สี่ าคญั คอื Methyl Chavicol
และสกดั ไดจ้ ากใบโหระพาพนั ธ์ุไทย โดยการกล่นั ดว้ ยไอน้า
เป็ นของเหลวใสสีเหลืองออ่ น
หรอื เหลืองอมน้าตาลปราศจากตะกอนและสารแขวนลอย ไมม่ ีการแยกชน้ั ของน้า
มกี ลนิ่ เฉพาะตวั มีคณุ สมบตั แิ กจ้ ุกเสยี ดแน่นทอ้ ง
น้ามนั หอมระเหยช่วยการยอ่ ยอาหารเนื้อสตั ว์
ชว่ ยคลายการหดเกร็งของกลา้ มเนื้อและชว่ ยฆา่ เช้ือแบคทีเรีย จงึ ช่วยใหส้ บายทอ้ ง
ขนึ้ มกี ลน่ิ หอมหวาน มีคุณสมบตั ชิ ว่ ยใหส้ งบ มีสมาธิ
ลดอาการซมึ เศรา้ ขอ้ ควรระวงั ในการใช้คอื ทาใหเ้ กดิ อาการแพง้ า่ ย
สตรมี คี รรภ์ควรหลกี เลยี่ ง

การใช้เป็ นยาสมนุ ไพร

โหระพามสี รรพคุณทางยาสมนุ ไพรทหี่ ลากหลาย
ใบสดของโหระพามสี รรพคณุ แกท้ อ้ งอดื เฟ้ อ ขบั ลมจากลาไส้
ตม้ ดมื่ แกล้ มวงิ เวยี น ชว่ ยยอ่ ยอาหาร ใชต้ าพอกหรือประคบแกไ้ ขขอ้ อกั เสบ
แผลอกั เสบ ตม้ ใบและตน้ สดเขา้ ดว้ ยกนั ตม้ เอาน้าดมื่ แกห้ วดั ขบั เหงอื่
ถา้ เด็กปวดทอ้ ง ใช้ใบโหระพา 20 ใบ
ชงน้ารอ้ นและนามาชงนมใหเ้ ด็กดมื่ แทนยาขบั ลมได้ ใบโหระพาแหง้ ตม้ กบั น้า
มสี รรพคุณตา้ นเชื้อกอ่ โรค

โหระพาช้าง

โหระพาช้าง กะเพราควาย กะเพราญวน จนั ทรห์ อม เนียมตนั
หรือเนียมยหี่ รา่ (ชือ่ วทิ ยาศาสตร์: Ocimum gratissimum Linn.)
เป็ นไมพ้ มุ่ สูงคลา้ ยโหระพาแตม่ ขี นาดใหญก่ วา่
ใบโหระพาช้างมขี อ้ แตกตา่ งจากโหระพาเนื่องจากมสี ารสาคญั ในน้ามนั หอมระเห
ยตา่ งกนั ใบโหระพาช้างมยี ูจนี อลเป็ นสารหลกั
ทาใหไ้ มน่ ิยมใชป้ ระกอบอาหารเทา่ โหระพา

อา้ งองิ

 ประวตั โิ หระพา Archived 2009-02-19
ที่ เวยแ์ บก็ แมชชีน จากสานกั สง่ เสรมิ และจดั การสนิ คา้ เกษตร

 http://agriman.doae.go.th/home/kpi006/0227horapa.pdf
Archived 2009-02-19 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน

1. ↑ อาหารจากสมนุ ไพร อรอ่ ย สขุ ภาพด.ี กทม. แมบ่ า้ น. มปป.หน้า
120

5.ขา่ เป็ นพืชทีม่ ลี าตน้ อยใู่ ตด้ นิ เรียกวา่ "เหงา้ "
อยใู่ นวงศ์ขงิ เป็ นไมล้ ม้ ลกุ

เป็ นพชื สมนุ ไพรทนี่ ามาใช้ในการประกอบอาหารในประเทศไทยและอนิ โดนีเซยี
ขา่ มีชื่อสามญั อนื่ อกี คอื กฎกุ กโรหนิ ี (กลาง) ขา่ หยวก (เหนือ) ขา่ หลวง
(ตะวนั ออกเฉียงเหนือ,เหนือ) สะเอเชย (กะเหรยี่ ง แมฮ่ อ่ งสอน) และ เสะเออเคย
(กะเหรยี่ ง แมฮ่ อ่ งสอน)[1]

ลกั ษณะทางพฤกษศาสตร์

ขา่ เป็ นไมล้ ม้ ลกุ สูง 1.5-2 เมตรอยเู่ หนือพน้ื ดนิ เหงา้ มขี อ้ และปลอ้ งชดั เจน
เน้ือในสเี หลืองและมีกลนิ่ หอมเฉพาะ ใบเดยี่ วเรียงสลบั รูปใบหอก
รูปวงรหี รือเกอื บขอบขนาน กวา้ ง 7-9 ซม. ยาว 20-40 ซม. ดอก ช่อ ออกทยี่ อด
ดอกยอ่ ยขนาดเล็ก กลีบดอกสขี าว โคนตดิ กนั เป็ นหลอดสน้ั ๆ ปลายแยกเป็ น 3
กลีบ กลบี ใหญท่ สี่ ดุ มรี ว้ิ สีแดง ใบประดบั รปู ไข่ ผล เป็ นผลแหง้ แตกได้ ทรงกลม[2]

สรรพคุณ

ขา่ เป็ นพชื ทนี่ ามาใช้ประโยชน์ทางดา้ นอาหารมากมาย
ใช้ใสใ่ นตม้ ขา่ ตม้ ยา น้าพรกิ แกงทกุ ชนิดใสข่ า่ เป็ นสว่ นประกอบ

ยกเวน้ แกงเหลืองและแกงกอและทางภาคใตท้ ไี่ มน่ ิยมใสข่ า่
มีบทบาทในการดบั กลน่ิ คาวของเน้ือและปลา

หน่อขา่ ออ่ น เป็ นหน่อของขา่ ทเี่ พง่ิ จะแทงยอดออกมาจากลาตน้ ใตด้ นิ
ถา้ อายปุ ระมาณ 3 เดอื นเรยี กหน่อขา่ ถา้ อายุ 6-8 เดอื นเรยี กขา่ ออ่ น
ถา้ อายุมากกวา่ 1 ปี จดั เป็ นขา่ แก่ ปรมิ าณน้ามนั หอมระเหยประมาณ 3%
หน่อขา่ ออ่ นทง้ั สดและลวกใช้จมิ้ หลนและน้าพรกิ นามายา[3]

ขา่ ยงั มฤี ทธทิ์ างยา เหงา้ แกแ่ กป้ วดทอ้ ง จุกเสยี ด แน่นทอ้ ง
ดอกใชท้ าแกก้ ลากเกลือ้ น ผลช่วยยอ่ ยอาหาร แกค้ ลนื่ เหยี น อาเจยี น
ตน้ แกน่ าไปเคยี่ วกบั น้ามนั มะพรา้ ว ทาแกป้ วดเมอื่ ย เป็ นตะครวิ ใบมีรสเผ็ดรอ้ น
แกพ้ ยาธิ
สารสกดั จากขา่ มฤี ทธฆิ์ า่ เชื้อแบคทีเรยี น้ามนั หอมระเหยจากขา่ มฤี ทธทิ์ าใหไ้ ขแ่ ม
ลงฝ่ อ กาจดั เช้ือราบางชนิดได้
ใช้ผสมกบั สะเดาเพอื่ เพม่ิ ประสทิ ธภิ าพในการกาจดั แมลง[4] ขา่
ลดการบบี ตวั ของลาไส้ ขบั น้าดี ขบั ลม
ลดการอกั เสบ ยบั ยง้ั แผลในกระเพาะอาหาร ฆา่ เชื้อแบคทเี รยี ฆา่ เชื้อราใช้รกั ษาก
ลากเกลื้อน [5]

อา้ งองิ

1. ↑ ชื่อพรรณไมแ้ หง่ ประเทศไทย Archived 2010-05-01
ที่ เวย์แบ็กแมชชนี เต็ม สมติ นิ นั ทน์ สานกั งานหอพรรณไม้
กรมอุทยานแหง่ ชาติ สตั วป์ ่ า และพนั ธพ์ุ ชื พ.ศ. 2549

2. ↑ ขา่ ขอ้ มลู พรรณไม้ สานกั งานโครงการอนุรกั ษ์พนั ธุ
กรรมพืชอนั เนื่องมาจากพระราชดาริ สมเด็จพระเทพรตั นราชสดุ าฯ
สยามบรมราชกุมารี

3. ↑ นิดดา หงษ์ววิ ฒั น์. หน่อขา่ ออ่ น ผกั สมนุ ไพรมีเฉพาะในฤดฝู น.
ครวั . ปี ที่ 19 ฉบบั ที่ 228 มถิ นุ ายน 2556 หน้า 20 - 22

4. ↑ อาหารจากสมนุ ไพร อรอ่ ย สขุ ภาพดี. กทม. แมบ่ า้ น. มปป. หน้า
12-14

5. ↑ ขา่ จากสานกั งานขอ้ มูลสมุนไพร มหาวทิ ยาลยั มหดิ ล

6. ขงิ

เ ป็ น พื ช ล้ ม ลุ ก มี เ ห ง้ า ใ ต้ ดิ น เ ป ลื อ ก น อ ก สี น้ า ต า ล แ ก ม เ ห ลื อ ง
เ นื้ อ ใ น สี น ว ล มี ก ลิ่ น ห อ ม เ ฉ พ า ะ

แทงหน่อหรือลาตน้ เทียมขนึ้ เป็ นกอประกอบดว้ ยกาบหรือโคนใบหมุ้ ซอ้ นกนั ใบ
เป็ นชนิดใบเดยี่ ว ออกเรียงสลบั กนั เป็ นสองแถว ใบรูปหอกเกล้ียง ๆ กวา้ ง 1.5-2
ซม. ยาว 12-20 ซม. หลงั ใบห่อจีบเป็ นรูปรางน้าปลายใบสอบเรียวแหลม
โ ค น ใ บ ส อ บ แ ค บ แ ล ะ จ ะ เ ป็ น ก า บ หุ้ ม ล า ต้ น เ ที ย ม
ต ร ง ช่ ว ง ร ะ ห ว่ า ง ก า บ กับ ตัว ใ บ จ ะ หัก โ ค้ ง เ ป็ น ข้ อ ศ อ ก ด อ ก สี ข า ว
อ อ ก ร ว ม กัน เ ป็ น ช่ อ รู ป เ ห็ ด ห รื อ ก ร ะ บ อ ง โ บ ร า ณ แ ท ง ข้ึ น ม า จ า ก เ ห ง้า
ชูกา้ นสูงข้ึนมา 15-25 ซม. ทุก ๆ ดอกทีก่ าบสีเขียวปนแดงรูปโค้ง ๆ ห่อรองรบั
กาบจะปิ ดแน่ นเมื่อดอกยงั อ่อน และจะขยายอ้าให้ เห็ นดอกในภายหลงั
กลีบดอกและกลีบรองกลีบดอก มีอย่างละ 3 กลีบ อุ้มน้า และหลุดร่วงไว
โคนกลีบดอกม้วนห่อ ส่วนปลายกลีบผายกว้างออกเกสรตวั ผู้มี 6 อนั ผล กลม
แข็ง โต วดั ผา่ ศูนย์กลางประมาณ 1 ซม.

ขิ ง ข ย า ย พัน ธ์ุ โ ด ย ใ ช้ เ ห ง้ า ป ลู ก ใ น ดิ น ร่ ว น ซุ ย ผ ส ม ป๋ ุ ย ห มัก
หรือดินเหนียวปนทราย โดยยกดนิ เป็ นร่องหา่ งกนั 30 ซม. ปลูกหา่ งกนั 20 ซม.
ลึก 5-10 ซม. ขิงชอบขึ้นในทีช่ ้ืนมีการระบายน้าดี ถ้าน้าขงั อาจโดนโรคเช้ือรา
แ ล ะ ก า ร ข ย า ย พั น ธ์ุ โ ด ย ก า ร เ พ า ะ เ ล้ี ย ง เ นื้ อ เ ยื่ อ
ซ่ึ ง อ า จ เ ป็ น ก า ร ล ง ทุ น สู ง แ ต่ คุ้ ม ค่ า แ ล ะ จ ะ ไ ด้ พั น ธ์ุ ที่ ป ล อ ด เ ช้ื อ
เพราะสว่ นใหญโ่ รคทพี่ บมกั ตดิ มากบั ทอ่ นพนั ธ์ุขงิ ขงิ มีอยู่หลายชื่อ ตามแตล่ ะถนิ่
ได้แก่ ขิงแกลง, ขิงแดง (จนั ทบุรี), ขิงเผือก (เชียงใหม่), สะเอ (แม่ฮ่องสอน)
ขงิ บา้ น, ขงิ แครง, ขงิ ป่ า, ขงิ เขา, ขงิ ดอกเดยี ว (ภาคกลาง), เกีย (จีนแตจ้ วิ๋ )

สรรพคุณ

เ ห ง้า : ร ส ห ว า น เ ผ็ ด ร้อ น ขับ ล ม แ ก้ ท้ อ ง อื ด จุ ก เ สี ย ด แ น่ น เ ฟ้ อ
ค ลื่ น ไ ส้ อ า เ จี ย น แ ก้ ห อ บ ไ อ ขับ เ ส ม ห ะ แ ก้ บิ ด เ จ ริ ญ อ า ก า ศ ธ า ตุ
ส า ร ส า คั ญ ใ น น้ า มั น ห อ ม ร ะ เ ห ย
จ ะ อ อ ก ฤ ท ธิ์ ก ร ะ ตุ้ น ก า ร บี บ ตั ว ข อ ง ก ร ะ เ พ า ะ อ า ห า ร แ ล ะ ล า ไ ส้
ใช้เหงา้ แก่ทุบหรือบดเป็ นผง ชงน้าดื่ม แก้อาการคลื่นไส้อาเจียน แก้จุก เสียด
แน่นเฟ้ อ เหงา้ สด ตาคน้ั เอาน้าผสมกบั น้ามะนาว เติมเกลือเล็กน้อย จิบแก้ไอ
ขบั เสมหะ

ตน้ : รสเผ็ดรอ้ น ขบั ลมใหผ้ ายเรอ แกจ้ ุกเสยี ด แกท้ อ้ งรว่ ง

ใบ : รสเผ็ดรอ้ น บารุงกาเดา แก้ฟกช้า แก้นิ่ว แก้ขดั ปสั สาวะ แก้โรคตา
ฆา่ พยาธิ

ดอก : รสเผ็ดร้อน แก้โรคประสาทซ่ึงทาให้ใจขุ่นมวั ช่วยย่อยอาหาร
แกข้ ดั ปสั สาวะ

ราก : รสหวานเผ็ดรอ้ นขม แกแ้ น่น เจรญิ อาหาร แกล้ ม แกเ้ สมหะ แกบ้ ดิ

ผล : รสหวานเผ็ด บารุงน้านม แก้ไข้ แก้คอแห้ง เจ็บคอ แก้ตาฟาง
เป็ นยาอายุวฒั นะ

แกน่ : ฝนทายาแกค้ นั

ขงิ ยงั มีสารอาหารทีม่ ีคุณค่าตอ่ รา่ งกาย คือ โปรตีน ไขมนั คาร์โบไฮเดรต
แคลเซียม วิตามินเอ และอีกมากมาย ขิงมีฤทธิอ์ ุ่น ช่วยขบั เหงื่อ ไล่ความเย็น
ขบั ลม แก้ท้องอืด ท้องเฟ้ อ ช่วยให้เจริญอาหาร และทาให้ร่างกายอบอุ่น
ในทางยานิยมใช้ขิงแก่ เพราะขิงย่ิงแก่จะย่ิงเผ็ดร้อนและมีใยอาหารมาก
น า เ ห ง้ า ส ด ย่ า ง ไ ฟ ใ ห้ สุ ก ต า ผ ส ม กั บ น้ า ปู น ใ ส ค้ั น เ อ า แ ต่ น้ า ดื่ ม
หรอื นาเหงา้ สดหมกไฟรบั ประทานเมอื่ มอี าการเบอื่ อาหาร

การใช้เป็ นอาหาร

ขิงนามาทาอาหารได้หลากหลาย ขิงอ่อนใช้เป็ นผกั จ้ิม ใช้ทาผดั ขิง
ใสในยาเช่นยาหอยแครง ใส่ในแกงฮงั เล น้าพริก กุ้งจ่อม ซอยใส่ในต้มสม้ ปลา
เมี่ยงคา ไก่สามอย่าง ใช้ทาขิงดอง ใส่ในบวั ลอยไข่หวานเพื่อดบั กลิ่นคาวไข่
ท า เ ป็ น อ า ห า ร ห ว า น เ ช่ น น้ า ขิ ง เ ต้ า ฮ ว ย ขิ ง แ ช่ อ่ิ ม ข น ม ปั ง ขิ ง
และยงั ทาเป็ นขงิ ผงสาเร็จรปู สาหรบั ชงดมื่

คุณค่าทางโภชนาการ

เมื่อบริโภคขิง 100 กรมั คุณค่าทางโภชนาการที่ได้รบั คือ พลงั งาน 25
กิโลแคลอรี โปรตีน 0.4 กรมั คาร์โบไฮเดรต 4.4 กรมั ไ ขมนั 0.6 กรมั
เส้นใยอาหาร 0.8 กรมั ธาตุเหล็ก 1.2 มิลลิกรมั แคลเซียม 18 มิลลิกรมั
ฟอสฟอรสั 22 มิลลิกรมั บีตา-แคโรทีน 10 ไมโครกรมั วิตามินซี 1 มิลลิกรมั
ไทอามีน 0.02 มลิ ลกิ รมั ไนอาซนิ 1 มลิ ลกิ รมั ไรโบฟลาวนิ 0.02 มลิ ลกิ รมั

สารเคมีและสารอาหารทีส่ าคญั

ใ น เ ห ง้ า ขิ ง มี น้ า มั น ห อ ม ร ะ เ ห ย อ ยู่ ป ร ะ ม า ณ 1 - 3 %
ขน้ึ อยกู่ บั วธิ ปี ลูกและช่วงการเก็บรกั ษา ในน้ามนั ประกอบดว้ ยสารเคมี ทสี่ าคญั คอื
ซิ ง จิ เ บ อ รี น ( Zingiberene) , ซิ ง จิ เ บ อ ร อ ล ( Zingiberol) , ไ บ ซ า โ บ ลี น
( bisabolene) แ ล ะ แ ค ม ฟี น ( camphene) มี น้ า มั น ( oleo - resin)
ในปริมาณสูง เป็ นส่วนที่ทาให้ขิงมีกลิ่นฉุน และมีรสเผ็ด ส่วนประกอบสาคญั

ในน้ามนั ซนั ไดแ้ ก่ จิงเจอรอล (gingerol) , โชกาออล (shogaol) , ซิงเจอโรน
(zingerine) มีคุณสมบตั ิเป็ นยากดั บูด กันหืน ใช้ใส่ในน้ ามันหรือไขมนั
เพื่อป้ องกนั การบูดหืน สารที่ทาให้ขิงมีคุณสมบตั ิเป็ นยากนั บูด กนั หืนได้คือ
สารจาพวกฟี นอลกิ

อา้ งองิ

" Zingiber officinale". Germplasm Resources Information
Network (GRIN). Agricultural Research Service (ARS), United
States Department of Agriculture (USDA). สืบค้นเมื่อ 10 December
2017.

เ ต็ ม ส มิตินัน ท น์ (2 5 5 7 ). รา ชัน ย์ ภู่ม า ; ส ม รา น สุ ด ดี (บ . ก . ).
ชื่อพรรณไม้แห่งประเทศไทย. สานกั งานหอพรรณไม้ (แก้ไขเพิ่มเติม พ.ศ.
2557 ed.). กรุงเทพฯ: กรมอุทยานแห่งชาติ สตั ว์ป่ า และพนั ธุ์พืช. p. 355.
ISBN 9786163161734. Check date values in: |date= (help)

ขิ ง ข้ อ มู ล พ ร ร ณ ไ ม้

สานักงานโครงการอนุ รักษ์ พันธุกรรมพืชอันเนื่ องมาจากพระราชดา ริ

สมเด็จพระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกุมารี

"สรรพคุณน่ ารู้ : หมวดพืชสวนครวั : ขิง". คลงั ข้อมูลเก่า เก็บจาก
แหลง่ เดมิ เมอื่ 2009-03-08. สืบคน้ เมอื่ 2012-05-16.

กรณิศ รตั นามหทั ธนะ. ขงิ ออ่ น.ครวั . ปี ที่ 20 ฉบบั ที่ 240 หน้า 12

7. ขมิ้น

ขมิ้นชัน เป็ นพืชล้มลุกในวงศ์ขิง มีถิ่นกาเนิดในเอเชียตะวนั ออกเฉี ยงใต้
มีเหงา้ อยู่ใตด้ ิน เนื้อในของเหงา้ เป็ นสีเหลือง มีกลิน่ หอมเฉพาะตวั มีสีเหลืองเขม้
จนสีแสดจดั มีชื่อสามญั อื่นอีกคือ ขม้ินแกง (เชียงใหม่) ขม้ินชนั (กลาง, ใต้)
ขมิ้นหยอก (เชียงใหม)่ ขมิ้นหวั (เชียงใหม่) ขี้ม้ิน (ตรงั , ใต้) ตายอ (กะเหรีย่ ง
กาแพงเพชร) สะยอ (กะเหรยี่ ง แมฮ่ อ่ งสอน) และ หมนิ้ (ตรงั , ใต)้

ลกั ษณะทางพฤกษศาสตร์

ขมน้ิ ชนั เป็ นไมล้ ม้ ลกุ อายหุ ลายปี สูง 30-95 ซม. เหงา้ ใตด้ นิ รูปไข่ อว้ นสน้ั
มี แ ข น ง รู ป ท ร ง ก ร ะ บ อ ก แ ต ก อ อ ก ด้ า น ข้ า ง 2 ด้ า น ต ร ง กัน ข้ า ม
เนื้ อในเหง้าสีเหลืองส้มหรือสีเหลืองจาปาปนสีแสด มีกลิ่นฉุ น ใบเดี่ยว
กลางใบสีแดงคลา้ แทงออกมาเหงา้ เรียงเป็ นวงซอ้ นทบั กนั รูปใบหอก กว้าง 12-
15 ซม. ยาว 30-40 ซม. ดอกช่อแทงออกจากเหงา้ แทรกขน้ึ มาระหว่างกา้ นใบ
รูปทรงกระบอก กลีบดอกสีเหลืองอ่อน ใบประดบั สีเขียวอ่อนหรือสีนวล
บานครง้ั ละ 3-4 ดอก ผล รูปกลมมี 3 พู

การปลูกเลี้ยง

ข มิ้ น ชัน ช อ บ แ ส ง แ ด ด จัด แ ล ะ มี ค ว า ม ชื้ น สู ง ช อ บ ดิ น ร่ ว น ซุ ย
มีการระบายน้าดี ไม่ชอบน้าขงั วธิ ีปลูกใชเ้ หงา้ หรือหวั อายุ 10-12 เดือนทาพนั ธ์ุ
ถ้าเป็ นเหง้าควรยาวประมาณ 8-12 ซม.หรือมีตา 6-7 ตา ปลูกลงแปลง
กลบดินหนาประมาณ 5-10 ซม. ขมิ้นจะใช้เวลาในการงอกประมาณ 30-70
วัน ห ลัง ป ลู ก ค ว ร ร ด น้ า ทุ ก วัน ห ลัง จ า ก น้ัน เ มื่ อ ข ม้ิ น มี อ า ยุ ไ ด้ 9 - 1 0
เดือนจงึ จะสามารถเก็บเกยี่ วได้

ฤดูกาลปลูก : ควรเริ่มปลูกในช่วงต้นฤดูฝนประมาณปลายเดือนเมษายน
ถงึ ตน้ เดือนพฤษภาคม

ฤ ดู ก า ร เ ก็ บ เ กี่ ย ว : จ ะ เ ก็ บ เ กี่ ย ว หั ว ข มิ้ น
ใ น ช่ ว ง ฤ ดู ห น า ว ห รื อ ป ร ะ ม า ณ ป ล า ย เ ดื อ น ธัน ว า ค ม ถึ ง ม ก ร า ค ม
ซงึ่ ชว่ งน้ีหวั ขมนิ้ ชนั จะแหง้ สนิท

อา้ งองิ

ชื่อพรรณไม้แหง่ ประเทศไทย Archived 2010-05-01 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน เต็ม
สมิตินนั ทน์ สานกั งานหอพรรณไม้ กรมอุทยานแหง่ ชาติ สตั ว์ป่ า และพนั ธ์ุพืช
พ.ศ. 2549

ข มิ้ น ชั น ข้ อ มู ล พ ร ร ณ ไ ม้ ส า นั ก ง า น โ ค ร ง ก า ร อ นุ รั ก ษ์ พั น ธุ
ก รรม พื ช อัน เ นื่ อ งม า จา ก พ ระ รา ช ด า ริ ส ม เ ด็ จพ ระ เ ท พ รัต น รา ช สุ ดาฯ
สยามบรมราชกมุ ารี

8. ฟ้ าทะลายโจร

ชื่ออื่น : หญ้ากนั งู (สงขลา) น้าลายพงั พอน ฟ้ าละลายโจร (กรุงเทพฯ) ฟ้ าสาง
(พนสั นิคม) เขยตายยายคลุม สามสบิ ดี (รอ้ ยเอ็ด) เมฆทะลาย (ยะลา) ฟ้ าสะทา้ น
(พทั ลุง)

ลกั ษณะทางพฤกษศาสตร์ : ไม้ล้มลุก สูง 30 -70 ซม. ทุกส่วนมีรสขม
กิ่ ง เ ป็ น ใ บ สี่ เ ห ลี่ ย ม ใ บ เ ดี่ ย ว แ ผ่ น ใ บ สี เ ขี ย ว เ ข้ ม เ ป็ น มัน ด อ ก ช่ อ
ออกที่ปลายกงิ่ และซอกใบ ดอกยอ่ ย กลีบดอกสีขาว โคนกลีบตดิ กนั ปลายแยก 2
ปาก ปากบนมี 3 กลีบ มีเส้นสีม่วงแดงพาดอยู่ ปากล่างมี 2 กลีบ ผล เป็ นฝัก
เมอื่ แกเ่ ป็ นสีน้าตาล แตกได้ ภายในมีเมล็ดจานวนมาก

สว่ นทใี่ ช้ : ทง้ั ตน้ ใบสด ใบแหง้ ใบจะเก็บมาใช้เมอื่ ตน้ มีอายุได้ 3-5 เดือน

สรรพคุณ

มี 4 ประการคือ

แกไ้ ขท้ ่วั ๆ ไป เช่น ไขห้ วดั ไขห้ วดั ใหญ่

ระงบั อาการอกั เสบ พวกไอ เจ็บคอ คออกั เสบ ต่อมทอนซิล หลอดลมอกั เสบ
ขบั เสมหะ

รกั ษาโรคผวิ หนงั ฝี

แกต้ ดิ เชื้อ พวกทาใหป้ วดทอ้ ง ทอ้ งเสีย บดิ และแกก้ ระเพาะลาไสอ้ กั เสบ

เป็ นยาขมเจริญอาหารและการที่ฟ้ าทะลายโจ รมีสรรพคุณ 4 ประการนี้
จงึ ชวนใหเ้ ห็นวา่

ตั ว ย า ต้ น น้ี เ ป็ น ย า ที่ ส า ม า ร ถ น า ไ ป ใ ช้ ก ว้ า ง ข ว า ง ม า ก
จากเหตุผลทฟี่ ้ าทะลายโจรมีฤทธิ์

ระงบั การตดิ เชื้อหรือระงบั การเจรญิ เตบิ โตของเชื้อโรคได้

ขอ้ มูลทางวทิ ยาศาสตร์

ใ บ ฟ้ า ท ะ ล า ย โ จ ร มี ส า ร เ ค มี ป ร ะ ก อ บ อ ยู่ ห ล า ย ป ร ะ เ ภ ท
แตท่ เี่ ป็ นสาระสาคญั ในการ

อ อ ก ฤ ท ธิ์ คื อ ส า ร ก ลุ่ ม Lactone คื อ ส า ร แ อ ด โ ด ร ก ร า โ ฟ ไ ล ด์
(andrographolide) สารนีโอแอนโดรกราโฟไลด์ (neo-andrographolide)
14-ดอี อ๊ กซแี่ อนโดรกราโฟไลด์ (14-deoxy-andrographolide)

ฟ้ าทะลายโจรเป็ นยาเก่าแก่ของประเทศจีน ที่ใช้ในการแก้ฝี แก้อกั เสบ
และรกั ษาโรคบิด การวิจยั ด้านเภสชั วิทยาพบว่า ฟ้ าทะลายโจรสามารถยบั ยง้ั
เ ช้ื อ แ บ ค ที เ รี ย อั น เ ป็ น ส า เ ห ตุ ข อ ง ก า ร เ ป็ น ห น อ ง ไ ด้
แ ล ะ มี ก า ร ศึ ก ษ า วิ จั ย ข อ ง โ ร ง พ ย า บ า ล บ า ร า ศ น ร า ดู ร

ถึงฤทธิ์ในการรกั ษาโรคอุจจาระร่วงและบิด แบคทีเรีย เปรียบเทียบกบั
เ ต ต ร า ซั ย ค ลิ น ใ น ผู้ ป่ ว ย 2 0 0 ร า ย อ า ยุ ร ะ ห ว่ า ง 1 6 - 5 5 ปี
ได้มีการเปรียบเทียบระยะเวลาที่ถ่ายอุจจาระเหลว จานวนอุจจาระเหลว
น้ า เ ก ลื อ ที่ ใ ห้ ท ด แ ท น ร ะ ห ว่ า ง ฟ้ า ท ะ ล า ย โ จ ร กับ เ ต ต ร า ซัน ค ลิ น
พ บ ว่ า ส มุ น ไ พ ร ฟ้ า ท ะ ล า ย โ จ ร
ลด จา น วน อุ จจา ระ ร่วงแ ละ จา น วนน้ า เก ลื อ ที่ใ ห้ทด แท นอ ย่า งน่ าพอใจ
แม้ว่าจากการทดสอบทางสถิติ จะไม่มีความแต กต่างโดยในสาคญั ก็ตาม
สว่ นการลดเชื้ออหวิ าตกโรคในอจุ จาระ ฟ้ าทะลายโจรไมไ่ ดผ้ ลดีเทา่ เตตราซยั คลนิ
นอกจากน้ียงั มีโรงพยาบาลชุมชนบางแห่งไดใ้ ช้ฟ้ าทะลายโจรรกั ษาอาการเจ็บคอ
ได้ผลดีอีกด้วย มีฤทธิ์เช่นเดียวกบั เพ็นนิซิลินเมื่อเทียบกบั ยาแผนปัจจุบนั
เทา่ กบั เป็ นการช่วยใหม้ ีผสู้ นใจทดลองใชย้ านี้รกั ษาโรคตา่ ง ๆ มากขนึ้

วธิ ีและปรมิ าณที่ใช้

1. ถา้ ใชแ้ กไ้ ขเ้ ป็ นหวดั ปวดหวั ตวั รอ้ น

ใ ช้ ใ บ แ ล ะ ก่ิ ง 1 ก า มื อ ( แ ห้ ง ห นั ก 3 ก รั ม ส ด ห นั ก 2 5 ก รั ม )
ตม้ น้าดมื่ กอ่ นอาหารวนั ละ 2

ครง้ั เชา้ -เย็น หรือเวลามอี าการ

2. ถา้ ใชแ้ กท้ อ้ งเสีย ทอ้ งเดนิ เป็ นบดิ มีไข้

ใชท้ ง้ั ตน้ หรอื สว่ นทง้ั 5 ของฟ้ าทะลายโจร ผงึ่ ลมใหแ้ หง้ ห่นั ชิน้ เล็ก ๆ ประมาณ 1
กามือ

(หนกั ประมาณ 3-9 กรมั ) ตม้ เอาน้าดมื่ ตลอดวนั

ตารบั ยาและวธิ ีใช้

1.ยาชงมวี ธิ ที าดงั นี้

- เอาใบสดหรือแหง้ ก็ได้ ประมาณ 5-7 ใบ แตใ่ บสดจะดีกวา่

- เตมิ น้าเดือดลงจนเกือบเต็มแกว้

- ปิ ดฝาทิ้งไว้ประมาณคร่ึงช่วั โมง หรือพอยาอุ่น แล้วรินเอามาดื่ม
ขนาดรบั ประทานครง้ั ละ 1 แกว้ วนั ละ 3-4 ครง้ั กอ่ นอาหาร, กอ่ นนอน

2.ยาเม็ด (ลูกกลอน) มีวธิ ที าดงั นี้

- เด็ดใบสดมาลา้ งใหส้ ะอาดผง่ึ ในทรี่ ม่ หา้ มตากแดด ควรผงึ่ ในทมี่ ีลมโกรก
ใบจะไดแ้ หง้ เร็ว

- บดเป็ นผงใหล้ ะเอยี ด

- ป้นั กบั น้าผ้งึ หรือน้าเชื่อม เป็ นเม็ดขนาดเท่าเม็ดถ่วั เหลือง (หนกั 250
มลิ ลกิ รมั )แลว้ ผง่ึ ลมใหแ้ หง้ เพราะถา้ ป้นั รบั ประทานขณะทยี่ งั เปี ยก

อยู่จะขมมาก ขนาดรบั ประทานคร้งั ละ 4-10 เม็ด วนั ละ 3-4 คร้งั
กอ่ นอาหาร, กอ่ นนอน

3.แคป๊ ซลู มีวธิ ีทาคือ

แ ท น ที่ ผ ง ย า ที่ ไ ด้ จ ะ ป้ั น เ ป็ น ย า เ ม็ ด ก ลับ เ อ า ม า ใ ส่ ใ น แ ค๊ ป ซู ล
เพื่อช่วยกลบรสขมของยา แค๊ปซูล ที่ใช้ ขนาดเบอร์ 2 (ผงยา 250 มิลลิกรมั )
ขนาดรบั

ประทานครง้ั ละ 3-5 แคป๊ ซูล วนั ละ 3-4 ครง้ั กอ่ นอาหาร กอ่ นนอน

4.ยาทงิ เจอร์หรอื ยาดองเหลา้

เอาผงแห้งใส่ขวด แช่สุราทีแ่ รง ๆ เช่น สุราโรง 40 ดีกรี ถ้ามี alcohol
ทรี่ บั ประทานได้ (Ethyl alcohol) จะดกี วา่ เหลา้ แชพ่ อใหท้ ว่ มยาขน้ึ มาเล็ก

น้ อ ย ปิ ด ฝ า ใ ห้ แ น่ น เ ข ย่ า ข ว ด วัน ล ะ 1 ค ร้ัง พ อ ค ร บ 7 วัน

จึงกรองเอาแต่น้า เก็บไว้ในขวดให้สะอาดปิ ดสนิท รบั ประทานครง้ั ละ 1 -2

ชอ้ นโตะ๊ (รสขมมาก) วนั ละ 3-4 ครง้ั กอ่ นอาหาร

5.ยาผงใชส้ ูดดม

คื อ เ อ า ย า ผ ง ที่ บ ด ล ะ เ อี ย ด ม า ใ ส่ ข ว ด ห รื อ ก ล่ อ ง ย า

ปิ ดฝาเขย่าแล้วเปิ ดฝาออก ผงยาจะเป็ นควนั ลอยออกมา สูดดมควนั น้นั เข้าไป
ผ ง ย า จ ะ ติ ด ที่ ค อ ท า ใ ห้ ย า ไ ป อ อ ก ฤ ท ธิ์ที่ ค อ โ ด ย ต ร ง ช่ ว ย ล ด เ ส ม ห ะ

และแก้เจ็บคอได้ดี วิธีที่ดีกว่าน้ีคือวิธีเป่ าคอ กวาดคอ หรือรบั ประทานยาชง

ตรงที่คอจะรู้สึกขมน้อยมาก ไม่ทาให้ขยาดเวลาใช้ ใช้สะดวกและง่ายมาก

ประโยชน์ทนี่ ่าจะไดร้ บั เพมิ่ ก็คอื ผงยาทเี่ ขา้ ไปทางจมูก อาจจะช่วยลดน้ามกู

และชว่ ยฆา่ เช้ือทจี่ มูกดว้ ย

ขนาดทีใ่ ช้

สูดดมบ่อย ๆ วนั ละหลาย ๆ ครง้ั ถ้ารู้สึกคลื่นไส้ให้หยุดยาไปสกั พกั
จนความรสู้ กึ นน้ั หายไป จงึ คอ่ ยสูดใหม่

ข้อควรรูเ้ กี่ยวกบั ตารบั ยา
สารแอนโดรกราโฟไลด์ (Andrographolide) สารในต้นฟ้ าทะลายโจร

ละ ลา ย ใ น แ อ ลกอฮ อร์ ได้ดี มา ก ละ ลา ย ใ น น้ า ได้น้ อ ย ดังน้ัน ย า ทิงเจอร์
หรือยาดองเหล้าฟ้ าทะลายโจร จึงมีฤทธิแ์ รงที่สุด ยาชงมีฤทธิแ์ รงรองลงมา
ยาเม็ดมีฤทธอิ์ อ่ นทีส่ ุด
ขอ้ ควรระวงั

บางคนรบั ประทาน ยาฟ้ าทะลายโจร จะเกดิ อาการปวดทอ้ ง ทอ้ งเสยี ปวดเอว
เ วี ย น หั ว แ ส ด ง ว่ า แ พ้ ย า ใ ห้ ห ยุ ด ย า แ ล ะ เ ป ลี่ ย น ไ ป ใ ช้ ย า อื่ น
หรอื ลดขนาดรบั ประทานลง
อ้างอิง
www.rspg.or.th/plants_data/herbs/herbs_07_8.htm

9. ตูน
ตู น ชื่ อ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ : Colocasia esculenta var. aquatilis Hassk
เป็ นพืชล้มลุกในวงศ์ Araceae อวบน้า มีหวั ใต้ดิน ใบรูปไข่แกมรูปหวั ใจ
ปลายใบแหลมหรือมน โคนใบเว้าลกึ รูปสามเหลีย่ ม ก้านใบสีเขียวหรือออกม่วง
ด อ ก สี ค รี ม ห รื อ เ ห ลื อ ง น ว ล อ อ ก เ ป็ น ช่ อ ด อ ก ตั ว ผู้ อ ยู่ ต อ น บ น
ดอกตวั เมียอยตู่ อนลา่ ง กา้ นช่อสน้ั กว่ากา้ นใบ มีใบประดบั สีเหลืองรองรบั ผลสด
รูปขอบขนาน เมล็ด ขนาดเล็กจานวนมาก พบไดท้ ่วั ไปประเทศไทยพบทุกภาค
ชอบขนึ้ บนดนิ โคลนหรือบรเิ วณทีม่ ีน้าขงั
หวั ใตด้ นิ รบั ประทานได้ ใชเ้ ป็ นยาระบาย หา้ มเลอื ด น้าคน้ั จากกา้ นใบเป็ นยานวด
แก้ฟกช้า ลาต้นบดใช้พอกแผลรวมท้งั แผลจากงูกัด ลาต้นใช้ทาอาหาร
เ ช่ น แ ก ง บ อ น ส่ ว น ข อ ง บ อ น ที่ น า ม า แ ก ง คื อ ย อ ด อ่ อ น
ห รื อ ใ บ อ่ อ น ข อ ง บ อ น ที่ อ ยู่ ใ ก ล้ โ ค น ต้ น ใ ช้ บ อ น พั น ธุ์ สี เ ขี ย ว ส ด
ไมม่ ีสีขาวเคลือบอยูต่ ามกา้ นและใบ ซ่ึงเรียกวา่ บอนหวาน สว่ นชนิดทีม่ สี ซี ดี กวา่
และนวลขาวกวา่ เรยี กวา่ บอนคนั ไมน่ ิยมนามาแกง

อ้างอิง

http://www.qsbg.org/Database/Botanic_Book%20full%20option/se
arch_detail.asp?botanic_id=1567

http://www.qsbg.org/Database/Botanic_Book%20full%20option/se
arch_detail.asp?botanic_id=1567

"สาเนาที่เก็บถาวร". คลงั ข้อมูลเก่า เก็บจาก แหล่งเดิม เมื่อ 2016 -03-04.
สบื คน้ เมอื่ 2014-01-16.


Click to View FlipBook Version