กิจกรรม
กิจกรรม
CCCF
วัตถุประสงค์ 1 เพื่อรณรงค์ด้านความปลอดภัยให้กับพนักงานในทุกระดับ
(Objective)
2 เอปันิดตโรอากยาจสาใกห้งแาสนดแงลคะสวาถมาคนิดทีเ่ทห็ำนงาค้นนขหอางอัตนนตเรอางยและประเมิน
3 ตรวจสอบสถานที่และงานทั้งหมดซึ่งอาจจะเกิดอันตราย
และแก้ไขให้อันตรายหมดไป
4 สคืรอ้ากงาจิรตไสปำดนูึแกลด้ะาวินเคครวาาะมหป์ปลัญอหดภาัใยนโสดถยายนึดทีห่ทลัำงง"าGนeจnรcิงhi-Genbutsu"
5 ปเปร็ันบปเ้ปอลงี่ยกันนวทัีฒ่สนาเธหรตุรกม่อดน้าเนกิคดวอุาบมัตปิเลหอตุดภัยจากการป้องกันเชิงรับ
CCCF CCCF
(CCCF Activity)
Completely
Check
Completely
Find out
Type of accident (STOP 6+a)
STOP A STOP B STOP C STOP D
อันตรายจากเครื่องจักร อันตรายจากวัตถุหนั กตกใส่ อันตรายจากยานพาหนะ อันตรายจากการตกจากที่สูง
STOP E STOP F STOP O STOP P
อันตรายจากกระแสไฟฟ้า อันตรายจากไฟไหม้ อันตรายจากการขาดอากาศหายใจ อันตรายจากการสารเคมี
อุบัติเหตุที่เกิดจากเครื่องจักร
การป้องกันอุบัติเหตุที่เกิดจากเครื่องจักร
ขณะเครื่องจักรทำงาน
“คน กับ เครื่องจักร ต้องแยกจากกัน”
เมื่อคนต้องเข้าไปยุ่งเกี่ยวกับเครื่องจักร
“ต้องหยุดการทำงานของเครื่องจักร
ก่อนทุกครั้ง”
อุบัติเหตุที่เกิดจากวัสดุหนั กตกใส่
การป้องกันอุบัติเหตุที่เกิดจากวัสดุหนั กตกใส่
"เน้นการปรับปรุงทักษะ ความสามารถ และเพิ่มระดับการเตือนอันตราย"
ต้องมีการฝึกอบรมเพื่อเพิ่ม ต้องเพิ่มความระมัดระวังใน
ความชำนาญ งานประจำ
อุบัติเหตุที่เกิดจากยานพาหนะ
การป้องกันอุบัติเหตุที่เกิดจากยานพาหนะ
1. พนักงานที่สามารถขับขี่รถยกได้ ต้องผ่าน 4. ก่อนใช้รถยกในแต่ละวัน ผู้ปฏิบัติงานที่
การอบรมตามหลักสูตรที่จป.กำหนด ทั้งภาค มีหน้ าที่ขับขี่ต้องแต่งกายให้เหมาะสมและ
ทฤษฎีและปฏิบัติ,ได้รับบัตรอนุญาตขับขี่รถยก คาดเข้มขัดนิ รภัยตลอดระยะเวลาการทำงาน
และได้รับอนุญาตขับขี่รถยกจากผู้บริหาร 5. ในขณะที่มีการขับขี่รถยก ห้ามบุคคลอื่น
โรงงานแล้ว โดยสาร หรือขึ้นไปอยู่บนรถ
2. ห้ามบุคคล ซึ่งไม่มีหน้าที่ทำการขับขี่รถยก
โดยเด็ดขาด
3. ก่อนใช้รถยกในแต่ละวัน ผู้ปฏิบัติงานที่
มีหน้าที่ขับขี่ ต้องทำการตรวจสอบสภาพรถ
ทุกครั้ง
อุบัติเหตุที่เกิดจากการตกจากที่สูง
การป้องกันอุบัติเหตุที่เกิดจากการตกจากที่สูง
FULL BODY HARNESS แบบ 2 ขอ บันไดทรง A ซึ่งต้องทาสีแดงใน
ระยะ 2 เมตร ขึ้นไป
อุบัติเหตุที่เกิดจากกระแสไฟฟ้า
การป้องกันอุบัติเหตุที่เกิดจากกระแสไฟฟ้า 4. บำรุงรักษาเครื่องใช้ไฟฟ้าโดยช่างผู้
ชำนาญอย่างสม่ำเสมอ
1. เลือกซื้ออุปกรณ์ที่ได้รับรองจากการ 5. ต่อสายกราวด์ของระบบไฟฟ้าดิน
ทดสอบมาตรฐานผลิตภัณฑ์ 6. ใช้ฉนวนหุ้มสายไฟฟ้าที่มีอัตราเสี่ ยง
อุตสาหกรรม ต่อการเกิดไฟรั่ว
2. ติดตั้งอุปกรณ์ไฟฟ้าทั้งหมดให้เป็น 7. ติดตั้งเครื่องตัดไฟอัตโนมัติ
ไปตามหลักและกฎความปลอดภัย โดย
ช่างผู้ชำนาญ
3. จำเป็นต้องมีการตรวจสอบระบบ
ไฟฟ้าอย่างสม่ำเสมอ เช่น ฉนวนสาย
ไฟ เต้าเสียบ เต้ารับ สวิตช์ เป็นต้น
อุบัติเหตุที่เกิดจากไฟไหม้
การป้องกันอุบัติเหตุที่เกิดจากไฟไหม้ 4) พื้นที่ปฏิบัติงานควรมีความสะอาด มีการ
ทำ 5ส หลังเลิกงานทุกครั้ง
1) ด้านเครื่องจักร ควรมีการตรวจเช็คซ่อม 5) ไม่ควรจัดเก็บวัตถุไวไฟไว้ในพื้นที่ปฏิบัติ
บำรุ งเป็นประจำให้อยู่ในสภาพที่ดี งาน หรือเก็บไว้ในปริมาณที่เหมาะสม
2) ด้านเครื่องใช้ไฟฟ้า สายไฟฟ้าและ 6) การปฏิบัติหลังเลิกงาน หลังเลิกงานทุก
อุปกรณ์ ต้องอยู่ในสภาพที่ดีและได้รับการ วันควรมีการเดินตรวจดูความเรียบร้อย
ตรวจเช็คเป็นประจำ
-ควรหลีกเลี่ยงการต่อสายไฟฟ้าโดยใช้ผ้า
เทปพันหรือการต่อแบบชั่วคราว
3) ห้ามสูบบุหรี่ในบริเวณที่มีการผลิต ความ
สะอาดเป็นหลัก
อุบัติเหตุที่เกิดจากที่อับอากาศ
การป้องกันอุบัติเหตุที่เกิดจากที่อับอากาศ
1.จัดเตรียมและตรวจสอบอุปกรณ์
สำหรับทำงานในที่อับอากาศให้พร้อม
ใช้งาน
2. ตรวจวัดสภาพอากาศ (O2) ต้องไม่
น้อยกว่า 19.5 และไม่เกิน 23.5
3. ผู้อนุญาต ผู้ควบคุม ผู้ช่วยเหลือ
และผู้ปฏิบัติงาน ต้องได้รับการอบรม
ตามกฏหมาย
อุบัติเหตุที่เกิดจากสารเคมี
การป้องกันอุบัติเหตุที่เกิดจากสารเคมี
ผู้ปฏิบัติงาน การใช้สารเคมี
ต้องทราบถึงอันตรายของสารเคมีและวิธี
ได้รับการฝึกอบรมให้ทราบถึง การควบคุม
อันตรายและการป้องกัน ต้องล้างมือทุกครั้งหลังปฏิบัติงานกับสาร
มีหมุนเวียนหรือการสั บเปลี่ยน เคมี
หน้ าที่การปฏิบัติงาน ทำความสะอาดบริเวณทำงานทุกครั้งหลัง
การตรวจสุขภาพก่อนเข้าทำงาน เลิกงาน
การใช้เครื่องป้องกันอันตรายส่ วน ปิดฝาภาชนะให้แน่ นทุกครั้งหลังเลิกใช้
บุคคล จัดเก็บสารเคมีไว้ในที่เย็น อากาศถ่ายเทดี
ห่างแหล่งกำเนิ ดประกายไฟ
อย่า! ปฏิบัติงานตามลำพังหรือไม่มีส่วน
เกี่ยวข้อง
อย่า! ทดสอบโดยการสูดดมหรือกลืนกิน
เกณฑ์การประเมิน CCCF รูปแบบใหม่
เกณฑ์การประเมิน CCCF รูปแบบใหม่
คะแนนความเสี่ ยง = ระดับความรุนแรง + ความถี่ของงาน +
ระดับมาตรการความปลอดภัย
กิจกรรม
KYT
1 เพื่อสร้างจิตสำนึ กด้านความปลอดภัยในการทำงานให้
กับผู้ปฏิบัติงาน
วัตถุประสงค์
(Objective) 2 เพื่อสร้างนิสั ยการเตือนตนเองก่อนลงมือปฏิบัติงาน
3 เลอพืดยู่อ่แอัในลห้ะตผหูร้ปาาฏวยิิธบหีัคตริืวงอบาอุนคบุัมคต้ิปนเ้หอหตงุาดกอ้ัันวนยตวิรธีากยาตร่าทีง่ผู้ๆปฏทิี่บแัตฝิงงานร่วม
4
กันคิดค้น
KYT K คือ KIKEN (คิเค็น) แปลว่าอันตราย
Y คือ YOSHI (โยชิ) แปลว่าคาดการณ์อันตราย
ล่วงหน้ า
T คชืำอนTาRญAแINลIะNหGาทาแงปป้ลอวง่ากฝัึนกอบรมให้มีความ
กิจกรรม
HIYARI - HATTO
วัตถุประสงค์ 1 คอเุ้ปนบ็ันตหิอเาุหบสิั่ตตงุิจซเ้หาอกตนุกจเาาร้รกนทกำซาึง่รงาทอนำาไงจดาเ้ปน็กน่อสนาทเี่หสตาุเทีห่อตาุเจหกล่อ่าในัห้้นเกจิดะเกิด
(Objective)
2 สแ(รนลัวะบมมสีทัค้นงุวนพามในัหสก้พางมนาัานกรใงถหาในมน่)กมแีาจรลิตคะ้สสนำาหนมึากาอรัดน้ถาตคน้รนคาหวยาาเมพอิั่ปนมลมตอารดกายขภึั้ไนยด้
ตลอดเวลา
3 กด้ำาหนนคดวารูมปปแลบอบดแภัลยะแวิลธีะกกาารรแตกิ้ดไขตปามรักบาปรรปุงรับปัปญรหุงาแต่กา้ไงขๆ
อย่างต่อเนื่ อง
4 ปรับปรุงสถานที่ทำงาน ให้มีสภาพที่ปลอดภัย
HIYARI - HATTO Hiyari Hatto (ฮิยาริ ฮัทโต)
ทกี่ปจารระดะคสำาเบดนิกกนาากรรณณา์์รถทลีึ่งเดกอืุอบหับตรืิเอเกหิดขตุอจทุัีบด่ัอตคาิเวจหาจมตะุเเหสกี่ิยรดืงอขึ้กน่อเนพื่ทอี่
จะเกิดเป็นอุบัติเหตุ
การนำเสนอปัญหา
1.ความสามารถในการค้นหาอันตราย
1. ให้พนักงานเขียนเสนอแนะปัญหาโดย ระบุอันตรายที่พบเห็นรอบๆ
ตัวเราเอง ทั้งในที่ทำงาน หรือบริเวณรอบๆ ที่ทำงาน เช่น เกิดที่ไหน
เมื่อไหร่ ขณะทำอะไร อย่างไรโดยใช้ 5W1H และระบุความรุนแรง จะ
วาดรูป หรือถ่ายรูปตามความเหมาะ ตามที่เราถนัดก็ได้
2. จากเหตุการณ์ที่ค้นพบได้โดยง่าย เช่น งานที่ปฏิบัติ
เป็นประจำทุกวัน หรือกิจกรรมอื่นซึ่งพบได้เป็นประจำ
เช่น ขณะเดิน, เวลาพัก เป็นต้น
การนำเสนอปัญหา
1.ความสามารถในการค้นหาอันตราย
3. จากงานที่ไม่ได้ทำทุกวัน (<1 ครั้ง/วัน)
คืองานนอกเหนื อจากงานประจำซึ่งปฎิบัติ
4. จากงาน/พื้นที่ของ
ผู้อื่น
5. จากพื้นที่แอบซ่อน
การนำเสนอปัญหา
2. การวิเคราะห์สาเหตุของปัญหา
พนั กงานจะต้องวิเคราะห์สาเหตุของปัญหาที่ค้น
พบโดยระบุว่า“อันตรายคืออะไร” และใช้คำถาม
ทำไมจึงเกิดขึ้น, ทำไมจึงเป็นเช่นนั้น, ทำไมก่อน
หน้านี้ ไม่เกิด, ทำไมเพิ่งค้นพบ..
การนำเสนอปัญหา
3. ความพยายามในการปรับปรุงแก้ไข
พนักงานเขียนข้อเสนอแนะในการแก้ไขปัญหา ด้านบุคคล, ด้านวิธีการทำงาน
และด้านวัตถุ พร้อมทั้งวาดภาพ หรือถ่ายรูปก็ได้
การนำเสนอปัญหา
4. ความรุนแรง และข้อ 5. ประเภทของอุบัติเหตุ
โดยแบ่งประเภทออกเป็นอันตรายที่เกิด STOP 6,
ไม่ใช่ STOP 6 และอันตรายจากไฟไหม้
ประโยชน์ของกิจกรรม Hiyari
1. เพื่อขจัดและป้องกันอุบัติเหตุที่อาจจะเกิดขึ้นกับพนักงานที่ปฏิบัติงานใน
แผนกหรือในบริษัทฯ
2. พนักงานมีส่วนร่วมในการป้องกันการเกิดอุบัติเหตุ
3. พนักงานมีความตระหนักถึงอันตรายในสถานที่ทำงาน
4. พนักงานได้มีการสื่อสารเกี่ยวกับการเดือนอันตรายให้สมาชิกทราบ