The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

หลักความปลอดภัยเกี่ยวกับเครื่องจักร
หลักความปลอดภัยเกี่ยวสารเคมี
หลักความปลอดภัยเกี่ยวรถโฟล์คลิฟท์
หลักความปลอดภัยเกี่ยวเครน

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Safety, 2022-04-28 05:05:17

หลักความปลอดภัยในการทำงาน

หลักความปลอดภัยเกี่ยวกับเครื่องจักร
หลักความปลอดภัยเกี่ยวสารเคมี
หลักความปลอดภัยเกี่ยวรถโฟล์คลิฟท์
หลักความปลอดภัยเกี่ยวเครน

หลักความปลอดภัยในการทำงาน

ความปลอดภัยยในการทำงาน
กับเครื่องจักร/อุปกรณ์

อันตรายจากเครื่องจักร/อุปกรณ์

อันตรายที่เกิดจากส่วนที่หมุน เช่น เฟือง ปุลเล่
ไฟล์วีล ลูกรอก สายพาน สว่านเจาะ จะดึงเอา
เสื้อผ้า เน็คไท เส้นผมเข้าไปในเครื่องจักร

อันตรายที่เกิดจากจุดหนีบ ได้แก่ ลูกกลิ้ง โซ่กับ
เฟือง เฟืองกับเฟือง สายพานกับปุลเล่ อวัยวะ
ร่างกายของคนหรือสิ่งของจะถูกดึงเข้าหาจุดนี้ และ
จะถูกบดหรือรีด

อันตรายจากเครื่องจักร/อุปกรณ์

อันตรายที่เกิดจากการเคลื่อนที่แบบสลับไป
มา เช่น เครื่องไส ลูกสูบ เลื่อยโลหะ แท่น
เคลื่อนที่ จะทำให้เกิดการกระแทกกับ อวัยวะ
ร่างกายได้

อันตรายที่เกิดจากการอัด ได้แก่ เครื่องจักรที่ใช้
ในการอัดขึ้นรูป ตัด ปั๊ ม เจาะรู ดัดงอ อุบัติเหตุ
ส่ วนใหญ่เกิดที่มือและนิ้ วมือ

อันตรายจากเครื่องจักร/อุปกรณ์

อันตรายที่เกิดจากการตัด เช่น เครื่องตัดแบบ
เครื่องกัด เครื่องบด เครื่องกลึง เครื่องปาด ใบเลื่อย
ใบมีด ทำให้เกิดการบาดเจ็บที่อวัยวะต่างๆ ของ
ร่างกาย เช่น นิ้วมือ มือ แขน สะเก็ดจากชิ้นงาน
กระเด็นเข้าตา

มาตรการป้องกันอันตรายจาก
เครื่องจักร/อุปกรณ์

ขณะเครื่องจักรทำงาน
“คน กับ เครื่องจักร ต้องแยก
จากกัน”

เมื่อคนต้องเข้าไปยุ่งเกี่ยวกับ
เครื่องจักร “ต้องหยุดการทำงาน
ของเครื่องจักรก่อนทุกครั้ง”

อุปกรณ์ ป้องกันอันตรายส่ วนบุคคลในการ
ทำงานกับเครื่องจักร/อุปกรณ์

ความปลอดภัยในการทำงานกับ
ไฟฟ้า

อันตรายจากกระแสไฟฟ้า

ใช้อุปกรณ์ไฟฟ้าหรือสายไฟที่ชารุด ทำงานใกล้กระแสไฟฟ้าแรงสูง

อันตรายจากกระแสไฟฟ้า

ใช้อุปกรณ์ไฟฟ้าใกล้แหล่งน้ำ สายไฟชำรุด ไม่มีสายดิน

มาตรการป้องกันอันตรายจากกระแสไฟฟ้า

การป้องกันที่แหล่งกำเนิด

จัดให้มีการตรวจเช็ค และทำการบำรุงรักษาอยู่เสมอ
มีการติดตั้งสายดิน

การป้องกันทางผ่าน

ตัดกระแสไฟฟ้าก่อนเริ่มปฏิบัติงาน
ปิดกั้นพื้นที่ห้ามไม่ให้ผู้ที่ไม่เกี่ยวข้องเข้าไปในพื้นที่ปฏิบัติงาน
ปิดป้ายแจ้งเตือนพื้นที่อันตราย
การปฏิบัติงานใกล้สายไฟฟ้าแรงสูงจะต้องจัดให้มีฉนวนครอบสายไฟฟ้าแรงสูง

มาตรการป้องกันอันตรายจากกระแสไฟฟ้า

การป้องกันที่ตัวบุคคล

จัดให้มีการอบรมความปลอดภัยในการปฏิบัติงานแก่ผู้ปฏิบัติงาน
จัดให้มีการสวมใส่อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล (PPE) เช่น
รองเท้าsafety หมวกsafety ถุงมือsafety และชุดปฏิบัติงานที่ป้องกัน
กระแสไฟฟ้า

อุปกรณ์ ป้องกันอันตรายส่ วนบุคคลในการ
ทำ ง า น กั บ ไ ฟ ฟ้ า

ความปลอดภัยในการทำงาน

เกี่ยวกับสารเคมี

การได้รับสัมผัสผิวทางหนัง

เกิดผดผื่นคัน ระคายเคือง ผิวหนังไหม้ อักเสบ

การได้รับสัมผัสทางระบบทาง
เดินหายใจ

ขาดอากาศ หน้ามืด วิงเวียนศรีษะ

การได้รับสัมผัสโดยการกลืนกิน



อาเจียน

มาตรการป้องกันอันตรายจากสารเคมี

การป้องกันที่แหล่งกำเนิด

จัดให้มีพื้นที่จัดเก็บสารเคมี
ภาชนะที่บรรจุสารเคมีจะต้องมีฝาปิดและมีการติดฉลาก
มีการติดเอกสาร SDS ในพื้นที่จัดเก็บสารเคมี

การป้องกันทางผ่าน

ปิดกั้นพื้นที่และติดป้ายแจ้งเตือนในพื้นที่จัดเก็บสารเคมี

มาตรการป้องกันอันตรายจากสารเคมี

การป้องกันที่ตัวบุคคล

จัดให้มีการอบรมความปลอดภัยในการปฏิบัติงานแก่ผู้ปฏิบัติงาน
จัดให้มีการสวมใส่อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล (PPE)

อุปกรณ์ ป้องกันอันตรายส่ วนบุคคลในการ
ทำงานกับสารเคมี

ความปลอดภัยในการใช้รถ
โฟล์คลิฟท์

สาเหตุอันตรายจากรถโฟล์คลิฟท์

การยกสินค้าสูงเกินกำหนด

อาจทำให้สินค้าหล่นทับคนขับรถหรือผู้ปฏิบัติงานที่อยู่บริเวณนั้นได้

สาเหตุอันตรายจากรถโฟล์คลิฟท์

โฟล์คลิฟท์พลิกคว่ำ

เมื่อขับรถเร็วหรือน้ำหนักไม่สมดุล

สาเหตุอันตรายจากรถโฟล์คลิฟท์

การชนหรือทับจนอาจเสียชีวิตได้

คนขับโฟล์คลิฟท์มองไม่เห็นผู้ปฏิบัติงานที่เดินอยู่

สาเหตุอันตรายจากรถโฟล์คลิฟท์

ผู้ปฏิบัติงานอาจตกจากที่สูง

หากขึ้นไปยืนบนงาของโฟล์คลิฟท์

สาเหตุอันตรายจากรถโฟล์คลิฟท์

อุบัติเหตุชนกัน

ไม่มีการกำหนดเส้นทางของโฟล์คลิฟท์หรือมีแต่ไม่เหมาะสม

มาตรการป้องกันอันตรายจากการใช้รถโฟล์คลิฟท์

1.กำหนดเส้นทาง
หรือ ตีเส้นทางเดินของรถโฟล์คลิฟท์

2.จัดให้มีป้ายเตือนอันตรายทุกทางแยก
หรือทางโค้งที่รถโฟล์คลิฟท์ต้องการสัญจร

มาตรการป้องกันอันตรายจากการใช้รถโฟล์คลิฟท์

3.สื่อสารเกี่ยวกับความหมายของป้ายเตือนอันตราย
สีของเส้นทางในบริเวณต่างๆและขั้นตอนการปฏิบัติ
งานกับรถโฟล์คลิฟท์ให้ผู้ที่เกี่ยวข้องรับทราบ

4.ใช้อุปกรณ์ logout/tagout
เพื่อป้องกันบุคคลที่ไม่เกี่ยวข้องใช้รถ
โฟล์คลิฟท์

อุปกรณ์ ป้องกันอันตรายส่ วนบุคคลในการ
ใ ช้ ร ถ โ ฟ ล์ ค ลิ ฟ ท์

ความปลอดภัยในการทำงานเกี่ยวกับ
เครน

อุบัติเหตุที่เกิดจากการใช้งานผิดวิธี

เมื่อทำการยกชิ้นงานปกติ ควรประคองชิ้นงานไม่ให้โยก หรือแกว่งในขณะทำการ
เคลื่อนย้าย

ห้ามยกหรือทำการเคลื่อนย้ายชิ้นงาน ที่มีน้ำหนักมากหรือถูกจัดวางในลักษณะทับ
ซ้อนกัน

ทุกครั้งที่จะยกชิ้นงาน ควรเช็คพิกัดน้ำหนักของชิ้นงานให้ถูกต้อง และไม่ให้เกิน
พิกัดน้ำหนักยกของตัวรอก

อุบัติเหตุที่เกิดจากการใช้งานผิดวิธี

การเคลื่อนที่ของเครนให้เคลื่อนที่อย่างช้าๆ เพื่อป้องกันการแกว่งไปแกว่งมา
ของของที่ยก (Swing Load)

อย่าทิ้งชุดควบคุมการทำงานของเครนไว้ ขณะกำลังยกของ

เลิกใช้งานเครน ให้นำเครนกลับไปในตำแหน่งที่สำหรับไว้เครน และตัดไฟที่
เมนสวิทซ์

การใช้งานเครนอย่างปลอดภัย

ก่อนเริ่มใช้งานทุกครั้ง ควรตรวจสอบระบบการทำงานของรอกและเครน
ว่าปกติหรือไม่ ก่อนทำการยกชิ้นงาน
ห้ามผู้ที่ไม่รู้วิธีการใช้งาน หรือไม่มีหน้าที่เกี่ยวข้อง และรับผิดชอบโดยตรงใช้รอก
และเครน
ไม่ควรใช้รอกและเครน เพื่อการโดยสาร

การใช้งานเครนอย่างปลอดภัย

หยุดการใช้รอกและเครน โดยกดปุ่มสวิทซ์ฉุกเฉินทันที เมื่อเสียงดังหรือ
ระบบการทำงานผิดปกติ
ไม่ควรเดินรอกหรือยกชิ้นงานข้ามศีรษะผู้อื่นโดยไม่บอกกล่าว อาจเกิดอุบัติเหตุ
และอันตรายได้

ไม่ควรเล่น แกว่งหรือโยกอย่างคึกคะนอง ขณะทำการยกชิ้นงาน

การใช้งานเครนอย่างปลอดภัย

ห้ามทำการซ่อมแซมรอกเอง เมื่อเกิดความผิดปกติขึ้นกับรอก ควรแจ้ง
ช่างซ่อมบำรุง หรือผู้รับผิดชอบโดยตรง
ไม่ควรยกหรือห้อยชิ้นงานค้างไว้ โดยไม่จำเป็น

อุปกรณ์ ป้องกันอันตรายส่ วนบุคคลในการ
ทำงานกับเครน


Click to View FlipBook Version