The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

แบบฟอร์มการเขียนผลงาน 2565 คุณนิคม อิศรางกูร

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by เดช นรินทร์, 2023-05-23 21:23:06

คุณนิคม อิศรางกูร ณ อยุธยา ผลงานปี 2565

แบบฟอร์มการเขียนผลงาน 2565 คุณนิคม อิศรางกูร

๒ ชื่อ - สกุล นายนิคม อิศรางกูร ณ อยุธยา อายุ 52 ปี สัญชาติ ไทย สาขา ( ) สาขาทัศนศิลป์ ( ) สาขาดุริยางคศิลป์ ( ) สาขาศิลปะการแสดง ( ) สาขาวรรณศิลป์ ( ) สาขาศิลปหัตถกรรมพื้นบ้าน ( √ ) สาขาคหกรรมศิลป์ ( ) สาขาศาสนาและขนบธรรมเนียมประเพณี ( ) สาขาการท่องเที่ยวทางวัฒนธรรม ( ) สาขาส่งเสริมศิลปวัฒนธรรม ประวัติส่วนตัวโดยละเอียด ๑. วัน เดือน ปีเกิด วัน เดือน ปีเกิด 13 เดือน มีนาคม พ.ศ. 2513 สัญชาติไทย สถานที่เกิด อ าเภอ เมือง จังหวัด อุตรดิตถ์ ๒. ที่อยู่ปัจจุบัน (ที่สามารถติดต่อได้) เลขที่ 53/27 หมู่ที่ 2 หมู่บ้าน - ถนน แจ้งวัฒนะ ต าบล คลองเกลือ อ าเภอ ปากเกร็ด จังหวัด นนทบุรีรหัสไปรษณีย์ 11120 โทรศัพท์ 02 574 5006 โทรศัพท์มือถือ 062 318 1681 โทรศัพท์ที่ท างาน 02 574 5006 โทรสาร – อีเมล์ [email protected] แบบเสนอข้อมูลประวัติและผลงาน ผู้มีผลงานดีเด่นทางวัฒนธรรม ประจ าปีพุทธศักราช ๒๕๖๕ “รางวัลเพชรพระนคร” ติดรูปถ่าย ขนาด ๒ นิ้ว (รูปถ่ายหน้าตรง ที่เป็นรูปปัจจุบัน)


๓ ๓. ข้อมูลบิดา - มารดา ชื่อ - สกุล บิดา นายอยู่ อิศรางกูร ณ อยุธยา อาชีพ (ถึงแก่กรรม) ชื่อ - สกุล มารดา นางใคล อิศรางกูร ณ อยุธยา อาชีพ รับจ้าง เป็นบุตรคนที่ 9 ในพี่น้อง 10 คน ได้แก่ (ระบุชื่อ) 1. นายอุดม อิศรางกูร ณ อยุธยา 2. นางสมบัติ อรัยญะ 3. นายสมบัติ อิศรางกูร ณ อยุธยา 4. นางสาวสอนเรือน อิศรางกูร ณ อยุธยา 5. นายวันชัย อิศรางกูร ณ อยุธยา 6. นางสาวเตือนใจ อิศรางกูร ณ อยุธยา 7. นายมนตรี อิศรางกูร ณ อยุธยา 8. นางชญานิช เสนสกุล 9. นายนิคม อิศรางกูร ณ อยุธยา 10.นายจงกล อิศรางกูร ณ อยุธยา ๔. ครอบครัว ชื่อ - สกุล (สามี/ภรรยา) นางเสาวลักษณ์ อิศรางกูร ณ อยุธยา อาชีพ รับจ้าง บุตร (ชาย) 1 คน บุตร (หญิง) 2 คน รวมทั้งหมด 3 คน ได้แก่ (ระบุชื่อ) 1. นางสาวนัฐฐากรณ์ อิศรางกูร ณ อยุธยา 2. นางสาวนิศารัตน์ อิศรางกูร ณ อยุธยา 3. นายนฤเบศ อิศรางกูร ณ อยุธยา ๕. ประวัติการศึกษา ระดับการศึกษา สถาบันการศึกษา ปีที่ส าเร็จ การศึกษา หมายเหตุ ประถมศึกษา โรงเรียนเทศบาลวัดท้ายตลาด 2526 มัธยมศึกษาตอนต้น โรงเรียนอุตรดิตถ์ 2529 มัธยมศึกษาตอนปลาย หรือ ปวช. โรงเรียนอุตรดิตถ์ 2532 ปริญญาตรีคุณวุฒิ ปริญญาศึกษาศาสตรบัณฑิต (ศษ.บ.) วิชาเอกนาฏศิลป์ไทย ๖. ประวัติการท างาน/ประสบการณ์การท างาน (เคยท างานอะไรมาบ้าง/เรียงตั้งแต่อดีตถึงปัจจุบัน) พ.ศ. ต าแหน่ง สถานที่ท างาน หมายเหตุ 2533 ผู้ช่วยพ่อครัว ภัตตาคารแม่ศรี 2535 ผู้ช่วยพ่อครัว ภัตตาคาร ร้านคุณใหญ่ 2540 ผู้ช่วยพ่อครัว โรงแรมอีสติน


๔ ๗. ประวัติผลงาน (โปรดระบุให้ชัดเจนที่สุด โดยเรียงล าดับเวลาจากอดีตถึงปัจจุบัน) มีรายละเอียด ดังนี้ ๗.๑ การศึกษา เรียนรู้ การปฏิบัติงานหรือฝึกฝนในการสร้างผลงาน ความมุ่งหวังและสิ่งที่ฝากถึงอนุชน รุ่นต่อไป (เรียนอะไรบ้าง/เมื่อไร/จากไหน/อย่างไร) ข้าพเจ้านายนิคม อิศรางกูร ณ อยุธยา ครอบครัวประกอบอาชีพเปิดร้านอาหาร ท าให้ได้เห็นความเป็นไป ในร้านอาหารมาตลอดเลยรู้สึกจ าเจจึงขอทางบ้านมาหาประสบการณ์ของร้านอื่นบ้าง จึงมีโอกาสคลุกคลี อยู่ในวงการอาหารหลายปี เห็นเพื่อนๆ หลากหลายแผนก จุดเริ่มต้นของการท างานแกะสลัก สิ่งที่ข้าพเจ้าสนใจเป็นพิเศษ คือแผนกแต่งหัวจานซึ่งมีเทคนิคพิเศษหลายอย่างที่จะแต่งให้อาหารสวยงาม ดูน่ารับประทานและสร้างความประทับใจให้กับลูกค้าจึงเริ่มฝึกหัด แกะสลัก แบบครูพักลักจ า “พยายามลักดูหรือ จดจ าเอาเอง” ซึ่งใช้ได้บ้างไม่ได้บ้างตามความเข้าใจของตัวเอง ฝึกลักษณะอยู่หลายปี จุดเปลี่ยนของการเรียนรู้ วันหนึ่งไปเห็นเชฟต่างชาติท่านหนึ่งแกะสลักหัวไชเท้าทั้งหัวเป็นดอกกุหลาบเถา ซึ่งมันมีความอ่อนช้อย อ่อนหวาน บิดพลิ้ว เหมือนของจริงมากๆ เห็นแล้วทึ่ง จึงเกิดความสนใจขึ้นมาทันที แต่ก็ไม่มีโอกาสได้เรียนรู้ เพราะเชฟคนนั้นกลับต่างประเทศไปก่อน วันหนึ่งได้ไปเที่ยวชมงานเกษตรแฟร์ ที่มหาวิทยาลัยแห่งหนึ่งมีการจัดแสดงการแข่งขันแกะสลักผัก – ผลไม้ จึงมีโอกาสขอเข้าไปหัดลองกับเขาดูจนเลิกงาน อาจารย์ท่านที่สอนบอกว่าถ้าสนใจแนะน าให้ไปเรียนเพิ่มเติม หลังจากนั้น ข้าพเจ้าได้ไปเรียนและฝึกฝนอย่างจริงจังโดยใช้เวลาหลังเลิกงานไปเรียนวันละ 1 ชั่วโมง 30 นาที ใช้เวลาเรียน 1 ปีกว่า จนเกิดความมั่นใจ จนวันหนึ่งมีโอกาสเข้าชมงานแข่งแกะสลักที่อาคารอิมแพค เมืองทองธานี เห็นผลงานการแกะสลักที่หลากหลายและงดงามอลังการมากๆ แต่ละชิ้นวิจิตรสุดๆ และบางชิ้น เราก็พอท าได้ บางชิ้นท าไม่ได้ และมีความคิดอยากท าชิ้นงานยากๆ โดยการศึกษาและฝึกฝนเพิ่มเติม และตัดสินใจ ชวนเพื่อนๆ ที่เรียนด้วยกันลงแข่งขันการแกะสลักเพื่อหาประสบการณ์ในโอกาสและได้รับรางวัล ดังนี้ ประสบการณ์การประกวดผลงานด้านการแกะสลัก 1. รางวัลรองชนะเลิศอันดับที่ 1 และรางวัล Popular Vote งาน Makro Horeca แม็คโคร โฮเรก้าอคาเดมี วันที่ 25 มีนาคม 2553 มีผู้แข่งขันทั้งหมด 16 ทีม 2. รางวัล Gold The Winner งาน Thai Fex Asia วันที่ 7 สิงหาคม 2554 แข่งประเภทงานเดี่ยว มีผู้แข่งขันทั้งไทยและต่างชาติ 40 คน ท าให้เป็นที่รู้จักของคนในวงการในนามนักแกะมือใหม่แห่งวงการแกะสลัก งานสาธิต งานโชว์ และเป็น จุดเริ่มต้นของการถ่ายทอดความรู้โดยมีงานสอนเทคนิคการแกะสลักเข้ามาอย่างต่อเนื่องทั้งภายในและต่างประเทศ ๗.๒ ผลงานส าคัญที่สร้างสรรค์ขึ้นมาใหม่ จะต้องเป็นผลงานชิ้นที่โดดเด่นกว่าคนอื่น เป็นเอกลักษณ์ เฉพาะตัวเอง (โดยมีรายละเอียดตามแบบแสดงผลงาน) ผลงานที่สร้างขึ้นใหม่ และโดดเด่นกว่าคนอื่น คือ “น้องหมาส้มโอ” แนวคิดการท า“น้องหมาส้มโอ” หลังจากที่เราแกะสลักผัก – ผลไม้มานานแล้วพอไปดูงานที่ไหนก็จะเห็นแต่ลายเดิมๆ ซ้ าๆ จึงคิดหาวิธีที่จะ ท าอะไรที่แหวกแนวไปจากชาวบ้านบ้าง จึงลองเอาส้มโอมาท าเป็นตัวสัตว์ และปีนั้นเป็นปีขาล จึงคิดจะท าเสือ ลองผิด ลองถูกอยู่หลายวันก็ยังไม่เป็นที่ถูกใจ จนความบังเอิญมาเกิดขึ้น ตอนที่ก าลังประกอบหัวเสือลูกชายบังเอิญ เดินผ่านมาเห็นแล้วทักว่า “มันไม่เหมือนเสือ เหมือนหมามากกว่า” วัตถุประสงค์ก็เลยเปลี่ยนจาก “เสือ” เป็น “หมา” ตั้งแต่นั้นมาและคนก็รู้จักเราในนาม“เชฟหมาส้มโอ”


๕ ความมุ่งหวังและสิ่งที่ฝากถึงอนุชนรุ่นต่อไป การแกะสลักผักและผลไม้แสดงถึงเอกลักษณ์ของไทย ในสมัยก่อนข้าราชบริพารฝ่ายในเป็นผู้ประดิษฐ์ เพื่อใช้ในงานพระราชพิธีต่างๆ เท่านั้น แต่ในปัจจุบันมีการฟื้นฟูเอกลักษณ์ของไทยขึ้น การประดิษฐ์ผักและผลไม้ จึงได้รับการสนับสนุนจากบุคคลทั่วไปได้มีโอกาสเรียนรู้มากขึ้น การแกะสลักต้องใช้ฝีมือ เวลา และความมีใจรักเพราะเป็นงานประดิษฐ์ที่ท าด้วยความประณีต และที่ส าคัญ ที่สุดในปัจจุบัน คือน าไปประกอบเป็นอาชีพได้ เนื่องจากวัสดุอุปกรณ์ที่น ามาใช้หาได้ไม่ยากราคาไม่แพง และนอกจากความสวยงามแล้วยังน าไปเป็นส่วนประกอบอาหาร หรือน าไปจัดจานอาหารให้ดู หรู สวยงาม เติมเสน่ห์ให้อาหาร น่าทาน สร้างมูลค่าเพิ่ม ท าให้อาหารเมนูนั้นๆ ขายได้ราคาที่สูงขึ้นอีกด้วย จึงนิยมท าการ การแกะสลักผักและผลไม้กันอย่างแพร่หลายขึ้น จะเห็นได้ว่า ศิลปะ การแกะสลักผักและผลไม้มีคุณค่าและความส าคัญอย่างยิ่งและได้บรรจุลงในหลักสูตร การเรียนการสอนทั้งทางภาควิชาการและภาคปฏิบัติหลายระดับ ทั้งทางภาคเอกชนและรัฐบาล จึงนับเป็นความ ภาคภูมิใจของคนไทย และควรสนับสนุนให้ด ารงรักษาให้เยาวชนได้สืบทอด และต่อยอดงานแกะสลักผัก และผลไม้ศิลปะภูมิปัญญาของไทยนี้ไว้ให้คงอยู่ตลอดไป แบบแสดงผลงาน คิดผลงานชิ้นใหม่ๆ เพื่อสื่อถึงปีนักษัตรปีนั้นๆ โดยใช้ผลไม้ที่น ามาท าผลงานได้ เช่น ส้มเช้ง ส้มเขียวหวาน ส้มโอ วัสดุอุปกรณ์ มีดบาง กรรไกร เขียง ตะปู กาวร้อน ไม้ลูกชิ้น ส้มโอ 3 ลูก หัวไชเท้า 2 หัว ฟักเขียว 1 ลูก แครอทนิดหน่อย เม็ดล าใย แครอท หัวไชเท้า วิธีการท า ๑. น าฟักเขียวมาตัด แบ่งเป็นหัว และล าตัว เกลาขึ้นรูปเป็นหัว และล าตัวเจาะรู 4 รูเพื่อแต่งเป็นขา ๒. ตัดหัวไช้เท้า ขนาด 5 นิ้ว ผ่าเป็นแท่งยาว 4 แท่ง เกลากลม เพื่อเป็นขา ๓. น าส่วนหัวมาเสียบไม้ลูกชิ้น ยึดกับล าตัวแล้วเอาส่วนขามาเสียบไม้ ยัดเข้าไปล าตัวท าเป็นส่วนขา ๔. เอาส้มโอที่ขยี้เป็นฝอยมาติดทีละชิ้นด้วยตะปูจนเต็มทั้งตัวและขา ๕. จากนั้นค่อยมาติดดวงตา จมูก ปาก เทคนิคพิเศษ 1. วิธีขยี้ส้มโอต้องไม่ให้เนื้อช้ า ควรใช้ส้มโอพันธุ์ทองดี ชนิดยังไม่ลืมต้น 2. ฟักเขียว ควรเลือกชนิดอ่อน 3. หัวไช้เท้า ควรแช่น้ าก่อนเสียบไม้ลูกชิ้น


๖ คุณค่า ประโยชน์ ความส าคัญ 1. ใช้จัดตกแต่งผักและผลไม้ให้สวยงามน่ารับประทาน 2. เพื่อใช้ในโอกาสพิเศษ อาทิ ขนบธรรมเนียมประเพณีเทศกาลส าคัญ และพิธีทางศาสนา 3. ตกแต่งอาหารคาวหวานให้สวยงาม เพื่อเลี้ยงพระหรือรับรองแขก เช่น งานบวชนาค งานแต่งงาน งานวันเกิด งานฉลองแสดงความยินดี ๔. เพื่อใช้ในการประกอบอาชีพ เช่น เป็นช่างแกะสลักผักและผลไม้ตามร้านอาหาร ภัตตาคาร โรงแรม หรือบน สายการบิน ในประเทศ และต่างประเทศ 5. ท าให้เกิดความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ในการคิดรูปทรง และลวดลายที่แปลกใหม่โดยจัดประกวดการแกะสลัก ผักและผลไม้ 6. สร้างสมาธิ และฝึกให้เป็นผู้ที่มีจิตใจอ่อนโยน ๗. ช่วยอนุรักษ์มรดกทางวัฒนธรรม ภูมิปัญญาไทยไว้ให้คนรุ่นหลังได้การศึกษาเรียนรู้


๗ ภาพผลงาน


๘ งานวิจัย - ๘. การเผยแพร่ผลงาน การน าผลงานออกเผยแพร่ต่อสาธารณชน (น าไปเผยแพร่ในงานอะไรบ้าง/เมื่อไร/ ผลเป็น อย่างไร) ตารางสรุปงานแสดงผลงานสร้างสรรค์ ล าดับ สถานที่แสดง วัน เดือน ปี หมายเหตุ 1. งานสถาปนามหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช 5 กันยายน 2553 – ปัจจุบัน (จัด แสดงผลงานทุกปี) 2. เมืองนิวเดลี ประเทศอินเดีย 26 มิถุนายน 2553 3. เมืองกว่างโจว ประเทศจีน 19 กันยายน 2553 4. งานบุญปีใหม่ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช 5 มกราคม 2554 5. งานสงกรานต์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช 13 เมษายน 2554 6. งานกาลาดินเนอร์ ห้องชมวัง กรมอู่ทหารเรือ 6 พฤษภาคม 2554 7. งานเลี้ยงอธิการบดี มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช 7 กรกฎาคม 2554 8. สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล วิทยาเขตโชติเวช แกะสลักหน้าพระพักตร์ สมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรม สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี 2 กันยายน 2554 9. งานกาลาดินเนอร์ ต้อนรับท่านทูตฝรั่งเศส โรงแรมโฟร์ซีซันส์ราชประสงค์ 19 ตุลาคม 2554 10. เมืองเซี่ยงไฮ้ ประเทศจีน 27 พฤศจิกายน 2555 11. งาน “International Conference ” มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช 27-28 สิงหาคม 2555 12. เมืองเสียมเรียบ ประเทศกัมพูชา 3 กุมภาพันธ์ 2556 13. เมืองพนมเปญ กัมพูชา 9 กุมภาพันธ์ 2557 14. งานเลี้ยงปีใหม่ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช 11 มกราคม 2564


๙ ภาพผลงานสร้างสรรค์ 1. งานสถาปนามหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช 5 กันยายน 2553 – ปัจจุบัน 2. เมืองนิวเดลี ประเทศอินเดีย วันที่ 26 มิถุนายน 2553


๑๐ 3. เมืองกว่างโจว ประเทศจีน วันที่ 19 กันยายน 2553 ๔. แสดงผลงานงานต่างๆ ของมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช อาทิ งานท าบุญ งานจัดประชุมวิชาการ นานาชาติ งานประเพณีสงกรานต์ งานเลี้ยงต้อนรับแขก/บุคคลส าคัญๆ ของมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช


๑๑ 5. งานกาลาดินเนอร์ ห้องชมวัง กรมอู่ทหารเรือ อ าเภอสัตหีบ จังหวัดชลบุรี วันที่ 6 พฤษภาคม 2554


๑๒ 6. สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล วิทยาเขตโชติเวช แกะสลักหน้าพระพักตร์ สมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีวันที่ 2 กันยายน 2554


๑๓ ๗. งานกาลาดินเนอร์ ต้อนรับท่านทูตฝรั่งเศส ณ หอชมวัง กรมอู่ทหารเรือ วันที่ 19 ตุลาคม 2554


๑๔ ๘. เมืองเซี่ยงไฮ้ ประเทศจีน วันที่ 27 พฤศจิกายน 2555 ๙.มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช ประเทศไทย“International Conference” วันที่ 28 สิงหาคม ๒555


๑๕ ๑๐. เมืองเสียมเรียบ ประเทศกัมพูชา วันที่ 3 กุมภาพันธ์ 2556


๑๖ 1 ๑. เมืองพนมเปญ กัมพูชา วันที่ 9 กุมภาพันธ์ 2557


๑๗ การเผยแพร่ด้านวัฒนธรรม - ผลงานด้านการศึกษา - ๙. การถ่ายทอดผลงานให้ผู้อื่น (ถ่ายทอดให้ใคร/กี่คน/เมื่อไร/ผลเป็นอย่างไร) ครั้งที่ ๑ โรงเรียนราชวินิตประถม กรุงเทพมหานคร วันที่ 7 ธันวาคม 2553 ผู้เข้าอบรมนักเรียน จ านวน 40 คน ท า “น้องหมาส้มโอ”ถวายพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าโสมสวลี กรมหมื่นสุทธนารีนาถ โดยในการสอนนักเรียนครั้งนี้พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าโสมสวลี กรมหมื่นสุทธนารีนาถ พระองค์ให้ความสนใจและทรงติดลูกตาน้องหมาส้มโอด้วยพระองค์เอง นักเรียนมีความสนใจและเรียนรู้การท า”น้องหมาส้มโอ” ได้ ท าให้การสอน/ถ่ายทอดความรู้บรรลุวัตถุประสงค์ ที่ตั้งไว้ ท าให้ผู้เรียนได้เรียนรู้และซึมซับในสาขาคหกรรศิลป์ ผู้เรียนได้ประสบการณ์ตรง เกิดความคิดสร้างสรรค์ มีความรักในภูมิปัญญาไทย ครั้งที่ ๒ สถานทูตไทย วันที่ 27 พฤศจิกายน 2555 สอนชาวจีนผู้สนใจแกะขั้นพื้นฐานในโครงการ “สานสัมพันธ์ ไทย-จีน” ผู้เข้าอบรมจ านวน 50 คน ผลที่ได้รับ ผู้เข้าอบรมสมารถแกะสลักผักผลไม้และน าความรู้ไปต้อยอดในการประกอบอาชีพได้ ครั้งที่ ๓ สถานที่เกาะเพชร อารีน่า ประเทศกัมพูชา วันที่ 27 ธันวาคม 255๖ สอนชาวกัมพูชาผู้สนใจแกะขั้นพื้นฐานในโครงการ “แลกเปลี่ยนศิลปวัฒนธรรมไทย-กัมพูชา” ผู้เข้าอบรมจ านวน 80 คน ผลที่ได้รับผู้เข้าอบรมสามารถแกะสลักผักผลไม้ขั้นพื้นฐาน และแบบลายวิจิตรได้ ผู้เข้าอบรมสามารถเรียนรู้และแกะสลักผักผลไม้ขั้นพื้นฐานพื้นฐานจนสามารถแกะลายวิจิตรได้ ครั้งที่ ๔ วิทยากรงานฝึกอบรม ณ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช วันที่ 27 กรกฎาคม 2559 โครงการฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการอาหารไทยและการแกะสลักผักสดผลไม้ ผู้เข้าอบรม จ านวน 50 คน เข้าอบรมสามารถเรียนรู้และแกะสลักผักผลไม้เพื่อใช้เป็นส่วนประกอบของการท าอาหาร และน าไปเพื่อจัดอาหาร ให้สวยงาม และสามารถน าไปเป็นส่วนหนึ่งของการสร้างอาชีพได้


๑๘ ภาพการถ่ายทอดผลงานให้ผู้อื่น ครั้งที่ ๑ โรงเรียนราชวินิตประถม กรุงเทพมหานคร วันที่ 7 ธันวาคม 2553 ครั้งที่ ๒ สถานทูตไทย วันที่ 27 พฤศจิกายน 2555


๑๙ ครั้งที่ ๓ สถานที่เกาะเพชร อารีน่า ประเทศกัมพูชา วันที่ 27 ธันวาคม 255๖ ครั้งที่ ๔ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช วันที่ 27 กรกฎาคม ๒๕59


๒๐ ๑๐. เครื่องราชอิสริยาภรณ์ที่เคยได้รับ (ถ้ามี) ๑๐. เครื่องราชอิสยาภรณ์ที่เคยได้รับ (ถ้ามี) - ๑๑. รางวัลและเกียรติคุณที่ได้รับ (รางวัลและเกียรติคุณอะไรบ้าง/ปี พ.ศ. ที่ได้รับ และหน่วยงานที่มอบให้) - รางวัลรองชนะเลิศอันดับที่ 1 และรางวัล Popular Vote งาน Makro Horeca แม็คโคร โฮเรก้าอคาเดมี วันที่ 25 มีนาคม 2553


๒๑ - รางวัล Gold The Winner งาน Thai Fex Asia วันที่ 7 สิงหาคม 2554


๒๒


Click to View FlipBook Version