The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by donthong256, 2021-07-14 10:46:34

13DonthongWitayaThamanoon

13DonthongWitayaThamanoon

ธรรมนญู โรงเรยี น

โรงเรียนดอนทองวิทยา
พุทธศกั ราช ๒๕๖๔

ธรรมนญู โรงเรยี นดอนทองวทิ ยา
พทุ ธศักราช 2564

เอกสารวชิ าการ ลาดับท่ี 1/2564
ปีทพ่ี ิมพ์ พทุ ธศกั ราช 2564
จดั พมิ พ์โดย โรงเรียนดอนทองวทิ ยา

สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศกึ ษาพษิ ณโุ ลก อตุ รดิตถ์
สานกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขนั้ พนื้ ฐาน
กระทรวงศกึ ษาธกิ าร

ประกาศโรงเรยี นดอนทองวิทยา
เรือ่ ง การใช้ธรรมนญู โรงเรียนดอนทองวทิ ยา พุทธศักราช 2564

…………………………………….

ตามที่สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน มีนโยบายให้สถานศึกษาจัดทาธรรมนูญ
โรงเรียนเพ่ือรวบรวมระเบียบ ข้อกาหนด รวมทั้งแนวปฏิบัติของสถานศึกษาไว้ให้เป็นเคร่ืองมือในการสร้าง
ความเข้าใจกับบุคคลท่ีเก่ียวข้องสามารถปฏิบัติตนได้อย่างถูกต้องและเหมาะสมกับระเบียบปฏิบัติ
วัฒนธรรมประเพณีและขนบธรรมเนียมอันดีงามของสถานศึกษาแต่ละแห่งเป็นสาคัญ ในการนี้
โรงเรียนได้ดาเนนิ การจดั ทาธรรมนูญโรงเรยี น ให้เป็นไปตามเจตนารมณ์และนโยบายดงั กล่าวแลว้

โรงเรียนดอนทองวิทยา โดยความเห็นชอบของคณะกรรมการสถานศึกษาข้ันพ้ืนฐานโรงเรียน
ดอนทองวิทยา ตามมติการประชุมครั้งที่ 1/2564 เม่ือวันท่ี 10 มิถุนายน พุทธศักราช 2564
ใหโ้ รงเรียนประกาศใช้ธรรมนญู โรงเรียนดอนทองวิทยา พุทธศักราช 2564 ตัง้ แต่ ปีการศึกษา 2564
เปน็ ตน้ ไป

ประกาศ ณ วนั ท่ี 14 มถิ นุ ายน พทุ ธศักราช 2564

(นายสุวฒั น์ สัตย์ซอื่ )
ผอู้ านวยการโรงเรียนดอนทองวทิ ยา



คานา

โรงเรียนดอนทองวทิ ยา มคี วามประสงค์ทีจ่ ะรวบรวมประวัตกิ ารจัดตั้งโรงเรยี นดอนทองวิทยา
รวมท้ังความมุ่งหมาย หลักเกณฑ์ระเบียบและแนวทางในการบรหิ ารจัดการโรงเรียนให้สอดคล้องกับ
บริบทความเป็นมาของโรงเรียนและเหมาะสมกับการเป็นโรงเรียนท่ีมุ่งม่ันพัฒนานักเรียนให้เป็นคนดี
มีคุณธรรมจริยธรรม มีวินัย มีความรคู้ วามสามารถ มีความรักสามัคคีในหมู่คณะ รู้จักการเสียสละ
ประโยชน์ส่วนตนเพื่อส่วนรวม มีความกตัญญูกตเวที จงรักภักดีต่อชาติศาสนาพระมหากษัตริย์
เป็นพลเมืองท่ีดีของสังคมท้ังในปัจจุบันและอนาคตพร้อมช่วยกันพัฒนาชาติบ้านเมืองให้เจริญรุ่งเรือง
มน่ั คงต่อไป จงึ จัดทา “ธรรมนูญโรงเรียนดอนทองวทิ ยา” ฉบับน้ีขนึ้ เพื่อให้โรงเรียนใช้เป็นคมู่ ือและ
แนวทางการบริหารจัดการภารกิจของโรงเรียนให้บรรลุตามวัตถุประสงค์ เพ่ือให้โรงเรียนให้มีความเจริญ
มั่นคงสบื ไป

อนึ่งธรรมนูญโรงเรียนน้ีได้จัดทาข้ึนเป็นครั้งแรกซึ่งอาจมีการแก้ไขเพิ่มเติมได้ในอนาคต
เพอื่ ให้เกิดความสอดคลอ้ งกบั บรบิ ทของสงั คม ประเทศชาติ และประโยชน์ของโรงเรียนเปน็ สาคญั

โรงเรียนขอขอบคุณทุกท่านท่ีมีส่วนเกี่ยวข้องในการร่างธรรมนูญโรงเรียนนี้ให้สาเร็จตาม
ความมุ่งหมาย เพ่อื นาไปใช้ให้เกิดประโยชน์และความเจริญรุ่งเรอื งม่ันคงสถาพรของโรงเรียนดอนทอง
วิทยา ตลอดไป

โรงเรียนดอนทองวิทยา



สารบัญ

เรอื่ ง หน้า
คานา ......................................................................................................................... ................ ก
สารบัญ ........................................................................................................................ .................. ข
ข้อมูลทั่วไปโรงเรยี นดอนทองวิทยา ......................................................................................... 1
หมวดท่ี 1 บททว่ั ไป ............................................................................................................... 11
หมวดที่ 2 นโยบายโรงเรยี น ................................................................................................... 11
หมวดท่ี 3 รูปแบบการจดั การศึกษา ...................................................................................... 12
หมวดที่ 4 ครู และบคุ ลากรทางการศกึ ษา ............................................................................. 13
หมวดที่ 5 นักเรยี น ................................................................................................................. 16
หมวดท่ี 6 คณะกรรมการสถานศึกษาข้นั พื้นฐาน ................................................................... 23
หมวดท่ี 7 วฒั นธรรมโรงเรยี นดอนทองวิทยา ........................................................................ 24
หมวดที่ 8 การประกาศใชธ้ รรมนูญโรงเรยี น .......................................................................... 25

1

ขอ้ มูลทั่วไปโรงเรียนดอนทองวทิ ยา

สภาพทัว่ ไปของโรงเรยี นดอนทองวิทยา
โรงเรียนดอนทองวิทยา สังกัดสานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษามัธยมศึกษาพิษณุโลก อุตรดิตถ์

สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน กระทรวงศึกษาธิการ เปิดสอนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 1
ถงึ ระดับช้นั มัธยมศกึ ษาปีที่ 6

ประวัติโดยยอ่ ของโรงเรียนดอนทองวิทยา
โรงเรียนดอนทองวิทยา เริ่มก่อตั้งเม่ือปีการศึกษา 2528 เดิมเป็นสาขาของโรงเรียน

วัดโบสถ์ศึกษา โดยนายถวิล ศรีวิชัย ผู้ช่วยผู้อานวยการโรงเรียนวัดโบสถ์ศึกษา รักษาราชการ
ในตาแหนง่ ผู้บริหารโรงเรียน ต่อมาในปกี ารศกึ ษา 2529 คณะกรรมการตาบลดอนทอง ผู้ปกครอง
นักเรียนและประชาชนร่วมกันบริจาคทุนทรัพย์ จัดซ้ือท่ีดินเพื่อจัดตั้งโรงเรียน จานวน 40 ไร่
44 ตารางวา ซึ่งเป็นท่ีต้ังของโรงเรียนในปัจจุบัน กระทรวงศึกษาธิการ ได้ประกาศจัดตั้งเป็น
โรงเรยี นดอนทองวทิ ยา เมอื่ วันท่ี 26 พฤษภาคม พทุ ธศักราช 2530

ทต่ี งั้ ของโรงเรียนดอนทองวิทยา
โรงเรียนดอนทองวิทยา ตั้งอยู่เลขท่ี 256 หมู่ที่ 1 ถนนพิษณุโลก - เด่นชัย ตาบลดอนทอง

อาเภอเมอื งพิษณโุ ลก จังหวดั พิษณุโลก รหสั ไปรษณีย์ 65000

สัญลักษณ์ของโรงเรียนดอนทองวทิ ยา

รูปเทพพนม หมายถึง ความเป็นคนดี ความนอบน้อมถ่อมตน ความมวี ินัย
ลายไทย หมายถึง การยึดม่ันในวัฒนธรรม ประเพณี การอนรุ ักษ์ความเปน็ ไทย
รศั มี หมายถึง การเปน็ ผู้มีสตปิ ัญญาและความร้กู ว้างไกล

สีประจาโรงเรยี นดอนทองวทิ ยา
สฟี ้านา้ เงนิ
สฟี า้ (สแี หง่ ความสดใส) หมายถึง ความสดใสแห่งดวงใจอันบริสทุ ธิ์และความสว่าง

แห่งปญั ญา
สีน้าเงิน (แทนองคพ์ ระมหากษตั รยิ ์ในธงไตรรงค์) หมายถงึ การยดึ มัน่ ในศูนย์รวมดวงใจ

เดยี วกนั ก่อเกิดความสามคั คีกลมเกลียวเปน็ นา้ หนึง่ ใจเดียว

2

ปรัชญาของโรงเรยี นดอนทองวทิ ยา
“นยฺ นยติ เมธาวี” หมายถงึ คนมีปัญญายอ่ มแนะนาสงิ่ ที่ควรแนะนา

คาขวัญของโรงเรยี นดอนทองวทิ ยา
“ความรู้ดี มีคณุ ธรรม นาชมุ ชน”

ตน้ ไม้ประจาโรงเรยี นดอนทองวิทยา
“ตน้ พกิ ลุ ”

อัตลกั ษณ์ของนกั เรียนโรงเรยี นดอนทองวทิ ยา
“ย้มิ ไหว้ ทักทาย”

เอกลกั ษณ์ของโรงเรียนดอนทองวทิ ยา
“ผนู้ าด้านกีฬารักบฟ้ี ตุ บอล”

วสิ ยั ทัศน์
มุ่งพัฒนาผู้เรียนเป็นคนดี มีคุณภาพเทียบเคียงมาตรฐานสากล สถานศึกษามีความปลอดภัย

ดารงตนโดยยึดหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง

3

ข้อมูลพื้นฐานของโรงเรียนดอนทองวิทยา (ข้อมลู ปกี ารศึกษา 2564)

ท่ี อาคาร แบบ จานวน ปีทส่ี รา้ ง งบประมาณ หมายเหตุ
(หลัง) พทุ ธศักราช (บาท)

สปช.

1 อาคารเรยี นกึ่งถาวร 102/26 1 2542 1,200,000 -
ขนาด 5

หอ้ งเรยี น

2 อาคารเรยี น สปช. 1 มูลนธิ บิ ิ๊กซี
BIG C 5 102/26 2547 1,200,000 มอบให้
ขนาด 5
หอ้ งเรียน โรงเรียนฯ

3 อาคารเรียน 108ล./30 1 2531 - รอ้ื ถอนแล้ว

4 อาคารเรยี นปัทมา 108ล./30 1 2532 2,450,000 -

5 อาคารเรยี นบวั หลวง 108ล./30 1 2559 7,529,000 -

6 อาคารเรียนบงกช 104ล./30 1 2558 4,368,422.34 -

7 อาคารโรงฝึกงาน 102/27 1 2530 824,000 -
(ตอกเข็ม)

8 หอประชุม (กศ.) 1 2533 1,645,000 -
สัตตบงกช 100/32

9 บ้านพกั ครู 203/27 1 2531 210,000 -

10 บ้านพกั ครู 205/26 1 2530 312,000 -
(5 ห้องนอน)

11 บา้ นพกั ภารโรง บ้านพกั 1 2536 - -
ภารโรง 32

12 ส้วม สปช. 1 2550 - -
604/45

13 ส้วม 6 ทนี่ งั่ /27 1 2532 100,000 -

14 ส้วม 6 ทนี่ ่งั /27 1 2530 90,000 -

4

ทาเนยี บผ้บู ริหารโรงเรยี นดอนทองวทิ ยา

ลาดับท่ี ช่ือ - สกลุ ปีท่ดี ารงตาแหนง่
1 นายถวิล ศรีวิชยั พทุ ธศักราช 2528 - พทุ ธศักราช 2535
2 นายโกเมน สุดหอม พุทธศกั ราช 2536 - พทุ ธศักราช 2541
3 นายสิทธกิ ุล นึกงาม พทุ ธศกั ราช 2542 - พุทธศักราช 2543
4 นายโกเมน สุดหอม พทุ ธศกั ราช 2543 - พทุ ธศักราช 2545
5 นายนพดล ทองสุก พทุ ธศักราช 2546 - พทุ ธศักราช 2556
6 ดร.อุไร ปญั ญาสิทธ์ิ พุทธศกั ราช 2557 - พุทธศกั ราช 2561
7 ดร.สุวฒั น์ สัตย์ซอ่ื พุทธศักราช 2562 - ปจั จบุ นั

โครงสร้างการบรหิ ารงานโรงเรยี นดอนทองวิทยา

คณะกรรมการสถานศึกษา ผูอ้ านวยการโรงเรียน สมาคมผ้ปู กครอง ศษิ ย์เกา่
ข้ันพ้ืนฐาน และครูโรงเรียนดอนทองวิทยา

รองผู้อานวยการโรงเรยี น

กลมุ่ บริหารวชิ าการ กลุ่มบริหารงบประมาณ กลมุ่ บริหารบคุ คล กล่มุ บริหารทวั่ ไป

กลมุ่ งานวชิ าการ กลุ่มงานแผนงาน กล่มุ งานครู สานกั งาน
และหลักสูตร และสารสนเทศ และบุคลากร ผูอ้ านวยการ

กลุ่มงานทะเบยี น กลุ่มงานการเงนิ กลมุ่ งานกจิ การ กล่มุ งานอานวยการ
และวดั ผล และพสั ดุ นักเรยี น
กลมุ่ งานอาคาร
สถานที่

5

เกยี รตปิ ระวตั โิ รงเรยี นดอนทองวิทยา
ปีการศกึ ษา 2558
1. โล่รางวัลระบบการดูแลชว่ ยเหลือนักเรียน “ระดับทอง” จากสานักงานคณะกรรมการ

การศกึ ษาขั้นพน้ื ฐาน
2. โลเ่ กียรตคิ ณุ “โรงเรยี นปลอดบหุ ร่ตี ้นแบบ” จากจังหวดั พษิ ณโุ ลก
3. รางวลั รองชนะเลศิ อนั ดบั 1 การแข่งขนั กีฬารักบฟี้ ุตบอลประเภท 7 คนชาย

ในการแข่งขนั กฬี าแหง่ ชาติ ครัง้ ท่ี 44 “นครสวรรค์เกมส์” จากการกีฬาแหง่ ประเทศไทย
4. รางวัลรองชนะเลิศอันดับ 2 การแข่งขนั กีฬารักบ้ีฟุตบอลประเภท 7 คนหญงิ

ชงิ ชนะเลิศแหง่ ประเทศไทย ประเภทเยาวชนหญงิ อายุไมเ่ กิน 17 ปี จากสมาคมรักบ้ีฟตุ บอล
แห่งประเทศไทย

ปกี ารศึกษา 2559
1. “รางวลั ดเี ยย่ี ม” ผลงานวธิ ีปฏบิ ัติที่เป็นเลิศ (Best Practice) ตามโครงการโรงเรยี น
ปลอดขยะ (Zero Waste School) จากสานกั งานเขตพ้นื ท่ีการศกึ ษามัธยมศกึ ษาพิษณุโลก อตุ รดิตถ์
2. สถานศึกษาพอเพยี งต้นแบบ ตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง “ดา้ นการศึกษา”
ระดบั เขตพนื้ ที่การศึกษา จากสานักงานเขตพ้นื ท่กี ารศกึ ษามธั ยมศกึ ษาพิษณโุ ลก อุตรดิตถ์
ปกี ารศึกษา 2560
1. “รางวลั รองชนะเลิศอันดับท่ี 2” โรงเรียนรักษาศีล 5 จากสานักพทุ ธศาสนา
2. รางวลั โรงเรียนปลอดขยะ (Zero Waste School) “ระดบั ดเี ดน่ ” จากสานกั งาน
เขตพืน้ ท่กี ารศึกษามธั ยมศึกษาพิษณุโลก อตุ รดิตถ์
ปกี ารศกึ ษา 2561
1. รางวัลเสมา ป.ป.ส. ประเภทผลงานดเี ด่น ระดบั เงิน โครงการสถานศึกษาสขี าว
ปลอดยาเสพติดและอบายมุข จากกระทรวงศกึ ษาธิการ
2. รางวัลโรงเรียนดนตรีไทย 100 เปอรเ์ ซ็นต์ ประจาปีพทุ ธศักราช 2562
จากสานักนายกรัฐมนตรีและกระทรวงวัฒนธรรม
ปีการศกึ ษา 2562
1. รางวลั เหรยี ญเงนิ เร่ืองการพัฒนาเอกลักษณข์ องโรงเรียน “ผ้นู าดา้ นกีฬารักบ้ีฟุตบอล”
L AND D FOR RUKBY FOOTBALL MODEL (LEADER AND DEVELOPMENT FOR RUKBY
FOOTBALL MODELL SCHOOL) ในการคัดสรรผลงานหน่ึงโรงเรยี น หนง่ึ นวตั กรรม ประจาปี
2562 “ระดับภูมิภาค” จากสานกั งานเลขาธกิ ารครุ สุ ภา
2. รางวลั คณุ ภาพยอดเย่ยี ม ผลการดาเนนิ โครงการห้องเรียนน่าอยู่ การเรียนรกู้ ้าวไกล
จากสานักงานเขตพนื้ ทีก่ ารศกึ ษามธั ยมศึกษาพษิ ณุโลก อุตรดิตถ์
3. รางวัลโรงเรยี นต้นแบบท่ีใช้ระบบการดแู ลช่วยเหลือนกั เรียน ด้วย APPLICATION
HERO จากศนู ย์สขุ ภาพจติ ที่ 2
4. รางวลั โรงเรียนสรา้ งพลเมืองร้เู ทา่ ทนั สอื่ สารสนเทศ และดิจิทัล จากกองทุนพัฒนา
สอ่ื ปลอดภัยและสร้างสรรคแ์ ละสานกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขัน้ พ้นื ฐาน

6

5. รางวัลรองชนะเลิศอนั ดับ 1 การแขง่ ขันกีฬารักบ้ฟี ตุ บอล 7 คน ชิงชนะเลศิ
แห่งประเทศไทย (U16) และได้รับรางวลั นกั กีฬา SPORTMANSHIP AWARD จากสมาคมกีฬา
รกั บ้ฟี ตุ บอลแหง่ ประเทศไทย การกีฬาแหง่ ประเทศไทย

ปกี ารศึกษา 2563
1. รางวลั โรงเรยี นดีไมม่ ีอบายมขุ จากสานกั งานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐาน
2. รางวัลสถานศึกษาปลอดภยั “ดเี ดน่ ” ปที ี่ 1 จากกรมสวสั ดิการและคุ้มครองแรงงาน
3. รางวลั ผลงานด้านนวัตกรรมโครงการ 1 โรงเรียน 1 นวตั กรรม ของโครงการโรงเรยี น
คณุ ภาพประจาตาบล จากสานักงานเขตพ้นื ท่ีการศึกษามธั ยมศกึ ษาพิษณุโลก อตุ รดิตถ์
4. รางวลั รองชนะเลิศอนั ดับ 1 ประเภทสถานศึกษาขนาดเลก็ การประกวดผลงานการปฏบิ ตั ิ
ทีเ่ ป็นเลิศ (BEST PRACTICE) ตามโครงการสรา้ งจติ สานึกและความรใู้ นการผลิตและบริโภคสอ่ื
ที่เป็นมติ รกบั สิ่งแวดลอ้ ม จากสานักงานเขตพืน้ ที่การศกึ ษามธั ยมศึกษาพิษณุโลก อุตรดติ ถ์
5. รางวัลสถานศึกษายอดเยย่ี ม กิจกรรมห้องเรียนน่าอยู่ การเรยี นรู้ก้าวไกล วถิ ีใหม่ NEW
NORMAL จากสานักงานเขตพ้นื ท่กี ารศึกษามธั ยมศึกษาพิษณโุ ลก อตุ รดิตถ์
6. รางวลั “เด็กและเยาวชนดเี ดน่ ” จากสานักงานเขตพ้นื ท่กี ารศึกษามัธยมศึกษาพิษณุโลก
อตุ รดติ ถ์

7
แผนผงั โรงเรยี นดอนทองวิทยา แสดงที่ตั้งอาคารเรียนและอาคารประกอบ

8

บรบิ ทของโรงเรียนดอนทองวิทยา
1. จุดแขง็ (Strengths)
1.1 ครูมีความรู้ ความสามารถในการจัดการเรียนการสอน สามารถใช้สื่อ วัสดุอุปกรณ์

และเทคโนโลยไี ด้เป็นอยา่ งดี
1.2 โครงสร้างนโยบายการบริหารจัดการและงบประมาณสนับสนนุ ท่มี คี วามเหมาะสม

การมสี ว่ นร่วมของทกุ ภาคสว่ นในการพัฒนาคุณภาพการศึกษา
1.3 โรงเรียนมีขนาดเล็กแต่มีความพร้อมทางด้านสถานท่ี มีห้องเรียนที่เน้นความปลอดภัย

มีส่ือและอุปกรณต์ ่าง ๆ ที่พร้อมในการจัดการเรยี นการสอน

2. จุดออ่ น (Weaknesses)
2.1 โรงเรยี นยังมปี ัญหาด้านอตั รากาลังและจานวนครทู ่เี หมาะสมกับวชิ าเอก ซ่ึงถือว่า

เปน็ จดุ ออ่ นทโ่ี รงเรียนจะต้องวางแผนแกไ้ ขปัญหาดงั กล่าว จนกว่าจะได้รบั การจัดสรรอัตราตาม
ความเหมาะสม

2.2 นกั เรียนยังตอ้ งไดร้ ับการพัฒนา ปลูกฝงั ในเร่ืองความมรี ะเบียบวินยั และการปฏิบตั ิ
ตามกฎของโรงเรยี นให้มากยิง่ ข้ึน

3. โอกาส (Opportunities)
3.1 โรงเรียนดอนทองวิทยามีตาแหน่งท่ีตั้งอยู่ใกล้กับเส้นทางการคมนาคมขนส่งท่ีสะดวก

มสี ถานประกอบการท่เี ปน็ แหลง่ เรยี นรูท้ ห่ี ลากหลาย มเี ทคโนโลยดี ้านการสอื่ สารสะดวกและทวั่ ถงึ
3.2 รฐั บาลมนี โยบายสนับสนุนการศกึ ษาเรียนฟรี 15 ปี อย่างมคี ณุ ภาพ
3.3 มกี องทุนกยู้ ืมเพ่ือการศกึ ษา ส่งเสริมใหผ้ ้เู รยี นมีโอกาสศึกษาต่อในระดับอุดมศึกษา
3.4 โรงเรียนเปิดโอกาสให้ผู้ปกครอง ชุมชน หน่วยงานภาครฐั และเอกชนมีสว่ นร่วมใน

การจัดการศึกษา

4. อุปสรรค (Threats)
4.1 ประชากรส่วนใหญ่ประกอบอาชีพทางการเกษตรและรับจ้างท่ัวไป มีรายได้น้อย

ส่วนใหญ่ผู้ปกตรองไปประกอบอาชีพต่างจังหวัด ส่งผลให้นักเรียนไม่ค่อยมีเวลาเต็มท่ีกับการเรียน
เพราะต้องช่วยผ้ปู กครองรับผิดชอบทง้ั ภาระทางบ้านและการเป็นอีกแรงในการหารายไดเ้ ข้าครอบครัว

4.2 นโยบายจากหน่วยงานตน้ สงั กัดมงุ่ พฒั นาหลายประเดน็ เกนิ ไป นโยบายหรอื
การปรบั เปลย่ี นบางอย่างไม่ก่อให้เกดิ ประโยชน์ตอ่ การพฒั นาคณุ ภาพการศึกษา

4.3 นกั เรยี นยังต้องไดร้ ับกการพฒั นากระบวนการคิดในรปู แบบต่าง ๆ เช่น การคดิ ริเริ่ม
สร้างสรรค์ (Creative) การคิดอย่างมวี ิจารณญาณ (Critical thinking) เป็นต้น โดยครูต้องออกแบบ
ช่วั โมงจดั กจิ กรรมท่ีฝกึ ทกั ษะดงั กล่าวใหม้ ากยง่ิ ขนึ้

9

รูปแบบการพฒั นาคณุ ภาพการศกึ ษาของโรงเรียนดอนทองวิทยา

DONTHONG Model

D Decentralization = ยดึ หลักการกระจายอานาจ

O Organization = มียุทธศาสตรบ์ ริหารองค์กร

N Network = ส่งเสรมิ เครือข่ายการสอน

T Team work = บุคลากรทางานเป็นทีม

H High morale = เสริมสรา้ งขวัญกาลงั ใจ

O Outstanding Sport = การกีฬาโดดเด่น

N New normal = เน้นวถิ ีคุณภาพวถิ ใี หม่

G Good governance = องค์กรโปร่งใสเป็นธรรม

10

เพลงมาร์ชโรงเรยี นดอนทองวิทยา

* ดอนทองวทิ ยาสามคั คี ธงสองสีฟา้ น้าเงินเปน็ เครื่องหมาย
กระพอื พัดโบกสะบัดขจรกระจาย เราทั้งหลายรวมพลงั สร้างผลงาน
ยามเรยี นเราเรยี นเพยี รศกึ ษา ปรชั ญาเราโดดเดน่ เนน้ ประสาน
ยามงานเราขยันร่วมกจิ การ โดยพนื้ ฐานคุณธรรมนาชวี ี

พทุ ธิอีกพละจริยา หตั ถศึกษาดอนทองสรา้ งศักด์ิศรี
มีสง่ิ หน่งึ รกั จรงิ ย่ิงชวี ี ดวงใจนคี้ ือธงสถาบนั
สีฟ้าคือปญั ญาใสสว่าง น้าเงินสรา้ งจิตใจให้ยึดม่ัน
เราล้วนเป็นนอ้ งพี่ทผี่ กู พนั ธ์ รว่ มสรา้ งสรรค์นามดอนทองก้องลือไกล

(* ซ้า)

รว่ มสรา้ งสรรค์นามดอนทองก้องลอื ไกล

***************************************

11

หมวดท่ี 1
บททั่วไป

มาตรา 1 นิยามศพั ท์
1. “โรงเรียน” หมายถงึ โรงเรยี นดอนทองวทิ ยา สงั กัดสานกั งานเขตพืน้ ทีก่ ารศึกษา

มธั ยมศึกษาพิษณุโลก อุตรดิตถ์ สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน กระทรวงศกึ ษาธกิ าร
๒. “ครู” หมายถึง ครูและบุคลากรทางการศึกษาท่ีปฏิบตั ิการสอนของโรงเรียนดอนทองวิทยา
3. “ครูประจาชน้ั ” หมายถึงครทู ี่ได้รบั การแต่งต้ังตามคาส่งั โรงเรียน ให้ปฏบิ ัติหนา้ ทเ่ี ปน็ ครู

ประจาช้ัน
4. “ครทู ป่ี รกึ ษา” หมายถงึ ครูทป่ี รกึ ษาตามระบบการดูแลช่วยเหลอื นักเรยี น
5. “ครปู ระจาวชิ า” หมายถึงครทู ่ีปฏบิ ัติหนา้ ท่ีการสอนอยใู่ นโรงเรียนดอนทองวทิ ยา
6. “นกั เรียน” หมายถงึ นักเรยี นปจั จุบนั ของโรงเรยี นดอนทองวทิ ยา
7. “คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน” หมายถงึ คณะกรรมการสถานศึกษา

ข้ันพนื้ ฐานของโรงเรยี นดอนทองวิทยา
8. “ธรรมนญู โรงเรยี น” หมายถึง เอกสารหลักฐานเป็นข้อกาหนดทกี่ าหนดข้ึนของโรงเรียน

ดอนทองวิทยา โดยความเห็นชอบคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐานโรงเรียนดอนทองวิทยา โดยมี
บุคคลที่เป็นผแู้ ทนของทกุ ส่วนที่เกีย่ วขอ้ งเป็นคณะกรรมการดาเนนิ การจัดทา ไดแ้ ก่ ผบู้ ริหารโรงเรยี น
ครู คณะกรรมการสถานศึกษา เครือข่ายผู้ปกครอง ศิษย์เก่า นกั เรยี น และผู้ทรงคุณวุฒทิ างกฎหมาย
เพือ่ ให้โรงเรยี นนาไปใช้เป็นกรอบในการบริหารภารกิจให้เกิดประสิทธิภาพ และมีประสิทธิผลเปน็ ไปตาม
จดุ ประสงคข์ องโรงเรยี น

9. ธรรมนญู โรงเรียนให้มีผลต้งั แต่วันท่ีโรงเรียนประกาศใช้เปน็ ตน้ ไป

มาตรา ๒ ธรรมนูญโรงเรียนดอนทองวิทยา พุทธศักราช ๒๕๖๔ มีเจตนาเพ่ือรวบรวมระเบียบ
ขอ้ บังคับ นโยบาย หรือแนวปฏิบัติที่เป็นวัฒนธรรมขององค์กร หากมีมาตราใดหรือขอ้ ความใดขัดกับ
ขอ้ กฎหมายทที่ างราชการกาหนด ให้ถอื ปฏิบตั ติ ามขอ้ กฎหมายน้นั ๆ เป็นสาคญั

หมวดท่ี 2
นโยบายโรงเรยี น

มาตรา ๓ วตั ถุประสงค์ของโรงเรียน
1. เพอ่ื พัฒนาคุณภาพผูเ้ รียนให้เป็นเลศิ ทางวชิ าการ คู่คุณธรรม และความเปน็ พลโลก

ตามมาตรฐานระดับสากล
2. เพือ่ สง่ เสรมิ สนบั สนุน ระบบการเรียนรู้ด้วยนวัตกรรมท่ีหลากหลาย และพฒั นาครู

ใหม้ คี วามสามารถจัดการเรียนรตู้ ามหลกั สูตรมาตรฐานสากล
3. เพือ่ พฒั นาการบรหิ ารจัดการดว้ ยระบบคุณภาพตามหลักธรรมาภบิ าล สรา้ งภาคีเครือข่าย

และพัฒนาแหล่งเรียนรู้ รว่ มมือกับสถาบนั และองคก์ รอ่ืน ๆ สง่ เสรมิ พฒั นาคุณภาพการจดั การศกึ ษา

12

มาตรา ๔ โรงเรียนกาหนดเป้าหมายให้นักเรียนได้รับการพัฒนาศักยภาพทางด้านความรู้ ความสามารถ
อยา่ งสูงสดุ ตามมาตรฐานของโรงเรยี น ดงั ตอ่ ไปน้ี

1. โรงเรยี นมาตรฐานสากล
2. โรงเรยี นคณุ ธรรม
3. สถานศึกษาพอเพยี ง
4. สถานศกึ ษาปลอดภยั
5. โครงการสถานศึกษาสีขาว ปลอดยาเสพตดิ และอบายมุข

มาตรา ๕ โรงเรียนกาหนดแนวทางเพ่ือยกระดบั คุณภาพการศึกษา ท้ังด้านผเู้ รียน ดา้ นกระบวน
การบริหารและการจดั การและด้านกระบวนการจดั การเรยี นการสอนทีเ่ นน้ ผู้เรยี นเปน็ สาคญั
เพื่อความเปน็ เลศิ และมาตรฐานสากลโดยมกี ลยุทธ์ ดังน้ี

1. พฒั นาคุณภาพผเู้ รียนโดยเน้นกระบวนการเรยี นรู้สู่มาตรฐานการศกึ ษาระดับสากล
2. ส่งเสริมให้ผู้เรียนมีคุณธรรม จริยธรรมมีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ตามหลักสูตรและ
ค่านิยมหลกั ของคนไทย 12 ประการ
3. ส่งเสริมและพัฒนาการใช้ส่ือ นวัตกรรม เทคโนโลยี ตลอดจนเทคนิคการสอนที่หลากหลาย
ในการจัดการเรยี นรู้
4. สง่ เสรมิ ประสทิ ธภิ าพระบบบริหารจัดการ
5. วางแผนและจัดสภาพแวดล้อมทางกายภาพและสังคม ท่ีเอื้อต่อการจัดการเรียนรู้และปลอดภัย
ตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง

หมวดท่ี 3
รปู แบบการจัดการศึกษา

มาตรา 6 โรงเรียนมีรูปแบบการจัดการศึกษาเพ่ือมุ่งพัฒนานักเรียนให้มีความรู้ ความสามารถ
ท้ังทางด้านวิชาการ ทักษะอาชีพ กีฬา ดนตรี ศิลปะ มีคุณธรรมจริยธรรม มีความรักสามัคคี
และเสียสละ รกั หมูค่ ณะ มคี ุณลักษณะตามความมงุ่ หมายทโี่ รงเรียนกาหนด

มาตรา 7 โรงเรียนจัดการจัดการศึกษาสาหรับนักเรียนต้ังแต่ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 1 ถึง
มัธยมศึกษาปีที่ 6 การจัดแผนการเรียนในแต่ละระดับชั้น เป็นไปตามหลักสูตรสถานศึกษา
จานวนนักเรียนต่อหอ้ งเปน็ ไปตามกฎกระทรวงศึกษาธกิ าร

มาตรา 8 หลกั สูตรสถานศึกษา
โรงเรียนจัดการบริหารหลักสูตรและการเรียนการสอนอย่างมีประสิทธิภาพ เพื่อให้นักเรียน

มีความรู้ ความสามารถในทุกแขนงวิชา เป็นไปตามวัตถุประสงค์การจัดการศึกษาของโรงเรียน
เพื่อให้นักเรียนได้รับการพัฒนาศักยภาพท้ังทางด้านความรู้ ความสามารถ และทักษะทางสังคม
เตม็ ตามศกั ยภาพ โดยหลักสตู รสถานศึกษา มีองค์ประกอบดังนี้

13

1. หลกั สูตรกลุ่มสาระการเรียนรู้ ตามหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาขัน้ พ้นื ฐาน
2. หลักสูตรรายวิชาเพิ่มเตมิ (ทอ้ งถน่ิ ) ให้เป็นไปตามเป้าหมายของโรงเรยี นกาหนด
3. กิจกรรมพัฒนาผเู้ รียน ประกอบดว้ ย

3.1 กจิ กรรมลูกเสอื /กจิ กรรมนกั ศึกษาวชิ าทหาร
3.2 กิจกรรมชมุ นุม
3.3 กจิ กรรมเพ่ือสังคมและสาธารณประโยชน์
3.4 กิจกรรมแนะแนว

มาตรา 9 โรงเรียนต้องให้การสนับสนุนการจัดการศึกษา เพ่ือรองรับการเปลี่ยนแปลงในอนาคต
โดยการพัฒนาและนาระบบเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์และการสื่อสารมาเป็นเคร่ืองมือในการพัฒนา
ระบบบรหิ ารจัดการ และระบบการจัดการเรียนรขู้ องผเู้ รียนให้ทนั ยคุ สมัยและมปี ระสิทธิภาพสูงสุด

มาตรา 10 โรงเรียนต้องมีการจัดทารายงานประจาปีของสถานศึกษา เพ่ือพิจารณาและเปิดเผยรายงาน
ต่อสาธารณชน พร้อมทั้งนามาปรบั ปรุง พัฒนา คณุ ภาพของโรงเรยี นอย่างต่อเน่ือง

มาตรา 11 โรงเรียนต้องมีระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน เพื่อเป็นเคร่ืองมือในการกากับ ติดตาม
และช่วยเหลือนักเรยี นอยา่ งมปี ระสิทธิภาพ

มาตรา 12 โรงเรียนต้องมีระบบรักษาความปลอดภัยสาหรับนักเรียน ครู และบุคลากรทางการศึกษา
และจัดส่งิ แวดล้อมที่เออื้ ต่อการจดั การเรียนการสอน

หมวดที่ 4
ครูและบคุ ลากรทางการศึกษา

มาตรา 13 คุณสมบัติของผูบ้ รหิ ารโรงเรียนดอนทองวิทยา
1. มีความจงรักภักดตี ่อสถาบนั ชาติ ศาสนา และพระมหากษัตริย์
2. มีความรอบรู้ มีความแม่นยาในกฎ ระเบียบ ของทางราชการ
3. มคี วามสามารถในการตดั สนิ ใจไดอ้ ย่างถกู ตอ้ ง รวดเร็ว และกล้าตัดสินใจปฏิบัตติ าม

นโยบายของกระทรวงศกึ ษาธิการ
4. มคี วามเป็นประชาธปิ ไตย ประพฤติตนเปน็ แบบอยา่ งที่ดแี ก่ผใู้ ตบ้ งั คบั บัญชา

มีบุคลกิ ภาพและมนุษยธรรมทีด่ ีตอ่ ผู้ร่วมงาน และมคี วามจริงใจต่อผู้รว่ มงาน
5. มคี วามสุจรติ โปร่งใส และเท่ยี งธรรม รักษาผลประโยชนข์ องส่วนรวม มคี วามเสยี สละ
6. มีความรู้ ความเขา้ ใจ ในการบริหารจัดการสถานศึกษา สามารถปรบั ใช้ศาสตร์และศิลป์

ในการบริหารจดั การ วางแผนพฒั นาโรงเรียน สรา้ งองคก์ รแหง่ การเรียนรู้

14

มาตรา 14 ผู้อานวยการโรงเรยี นมีบทบาทหน้าท่ี ดังต่อไปนี้
1. วางแผนการจัดการศึกษาและปฏบิ ัติงานของโรงเรยี นให้เปน็ ไปตามกฎหมาย กฎระเบียบ

ข้อบังคบั ของทางราชการ
2. กาหนดวิธดี าเนินงานและตดิ ตามผลงานด้านวชิ าการ งบประมาณ บคุ ลากร กจิ การนกั เรียน

และบรหิ ารทว่ั ไป
3. จัดทาและพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา ควบคุมการเรียนการสอน การวัดผลการศึกษา

ใหเ้ ป็นไปตามหลักสูตร
4. ปฏบิ ัติหน้าท่รี ับผิดชอบดาเนนิ งานเก่ียวกบั งานท่ีได้รบั มอบหมายต่าง ๆ ท่ีกาหนด

เปน็ อานาจหนา้ ที่ทีต่ อ้ งปฏิบัติ
5. ควบคมุ ดูแล ปกครอง จดั ระบบงานโรงเรียน จดั ทามาตรฐานการปฏบิ ัตงิ าน ขอบข่าย

ภาระงาน มอบหมายงานให้เหมาะสมกับความสามารถของบุคลากร
6. ตดิ ตามใหค้ าปรกึ ษา แก้ปัญหา นเิ ทศครูและบุคลากรทางการศึกษา นักเรยี นใหส้ ามารถ

ปฏบิ ตั ิตามหนา้ ทไี่ ดอ้ ย่างถูกต้องครบถ้วน
7. ดูแลสวัสดิภาพความเป็นอยู่ของครูและบุคลากรทางการศึกษา นักเรียน และส่งเสริม

สนบั สนนุ ให้มกี ารพัฒนาตนเองอยา่ งต่อเนือ่ ง
8. สง่ เสรมิ และสร้างความสมั พนั ธ์ระหวา่ งผู้ปกครองและชุมชน
9. เข้ารว่ มประชุมคณะกรรมการต่าง ๆ ตามท่ีไดร้ ับการแต่งตงั้
10. จัดให้มีการวิเคราะห์ วิจัย ประเมินผลและรวบรวมข้อมูล จัดทารายงานประจาปีของ

สถานศึกษา จัดทาสถิติต่าง ๆ เป็นสารสนเทศที่สาคัญ โดยใช้เทคนิคและวิธีการใหม่ ๆ มาใช้
เพื่อปรบั ปรุงการเรยี นการสอนและพฒั นาโรงเรียนให้ไดม้ าตรฐานเป็นท่นี ยิ ม

11. ประสานงานกับหน่วยงานอ่ืน ๆ ท้ังภาครัฐและเอกชน เพ่ือประโยชน์ของโรงเรียนและ
ชมุ ชน

12. ดาเนนิ การตามความเหน็ ชอบและข้อเสนอแนะของคณะกรรมการสถานศกึ ษา
ขนั้ พื้นฐานของโรงเรยี นดอนทองวิทยา

13. ปฏบิ ัติหน้าทีอ่ นื่ ๆ ตามทไี่ ด้รับมอบหมาย

มาตรา 15 รองผูอ้ านวยการโรงเรยี นมบี ทบาทหนา้ ที่ ดังต่อไปน้ี
1. ปฏิบัติหน้าท่ีรองผู้อานวยการสถานศึกษา โดยปฏิบัติงานตามที่ได้รับมอบหมายจาก

ผู้อานวยการสถานศึกษาในการช่วยบริหารกิจการของสถานศึกษา การวางแผนการปฏิบัติงาน การควบคุม
กากับ ดูแล เก่ียวกับการบริหารงานวิชาการ บริหารงานงบประมาณ บริหารงานบุคคล บริหาร
ท่วั ไป ความสมั พนั ธ์กับชมุ ชนและงานอ่ืน ๆ ที่เก่ยี วข้องหรอื ที่ไดร้ ับมอบหมาย

2. บริหารกจิ การของสถานศึกษาใหเ้ ป็นไปตามกฎหมาย ระเบยี บ ข้อบังคบั นโยบายและ
วัตถุประสงค์ของสถานศึกษา

3. วางแผนพฒั นาการศึกษา ประเมินและรายงานผลการจัดการศึกษา
4. จัดทาและพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา การจัดกระบวนการเรียนรู้ การพัฒนาส่ือนวัตกรรม
และเทคโนโลยี การนเิ ทศและการวัดผลประเมนิ ผล

15

5. สง่ เสริมและจดั การศึกษาใหก้ บั ผเู้ รยี นทุกกลุม่ เป้าหมายทง้ั ในระบบ นอกระบบ
และตามอธั ยาศัย

6. จดั ทาระบบการประกันคุณภาพการศึกษา
7. การบริหารการเงิน พัสดุและทรัพยส์ นิ
8. วางแผนการบริหารงานบคุ คล การเสริมสร้างประสิทธภิ าพในการปฏบิ ตั ิงาน วนิ ัย
และการรักษาวนิ ัย การดาเนินการทางวนิ ยั และการออกจากราชการ
9. จัดทามาตรฐานและภาระงานของครแู ละบุคลากรทางการศึกษาในสถานศกึ ษา
ประเมนิ ผลการปฏบิ ัติงานตามมาตรฐานของครูและบคุ ลากรทางการศกึ ษา
10. ส่งเสริมและสนบั สนนุ ครแู ละบุคลากรทางการศึกษาใหม้ กี ารพฒั นาอยา่ งตอ่ เนื่อง
11. ประสานความร่วมมอื รว่ มกับชมุ ชนและทอ้ งถน่ิ ในการระดมทรัพยากร เพ่อื การศึกษา
และใหบ้ รหิ ารวิชาการแกช่ ุมชน
12. จัดระบบควบคมุ ภายในสถานศกึ ษา
13. จดั ระบบการดแู ลชว่ ยเหลือนักเรียน
14. ปฏิบตั ิหนา้ ท่ีอน่ื ๆ ตามท่ไี ดร้ บั มอบหมายจากผู้อานวยการโรงเรียน

มาตรา 16 คุณสมบตั ิของครูและบุคลากรทางการศึกษา
1. มุ่งมนั่ พฒั นาและส่งเสริมการเรยี นรู้ ทกั ษะและนสิ ยั ที่ถูกต้องดงี ามแกน่ ักเรียน
2. สามารถปฏบิ ัติกจิ กรรมทางวชิ าการเก่ียวกับการพัฒนาวชิ าชพี ครู
3. มีจิตวิญญาณของความเป็นครทู ีด่ ี ใหบ้ รกิ ารดว้ ยความจรงิ ใจและเสมอภาค
4. มีความรู้ ความสามารถ มีความเสียสละ อุทิศตนเป็นประโยชนแ์ กน่ ักเรียนด้วยความเต็มใจ
5. มีจิตใจช่วยเหลอื เกอ้ื กลู ซึ่งกันและกันอย่างสรา้ งสรรค์ โดยยดึ ม่นั ในคณุ ธรรมและ

เสริมสรา้ งความสามัคคีในหมู่คณะ
6. สามารถปฏิบตั หิ นา้ ทใี่ นการจดั การเรียนการสอนแกน่ ักเรียนและมีหน้าท่ีในการอบรม

บม่ นสิ ยั นกั เรยี นให้นกั เรยี นเป็นคนดี มีคุณธรรม
7. สามารถประพฤตติ นเปน็ แบบอยา่ งท่ดี ีแก่นักเรยี นท้ังทางกาย วาจา ใจ
8. ไมเ่ ปน็ ผทู้ ี่แสวงหาผลประโยชนใ์ ด ๆ ทัง้ ทางตรงและทางอ้อมจากโรงเรยี น ผปู้ กครอง

และนกั เรียน

มาตรา 17 ครูมีบทบาทหน้าท่ี ดงั ต่อไปนี้
1. ศึกษาหาความรู้ วิธกี ารสอน วธิ ปี ระเมนิ ผล การใช้ส่ือการเรยี นการสอน หนังสอื เรียน

และคมู่ ือการเรียนการสอนตามหลกั สตู ร
2. ปฏบิ ตั งิ านในหน้าท่ใี ห้ไดผ้ ลตามนโยบายของสานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้นั พ้ืนฐาน
3. ประพฤติปฏิบตั ติ นตามระเบียบวินัยของทางราชการอย่างเครง่ ครดั
4. จดั กิจกรรมการเรยี นการสอนและอบรมบม่ นสิ ยั นักเรียนอยา่ งเตม็ ความสามารถ
5. พัฒนาและปรบั ปรงุ การเรียนการสอนให้มีประสทิ ธิภาพอย่างตอ่ เนื่อง
6. สง่ เสริมและเผยแพร่การปกครองในระบอบประชาธปิ ไตยอนั มีพระมหากษัตริย์

ทรงเปน็ ประมขุ

16

7. ปลูกฝังวัฒนธรรม ค่านิยม และเอกลักษณ์ไทย
8. ส่งเสรมิ ความสามัคคีในหมคู่ รู นักเรยี นและผทู้ ่เี กยี่ วข้อง

มาตรา 18 บทบาทและหน้าที่ของผู้ปกครองนักเรียนโรงเรยี นดอนทองวทิ ยา
ผู้ปกครองนักเรียนมีความเข้าใจในระบบการจัดการศึกษาของโรงเรียนและยนิ ยอมปฏิบตั ิตาม

ระเบยี บของโรงเรียนทุกประการ ได้แก่
1. ให้ความร่วมมือ สนับสนนุ กิจกรรมของโรงเรียน
2. ศึกษาและเขา้ ใจวัฒนธรรม ระเบยี บข้อบงั คบั ของโรงเรยี นดอนทองวิทยา
3. ดแู ล เอาใจใส่ กาชบั ตดิ ตามบตุ รในอุปการะให้ปฏิบัตติ ามธรรมนญู ของโรงเรยี น

ดอนทองวทิ ยา
4. มคี วามพร้อมในการสนบั สนนุ คา่ เล่าเรียนของบตุ รและค่าใช้จ่ายอน่ื ๆ

มาตรา 19 โรงเรียนต้องจัดให้มีการพัฒนาครูและบุคลากรให้มีความรู้ ความสามารถในการปฏิบัติ
หน้าท่ใี ห้มปี ระสทิ ธภิ าพมากขึน้ อย่างน้อย 1 รายการตอ่ ปี ดังน้ี

1. การศึกษาดงู าน
2. การสัมมนาทางวิชาการ
3. การอบรมเชิงปฏิบตั กิ ารในเร่ืองท่จี าเป็นต่อครูทุกคน
4. การจัดทาวจิ ัยในช้นั เรียนหรือผลงานทางวชิ าการ

หมวดที่ 5
นกั เรียน

มาตรา 20 คุณสมบัติพ้ืนฐานของผู้ทีจ่ ะสมคั รเขา้ เรียนโรงเรียนดอนทองวิทยา
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1
1. เปน็ นักเรียนท่จี บการศกึ ษาในระดับช้นั ประถมศึกษาปีที่ 6 หรอื เทียบเทา่ หลักสูตร

การศึกษาของกระทรวงศกึ ษาธกิ าร
2. มคี วามประพฤตเิ รียบรอ้ ย มรี ะเบียบวินัย อยูร่ ่วมกบั ผู้อื่นไดเ้ ปน็ อย่างดี
3. ผู้ปกครองมีความพร้อมท่ีจะใหก้ ารสนบั สนุนค่าใชจ้ ่ายในการจัดการเรยี นการสอน

นอกเหนือหลกั สตู รการศกึ ษาข้ันพื้นฐาน เพื่อส่งเสรมิ และพัฒนาคณุ ภาพการศึกษาของนกั เรยี น
4. ผปู้ กครองมีความพร้อมในการรว่ มดูแลความประพฤติของนักเรยี นกับทางโรงเรยี น

ดอนทองวทิ ยาตลอดเวลาทกี่ าลงั ศกึ ษา
ชน้ั มัธยมศึกษาปีท่ี 4
1. เป็นนักเรียนท่ีจบการศึกษาในระดับชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 3 หรือเทียบเท่าตามหลักสูตร

การศึกษาของกระทรวงศกึ ษาธกิ าร
2. มีความประพฤติเรียบร้อย มีระเบียบวินัย อยู่ร่วมกับผู้อ่ืนได้เป็นอย่างดี และสามารถ

ประพฤตติ นตามระเบยี บของโรงเรียนดอนทองวทิ ยาได้

17

3. ผู้ปกครองมีความพร้อมท่ีจะให้การสนับสนุนค่าใช้จ่ายในการจัดการเรียนการสอน
นอกเหนือหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน เพื่อส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพการศึกษาให้นักเรียนเกิน
มาตรฐานรฐั และคา่ ใชจ้ ่ายอ่นื ๆ ทโี่ รงเรียนกาหนดตลอดเวลาท่ีศกึ ษาอย่ใู นโรงเรียนดอนทองวิทยา

4. ผู้ปกครองมีความพร้อมในการร่วมดูแลความประพฤติของนักเรยี นกบั ทางโรงเรียน
ตลอดเวลาท่กี าลังศกึ ษา

มาตรา ๒1 โรงเรียนต้องจัดให้มีสภานักเรียน ซึ่งได้มาโดยการได้รับเลือกมาจากนักเรียนและครู
ภายในโรงเรียน เพื่อเป็นผู้แทนของนักเรียน เป็นส่ือกลางเพื่อความเป็นประชาธิปไตย รักษาสิทธิ
และหน้าท่ีของนักเรียนโดยไม่ขัดกับระเบียบและนโยบายของโรงเรียน กาหนดแผนการปฏิบัติ
กิจกรรมเชิงสร้างสรรค์และเป็นประโยชน์ต่อโรงเรียน สังคม และประเทศชาติ โดยต้องมีคุณสมบัติ
ดังต่อไปน้ี

1. เป็นผทู้ ยี่ ึดม่นั ในระบอบประชาธปิ ไตยและจงรักภกั ดตี ่อสถาบนั ชาติ ศาสนา
พระมหากษัตรยิ ์

2. เป็นนกั เรยี นโรงเรยี นดอนทองวิทยาอยา่ งถูกต้องตามกฎหมาย
3. ผูส้ มคั รจะตอ้ งลงสมคั รตามระเบียบสภานักเรยี นโรงเรยี นดอนทองวทิ ยา
4. เป็นผู้ท่ีกาลังศึกษาอยใู่ นระดับช้นั มธั ยมศึกษาปีที่ 5 ในขณะทีม่ ีการเลอื กตงั้
5. ไมม่ ีผลการเรยี นเป็น 0, ร, มส หรอื มผ
6. ได้รับความยินยอมจากคุณครูประจาช้ัน/ครูท่ีปรึกษาและผู้ปกครองให้เข้าสมัครรับเลือกตั้ง
ประธานสภานกั เรยี นและสมาชิกสภานักเรียน
7. เป็นผูท้ ี่มคี ณุ ธรรมและมีความเปน็ กลางในการดาเนินนโยบาย
8. เปน็ ผทู้ รี่ กั และเทดิ ทูนในเกียรติของโรงเรียนอย่างจริงใจ

มาตรา 22 นักเรียนต้องได้รับการพัฒนาจากทางโรงเรียนและผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องเพ่ือให้มีคุณลักษณะ
อนั พงึ ประสงคด์ ังน้ี

1. รักชาติ ศาสน์ กษตั ริย์
2. ซ่ือสัตยส์ จุ ริต
3. มวี นิ ยั
4. ใฝ่เรียนรู้
5. อยูอ่ ยา่ งพอเพียง
6. มงุ่ มน่ั ในการทางาน
7. รักความเป็นไทย
8. มีจิตสาธารณะ

18

มาตรา ๒3 นักเรียนตอ้ งแตง่ กายให้ถกู ต้องตามระเบยี บของโรงเรยี นดอนทองวิทยา ดงั นี้
1. นักเรยี นชาย (มธั ยมศกึ ษาตอนต้น)
1.1 เส้ือ เป็นเส้ือเช้ิตคอต้ัง ผ้าขาวเกลี้ยงไม่บางเกินควร ตัดตัวตรงไม่รัดรูป ไม่มีเกล็ด

หรือจีบด้านหลัง แขนส้ันเหนือข้อศอกประมาณ 2 เซนติเมตร ไม่พับแขน ความกว้างของเสื้อ
ให้เหมาะกับลาตัวไม่คับหรือหลวมจนเกินไปหน้าอกด้านซ้ายติดกระเป๋า 1 ใบ ขนาดกว้างประมาณ
8 - 12 เซนตเิ มตร ลึกประมาณ 10 - 15 เซนตเิ มตร

1.2 กางเกง ใช้ผ้าเรียบสีกากี (ห้ามใช้ผ้ายีนส์ ผ้าลูกฟูก หรือผ้าเวสปอยท์) มีจีบ
ข้างหน้าข้างละสองจีบ ขากางเกงไม่ส้ันหรือแคบจนเกินไป ความยาวของขากางเกงให้อยู่เหนือ
ก่ึงกลางของสะบ้าหัวเข่าไม่เกิน 5 เซนติเมตร เมื่อยืนตรง ความกว้างของขากางเกงห่างจากขา
8 - 12 เซนติเมตร กระเป๋าตามแนวตะเขบ็ ด้านข้าง ขา้ งละ 1 กระเป๋า ไม่มีกระเป๋าหลัง ขอบกางเกง
มหี กู ว้างประมาณ 1 เซนติเมตร ตดิ เป็นระยะพองามเปา้ กางเกง ต้องยาวพอทจี่ ะคาดเข็มขัดให้ตรงกับเอว

1.3 เข็มขัด ให้ใช้หนังสีกากี หัวเข็มขัดเป็นสีทองรูปส่ีเหลี่ยมผืนผ้า หนังสีเดียวกัน
ไมม่ ีลวดลายหรอื สิ่งประดับใด ๆ หรือใช้เขม็ ขัดเคร่อื งแบบลกู เสือได้

1.4 รองเท้า รองเทา้ ผา้ ใบสนี า้ ตาลไมม่ ลี วดลาย เชือกรองเท้าสนี า้ ตาลเช่นเดียวกนั
1.5 ถุงเท้า ถุงเท้าสนี ้าตาลแบบนักเรียน ไม่มีขอบหรือแถบสี ไม่มีลวดลาย ความยาว
ครงึ่ น่องโดยไม่พับ หา้ มใชถ้ ุงเทา้ ชนดิ ส้ัน
1.6 ทรงผม ตัดผมรองทรงสั้น ด้านบนยาวไม่เกิน 2 เซนติเมตร หรือด้านข้าง
เกรียนติดหนงั ศรี ษะ ไม่อนญุ าตให้ตัดทรงสกนิ เฮด และห้ามไว้หนวดเครา
2. นกั เรยี นชาย (มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย)
2.1 เสื้อ เป็นเส้ือเชิ้ตคอตั้ง ผ้าขาวเกลี้ยงไม่บางเกินควร ตัดตัวตรงไม่รัดรูป ไม่มีเกล็ด
หรือจีบดา้ นหลัง แขนสั้นเหนอื ขอ้ ศอกประมาณ 2 เซนติเมตร ไม่พับแขน ความกว้างของเสื้อให้เหมาะ
กับลาตัวไม่คับหรือหลวมจนเกินไป หน้าอกด้านซ้ายติดกระเป๋า 1 ใบ ขนาดกว้างประมาณ 8 - 12
เซนติเมตร ลึกประมาณ 10 - 15 เซนติเมตร
2.2 กางเกง ใช้ผ้าเรียบผ้าสีดา (ห้ามใช้ผ้ายีนส์ ผ้าลูกฟูก หรือผ้าเวสปอยท์) มีจีบ
ข้างหน้าข้างละสองจีบ ขากางเกงไม่สน้ั หรือแคบจนเกินไป ความยาวของขากางเกงให้อยู่เหนือก่ึงกลาง
ของสะบ้าหัวเข่า ไม่เกิน 5 เซนติเมตร เมื่อยืนตรงความกว้างของขากางเกงห่างจากขา 8 - 12
เซนติเมตร กระเป๋าตามแนวตะเขบ็ ด้านข้าง ข้างละ 1 กระเป๋า ไม่มกี ระเป๋าหลัง ขอบกางเกงมีหกู วา้ ง
ประมาณ 1 เซนตเิ มตร ติดเปน็ ระยะพองามเป้ากางเกงต้องยาวพอท่ีจะคาดเข็มขัดใหต้ รงกับเอว
2.3 เข็มขดั ใหใ้ ชห้ นังสีดา หัวเขม็ ขดั เป็นโลหะสีเงิน ไมม่ ีลวดลายหรือสิ่งประดับใด ๆ
2.4 รองเทา้ รองเทา้ ผ้าใบสีดาไม่มีลวดลายเชือกรองเท้าสีดาเช่นเดยี วกบั รองเท้า
2.5 ถุงเท้า สีขาวแบบนักเรียนไม่มีขอบหรือแถบสี ไม่มีลวดลาย ความยาวครึ่งน่อง
โดยไม่พบั ห้ามใชถ้ ุงเท้าชนิดส้ัน
2.6 ทรงผม ตัดผมรองทรงสูง ด้านบนยาวไม่เกิน 4 เซนติเมตร และด้านหลังยาว
ไมเ่ กิน 1.5 เซนติเมตร ไมอ่ นญุ าตใหต้ ัดทรงสกินเฮด และห้ามไวห้ นวดเครา

19

3. นักเรยี นหญิง (มัธยมศกึ ษาตอนต้น)
3.1 เส้ือ เป็นผ้าขาวเกลี้ยง ไม่บางเกินควร คอปกทหารเรือ แบบคอพับในตัวลึกพอ

สวมศีรษะได้สะดวกสาบตลบข้างใน ส่วนของสาบให้ใหญ่ พอแบะคอแล้วไม่เห็นตะเข็บใน และใส่เสื้อ
ซับในด้วย เม่ือสวมแล้วต้องไม่เห็นผิวหนัง แขนยาวเพียงเหนือข้อศอกประมาณ 2 เซนติเมตร
ไม่พับแขน ปลายแขนจีบเล็กน้อย ความยาวของเสื้อวัดจากข้อมือมาเมื่อยืนตรง ระยะตั้งแต่
10 - 15 เซนติเมตร ชายขอบเสื้อด้านล่างมีขอบพับไม่เกิน 3 เซนติเมตร ขนาดของตัวเสื้อต้ังแต่
ใต้แขนถึงขอบล่างมีความกว้างพอเหมาะกับตัวไม่รัดเอว ริมขอบด้านหน้าขวาติดกระเป๋าขนาด 6 - 9
เซนติเมตร ลึก 9 - 10 เซนติเมตร ตามส่วนขนาดของปากกระเป๋าพับเป็นริมกว้างไม่เกิ น
2 เซนติเมตร ผ้าผูกคอใช้สีเดียวกบั กระโปรง ผูกแบบหกู ระตา่ ย

3.2 กระโปรง ใช้ผา้ สีกรมทา่ เนื้อเกล้ียงไม่มีลวดลาย ด้านหนา้ และด้านหลังพบั เป็นจีบ
ข้างละจีบ หันจีบออกด้านนอกเย็บทับจากขอบเอวลงมา 6 - 10 เซนติเมตร ระยะความกว้างตรง
กลางพองาม กระโปรงยาวคลุมเข่าวัดจากสะบ้าหัวเข่าไมน่ อ้ ยกวา่ 4 นิ้วฟุต และไมเ่ กิน 6 น้ิวฟุต
ตอ้ งมีลกั ษณะทรงกระโปรงบานสีกรมทา่

3.3 รองเท้า เป็นรองเท้าหนังสีดาหุ้มส้นแบบนักเรียนชนิดมีสายรัดหลังเท้า หัวมน
ไมแ่ หลม ไม่มลี วดลายส้นสงู ไม่เกิน 2 เซนติเมตร

3.4 ถุงเท้า สีขาวแบบนักเรียนไม่มีลวดลาย ไม่มีแถบสีหรือดอกไม้ ไม่บางมาก พับขอบ
ไว้เหนือ ขอ้ เท้าประมาณ 1.5 - 2 นิว้ หา้ มใช้ถุงเทา้ ชนิดส้ัน

3.5 ทรงผม ตัดผมทรงตรง เปิดหู ยาวไม่เกินตีนผม ห้ามย้อมสี ดัด ซอย ที่ไม่ใช่
ทรงนักเรียนหรือเปลยี่ นแปลงไปจากธรรมชาติ ถ้าไวผ้ มยาวให้รวบด้วยริบบ้ินสีน้าเงิน ขนาดไม่เกนิ 1 น้ิว
ห้ามถกั เปยี หา้ มตดั ผมหนา้ ม้า ถ้าตดิ กบิ๊ ให้ใชส้ ดี า หา้ มใชก้ บิ๊ ใหญห่ รอื หวเี สยี บ

4. นักเรียนหญิง (มัธยมศึกษาตอนปลาย)
4.1 เส้ือ เป็นผ้าขาวเกล้ียงไม่บางเกินควร (ไม่ใช้ผ้าดิบ) แบบคอเชิ้ตผ่าอกตลอด

ปลายปกยาวไมเ่ กิน 7 เซนติเมตร ทป่ี กเส้ือทาเป็นสาบเขา้ ข้างใน กวา้ ง 3 เซนตเิ มตร มีกระดมุ สีขาว
5 เม็ดท่ีสาบเส้ือเท่านั้น แขนยาวเหนือข้อศอกประมาณ 2 เซนติเมตร ไม่พับแขน ปลายแขน
จีบเล็กน้อยประกอบด้วย ผ้าสองช้ันกว้าง 3 เซนติเมตร ตัวเสื้อและแขนตัดขนาดพอดี
สอดชายเส้ือไว้ในกระโปรงให้เห็นเข็มขัด ห้ามสวมเส้ือรัดรูป ไม่สวมเส้ือยกทรงตัวสั้นเพียงตัวเดียว
ตอ้ งสวมเสื้อซับสขี าวทับในอกี ชนั้ หนงึ่

4.2 กระโปรง ใช้ผ้าสีกรมท่าเนื้อเกล้ียงไม่มีลวดลาย ด้านหน้าและด้านหลังพับเป็นจีบ
ข้างละจีบหันจีบออกด้านนอกเย็บทับจากขอบเอวลงมา 6 - 10 เซนติเมตร ระยะความกว้างตรงกลาง
พองามตัวกระโปรงยาวคลุมเข่าวัดจากสะบ้า หัวเข่าไม่น้อยกว่า 4 นิ้วฟุต และไม่เกิน 6 นิ้วฟุต
ตอ้ งมลี กั ษณะทรงกระโปรงบานสกี รมท่า

4.3 เข็มขัด เป็นเข็มขัดหนังสีดา ไม่มลี วดลายหรอื ติดสิ่งประดับอื่น กว้างประมาณ 3 - 4
เซนตเิ มตร หัวเข็มขัดดา รูปส่เี หล่ียมผืนผ้าแบบมีกลัด 1 อนั

4.4 รองเท้า เป็นรองเท้าหนังสีดาหุ้มส้นแบบนักเรียนชนิดมีสายรัดหลังเท้า หัวมน
ไมแ่ หลม ไมม่ ีลวดลาย ส้นสงู ไมเ่ กนิ 2 เซนตเิ มตร

20

4.5 ถุงเท้า สขี าวแบบนักเรียนไม่มลี วดลาย ไม่มีแถบสีหรอื ดอกไม้ ไมบ่ างมากพับขอบ
ไวเ้ หนอื ขอ้ เทา้ ประมาณ 1.5 - 2 น้ิว หา้ มใช้ถุงเท้าชนิดส้ัน

4.6 ทรงผม ให้ไว้ผมยาวไม่เกิน ก่ึงกลางหลัง โดยวัดจากต้นคอลงมา ต้องรวบและ
เก็บผมด้านหน้าให้เรียบร้อย ห้ามย้อมสี ดัด ซอย ท่ีไม่ใช่ทรงนักเรียนหรือเปล่ียนแปลงไป
จากธรรมชาติ ถ้าไว้ผมยาวให้รวบด้วยริบบ้ินสีน้าเงิน ขนาดไม่เกิน 1 น้ิว ห้ามถักเปีย ห้ามตัดผม
หน้าม้า ถ้าติดกิบ๊ ใหใ้ ชส้ ีดา ห้ามใช้ก๊ิบใหญ่หรือหวีเสียบ

มาตรา 24 เครือ่ งแบบพลศึกษา
ให้นักเรยี นใส่เคร่อื งแบบพลศึกษาในวันท่ีมีการเรียนพลศกึ ษาหรือวนั ท่โี รงเรยี นกาหนดเทา่ นั้น

เครอ่ื งแบบชุดพลศึกษาระดับชน้ั มัธยมศกึ ษาตอนต้นและระดับช้ันมัธยมศึกษาตอนปลาย เปน็ ดังน้ี
1. กางเกงวอรม์ สีน้าเงนิ ตามรูปแบบที่โรงเรยี นกาหนด
2. เสื้อพลศึกษาสฟี ้าตามรูปแบบที่โรงเรยี นกาหนด
3. รองเท้า นักเรียนชายมัธยมศึกษาตอนต้นใช้รองเท้าผ้าใบสีน้าตาล นักเรียนหญิงใช้รองเท้า

ผ้าใบสีขาว ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลายนักเรียนชายใช้รองเท้าผ้าใบสีดา และนักเรียนหญิง
ใชร้ องเทา้ ผ้าใบสีขาว

4. ห้ามนักเรียนดัดแปลงเครือ่ งแบบพลศึกษาโดดเด็ดขาด

มาตรา ๒5 เครือ่ งหมายโรงเรยี นดอนทองวทิ ยา
ให้ปักอักษรย่อ ด.ว. ตามแบบและขนาดท่ีโรงเรียนกาหนด หน้าอกด้านขวาปักอักษรย่อ

ด.ว. ขนาดกว้าง 1.5 เซนติเมตร สูง 2 เซนติเมตร ใต้อักษรย่อ ด.ว. ปักเลขประจาตัวด้วยเลขไทย
ขนาดอักษรสูง 1 เซนติเมตร ด้วยไหมสีน้าเงิน (ทุกระดับชั้น) หน้าอกด้านซ้าย ปักช่ือ - ช่ือสกุล
ขนาด 1 เซนติเมตร ด้วยไหมสนี า้ เงนิ (ทุกระดับช้ัน)

มาตรา 26 กระเปา๋ โรงเรยี นดอนทองวทิ ยา
ให้ใช้กระเป๋าตราโรงเรยี นดอนทองวทิ ยาเท่านั้น

มาตรา 27 เคร่ืองประดบั และของมคี ่า
หา้ มนักเรยี นใช้เครอื่ งประดบั ของมคี ่าและเครื่องสาอางทุกชนดิ

มาตรา 28 บคุ ลกิ ภาพ
หา้ มนักเรียนใช้เคร่ืองสาอาง หา้ มไว้เล็บยาว หา้ มตกแต่งเลบ็ เช่น ทาสี ทาลวดลาย

เป็นต้น หา้ มสักทัง้ ถาวร ไม่ถาวร โดยเฉพาะท่เี หน็ ไดน้ อกร่มผ้า หา้ มนักเรียนเจาะอวัยวะส่วนใด
ส่วนหน่งึ จากสภาพรา่ งกายของคนปกติท่วั ไป

21

มาตรา 29 นักเรียนตอ้ งปฏบิ ตั ิตนระหว่างเปน็ นกั เรยี นของโรงเรยี นดอนทองวิทยา ดงั น้ี
1. หา้ มออกนอกบริเวณโรงเรียน เวน้ แตจ่ ะไดร้ ับอนญุ าต
2. ตอ้ งเชือ่ ฟงั และปฏบิ ัติตนให้อย่ใู นโอวาทของครู
3. ประพฤติปฏิบตั ิตนใหเ้ หมาะสมกบั วยั และสภาพของนักเรยี น
4. มีความสุภาพ อ่อนโยน ต่อบุคคลท่ัวไป รักษาความสามัคคีในหมู่คณะ ไม่ก่อการทะเลาะ

วิวาทและไม่ยุง่ เกีย่ วกบั ยาเสพตดิ
5. ไม่ทาการใด ๆ ที่จะนาความเส่ือมเสียมาสู่โรงเรียน ช่วยกันเสริมสร้างชื่อเสียงมาสู่โรงเรียน

ดว้ ยการแสดงซ่ึงความสามารถตา่ ง ๆ ท่ีดงี าม
6. ชว่ ยกันดูแลรกั ษาทรัพย์สินสมบตั ิของโรงเรียนอันเปน็ ของสว่ นรวม
7. ชว่ ยกันประหยดั ในการใชน้ ้าและไฟฟ้าของโรงเรียน
8. นักเรียนที่จะมาติดต่อกบั โรงเรียนตอ้ งแต่งกายด้วยเคร่อื งแบบนักเรยี นท่โี รงเรยี นกาหนด

ยกเวน้ การจัดกิจกรรมที่จาเป็นตอ้ งแต่งกายในรูปแบบเฉพาะ
9. ทาความเคารพครูทัง้ ในและนอกโรงเรียน
10. ในระหวา่ งทีม่ ชี ว่ั โมงเรียน นักเรียนจะต้องอย่ใู นห้องเรียนเทา่ น้นั เวน้ แตจ่ ะไดร้ ับ

อนุญาตจากครผู ้สู อนในคาบเรียนนน้ั ๆ

มาตรา 30 นักเรยี นตอ้ งดาเนินการเรอ่ื งการลาหยดุ การขาดเรียน การมาสายและการออกนอก
บริเวณโรงเรียน ดังนี้

การลากิจและลาปว่ ย
1. จะต้องมใี บลาถึงครทู ี่ปรึกษาทกุ คร้งั พร้อมทั้งมีลายเซ็นของผู้ปกครอง
2. ถ้านักเรียนหยุดเรียนไปแล้วเกิน 3 วัน โดยทางโรงเรียนไม่ทราบสาเหตุ ทางโรงเรียน
ตดิ ตอ่ ขอทราบเหตุผลโดยตรงกับผู้ปกครอง ซ่ึงผูป้ กครองจะต้องนาหนังสือการติดตอ่ ของทางโรงเรยี น
มาพบกับฝ่ายปกครองของโรงเรียนทนั ที เม่อื ไดร้ บั หนงั สอื
การขาดเรียน
1. หา้ มนักเรียนขาดเรยี นโดยเดด็ ขาด
2. การขาดเรยี นเปน็ ปกติถือวา่ “เป็นความประพฤติที่ไม่เหมาะสมกับสภาพนกั เรยี น”
3. การขาดเรียนติดต่อกันเกิน 7 วัน โดยไม่ทราบสาเหตุหรือผู้ปกครองไม่แจ้งให้ทาง
โรงเรียนทราบ ทางโรงเรียนจะมีหนังสือถึงผู้ปกครอง เพื่อให้แจ้งเหตุผลให้ทราบ ถ้าหลังจาก
โรงเรียนมีหนังสือไปถึงผู้ปกครองแล้ว 7 วัน ผู้ปกครองยังไม่แจ้งเหตุผลให้ทราบหรือไม่ติดต่อกับ
ทางโรงเรียน โรงเรียนถือว่านักเรียนไม่มีความประสงค์ท่ีจะเรียนต่อไป โรงเรียนจะจาหน่ายชื่อออก
จากโรงเรยี นเพราะขาดเรียนนาน
การมาสาย
1. การมาสายเปน็ ประจาถือวา่ “เป็นความประพฤติที่ไมเ่ หมาะสมกบั สภาพนกั เรียน”
นกั เรียนทุกคนต้องมาให้ทนั เวลาเข้าแถวเคารพธงชาติ
2. นกั เรยี นทุกคนต้องมาถงึ โรงเรียนกอ่ นเวลา 08.00 นาฬิกา ถา้ มาหลังจากนี้ถอื ว่ามาสาย

22

มาตราที่ 31 การหนเี รียน
1. ครูผสู้ อนหรอื ผู้รับผดิ ชอบแทน ต้องสารวจนกั เรยี นท่เี ข้าเรยี นหรอื รว่ มกิจกรรมในชวั่ โมง

ทร่ี ับผิดชอบให้เป็นปจั จบุ ัน
2. กรณมี นี ักเรยี นไม่เขา้ เรยี นรายวิชาหรือกจิ กรรมใด โดยไม่มีเหตผุ ลให้ครปู ระจาวชิ าหรือ

ประจากิจกรรม หรอื ผ้รู บั ผดิ ชอบแทน แจง้ ผปู้ กครองรับทราบเพ่อื ใหแ้ ก้ไขพฤติกรรมโดยทันที
3. กรณีปรากฏไมเ่ ขา้ เรยี นในรายวิชาหรือกจิ กรรมน้ัน ๆ บ่อยคร้งั (3 ครงั้ ขนึ้ ไป)

ให้รายงานงานวินยั และความประพฤตนิ ักเรยี นรบั ทราบ เพื่อดาเนินการแก้ไขในข้ันตอนต่อไป
ตามระบบการดแู ลช่วยเหลือนกั เรียนและมาตรการป้องกนั นกั เรยี นออกกลางคนั

มาตรา 32 การใช้รถจักรยานยนต์
1. นกั เรียนท่นี ารถจกั รยานยนต์มาโรงเรยี น ตอ้ งสวมหมวกนิรภยั และต้องปฏิบัติ

ตามกฎจราจรรวมทงั้ กฎหมายที่เกยี่ วข้องโดยเครง่ ครดั
2. เม่ือนารถจักรยานยนต์มาโรงเรียน ต้องจอด ณ บริเวณที่โรงเรียนกาหนด และจูงรถเข้าจอด

เก็บในบริเวณท่ีโรงเรียนกาหนด ให้เรียบร้อย ตอนเลิกเรียน ก็ต้องจูงรถออกไปถึงบริเวณท่ีโรงเรียน
กาหนดแล้วจึงขับขอ่ี อกไปด้วยความระมดั ระวัง

3. ดแู ลทรพั ย์สินของตนเองให้เรียบร้อย โรงเรียนไม่รับผดิ ชอบตอ่ ทรัพย์สนิ ท่ีนักเรยี นนามา

มาตรา 33 การขอออกนอกบรเิ วณโรงเรยี นและการกลับบ้านกอ่ นเวลา
ในวันเวลาเรียนปกติ เม่ือนักเรียนเข้ามาในโรงเรียนแล้ว ไม่อนุญาตให้ออกไปนอกบริเวณ

โรงเรียนหรือกลับก่อนเวลาเลิกเรียน โดยไม่มีเหตุผลสมควร เพ่ือการควบคุมในเรื่องนี้ โรงเรียนจึงขอกาหนด
หลักเกณฑ์และแนวทางปฏิบตั ดิ งั นี้

กรณที ่ี 1 นักเรียนขออนุญาตโดยไม่มผี ปู้ กครองมารับ
1.1 ต้องนาใบอนุญาตจากผู้ปกครองมาแสดงและรบั บัตรขออนุญาต ออกนอกบริเวณ

โรงเรยี นตามทโ่ี รงเรียนกาหนด
1.2 นาใบอนุญาต ไปให้ครปู ระจาวชิ า หรือครูเวรประจาวนั ลงช่ืออนุญาต
1.3 เมอื่ ครลู งชื่อครบแล้ว ให้นาใบขออนุญาต มาส่งทคี่ รูฝา่ ยปกครอง

กรณีท่ี 2 นักเรียนขออนุญาตโดยมีผูป้ กครองมารบั
2.1 ให้นกั เรียนปฏิบตั เิ หมือนกรณีที่ 1
2.2 กรณีรีบด่วนให้นกั เรียนนาผปู้ กครองมาเขยี นคาร้องของอนญุ าตออกนอกบรเิ วณ

โรงเรยี นทห่ี ้องปกครอง โดยครูเวรประจาวนั เจ้าหน้าท่ีพิจารณาอนญุ าตเปน็ กรณไี ป

มาตรา 34 แนวปฏบิ ัติการใช้โรงอาหาร
เพอ่ื สขุ อนามยั ท่ดี ีของนักเรียน และเพ่ือความเป็นระเบียบเรยี บรอ้ ย ในการใช้โรงอาหาร

จงึ ให้นักเรยี นปฏิบตั ิตามขอ้ ปฏบิ ัติดงั ตอ่ ไปน้ี
1. นกั เรียนตอ้ งเข้าแถวซื้ออาหาร ใหเ้ ปน็ ระเบยี บ
2. ในการซอ้ื อาหารนักเรยี นตอ้ งใช้เงนิ สดในการซื้ออาหาร
3. เมื่อรบั ประทานอาหารเสร็จแลว้ ใหเ้ ก็บภาชนะทุกชนดิ ไปเกบ็ ไว้ตามจุดทีก่ าหนดไวท้ ุกครง้ั
4. ห้ามนักเรียนนาอาหารทุกชนิดออกมาทานนอกโรงอาหาร

23

* หมายเหตุ กาหนดเวลาในการจาหน่ายอาหารและรับประทานอาหาร
ตอนเชา้ ไม่เกิน 07.55 นาฬกิ า
ตอนกลางวนั เวลา 11.40 - 12.30 นาฬิกา

มาตรา ๓5 การลงโทษนักเรยี นให้เปน็ ไปตามระเบยี บโรงเรียนซง่ึ เปน็ ไปตามระเบยี บ
กระทรวงศึกษาธกิ ารว่าดว้ ยการลงโทษนักเรยี นและนกั ศึกษา พุทธศักราช 2554 มี 5 สถานดังนี้

1. วา่ กล่าวตกั เตือน
2. ทาทัณฑบ์ น
3. ตดั คะแนนความประพฤตเิ ปน็ ไปตามระเบียบที่กาหนด
4. ทากิจกรรมเพอื่ ให้ปรบั เปล่ียนพฤตกิ รรม
5. กรณีเป็นความผิดที่รา้ ยแรงที่อาจกอ่ ใหเ้ กิดความไม่ปลอดภัยตอ่ ผู้อนื่ โดยสว่ นรวม
โรงเรยี นจะพจิ ารณาแก้ไขปญั หาของนักเรยี นตามระบบการดแู ลช่วยเหลอื นักเรียนตามท่โี รงเรยี น
กาหนด

หมวดที่ 6
คณะกรรมการสถานศกึ ษาข้ันพื้นฐาน

มาตรา 36 คณะกรรมการสถานศกึ ษาขั้นพื้นฐาน มีองคป์ ระกอบ ดงั นี้
๑. ประธานกรรมการ (มาจากกรรมการผทู้ รงคุณวฒุ )ิ
๒. กรรมการทเ่ี ปน็ ผแู้ ทนผู้ปกครอง
๓. กรรมการที่เปน็ ผู้แทนครู
๔. กรรมการท่ีเปน็ ผ้แู ทนองค์กรชุมชน
๕ กรรมการท่ีเป็นตัวแทนองคก์ รปกครองส่วนท้องถ่นิ
๖. กรรมการทีเ่ ปน็ ผแู้ ทนศิษยเ์ ก่า
๗. กรรมการท่ีเปน็ ผู้แทนพระภิกษสุ งฆ์หรอื ผู้แทนองคก์ รศาสนาในพนื้ ที่
๘. กรรมการผทู้ รงคุณวุฒิ
๙. ผ้อู านวยการสถานศึกษาเปน็ กรรมการและเลขานุการ

มาตรา 37 คณะกรรมการสถานศึกษาข้นั พน้ื ฐาน มบี ทบาทหน้าที่ ดงั ต่อไปน้ี
1. ใหค้ วามเหน็ ชอบหลักสตู รสถานศึกษาและใหข้ ้อเสนอแนะในการพฒั นาหลกั สตู ร

สถานศึกษาให้สอดคล้องกับหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขัน้ พืน้ ฐานและความตอ้ งการของผู้เรยี น
ชมุ ชน และท้องถน่ิ

2. ใหข้ ้อเสนอแนะและสง่ เสริม สนบั สนนุ ในการจัดบรรยากาศ สภาพแวดล้อม
กระบวนการเรยี นรู้ แหล่งเรยี นรู้ ภูมปิ ัญญาท้องถน่ิ ฯลฯ เพ่ือการปรบั ปรุงและพัฒนาคุณภาพ
การจัดการศึกษาของสถานศึกษาอยา่ งต่อเนื่อง

24

3. ให้ความคดิ เห็นเก่ียวกบั การบรหิ ารงานบุคคลของข้าราชการครูและบคุ ลากรทางการศกึ ษา
ในสถานศึกษาต่อผ้บู ริหารสถานศึกษา

4. ใหค้ วามเหน็ ชอบแผนปฏิบตั กิ ารประจาปแี ละให้ข้อเสนอแนะเก่ยี วกับการจดั ตง้ั
และการใช้งบประมาณของสถานศึกษา

5. ให้ความเห็นชอบและเสนอแนะในการออกระเบยี บ ข้อบังคบั ประกาศและแนวปฏบิ ัติ
เกยี่ วกับการบริหารการเงนิ และการจดั หารายไดจ้ ากทรัพย์สินของสถานศึกษาหรือปฏิบัตหิ นา้ ทอี่ ื่น
เกีย่ วกบั เรอ่ื งน้ีตามที่กฎหมาย ระเบียบประกาศ ฯลฯ กาหนด

6. ให้ความเห็นชอบ ข้อเสนอแนะและใหค้ าปรกึ ษาในการจัดทาแผนพฒั นาการศึกษา
ของสถานศึกษาใหส้ อดคลอ้ งกับนโยบายและแผนของกระทรวงศึกษาธิการ สานกั งานคณะกรรมการ
การศึกษาขั้นพน้ื ฐาน เขตพื้นทกี่ ารศึกษา ชมุ ชน และท้องถิ่น

7. ใหค้ วามเห็นชอบ เสนอแนะและใหค้ าปรึกษา สนบั สนุนเกย่ี วกับการระดมทรัพยากร
เพ่อื การศกึ ษาท่มี ีคณุ ภาพรวมทงั้ ปกครองดูแลรกั ษาและจัดหาผลประโยชน์จากทรัพย์สนิ ของสถานศึกษา
ตามท่ีกฎหมาย ระเบยี บ ประกาศ ฯลฯ กาหนด

8. ปฏบิ ัตหิ นา้ ทีอ่ น่ื ทเี่ กี่ยวกับกจิ การของสถานศกึ ษาตามท่กี ฎหมาย ระเบียบ ประกาศ
ฯลฯ กาหนดใหเ้ ปน็ อานาจหนา้ ท่ขี องคณะกรรมการสถานศกึ ษาขัน้ พน้ื ฐาน

9. ปฏบิ ัติหนา้ ท่ีอนื่ ๆ ตามที่ได้รบั มอบหมายจากหนว่ ยงานตน้ สังกดั

หมวดท่ี ๗
วฒั นธรรมโรงเรยี นดอนทองวทิ ยา

มาตรา 38 โรงเรียนดอนทองวทิ ยา เป็นโรงเรียนดปี ระจาตาบล มรี ูปแบบการบริหารเปน็ องคค์ ณะ
เพือ่ ใหน้ ักเรียนมีความรู้ ความสามารถทง้ั ด้านวชิ าการ ทักษะอาชีพ กฬี า ศิลปะ ดนตรี มคี วามเป็น
สภุ าพบรุ ุษ สภุ าพสตรี มีคุณธรรมจรยิ ธรรม เคารพผู้อาวโุ ส มีความรกั สามัคคแี ละเสียสละในหมคู่ ณะ
กตญั ญูกตเวทีต่อชาติ ศาสนา พระมหากษตั ริย์ พร้อมรับใชช้ าตบิ ้านเมอื งโดยผ่านกจิ กรรมดังตอ่ ไปน้ี
โดยผา่ นกิจกรรมดงั ต่อไปนี้

1. กจิ กรรมวนั สาคญั ของชาติ ศาสนา และพระมหากษัตริย์ ไดแ้ ก่
1.1 วนั คล้ายวนั พระราชสมภพ (พระบาทสมเด็จพระเจา้ อย่หู ัวและพระราชิน)ี
1.2 วนั คลา้ ยวันสวรรคตพระบาทสมเดจ็ พระปรมนิ ทรมหาภูมิพลอดลุ ยเดชบรมนาถ-

บพติ ร (วันที่ 13 ตลุ าคม)
1.3 วันปยิ มหาราช (วันท่ี 23 ตุลาคม)
1.4 วนั มหาธีรราชเจา้ (วันที่ 25 พฤศจกิ ายน)
1.5 วนั พอ่ แห่งชาติ (วันท่ี 5 ธนั วาคม)
1.6 วนั สาคญั ทางพุทธศาสนา วนั มาฆบูชา วนั วสิ าขบูชา วนั อาสาฬหบูชา

และวนั เขา้ พรรษา

25

2. วันสาคญั ของโรงเรยี น ไดแ้ ก่
2.1 วนั สถาปนาโรงเรียน
2.2 วนั ไหว้ครู
2.3 วันไหว้ครูดนตรีไทย นาฏศิลป์ ดนตรพี น้ื บา้ น
2.4 วนั แข่งขนั กีฬาภายใน
2.5 วันสาคญั ตามกิจกรรมของกลมุ่ สาระการเรียนรู้

หมวดที่ 8
การประกาศใช้ธรรมนูญโรงเรียน

มาตรา 39 ใหโ้ รงเรียนจัดพิมพต์ ้นฉบบั ธรรมนญู โรงเรียนดอนทองวทิ ยา อย่างน้อย จานวน ๕ ฉบับ
มีข้อความถูกต้องตรงกัน เพื่อเป็นเอกสารหลักฐานแห่งธรรมนูญโรงเรียนน้ี รวมถึงหากมีการแก้ไข
เพม่ิ เติมธรรมนูญโรงเรียนนีใ้ นภายหลงั ใหจ้ ัดพิมพ์ขอ้ ความการแกไ้ ขเพ่มิ เติมธรรมนญู โรงเรยี นขึ้นใหม่
ต่างหาก หรือการแก้ไขเพิ่มเติมข้อความจากธรรมนูญฉบับเดิมแล้วจัดพิมพ์ข้ึนใหม่ท้ังฉบับ โดยให้
กาหนดว่าเป็นฉบับแกไ้ ขเพ่มิ เตมิ พุทธศักราช ........ และเปน็ ลิขสทิ ธิ์ของทางโรงเรยี น

มาตรา 40 ให้เป็นหน้าท่ีของกลุ่มบริหารงานบุคคล มหี น้าทเี่ ผยแพร่ธรรมนูญโรงเรียนให้กับครูและ
บุคลากรทางการศึกษาท่ีบรรจุหรือย้ายมาใหม่ นักเรียน ผู้ปกครอง คณะกรรมการสถานศึกษา
ขั้นพ้ืนฐาน และบุคคลท่ีเกี่ยวข้อง ผ่านทางหนังสือสิ่งพิมพ์ เอกสารอิเล็กทรอนิกส์ (E-book) หรือ
การนิเทศโดยตรง ตามความเหมาะสม

มาตรา 41 ให้โรงเรียนโดยความเห็นชอบของคณะกรรมการสถานศกึ ษาข้ันพื้นฐาน ประกาศใชธ้ รรมนูญ
โรงเรียน รวมถึงหากมีการแก้ไขเพ่ิมเติมธรรมนูญโรงเรียนซึ่งอาจมีข้ึนในภายหลัง โดยให้มีผลตั้งแต่
วนั ที่ประกาศใชเ้ ป็นธรรมนูญโรงเรียนและให้โรงเรียนประกาศเป็นที่ทราบโดยท่วั กัน

“ความร้ดู ี มีคุณธรรม นาชุมชน”

โรงเรยี นดอนทองวทิ ยา
เลขท่ี 256 หม่ทู ี่ 1 ถนนพิษณโุ ลก - เดน่ ชัย
ตาบลดอนทอง อาเภอเมืองพิษณุโลก จงั หวัดพิษณโุ ลก 65000
https://sites.google.com/site/donthongwitthaya/

โทร 055 - 295408


Click to View FlipBook Version