การสำรวจภาวะการทำงานของประชากร
จงั หวัดบรุ รี มั ย์
ไตรมาสที่ 2 : เมษายน – มถิ ุนายน 2565
สำนกั งานสถติ จิ งั หวดั บุรรี ัมย์
สำนกั งานสถติ แิ ห่งชาติ
กระทรวงดจิ ทิ ัลเพอื่ เศรษฐกิจและสงั คม
หนว่ ยงานเจ้าของเรือ่ ง สำนกั งานสถิติจังหวดั บุรรี มั ย์
หน่วยงานทีเ่ ผยแพร่ ศาลากลางจงั หวดั บุรรี มั ย์ ถนนเลี่ยงเมอื งบรุ ีรัมย์-สุรนิ ทร์
ตำบลเสมด็ อำเภอเมืองบรุ ีรัมย์ จงั หวัดบรุ ีรมั ย์ 31000
โทรศพั ท์ 0 4466 6510
โทรสาร 0 4466 6511
ไปรษณียอ์ เิ ลก็ ทรอนกิ ส์ : [email protected]
กองสถิติพยากรณ์
สำนกั งานสถิติแหง่ ชาติ
ศูนยร์ าชการเฉลิมพระเกยี รติ 80 พรรษาฯ
อาคารรฐั ประศาสนภักดี ชั้น 2
ถนนแจง้ วฒั นะ เขตหลักส่ี กรุงเทพฯ 10210
โทร. 0 2143 1323 ตอ่ 17496
โทรสาร 0 2143 8132
ไปรษณยี อ์ ิเลก็ ทรอนกิ ส์ : [email protected]
ปีทจ่ี ดั พิมพ์ 2565
จัดพิมพโ์ ดย สำนักงานสถติ ิจงั หวัดบุรีรมั ย์
iii
คำนำ
สำนักงานสถิติแห่งชาติ ได้เรม่ิ จดั ทำโครงการสำรวจภาวะการทำงานของประชากร ต้งั แต่
ปี พ.ศ. 2506 ในช่วง พ.ศ. 2514-2526 ได้ทำการสำรวจปีละ 2 รอบ โดยรอบแรกเป็นการสำรวจนอกฤดู
การเกษตรระหว่างเดือนกรกฎาคม ถึงเดือนกันยายน และช่วง พ.ศ. 2527-2540 ทำการสำรวจเป็นปีละ
3 รอบ คือ รอบท่ี 1 สำรวจในเดือนกมุ ภาพนั ธ์ รอบที่ 2 สำรวจในเดือนพฤษภาคม รอบที่ 3 สำรวจในเดือน
สิงหาคม และช่วง พ.ศ.2541-2543 ทำการสำรวจเพิ่มขึ้นอีก 1 รอบ เป็นรอบท่ี 4 ในเดือนพฤศจิกายน
ซง่ึ ทำให้ได้ข้อมูลเป็นรายไตรมาส
สำหรับการสำรวจต้ังแต่ พ.ศ. 2544 เป็นต้นไป ได้ดำเนินการสำรวจเป็นรายเดือน แล้วนำ
ข้อมูล 3 เดือนรวมกนั เพือ่ เสนอข้อมูลเป็นรายไตรมาส และได้มีการปรบั อายุผอู้ ยู่ในกำลงั แรงงานจาก 13 ปี
ข้ึนไป เป็น 15 ปีขึ้นไป เพ่ือให้สอดคล้องกับกฎหมายการใช้แรงงานเด็ก ปรับปรุงการจัดจำแนกประเภท
อาชีพอุตสาหกรรม และสถานภาพการทำงาน ใหส้ อดคลอ้ งกับมาตรฐานสากล เพ่ือให้สามารถเปรยี บเทียบ
ข้อมูลกันได้และปรับเขตการปกครองจากเดิมเขตสุขาภิบาลถูกนำเสนอรวมเป็นนอกเขตเทศบาล ตาม
พระราชบัญญัติเปล่ยี นแปลงฐานะของสุขาภบิ าลเป็นเทศบาล พ.ศ. 2542 เพื่อสนองความต้องการใช้ข้อมูล
ในระดับจังหวัด สำนักงานสถิติแห่งชาติได้ขยายขนาดตัวอย่างและนำเสนอข้อมูลเป็นระดับจังหวัด ต้ังแต่
พ.ศ. 2557 เปน็ ต้นมา
รายงานฉบับนี้ เป็นรายงานผลการสำรวจภาวะการทำงานของประชากร จังหวัดบุรีรัมย์
ไตรมาส 2 ซ่ึงไดด้ ำเนนิ การสำรวจระหว่างเดือนเมษายน - มิถุนายน พ.ศ. 2565
v
บทสรปุ สำหรับผูบ้ รหิ าร
สำนกั งานสถติ แิ ห่งชาติ ไดส้ ำรวจภาวะการทำงาน เพิม่ ขึน้ ร้อยละ 1.4 สาขาการผลิตเพ่มิ ข้นึ ร้อยละ 1.3 สาขา
ของประชากรไตรมาส 2 พ.ศ. 2565 เพื่อให้ทราบถึง
ภาวะการทำงานและการวา่ งงานของประชากร กิจกรรมโรงแรมและอาหารเพิ่มขึ้น รอ้ ยละ 1.0 สาขาการ
บรหิ ารราชการ การปอ้ งกันประเทศและการประกันสังคม
สำหรับรายงานฉบับนี้ เป็นการเสนอผลการ ภาคบังคับเพิ่มขน้ึ ร้อยละ 0.7
สำรวจในจังหวัดบุรีรัมย์ สรุปได้ดังนี้ ผลการสำรวจ
ภาวะการมีงานทำ และการว่างงาน ไตรมาส 2 ส่วนผู้มีงานทำภาคเก ษตรกรร ม ล ด ล ง ป ร ะ ม า ณ
เมษายน-มิถนุ ายน พ.ศ. 2565 พบว่า จังหวัดบุรีรมั ย์ 40,721 คน (ร้อยละ 8.2)
มีจำนวนผู้ที่มีอายุ 15 ปีขึ้นไป หรือ ผู้อยู่ในวัย
ทำงานทั้งสิ้น จำนวน 977,879 คน เป็นผู้อยู่ใน แผนภูมิที่ 1 เปรียบเทียบร้อยละผู้มีงานทำ จำแนกตาม
กำลังแรงงานหรอื ผทู้ ี่พร้อมทำงาน 671,945 คน ซ่ึง อุตสาหกรรมทส่ี ำคญั ไตรมาส 2 พ.ศ. 2564 กับ 2565
ประกอบด้วย ผู้มีงานทำ 651,488 คน ผู้ว่างงาน
16,318 คน ผู้รอฤดูกาล 4,140 คน ส่วนผ้ทู ไี่ ม่อยใู่ น ประเภท 2.63.8 ปี 2565
กำลงั แรงงานมี 305,934 คน อตุ สาหกรรม 0.91.4 ปี 2564
1.63.0
แผนผงั การจำแนกประชากรตามสถานภาพแรงงาน อน่ื ๆ 46.1 54.3
การสำรวจภาวการณ์ทำงานของประชากร ไตรมาส 2 พ.ศ. 2565 การขนส่งทเ่ี ก็บสินค้า 43.0.0
4.9
ผมู้ ีอายุ 15 ปีขน้ึ ไป สขุ ภาพ
977,879 คน การศึกษา 4.2
การบรหิ ารราชการ
ผูอ้ ยูใ่ นกาลังแรงงาน ผู้ไมอ่ ยู่ในกาลังแรงงาน โรงแรมและอาหาร 6.5
(ผ้ทู พี่ รอ้ มทางาน) (ผู้ไม่พร้อมทางาน) การก่อสร้าง
671,945 คน (68.7%) การผลิต 5.5
305,934 คน (31.3%) ขายส่งการขายปลกี
ผ้มู งี านทา 651,488 คน ทางานบ้าน 75,103 คน เกษตรกรรม 7.2
(66.6%) (7.7%)
เรยี นหนงั สือ 83,214 คน 7.9
ผวู้ า่ งงาน 16,318 คน (8.5%)
(1.7%) เด็ก/ชรา/ป่วย/พกิ าร 6.76.9
132,162 คน (13.5%)
ผทู้ ่ีรอฤดูกาล 4,140 12.4 16.2
(0.4%)
0 10 20 30 40 50 60
อ่นื ๆ 15,455 คน (1.6%)
ร้อยละ
พิจารณาตามอุตสาหกรรม พบว่า จำนวนผู้มี
เมื่อพิจารณาตามลักษณะอาชีพ พบว่า ผู้มีงานทำ
งานทำในช่วงเวลาเดียวกันของปที ี่ผ่านมา มีผู้มีงาน ส่วนใหญเ่ ปน็ ผู้ปฏิบัตงิ านท่ีมีฝีมอื ในดา้ นการเกษตรและ
ทำเพิ่มขึ้น 23,707 คน โดยผู้มีงานทำนอกภาค การประมง รอ้ ยละ 42.8 รองลงมา เป็นพนกั งานบริการ
เกษตรกรรมเพิ่มขึ้นประมาณ 64,426 คน (จาก และพนักงานในร้านค้าและตลาด ร้อยละ 16.9
ผ้ปู ฏิบัตงิ านด้านความสามารถทางฝมี อื และธุรกิจอน่ื ๆ ท่ี
286,935 คน เปน็ 351,361 คน) หรือเพิ่มข้ึนรอ้ ยละ เก่ยี วขอ้ ง ร้อยละ 12.4 ผปู้ ระกอบอาชพี ข้นั พื้นฐานต่างๆ
8.2 ในจำนวนนี้เป็นการเพิ่มขึ้นในสาขาการขายส่ง ในด้านการขายและการให้บริการ ร้อยละ 10.9
ผู้ประกอบวิชาชีพด้านต่างๆ ร้อยละ 5.0 และ อาชีพ
การขายปลีก การซ่อมแซมยานยนต์ รถจักรยานยนต์ อื่นๆ เช่น ผ้บู ัญญัตกิ ฎหมายขา้ ราชการระดบั อาวโุ ส และ
ร้อยละ 3.8 สาขาด้านสขุ ภาพ และงานสังคมสงเคราะห์ ผู้จัดการ ผู้ประกอบวิชาด้านเทคนิคสาขาต่างๆ และ
อาชีพที่เกี่ยวข้อง เสมียน ผู้ปฏิบัติการโรงงานและ
เครื่องจักรและผู้ปฏิบัติงานด้านการประกอบร้อยละ
12.0
vi
แผนภูมทิ ี่ 2 รอ้ ยละของผมู้ ีงานทำ จำแนกตาม เมื่อเปรียบเทียบกับช่วงเวลาเดียวกันของปีที่ผ่านมา
จะเห็นว่าผู้ที่ทำงานตั้งแต่ 35 ชั่วโมงขึ้นไป ต่อสัปดาห์
อาชีพ ไตรมาส 2 พ.ศ. 2565 เพิ่มขึ้นจากร้อยละ 61.3 เป็นร้อยละ 74.0 ผู้ที่ทำงาน
1–34 ชั่วโมงต่อสัปดาห์ ลดลงจากร้อยละ 34.9 เป็น
อาชีพข้ัน อาชพี อ่ืนๆ ผปู้ ระกอบวชิ าชพี ตา่ งๆ พนักงาน ร้อยละ 22.0 และผู้ที่ไม่ได้ทำงานในสัปดาห์สำรวจ
พ้ืนฐาน 12.0 5.0 บรกิ าร 16.9 (0 ชัว่ โมง) เพ่ิมข้นึ จากร้อยละ 3.8 เปน็ รอ้ ยละ 4.0
ตา่ งๆ ใน แผนภมู ทิ ี่ 4 เปรียบเทียบร้อยละของผู้มีงานทำ
จำแนกตามช่ัวโมงการทำงานไตรมาส 2
ดา้ นการขาย ผ้ปู ฏิบัติงานทีม่ ฝี มี อื ใน พ.ศ. 2564 -2565
10.9 ด้านการเกษตร 42.8
รอ้ ยละ
ผปู้ ฏบิ ตั งิ านด้าน
ความสามารถทางฝมี ือ 12.4
ผู้มีงานทำในจังหวัดบุรีรัมย์ ไตรมาส 2 พ.ศ. 2565 100 74.0
ส่วนใหญ่จะมีสถานภาพการทำงานเป็นผู้ที่ทำงาน 61.3
ส่วนตวั 346,328 คน หรอื ร้อยละ 53.2 รองลงมามี 50 34.9
ส ถ า น ภ า พ ก า ร ท ำ ง า น เ ป ็ น ช่ วยธ ุ รก ิ จคร ั วเร ื อน 22.0
138,234 คน หรือร้อยละ 21.2 ลูกจ้างเอกชน 83,436 3.8 4.0
คน หรือร้อยละ 12.8 ลูกจ้างรฐั บาลมีประมาณ 73,894 0 0 ช่วั โมง 1 - 34 ช่วั โมง 35 ชัว่ โมงขึ้นไป ช่ัวโมง
คน หรือร้อยละ 11.3 ส่วนผู้ทำงานท่ีเป็นนายจ้าง มี
การทำงาน
ประมาณ 9,596 คน หรอื รอ้ ยละ 1.5
แผนภมู ิท่ี 3 รอ้ ยละของผู้มีงานทำ จำแนกตาม 2564 2565
สถานภาพการทำงานไตรมาส 2พ.ศ. 2565 สำหรับจำนวนผู้ว่างงานในไตรมาส 2 พ.ศ. 2565
รอ้ ยละ มจี ำนวนผวู้ ่างงานทั้งส้นิ 16,318 คน หรอื รอ้ ยละ 2.4 ของ
60 53.2
ทางานสว่ นตวั ผมู้ อี ายุ 15 ปขี ้นึ ไป เมอื่ เปรียบเทียบอตั ราการว่างงานกับ
ช่วยธุรกิจครวั เรอื น ช่วงเวลาเดียวกันของปีทีผ่ ่านมา พบว่า อัตราการว่างงาน
40 ลกู จา้ งเอกชน
เพิม่ ขึน้ จาก รอ้ ยละ 1.1 เปน็ ร้อยละ 2.4
21.2 ลูกจ้างรัฐบาล แผนภมู ิที่ 5 จำนวน และ อัตราการวา่ งงานในไตรมาส 2
20 12.8 11.3 นายจา้ ง พ.ศ. 2559 - 2565
1.5 สถานภาพ คน 24,000 3.3 3.5
0 การทำงาน 22,024 3.0
21,000 2.5
เมอื่ พิจารณาถงึ ช่ัวโมงการทำงานของผู้มีงานทำ 18,000 16,318 2.5
ต่อสปั ดาห์ในไตรมาส 2 พ.ศ. 2565 พบวา่ สว่ นใหญ่ 15,000 2.1
ทำงานตั้งแต่ 35 ชั่วโมงขึ้นไปต่อสัปดาห์ ซึ่งถือว่า 12,000 2.4
9,000 16,308
เป็นผู้ทำงานเต็มเวลาของการทำงาน คิดเป็นร้อยละ 6,000 2.0
74.0 และผู้ที่ทำงาน 1– 34 ชั่วโมง ต่อสัปดาห์ 3,000
0.7 14,494 1.0 7,083 1.1 1.5
ร้อยละ 22.0 สำหรับผู้ที่ไม่ได้ทำงานในสัปดาห์แหง่ 0 1.0
การสำรวจ (ระหวา่ ง 7วันก่อนสมั ภาษณ์) แต่เป็นผู้มี 4,466 6,468 0.5
งานประจำ ซึ่งถือว่าในสัปดาห์แห่งการสำรวจไม่มี 0.0
ชั่วโมงการทำงาน (0 ชั่วโมง) คิดเป็นร้อยละ 4.0 จานวน อตั ราการวา่ งงาน
ของจำนวนผูม้ งี านทำทง้ั ส้นิ
สารบัญ vii
คำนำ หน้า
บทสรปุ สำหรับผบู้ ริหาร iii
สารบญั แผนภูมิ v
สารบัญตาราง ix
บทที่ 1 บทนำ xi
1
1. ความเป็นมาและวัตถุประสงค์ 1
2. คุ้มรวม 2
3. สปั ดาหแ์ หง่ การสำรวจ 2
4. คำอธิบายศัพท์ แนวคิด คำจำกดั ความ 2
บทท่ี 2 สรุปผลการสำรวจ 7
1. ลกั ษณะของกำลังแรงงาน 7
2. การมสี ่วนรว่ มในกำลังแรงงาน 8
3. ผูม้ งี านทำ 8
8
3.1 อาชีพ 9
3.2 อุตสาหกรรม 11
3.3 สถานภาพการทำงาน 11
3.4 ช่วั โมงการทำงาน 12
4. การวา่ งงาน
ภาคผนวก 17
ภาคผนวก ก ระเบยี บวธิ ี 21
ภาคผนวก ข ตารางสถิติ
สารบัญแผนภูมิ ix
แผนภมู ิ 1 เปรียบเทียบร้อยละผู้มงี านทำ จำแนกตามอุตสาหกรรมท่ีสำคัญ ไตรมาส 2 หนา้
พ.ศ. 2564 และ ปี 2565 v
แผนภูมิ vi
แผนภมู ิ 2 รอ้ ยละของผูม้ งี านทำ จำแนกตามอาชพี ไตรมาส 2 พ.ศ. 2565 vi
แผนภูมิ 3 ร้อยละของผู้มงี านทำ จำแนกตามสถานภาพการทำงานไตรมาส 2 พ.ศ. 2565 vi
4 เปรียบเทยี บร้อยละของผมู้ งี านทำ จำแนกตามชัว่ โมงการทำงานไตรมาส 2 vi
แผนภูมิ 13
แผนภมู ิ พ.ศ. 2564 และ ปี 2565 14
5 จำนวนและอัตราการวา่ งงานในไตรมาส 2 พ.ศ. 2559 - 2565
แผนภูมิ
6 จำนวนผ้วู ่างงานและอัตราการว่างงานในไตรมาส 3 พ.ศ. 2563 - ไตรมาส 2
พ.ศ. 2565
7 จำนวนผเู้ สมอื นวา่ งงานในไตรมาส 3 พ.ศ. 2563 - ไตรมาส 2 พ.ศ. 2565
xi
สารบัญตาราง
หนา้
ตาราง ก จำนวน และร้อยละของประชากรอายุ 15 ปขี น้ึ ไป จำแนกตามสถานภาพแรงงาน 7
และเพศ ไตรมาส 2 (เมษายน – มิถนุ ายน) พ.ศ. 2564 – 2565
ตาราง ข อตั ราการมีสว่ นรว่ มในกำลงั แรงงาน จำแนกตามเพศ 8
ไตรมาส 2 (เมษายน – มถิ ุนายน) พ.ศ. 2564 – 2565
ตาราง ค จำนวน และร้อยละของประชากรอายุ 15 ปีขน้ึ ไปท่ีมงี านทำ จำแนกตามอาชีพ และ 9
เพศ ไตรมาส 2 (เมษายน – มิถนุ ายน) พ.ศ. 2564 – 2565
ตาราง ง จำนวน และร้อยละของประชากรอายุ 15 ปีขนึ้ ไปที่มงี านทำ จำแนกตาม 10
อุตสาหกรรม และเพศ ไตรมาส 2 (เมษายน – มิถุนายน) พ.ศ. 2564 – 2565
ตาราง จ จำนวน และรอ้ ยละของประชากรอายุ 15 ปขี ึน้ ไปทมี่ ีงานทำ จำแนกตามสถานภาพ 11
การทำงาน และเพศ ไตรมาส 2 (เมษายน – มิถนุ ายน) พ.ศ. 2564 – 2565
ตาราง ฉ จำนวน และร้อยละของประชากรอายุ 15 ปขี ้นึ ไปที่มีงานทำ จำแนกตามช่วั โมง 12
การทำงาน และเพศ ไตรมาส 2 (เมษายน – มิถนุ ายน) พ.ศ. 2564 – 2565
ตาราง ช จำนวนประชากรอายุ 15 ปขี นึ้ ไป ผอู้ ย่ใู นกำลังแรงงาน และอตั ราการว่างงาน 12
จำแนกตามเพศ ไตรมาส 2 (เมษายน – มิถนุ ายน) พ.ศ. 2565
ตาราง ซ เปรียบเทยี บจำนวนประชากรอายุ 15 ปขี ึน้ ไป ผอู้ ยู่ในกำลังแรงงาน 13
และอตั ราการว่างงาน ไตรมาส 2 (เมษายน – มิถนุ ายน) พ.ศ. 2559 – 2565
1
บทที่ 1
บทนำ
1. ความเปน็ มาและวัตถุประสงค์
สำนักงานสถิติแห่งชาติ ได้ทำการสำรวจ รายเดือนแล้วนำข้อมูล 3 เดือนรวมกันเพ่ือเสนอ
ภาวะการทำงานของประชากรทั่วประเทศอย่าง ข้อมูลเป็นรายไตรมาส โดยข้อมูลที่สำคัญสามารถ
ต่อเนื่องเป็นประจำทุกปี เร่ิมตั้งแต่ปี พ.ศ. 2506 นำเสนอในระดับจังหวัด สำหรับข้อมูลของเดือนที่
โดยในช่วงแรกทำการสำรวจปีละ 2 รอบ และใน ตรงกับรอบการสำรวจเดิม คือข้อมลู เดอื นกุมภาพันธ์
พ.ศ. 2527 ถึง พ.ศ. 2540 ได้ทำการสำรวจปีละ พฤษภาคม และ สิงหาคม ได้จัดทำสรุปผลการ
3 รอบ โดยรอบที่ 1 ทำการสำรวจในเดือนกุมภาพันธ์ สำรวจเฉพาะข้อมูลที่สำคัญเพือ่ สามารถเปรยี บเทียบ
เป็นช่วงหน้าแล้งนอกฤดูการเกษตร รอบที่ 2 สำรวจ กบั ข้อมูลแตล่ ะรอบของปที ี่ผา่ นมาได้ และการสำรวจ
ในเดือนพฤษภาคม เป็นช่วงที่กำลังแรงงานใหม่ที่ ตั้งแต่เดือนกันยายน พ.ศ.2544 เป็นต้นมา สามารถ
เพิ่งสำเร็จการศึกษาเริ่มเข้าสู่ตลาดแรงงาน รอบท่ี 3 นำเสนอผลของการสำรวจเป็นรายเดือนทุกเดอื นโดย
สำรวจในเดือนสิงหาคม เป็นช่วงฤดูการเกษตร และ ส า ม า ร ถ เส น อ ผ ล ใน ร ะ ดั บ ภ า ค เท่ า นั้ น เน่ื อ ง จ า ก
ต่อมาใน พ.ศ. 2541 เป็นต้นมา ได้เพ่ิมการสำรวจ ตัวอย่างไม่มากพอที่จะนำเสนอในระดับย่อยกว่าน้ี
อีก 1 รอบ รวมเป็น 4 รอบ โดยทำการสำรวจใน และในขณะเดียวกันได้มีการปรับอายุผู้อยู่ในกำลัง
เดือนพฤศจิกายนของทุกปี ซึ่งเป็นช่วงฤดูการเก็บ แรงงานจาก 13 ปีข้ึนไปเป็น 15 ปีข้ึนไป เพ่ือให้
เก่ียวผลผลิตทางการเกษตร ทั้งน้ีเพ่ือเป็นการ สอดคล้องกับกฎหมายการใช้แรงงานเด็ก ปรับปรุง
นำเสนอข้อมูลที่สะท้อนถึงภาวะการมีงานทำ การ การจัดจำแนกประเภทของอาชีพ อุตสาหกรรม
ว่างงานและการประกอบกิจกรรมต่างๆ ของ และ ส ถาน ภ าพ ก าร ท ำงาน ให้ สอ ด คล้ อ งกั บ
ประชากรทั้งประเทศเป็นรายไตรมาสและต่อเน่ือง ม าต ร ฐาน ส าก ล ใน ปั จ จุ บั น เพื่ อ ให้ ส าม าร ถ
ครบทุกช่วงเวลาของปี เปรียบเทียบข้อมูลกันได้ ปรับเขตการปกครองจาก
เดิ ม เข ต สุ ข า ภิ บ า ล ถู ก น ำ เส น อ ร ว ม เป็ น น อ ก เข ต
เนื่องจากความจำเป็นตอ้ งการใชข้ ้อมูล เพ่ือใช้ เทศบาล มารวมเป็นในเขตเทศบาล เนื่องจาก
ในการวางแผนและกำหนดนโยบายในระดับจังหวัด พระราชบัญญัตเิ ปลี่ยนแปลงฐานะของสขุ าภิบาลเป็น
มีมากขึ้น สำนกั งานสถิตแิ หง่ ชาติจึงได้กำหนดขนาด เทศบาล พ.ศ. 2542
ตัวอยา่ งเพิ่มข้ึนโดยเร่มิ ตั้งแต่ พ.ศ. 2537 ทง้ั นเี้ พือ่ ให้
สามารถนำเสนอข้อมูลในระดับจังหวัดได้ โดยเสนอ วัตถุประสงค์ท่ีสำคญั ของการสำรวจภาวะการ
เฉพาะรอบการสำรวจของเดือนกมุ ภาพันธ์และเดือน ท ำ ง าน ข อ ง ป ร ะ ช า ก ร เพื่ อ ป ร ะ ม า ณ จ ำ น ว น แ ล ะ
สิงหาคมเท่าน้ัน การสำรวจรอบท่ี 4 ในเดือน ลักษณะของกำลังแรงงานภายในประเทศและใน
พฤศจิกายน พ.ศ. 2541 ซ่ึงจัดทำเป็นคร้ังแรกได้ จังหวัดต่าง ๆ ในแต่ละไตรมาสของข้อมูลสถิติท่ีได้
เสนอผลในระดับจงั หวดั ด้วยและตั้งแตป่ ี พ.ศ. 2542 จากการสำรวจ
เป็นต้นมา ผลการสำรวจทั้ง 4 รอบได้เสนอผลใน
ระดับจังหวัด 1. จำนวนประชากรในวัยทำงาน (อายุ 15 ปี
ข้ึนไป) และจำนวนประชากรนอกวัยทำงานจำแนก
หลังจากเกิดภาวะวิกฤติทางเศรษฐกิจกลางปี ตามเพศ
2540 ความต้องการใช้ข้อมูลเพื่อการวางแผนและ
กำหนดนโยบายด้านแรงงานมีมากขนึ้ และเรง่ ด่วนข้ึน 2. จำนวนประชากรในวัยทำงาน จำแนก
ในปี พ.ศ. 2544 จึงได้เร่ิมดำเนินการสำรวจเป็น ตามสถานภาพแรงงาน อายุ เพศ สถานภาพสมรส
การศกึ ษาท่สี ำเร็จ
2 คำนิยามท่ีสำคัญ ๆ ทใี่ ช้ในการสำรวจ มีดังนี้
3. จำนวนผู้มีงานทำ จำแนกตามลกั ษณะท่ี ผูม้ ีงานทำ
น่าสนใจ เช่น อายุ เพศ การศึกษาท่ีสำเร็จ อาชีพ ผู้มีงานทำ หมายถึง บุคคลท่ีมีอายุ 15 ปีข้ึนไป
อุตสาหกรรม สถานภาพการทำงาน ชั่วโมงทำงาน
ค่าจ้าง เงินเดอื น และผลประโยชน์อืน่ ๆ ทไ่ี ด้รับจาก และในสัปดาห์แห่งการสำรวจมีลักษณะอย่างหนึ่ง
การทำงาน อยา่ งใด ดังตอ่ ไปนี้
4. จำนวนผู้ว่างงาน จำแนกตามลักษณะ 1. ได้ทำงานตั้งแต่ 1 ช่ัวโมงขึ้นไป โดยได้รับ
บางประการที่น่าสนใจ เช่น ระยะเวลาในการหางานทำ ค่าจ้าง เงินเดือน ผลกำไร เงินปันผลค่าตอบแทนที่มี
งานทท่ี ำครงั้ สดุ ทา้ ย สาเหตุการวา่ งงาน เปน็ ต้น ลักษณะอย่างอื่นสำหรับผลงานท่ีทำ เป็นเงินสด
หรอื ส่ิงของ
2. ค้มุ รวม
2. ไมไ่ ด้ทำงาน หรือทำงานนอ้ ยกว่า 1 ชว่ั โมง
ประชากรท่ีอาศัยอยู่ในครัวเรือนส่วนบุคคล แต่เป็ น บุคคลท่ี มีลัก ษ ณ ะ อ ย่างห น่ึงอ ย่างใด
และครวั เรอื นกลมุ่ บุคคลประเภทคนงาน ดังตอ่ ไปน้ี (ซ่ึงจะถอื วา่ เป็น ผทู้ ่ปี กติมีงานประจำ)
3. สปั ดาห์แห่งการสำรวจ 2.1ยังได้รับค่าตอบแทน ค่าจ้าง หรือ
ผลประโยชนอ์ ่ืนๆ หรือผลกำไรจากงานหรือธุรกิจใน
หมายถึง ระยะเวลา 7 วัน นับจากวันก่อนวัน ระหวา่ งที่ไมไ่ ด้ทำงาน
สัมภาษณ์ย้อนหลังไป 7 วัน เช่น วันสัมภาษณ์คือ
วนั ท่ี 9 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2547 “ ระหว่าง 7 วันก่อน 2.2ไม่ได้รับค่าตอบแทน ค่าจ้าง หรือ
วันสัมภาษณ์ ” คือ ระหว่างวันท่ี 2 ถึง วันที่ 8 ผลประโยชน์อ่ืน ๆ หรือผลกำไรจากงานหรอื ธุรกจิ ใน
กุมภาพนั ธ์ พ.ศ. 2547 ระหว่างท่ีไม่ได้ทำงาน แต่ยังมีงานหรือธุรกิจท่ีจะ
กลบั ไปทำ
4. คำอธิบายศพั ท์/แนวคดิ /คำจำกัดความ
3. ทำงานอย่างน้อย 1 ชั่วโมง โดยไม่ได้รับ
สำนักงานสถิติแห่งชาติ ได้ปรับปรุงแนวคิด ค่ า จ้ า ง ใน วิ ส า ห กิ จ ห รื อ ไ ร่ น า เก ษ ต ร ข อ ง หั ว ห น้ า
และคำนิยามที่ใช้ในการสำรวจภาวะการทำงานของ ครัวเรือนหรือของสมาชิกในครวั เรือน
ประชากรหลายครั้ง โดยมีวัตถุประสงค์เพ่ือให้
สอดคล้องกับสภาพท่ีแท้จริงทางสงั คมและเศรษฐกิจ ผูว้ า่ งงาน
ของประเทศตลอดจนความต้องการของผู้ใช้ข้อมูล ผู้ว่างงาน หมายถึง บุคคลท่ีมีอายุ 15 ปีขึ้น
แ ล ะ ส อ ด ค ล้ อ ง กั บ ม า ต ร ฐ า น ส า ก ล ข อ ง อ ง ค์ ก า ร
แรงงาน ระ ห ว่ างป ระ เท ศ (ILO) กั บ องค์ ก าร ไป และในสัปดาห์แห่งการสำรวจมีลักษณะอย่างหน่ึง
สหประชาชาติ (UN) แนวคิดและคำนยิ ามทใี่ ช้ในการ อยา่ งใด ดงั ต่อไปน้ี
สำรวจไตรมาสน้ี ได้เริ่มใช้มาต้ังแต่รอบที่ 1 พ.ศ.
2526 มีการปรับปรุงบ้างตามลำดับ และต้ังแต่ 1. ไม่ได้ทำงานและไม่มีงานประจำ แต่ได้หา
ไตรมาสท่ี 1 พ.ศ. 2544 ได้กำหนดอายุขั้นต่ำของ งาน สมัครงานหรือรอการบรรจุ ในระหว่าง 30 วัน
ประชากรวยั ทำงานเปน็ 15 ปี กอ่ นวนั สัมภาษณ์
กำลังแรงงานปจั จุบัน 2. ไม่ได้ทำงานและไมม่ ีงานประจำ และไม่ได้
กำลังแรงงานปัจจุบัน หมายถึง บุคคลท่ีมี หางานทำในระหว่าง 30 วันก่อนวันสัมภาษณ์ แต่
พรอ้ มที่จะทำงานในสปั ดาหแ์ ห่งการสำรวจ
อายุ 15 ปีขึ้นไป ซ่ึงในสัปดาห์แห่งการสำรวจมีงาน
ทำหรอื ว่างงาน ตามคำนยิ ามที่ได้ระบขุ ้างต้น กำลังแรงงานที่รอฤดูกาล
กำลงั แรงงานทร่ี อฤดูกาล หมายถงึ บุคคลท่ี
มอี ายุ 15 ปีข้ึนไป ในสปั ดาห์แห่งการสำรวจเป็นผู้ไม่
เข้าข่ายคำนิยามของผู้มีงานทำ หรือผู้ว่างงาน แต่
เป็นผู้รอฤดูกาลที่เหมาะสมเพ่ือที่จะทำงาน และเป็น
บุคคลที่ตามปกติจะทำงานที่ไม่ได้รับสิ่งตอบแทนใน 3
ไร่นาเกษตร หรือธุรกิจซึ่งทำกิจกรรมตามฤดูกาล
โดยมีหัวหน้าครัวเรือน หรือสมาชิกคนอ่ืน ๆ ใน 2. กิจการที่ทำแล้วได้ผลกำไร หรือหวังท่ีจะ
ครัวเรอื นเป็นเจ้าของหรอื ผู้ดำเนินการ ได้รบั ผลกำไร หรือสว่ นแบ่งเป็นการตอบแทน
กำลังแรงงานรวม 3. กิจการท่ีทำให้กับธุรกิจของสมาชิกในครัวเรือน
กำลงั แรงงานรวม หมายถึง บคุ คลทกุ คนที่มี โดยไม่ได้รับค่าจ้างหรือผลกำไรตอบแทนอย่างใดซึ่ง
สมาชิกใน ครัวเรือน ที่ประกอบธุรกิจนั้นจะมี
อายุ 15 ปีข้ึนไป ในสัปดาห์แห่งการสำรวจเป็นผู้อยู่ สถานภาพการทำงาน เป็นประกอบธุรกิจส่วนตัว
ในกำลังแรงงานปัจจุบัน หรือเป็นผู้ถูกจัดจำแนกอยู่ หรือนายจา้ ง
ในประเภทกำลังแรงงานท่ีรอฤดูกาลตามคำนิยามท่ี
ไดร้ ะบุขา้ งต้น อาชีพ
อาชีพ หมายถึง ประเภทหรือชนิดของงานท่ี
ผไู้ ม่อยูใ่ นกำลังแรงงาน
ผู้ไม่อยู่ในกำลังแรงงาน หมายถึง บุคคลท่ี บคุ คลน้ันทำอยู่ บุคคลส่วนมากมีอาชีพเดียว สำหรับ
บุคคลที่ในสัปดาห์แห่งการสำรวจมีอาชีพมากกว่า 1
ไ ม่ เข้ า ข่ า ย ค ำ นิ ย าม ข อ ง ผู้ อ ยู่ ใน ก ำ ลั ง แ ร ง ง า น ใน อาชพี ใหน้ ับอาชีพทม่ี ีชัว่ โมงทำงานมากที่สดุ ถ้าชว่ั โมง
สปั ดาห์แหง่ การสำรวจ คอื ทำงานแต่ละอาชีพเท่ากันให้นับอาชีพท่ีมีรายได้
มากกว่า ถ้าช่ัวโมงทำงานและรายได้ที่ได้รับจากแต่
บุคคลซึ่งในสัปดาห์แห่งการสำรวจมีอายุ 15 ละอาชีพเท่ากัน ให้นับอาชีพที่ผู้ตอบสัมภาษณ์พอใจ
ปีขึ้นไป แต่ไม่ได้ทำงาน และไม่พร้อมท่ีจะทำงาน มากท่ีสุด ถ้าผู้ตอบสมั ภาษณ์ตอบไม่ได้ให้นับอาชีพที่
เนอ่ื งจากเป็นผู้ท่ี ได้ทำมานานท่ีสุด การจัดจำแนกประเภทอาชพี ตงั้ แต่
ไตรมาสที่ 1 พ.ศ. 2554 ปรับใช้ตามInternational
1. ทำงานบ้าน Standard Classification of Occupation, 2008
2. เรยี นหนังสอื (ISCO – 08) ขององค์การแรงงานระหว่างประเทศ
3. ยงั เด็กเกินไป หรอื ชรามาก (ILO)
4. ไม่สามารถทำงานได้ เน่ืองจากพิการ
ทางร่างกายหรือจิตใจ หรอื เจบ็ ป่วยเรอ้ื รงั ก่อน พ.ศ. 2553 การจัดประเภทอาชีพจำแนก
5. ไมส่ มัครใจทำงาน ตามความเหมาะสมกับลักษณะอาชีพของประเทศไทย
6. ทำงานโดยไม่ได้รับค่าจ้าง ผลกำไร โดยอ้างอิง International Standard Classification
ส่วนแบ่ง หรือส่ิงตอบแทนอื่น ๆ ให้แก่บุคคลซึ่งมิได้ of Occupation, 1988 (ISCO – 88)
เปน็ สมาชิกในครวั เรือนเดยี วกนั
7. ทำงานให้แก่องค์การ หรือสถาบัน การ อตุ สาหกรรม
กุศลต่างๆ โดยไม่ได้รับค่าจ้างผลกำไรส่วนแบ่งหรือ อุตสาหกรรม หมายถึง ประเภทของกิจกรรม
ส่งิ ตอบแทนอย่างใด
8. ไมพ่ ร้อมที่จะทำงาน เน่ืองจากเหตผุ ลอื่น ทางเศรษฐกิจท่ีได้ดำเนินการโดยสถานประกอบการ
ที่บุคคลนั้นกำลังทำงานอยู่ หรือประเภทของธุรกิจ
งาน ซ่ึงบุคคลน้ันได้ดำเนินการอยู่ในสัปดาห์แห่งการ
งาน หมายถึง กิจการที่ทำท่ีมีลักษณะอย่าง สำรวจ ถ้าบุคคลหน่ึงมีอาชีพมากกว่าหน่ึงอย่าง ให้
บันทึกอุตสาหกรรมตามอาชีพที่บันทึกไว้ การจัด
หน่งึ อยา่ งใด ดงั ตอ่ ไปนี้ จำแนกประเภทอุตสาหกรรม ตง้ั แต่ไตรมาสที่ 1 พ.ศ.
2554 ปรับใช้ตาม Thailand Standard Industrial
1. กิจการที่ทำแล้วได้รับค่าตอบแทนเป็นเงิน Classification, (TSIC 2009)
หรือส่ิงของ ค่าตอบแทนที่เป็นเงิน อาจจ่ายเป็น
รายเดอื น รายสปั ดาห์ รายวนั หรือรายชิ้น ก่อน พ.ศ. 2553 การจดั ประเภทอตุ สาหกรรม
จำแนกตามความเหมาะสมกับลักษณะอุตสาหกรรม
ของประเทศไทย โดยอ้างองิ International Standard
4 วา่ เป็นการลงทนุ การขาย งานอ่ืนๆ ของกิจการที่ทำ
ตลอดจนการแบ่งรายได้ให้แก่สมาชิกตามที่ตกลงกัน
Industrial Classification of All Economic (การรวมกลมุ่ ดังกล่าวอาจจดทะเบียนจัดต้งั ในรูปของ
Activities, (ISIC : 1989) สหกรณห์ รือไมก่ ็ได้)
สถานภาพการทำงาน การจัดจำแนกประเภทสถานภาพการทำงาน
สถานภาพการทำงาน หมายถึง สถานะของ ตั้งแต่ไตรมาสท่ี 1 พ.ศ. 2544 ใช้ตาม International
Classification of Status in Employment, 1993
บุคคลที่ทำงานในสถานท่ีที่ทำงานหรือธุรกิจ แบ่ง (ICSE – 93) ขององค์การแรงงานระหว่างประเทศ
ออกเป็น 5 ประเภท คอื (ILO) มีสถานภาพการทำงานเพิ่มขึ้นอีก 1 กลุ่มคือ
ก า ร ร ว ม ก ลุ่ ม (Member of Producers’
1. นายจ้าง หมายถึง ผู้ประกอบธุรกิจของ Cooperative)
ตนเองเพื่อหวังผลกำไร หรือส่วนแบ่ง และได้จ้าง
บคุ คลอ่ืนมาทำงานในธุรกจิ ในฐานะลูกจา้ ง ชว่ั โมงทำงาน
2. ประกอบธุรกิจส่วนตัวโดยไม่มีลูกจ้าง ชั่วโมงทำงาน หมายถึง จำนวนช่ัวโมง
หมายถึง ผปู้ ระกอบธุรกิจของตนเองโดยลำพังผู้เดียว ทำงานจริงท้ังหมด ในสปั ดาห์แห่งการสำรวจ สำหรับ
หรืออาจมีบุคคลอ่ืนมาร่วมกิจการด้วยเพื่อหวังผล บุคคลที่มีอาชีพมากกว่าหนึ่งอาชีพ ช่ัวโมงทำงาน
กำไร หรือส่วนแบ่งและไม่ได้จ้างลูกจ้างแต่อาจมี หมายถึง ยอดรวมของช่ัวโมงทำงานทุกอาชีพ
สมาชิกในครัวเรือนหรือผู้ฝึกงานมาช่วยทำงานโดย สำหรับผูท้ ี่มงี านประจำซ่ึงไม่ได้ทำงานในสัปดาห์แห่ง
ไมไ่ ด้รับค่าจา้ ง หรือค่าตอบแทนอย่างอน่ื สำหรับงาน การสำรวจใหบ้ นั ทกึ จำนวนช่วั โมงเป็น 0 ชัว่ โมง
ที่ทำ
การสำรวจกอ่ นปี พ.ศ. 2544 ผู้ทม่ี งี านประจำ
3. ช่วยธุรกิจในครัวเรือนโดยไม่ได้รับ ซ่ึงไม่ได้ทำงานในสัปดาห์แห่งการสำรวจ ให้นับ
ค่าจ้าง หมายถึง ผู้ที่ช่วยทำงานโดยไม่ได้รับค่าจ้าง จำนวนช่ัวโมงทำงานปกติต่อสัปดาห์เป็นช่ัวโมง
ในไร่นาเกษตร หรือในธุรกจิ ของสมาชิกในครวั เรอื น ทำงาน
4. ลูกจ้าง หมายถึง ผู้ท่ีทำงานโดยได้รับ รายได้ของลูกจา้ ง
ค่าจ้างเป็นรายเดือน รายสัปดาห์ รายวัน รายช้ิน รายได้ของลูกจ้าง หมายถึง รายไดข้ องผู้ที่มี
หรือเหมาจ่าย ค่าตอบแทนท่ีได้รับจากการทำงาน
อาจจะเปน็ เงิน หรอื ส่ิงของ สถานภาพการทำงานเป็น ลูกจ้าง ท่ไี ด้รับมาจากการ
ทำงานของอาชีพท่ีทำในสัปดาห์แห่งการสำรวจ ซ่ึง
ลูกจ้างแบง่ ออกเป็น 3 ประเภท ประกอบด้วยค่าจ้างและผลประโยชน์ตอบแทนอ่ืนๆ
4.1 ลูกจ้างรัฐบาล หมายถึง ข้าราชการ สำหรบั ลูกจ้าง
พนักงานเทศบาล พนักงานองค์การบริหารส่วน ระยะเวลาของการหางานทำ
จังหวัด ตลอดจนลูกจ้างประจำ และชั่วคราวของ ระยะเวลาของการหางานทำ หมายถึง
รัฐบาล
ระยะเวลาท่ีผู้ว่างงานได้ออกหางานทำ ให้นับตั้งแต่
4.2 ลูกจ้างรัฐวิสาหกิจ หมายถึง ผู้ท่ี วนั ที่เรมิ่ หางานทำจนถึงวนั สดุ ทา้ ยก่อนวนั สัมภาษณ์
ทำงานใหก้ ับหน่วยงานรัฐวสิ าหกิจ
คาบการแจงนบั
4.3 ลูกจ้างเอกช น หมายถึง ผู้ที่ คาบการแจงนับ หมายถึง ระยะเวลาที่
ทำงานใหก้ ับเอกชน หรือธรุ กจิ ของเอกชน รวมทง้ั ผูท้ ่ี
รับจ้างทำงานบา้ น พนกั งานออกไปสมั ภาษณบ์ ุคคลในครัวเรอื นตวั อยา่ ง
ซึ่งโดยปกตเิ ป็นวันที่ 1 - 12 ของทุกเดอื น
5. การรวมกลุ่ม หมายถึง กลุ่มคนที่มา
รว่ มกันทำงานโดยมีวัตถุประสงค์เพ่ือพึ่งตนเอง และ
ช่วยเหลือซ่ึงกันและกัน สมาชิกแต่ละคนมีความ
เท่าเทียมกันในการกำหนดการทำงานทุกข้ันตอนไม่
ประเภทของครัวเรือนที่อยใู่ นขอบข่ายการสำรวจ 5
ครัวเรือนท่ีอยู่ในขอบข่ายการสำรวจแบ่งได้
5. สำเร็จมธั ยมศึกษาตอนปลาย
เป็น 2 ประเภท คอื 5.1 สายสามัญ หมายถึง บุคคลท่ี
1. ครัวเรือนส่วนบุคคล ประกอบด้วย สำเร็จการศึกษาประเภทสามัญศึกษาต้ังแต่ช้ัน ม.6
ครัวเรอื นหนึง่ คน คอื บคุ คลเดยี วซงึ่ หุงหาอาหารและ ม.ศ.5 หรือ ม.8 เดิมขึ้นไป แต่ไม่สำเร็จระดับ
จัดหาส่ิงอุปโภคบริโภคที่จำเป็นแก่การครองชีพโดย การศึกษาทส่ี ูงกวา่
ไม่เก่ียวกับผู้ใดซ่ึงอาจพำนักอยู่ในเคหสถานเดียวกัน
หรือครัวเรือนท่ีมีบุคคลต้ังแต่สองคนขึ้นไปร่วมกัน 5.2 อาชีวศึกษา หมายถึง บุคคลที่
จัดหา และใช้ส่ิงอุปโภคบริโภคที่จำเป็นแก่การ สำเร็จการศึกษาประเภทอาชีวศึกษาหรือวิชาชีพท่ี
ครองชพี ร่วมกัน ครวั เรือนสว่ นบุคคลอาจอาศัยอยใู่ น เรียนต่อจากระดับมัธยมศึกษาตอนต้นหรือเทียบเท่า
เคหะที่เป็นเรือนไม้ ตึกแถว ห้องแถว ห้องชุด เรือ โดยมีหลักสูตรไม่เกิน 3 ปี และไม่สำเร็จระดับ
แพ เปน็ ต้น การศกึ ษาที่สงู กว่า
2. ครัวเรือนกลมุ่ บุคคล 5.3 วิชาการศึกษา หมายถึง บุคคลที่
2.1 ประเภทคนงาน ได้แก่ ครัวเรือน สำเร็จการศึกษาประเภทวิชาการศึกษา (การฝึกหัด
ครู) ในระดับมัธยมศกึ ษาตอนปลายหรือเทียบเท่าข้ึน
ซงึ่ ประกอบด้วย บคุ คลหลายคนอย่กู ินรว่ มกนั ในทอ่ี ยู่ ไปแตไ่ ม่สำเร็จระดบั การศกึ ษาทส่ี ูงกวา่
แห่งหน่งึ เช่น ทพ่ี ักคนงาน เปน็ ตน้
6. อดุ มศกึ ษา
2.2 ประเภทสถาบัน ซึ่งหมายถึง 6.1 สายวิชาการ หมายถึง บุคคลท่ี
บุคคลหลายคนอยรู่ ่วมกนั ในสถานท่ีอยู่แห่งหน่ึง เช่น
สถานท่ีกักกัน วัด กรมทหาร โดยไม่แยกที่อยู่เป็น ส ำเร็ จ ก าร ศึ ก ษ า ป ร ะ เภ ท ส ามั ญ ศึ ก ษ า ห รื อ ส า ย
สัดส่วนเฉพาะคนหรือเฉพาะครัวเรือน นักเรยี นท่ีอยู่ วิชาการ โดยได้รับวุฒิ บัตรระดับอนุปริญ ญ า
ประจำที่โรงเรียนหรือในหอพักนักเรียน เป็นต้น ปริญญาตรี โท เอก
ไมอ่ ยูใ่ นคมุ้ รวมของการสำรวจนี้
ระดับการศกึ ษาที่สำเร็จ 6.2 สายวิชาชีพ หมายถึง บุคคลท่ี
สำเร็จการศึกษาประเภทอาชีวศึกษา ห รือสาย
ได้จำแนกการศึกษาตามระดับการศึกษาท่ี วิชาชีพท่ีได้รับประกาศนียบัตรวิชาชีพช้ันสูง หรือ
สำเร็จดังนี้ เทยี บเท่าอนุปรญิ ญา ปรญิ ญาตรี
1. ไม่มีการศึกษา หมายถึง บุคคลที่ไม่เคย 6.3 สายวิชาการศึกษา หมายถึง
เข้าศกึ ษาในโรงเรยี น หรือไม่เคยไดร้ บั การศกึ ษา บุคคลท่ีสำเร็จการศกึ ษาประเภทวชิ าการศึกษา และ
ได้รับประกาศนยี บตั รระดับอนปุ ริญญาและปริญญาตรี
2. ต่ำกว่าประถมศึกษา หมายถึง บุคคลท่ี
สำเร็จการศึกษาต่ำกว่าชั้นประถมปีท่ี 6 หรือ 7. อาชีวศึกษาระยะส้ัน หมายถึง บุคคลที่
ชั้นประถมปที ี่ 7 หรือชนั้ ม.3 เดมิ สำเร็จก ารศึก ษ าห รือ ก ารฝึก อ บ รม ป ระ เภ ท
อาชีวศึกษาท่ีมีหลักสูตรไม่เกิน 1 ปี และได้รับ
3. สำเร็จประถมศึกษา หมายถึง บุคคลที่ ประกาศนียบัตรหรือใบรับรองเมื่อสำเร็จการศึกษา
สำเร็จการศึกษาต้ังแต่ช้ันประถมปีที่ 6 หรือชั้น พื้นความรู้ของผู้เข้าเรียนได้กำหนดให้แตกต่างตาม
ประถมปีท่ี 7 หรือชั้น ม.3 เดิมข้ึนไป แต่ไม่สำเร็จ วิชาเฉพาะแต่ละอย่างท่ีเรียน แต่อย่างต่ำต้องจบ
ระดับการศึกษาทสี่ งู กว่า ประถมปที ่ี 4 หรือเทยี บเทา่
4. สำเร็จมัธยมศึกษาตอนต้น หมายถึง 8. อ่ืน ๆ หมายถึง บุคคลท่ีสำเร็จการศกึ ษา
บุคคลที่สำเร็จการศึกษาตั้งแต่ชั้น ม.3 ม.ศ.3 หรือ ทไ่ี ม่สามารถเทยี บชัน้ ได้
ม.6 เดมิ ขึน้ ไป แต่ไมส่ ำเร็จระดบั การศึกษาที่สงู กว่า
7
บทที่ 2
สรปุ ผลการสำรวจ
1. ลกั ษณะของกำลังแรงงาน ผวู้ ่างงานเพ่ิมขึ้นจากไตรมาสเดียวกันของ
ปีที่แล้ว คือ เพิ่มข้ึนจำนวน 9,235 คน หรือ เพิ่มข้ึน
ผลการสำรวจภาวะการทำงานของ จากร้อยละ 0.7 เปน็ ร้อยละ 1.7
ป ร ะ ช าก ร ไต ร ม าส 2 เมษ ายน -มิ ถุ น าย น
พ.ศ. 2565 จังหวัดบุรีรัมย์ พ บว่า มีจำน วน ผู้ที่รอฤดูกาล หมายถึง ผู้ท่ีไม่ได้
ประชากรที่มีอายุ 15 ปีขึ้นไป จำนวน 977,879 คน ทำงานและไม่พร้อมท่ีจะทำงาน เนื่องจากจะรอทำงาน
เป็นผู้อยู่ในกำลังแรงงานหรือผู้ที่พร้อมทำงาน ในฤดูกาลต่อไป สำหรับไตรมาสนี้มีผู้รอฤดูกาล จำนวน
ประมาณ 671,945 คน (รอ้ ยละ 68.7) ประกอบดว้ ย 4,140 คน หรือร้อยละ 0.4
ผู้มีงานทำ มีประมาณ 651,488 คน ส่วน ผู้ท่ี ไม่อยู่ใน กำลังแรงงาน ทั้ งหมด
(ร้อยละ 66.6) เป็นเพศชาย 348,425 คน เพศหญิง
303,062 คน เม่ือเปรียบเทียบกับสัดส่วนผู้มีงานทำ 305,934 คน (ร้อยละ 31.3) ประกอบด้ วย
ในช่วงเวลาเดียวกันกับปีที่ผ่านมา พบว่า ผู้มีงานทำ ทำงานบ้าน 75,103 คน เรียนหนังสือ 83,214 คน
เพ่ิมขนึ้ จากรอ้ ยละ 64.1 เป็นรอ้ ยละ 66.6
ยั งเด็ ก/ชรา/ป่ วย/พิ การจนไม่ สามารถทำงานได้
ผู้ว่างงาน หมายถึง ผู้ไม่มีงานทำและ 132,162 คน และอ่ืนๆ 15,455 คน
พร้อมที่จะทำงาน มีประมาณ 16,318 คนเป็น
เพศชาย 9,318 คน และเพศหญิง 7,000 คน
ตาราง ก จำนวน และร้อยละของประชากรอายุ 15 ปีขนึ้ ไป จำแนกตามสถานภาพแรงงาน และเพศ
ไตรมาส 2 (เมษายน-มิถุนายน) พ.ศ. 2564 – 2565
สถานภาพแรงงาน ไตรมาส 2 ไตรมาส 2 พ.ศ. 2565
พ.ศ. 2564 รวม ชาย หญิง
ผู้ทมี่ อี ายุ 15 ปีขึน้ ไป จำนวน รอ้ ยละ จำนวน ร้อยละ จำนวน ร้อยละ
1. ผ้อู ยู่ในกำลังแรงงาน จำนวน ร้อยละ 977,879 100.0 464,409 100.0 513,470 100.0
978,859 100.0 671,945 68.7 361,151 77.7 310,795 60.5
1.1 กำลงั แรงงานปัจจุบัน 636,189 64.9 667,806 68.3 357,744 77.0 310,062 60.4
1.1.1 ผมู้ ีงานทำ 634,864 64.8 651,488 66.6 348,425 75.0 303,062 59.0
1.1.2 ผูว้ ่างงาน 627,781 64.1 16,318 1.7 9,318 2.0 7,000 1.4
4,140 0.4 3,407 0.7 733 0.1
1.2 ผูร้ อฤดกู าล 7,083 0.7 305,934 31.3 103,258 22.3 202,675 39.5
2. ผ้ไู มอ่ ย่ใู นกำลังแรงงาน 1,325 0.1 75,103 7.7 6,863 1.5 68,241 13.3
342,670 35.1 83,214 8.5 34,696 7.5 48,518 9.5
2.1 ทำงานบ้าน 95,614 9.8 132,162 13.5 51,635 11.1 80,527 15.7
2.2 เรยี นหนังสือ 75,848 7.8
2.3 ยังเด็ก/ชรา/ป่วย/
พกิ ารจนไมส่ ามารถทำงานได้ --
2.4 อนื่ ๆ
171,208 17.5 15,455 1.6 10,064 2.2 5,390 1.0
อตั ราการมีงานทำ 64.1 66.6 75.0 59.0
อัตราการวา่ งงาน 1.1 2.4 2.6 2.3
8
2. การมสี ว่ นรว่ มในกำลงั แรงงาน มากกว่าเพศหญิง คือ ร้อยละ 77.0 และร้อยละ
เม่ือพิจารณาอัตราการมีส่วนร่วมในกำลัง 60.4 ตามลำดบั
แรงงาน หรือร้อยละของประชากรที่อยู่ในกำลัง เมื่อเทียบกับช่วงเวลาเดียวกันของปีที่ผ่านมา
แรงงานรวม (รวมกำลังแรงงานที่รอฤดูกาล) จะพบว่าการมีส่วนร่วมในกำลังแรงงานเพ่ิมข้ึน
ต่อประชากรท่ีมีอายุ 15 ปีข้ึนไปท้ังหมดใน จากร้อยละ 65.0 เป็นร้อยละ 68.3 โดยเพศชาย
ไตรมาส 2 พ.ศ. 2565 พบว่า การมีส่วนร่วมใน มอี ัตราการมีส่วนร่วมในกำลงั แรงงานเพ่ิมขึ้นจาก
กำลังแรงงานของประชากรรอ้ ยละ 68.3 โดยเพศ ร้อยละ 75.9 เป็นร้อยละ 77.0 และเพศหญิงมี
ช า ย มี อั ต ร า ก า ร มี ส่ ว น ร่ ว ม ใน ก ำ ลั ง แ ร ง ง า น อัตราการมีส่วนร่วมในกำลังแรงงานเพ่ิมข้ึนจาก
รอ้ ยละ 55.0 เป็นรอ้ ยละ 60.4
ตาราง ข อตั ราการมสี ว่ นร่วมในกำลงั แรงงาน จำแนกตามเพศ ไตรมาส 2 (เมษายน - มถิ ุนายน)
พ.ศ. 2564 – 2565
เพศ อัตราการมีสว่ นร่วมในกำลังแรงงาน
ไตรมาส 2 พ.ศ. 2564 ไตรมาส 2 พ.ศ. 2565
รวม 65.0 68.3
ชาย 75.9 77.0
หญงิ 55.0 60.4
3. ผมู้ ีงานทำ งานทำ (เพศชาย 55,690 คน และเพศหญิง
25,316 คน) อาชีพขั้นพ้ืนฐานต่างๆ ในดา้ นการ
3.1 อาชพี ขายและการให้บริการ 70,723 คน หรือร้อยละ
เมื่อพิจารณาถงึ ลักษณะการทำงานของ (เพศชาย 43,079 คน และเพศหญิง 27,644
คน) ที่เหลอื กระจายอยู่ในอาชีพอื่นๆ 110,199 คน
ประชากร ไตรมาส 2 พ.ศ. 2565 พบว่า ผู้ท่ีมี หรอื รอ้ ยละ 17.0
งานทำท้ังส้ิน 651,488 คน (เพศชาย 348,425
คน และเพศหญิง 303,062 คน) ส่วนใหญ่เป็น เม่ือเปรียบเทียบกับช่วงเวลาเดียวกัน
ของปีที่ผ่านมาจะพบว่า ผู้ปฏิบัติงานท่ีมีฝีมือใน
ผู้ ป ฏิ บั ติ ง า น ท่ี มี ฝี มื อ ใน ด้ า น ก า ร เก ษ ต ร แ ล ะ ด้านการเกษตร และการประมง มีสัดส่วนลดลง
การประมง 279,038 คน หรือร้อยละ 42.8 ของ มากท่ีสุดจากร้อยละ 52.1 เป็นร้อยละ 42.8
ในขณะที่อาชีพข้ันพ้ืนฐานต่างๆ ในด้านการขาย
ผ้มู ีงานทำ (เพศชาย 158,410 คน และเพศหญิง และการให้บริการ มีสัดส่วนเพิ่มขนึ้ มากท่ีสุดจาก
120,628 คน) รองลงมาเป็นพนักงานบรกิ ารและ รอ้ ยละ 6.1 เป็นรอ้ ยละ 10.9
พนักงานในร้านค้าและตลาด 110,521 คน หรือ
ร้อยละ 16.9 ของผู้มีงานทำ (เพศชาย 30,819
คน และเพศหญิง 79,702 คน) ผู้ปฏิบตั ิงานด้าน
ความสามารถทางฝีมือและ ธุรกิจอื่น ๆท่ี
เก่ยี วขอ้ ง 81,007 คน หรือร้อยละ 12.4 ของผมู้ ี
9
ตาราง ค จำนวน และร้อยละของประชากรอายุ 15 ปีขึน้ ไปท่มี งี านทำ จำแนกตามอาชีพและเพศ
ไตรมาส 2 (เมษายน - มิถุนายน) พ.ศ. 2564 – 2565
ไตรมาส 2 ไตรมาส 2 พ.ศ. 2565
พ.ศ. 2564
อาชพี รวม ชาย หญงิ
จำนวน รอ้ ยละ
ยอดรวม 627,781 100.0 จำนวน ร้อยละ จำนวน รอ้ ยละ จำนวน รอ้ ยละ
1.ผบู้ ัญญัติกฎหมายข้าราชการระดบั อาวโุ ส 12,419 2.0
651,488 100.0 348,425 100.0 303,062 100.0
และผ้จู ัดการ 22,082 3.4 13,291 3.8 8,791 2.9
2. ผู้ประกอบวชิ าชพี ดา้ นต่างๆ
3. ผู้ประกอบวชิ าชพี ด้านเทคนิคสาขาตา่ งๆ 30,769 4.9 32,770 5.0 11,643 3.3 21,127 7.0
9,240 1.5 12,821 2.0 8,116 2.3 4,704 1.5
และอาชพี ทเี่ กีย่ วข้อง
4. เสมยี น 14,260 2.3 18,035 2.8 5,826 1.7 12,209 4.0
5. พนักงานบริการและพนักงานในรา้ นค้า 97,220 15.5 110,521 16.9 30,819 8.8 79,702 26.3
และตลาด 327,481 52.1 279,038 42.8 158,410 45.5 120,628 39.8
6. ผู้ปฏิบตั ิงานทม่ี ีฝีมือในดา้ นการเกษตร
73,491 11.7 81,007 12.4 55,690 16.0 25,316 8.4
และการประมง
7. ผู้ปฏิบตั ิงานด้านความสามารถทางฝมี ือ 24,227 3.9 24,492 3.8 21,552 6.2 2,940 1.0
และธรุ กจิ อน่ื ๆ ทเ่ี ก่ยี วข้อง 38,674 6.1 70,723 10.9 43,079 12.4 27,644 9.1
8. ผปู้ ฏิบตั กิ ารโรงงานและเครื่องจกั ร และ
-- -- -- --
ผู้ปฏบิ ตั ิงานดา้ นการประกอบ
9. อาชพี ข้นั พน้ื ฐานต่างๆ ในดา้ นการขาย
และการให้บรกิ าร
10. คนงานซึ่งมไิ ดจ้ ำแนกไว้ในหมวดอน่ื
3.2 อุตสาหกรรม ของผู้มีงานทำ (เพศชาย 174,136 คน และเพศหญิง
177,224 คน)
เม่ือพิจารณาถึงลักษณะการทำงานของ
ประชากร ไตรมาส 2 พ.ศ. 2565 แยกตามประเภท เมอ่ื เปรียบเทียบกับช่วงเวลาเดียวกนั ของ ปีท่ี
อุตสาหกรรม พบว่า ในจำนวนผู้มีงานทำท้ังส้ิน ผ่านมา พบว่า สัดส่วนของผู้มีงานทำภาคเกษตรกรรม
651,488 คน (เพศชาย 348,425 คน และเพศหญิง
303,062 คน) เป็นผู้ทำงานภาคเกษตรกรรม ลดลงจากร้อยละ 54.3 เป็นร้อยละ 46.1 ในขณะท่ี
ประมาณ 300,127 คน หรือร้อยละ 46.1 ของผู้มีงาน สัดส่วนของผู้มีงานทำนอกภาคเกษตรกรรมเพิ่มข้ึนจาก
ทำ (เพ ศชาย 174,289 คน และเพ ศหญิ ง ร้อยละ 45.7 เป็นร้อยละ 53.9 เม่ือพิจารณาเป็นสาขา
125,838 คน) และทำงานนอกภาคเกษตรกรรม
ประมาณ 351,361 คน หรอื คิดเป็นรอ้ ยละ 53.9 พบว่าการขายส่ง การขายปลีก การซ่อมแซมยานยนต์
รถจักรยานยนต์ มีสัดส่วนของผู้มีงานทำเพ่ิมข้ึนมาก
ท่ี สุ ด (จากร้ อยละ 12.4 เป็ น ร้ อยละ 16.2)
10
ตาราง ง จำนวน และร้อยละของประชากรอายุ 15 ปีขึ้นไปท่มี ีงานทำ จำแนกตามอตุ สาหกรรม และเพศ
ไตรมาส 2 (เมษายน-มถิ นุ ายน) พ.ศ. 2564 – 2565
ไตรมาส 2 ไตรมาส 2 พ.ศ. 2565
อตุ สาหกรรม พ.ศ. 2564 รวม ชาย หญิง
รวม จำนวน ร้อยละ จำนวน ร้อยละ จำนวน รอ้ ยละ จำนวน รอ้ ยละ
1) ภาคเกษตรกรรม
627,781 100.0 651,488 100.0 348,425 100.0 303,062 100.0
1. เกษตรกรรม การป่าไมแ้ ละการประมง
2) นอกภาคการเกษตรกรรม 340,848 54.3 300,127 46.1 174,289 50.0 125,838 41.5
1. การทำเหมอื งแร่เหมอื นหนิ
2. การผลติ 340,848 54.3 300,127 46.1 174,289 50.0 125,838 41.5
3. การไฟฟ้า ก๊าซ ไอนำ้ และปรับอากาศ
4. การจัดหานำ้ การจดั การ และการบำบดั 286,935 45.7 351,361 53.9 174,136 50.0 177,224 58.5
น้ำเสยี ของเสยี และสิ่งปฏิกลู
5. การก่อสร้าง 688 0.1 -- -- --
6. การขายสง่ การขายปลกี
7. การขนสง่ ท่เี กบ็ สินค้า 41,216 6.6 51,587 7.9 23,086 6.6 28,051 9.4
8. กจิ กรรมโรงแรมและอาหาร
9. ขอ้ มูลข่าวสารและการสือ่ สาร 666 0.1 304 0.1 304 0.1 --
10. กจิ กรรมทางการเงนิ และประกันภัย
11. กิจกรรมอสังหารมิ ทรัพย์ - - 2,274 0.3 796 0.2 1,478 0.5
12. กิจกรรมทางวชิ าชพี วทิ ยาศาสตร์และเทคนคิ
13. การบริหารและการสนับสนุน 49,772 7.9 47,025 7.2 43,065 12.4 3,959 1.3
14. การบริหารราชการและปอ้ งกนั ประเทศ 77,870 19.5
15. การศึกษา 5,584 12.4 105,228 16.2 45,992 13.2 59,236 0.3
16. สุขภาพและสังคมสงเคราะห์ 34,713 10.4
17. ศลิ ปะความบันเทงิ นันทนาการ 1,287 0.9 9,410 1.4 8,355 2.4 1,055 0.1
18. กิจกรรมบรกิ ารด้านอนื่ ๆ 2,892 0.4
19. ลูกจ้างในครัวเรอื นสว่ นบุคคล 5.5 42,201 6.5 10,759 3.1 31,442
20. กจิ กรรมขององค์การระหว่างประเทศ 503 -
และภาคีสมาชิก 173 0.2 2,881 0.4 2,552 0.7 330 0.1
21. ไมท่ ราบ 0.5
- 0.5 5,193 0.8 3,967 1.1 1,227 4.3
26,299 4.2
25,345 0.1 93 - 93 - - 5.4
9,786 0.9
1,842 - 518 0.1 205 0.1 313 0.7
6,172 0.5
2,127 - 3,242 0.5 1,693 0.5 1,549
-
- 4.2 31,625 4.9 18,730 5.4 12,895
-
- 4.0 19,578 3.0 6,993 2.0 12,585
1.6 19,575 3.0 3,350 1.0 16,225
0.3 4,176 0.6 1,414 0.4 2,762
1.0 4,741 0.7 2,623 0.8 2,118
0.3 1,710 0.3 160 - 1,551
- -- -- -
- -- -- -
3.3 สถานภาพการทำงาน 11
ผมู้ ีงานทำในจังหวัดบุรีรัมย์ ไตรมาส 2 พ.ศ. 2565
รองลงมามีสถานภาพการทำงานช่วยธุรกิจครัวเรือน
มีจำนวนท้ังสิ้น 651,488 คน ส่วนใหญ่มีสถานภาพ 138,234 คน หรอื รอ้ ยละ 21.2 ลกู จ้างเอกชน 83,436
การทำงานส่วนตัว 346,328 คน หรือร้อยละ 53.2 คน หรือร้อยละ 12.8 ลูกจ้างรัฐบาล 73,894 คน หรือ
ร้อยละ 11.3 และนายจ้าง 9,596 คนหรือร้อยละ 1.5
ตาราง จ จำนวน และรอ้ ยละของประชากรอายุ 15 ปขี ้ึนไปทีม่ งี านทำ จำแนกตาม
สถานภาพการทำงาน และเพศ ไตรมาส 2 (เมษายน-มิถนุ ายน) พ.ศ. 2564 – 2565
ไตรมาส 2 ไตรมาส 2 พ.ศ. 2565
พ.ศ. 2564
สถานภาพการทำงาน รวม ชาย หญงิ
จำนวน รอ้ ยละ
ยอดรวม 627,781 100.0 จำนวน ร้อยละ จำนวน ร้อยละ จำนวน ร้อยละ
1. นายจา้ ง 651,488 100.0 348,425 100.0 303,062 100.0
2. ลกู จา้ งรัฐบาล 7,633 1.2
62,206 9.9 9,596 1.5 7,345 2.1 2,250 0.7
42,474 14.0
73,894 11.3 31,420 9.0
3. ลกู จ้างเอกชน 66,296 10.6 83,436 12.8 44,305 12.7 39,131 12.9
4. ทำงานส่วนตัว 357,228 56.9 346,328 53.2 211,927 60.9 134,401 44.4
5. ช่วยธรุ กจิ ครัวเรือน 134,417 21.4 138,234 21.2 53,428 15.3 84,806 28.0
6. การรวมกลุ่ม -- -- -- --
3.4 ชั่วโมงการทำงาน ว่าในสัปดาห์แห่งการสำรวจไม่มีช่ัวโมงการทำงาน
(0 ชั่วโมง) มีจำนวน 26,325 คน หรอื ร้อยละ 4.0
เม่ื อ พิ จ า ร ณ า ถึ ง ชั่ ว โม ง ก า ร ท ำ ง า น ข อ ง
ผู้มีงานทำต่อสัปดาห์ในไตรมาส 2 พ.ศ. 2565 ของจำนวนผู้มีงานทำทงั้ สิ้น
พบว่า ส่วนใหญ่ทำงานตั้งแต่ 35 ช่ัวโมงข้ึนไปต่อ เม่ือเปรยี บเทียบกับช่วงเวลาเดียวกันของปี
สัปดาห์ ซึ่งถือว่าเป็นผู้ทำงานเต็มเวลาการทำงาน มี
จำนวน 481,667 คน หรือร้อยละ 74.0 ของ ที่ผ่านมา จะเห็นว่าสัดส่วนของผู้ท่ีไม่ได้ทำงานใน
ผู้มีงานทำทั้งส้ิน (เพศชาย 258,020 คน และเพศ
หญิง 223,647 คน) และผู้ที่ทำงาน 1– 34 ช่ัวโมงต่อ สัปดาห์สำรวจ (0 ชั่วโมง) เพ่ิมข้ึนจาก 3.8 เป็น
สัปดาห์ มีจำนวน 143,495 หรือร้อยละ 22.0 (เพศ รอ้ ยละ 4.0 สว่ นผทู้ ่ีทำงาน ต้ังแต่ 35 ช่ัวโมงขน้ึ ไป
ชาย 75,342 คน และเพศหญิง 68,155 คน) สำหรับ
ผู้ทไี่ มไ่ ดท้ ำงานในสัปดาห์แห่งการสำรวจ (ระหว่าง ตอ่ สัปดาห์มีสัดส่วนเพิ่มขึ้นจากร้อยละ 61.3 เป็น
7 วันก่อนสัมภาษณ์) แต่เป็นผู้มีงานประจำซ่ึงถือ ร้อยละ 74.0 และผู้ที่ทำงาน 1-34 ชั่วโมง มี
สดั ส่วนลดลงจากร้อยละ 34.9 เป็นรอ้ ยละ 22.0
12
ตาราง ฉ จำนวนและร้อยละของประชากรอายุ 15 ปีข้ึนไปท่ีมีงานทำ จำแนกตาม
ช่ัวโมงการทำงานและเพศ ไตรมาส 2 (เมษายน - มถิ นุ ายน) พ.ศ. 2564 – 2565
ชว่ั โมงการ ไตรมาสท่ี 2 ไตรมาสท่ี 2 พ.ศ. 2565
ทำงาน พ.ศ. 2564 รวม ชาย หญิง
จำนวน รอ้ ยละ จำนวน ร้อยละ จำนวน ร้อยละ จำนวน ร้อยละ
ยอดรวม 627,781 100.0 651,488 100.0 348,425 100.0 303,062 100.0
0 ชั่วโมง 23,776 3.8 26,325 4.0 15,064 4.3 11,261 3.7
1 - 34 ชั่วโมง 218,606 34.9 143,495 22.0 75,342 21.6 68,155 22.5
35 ชั่วโมงข้ึนไป 385,399 61.3 481,667 74.0 258,020 74.1 223,647 73.8
4. การวา่ งงาน เมื่อพิจารณาเปรยี บเทียบอัตราการ
ภาวะการว่างงานของประชากรจงั หวัดบรุ รี ัมย์ ว่างงานในชว่ งเวลาเดียวกันของปีที่ผ่านมา
พบว่า ในปี 2565 มีอัตราการวา่ งงานเพ่ิมขึ้น
ในไตรมาส 2 พ.ศ. 2565 มีผู้ว่างงานประมาณ 16,318 จาก ร้ อ ย ล ะ 1 .1 เป็ น ร้ อ ย ล ะ 2 .4
คน (เพศชาย 9,318 คน และเพศหญิง 7,000 คน)
คิดเปน็ อตั ราการวา่ งงานร้อยละ 2.4
ตาราง ช จำนวนประชากรอายุ 15 ปขี นึ้ ไป ผ้อู ยู่ในกำลงั แรงงาน และอตั ราการว่างงาน จำแนกตามเพศ
ไตรมาส 2 (เมษายน-มถิ ุนายน) พ.ศ. 2565
ประชากร ผูอ้ ย่ใู นกำลงั ผู้วา่ งงาน
อายุ 15 ปขี ้ึนไป แรงงาน
เพศ จำนวน อัตราการ
ยอดรวม 977,879 671,945 วา่ งงาน
16,318 2.4
ชาย 464,409 361,151 9,318 2.6
หญิง 513,470 310,795 7,000 2.3
หมายเหตุ : อัตราการวา่ งงาน = ผู้วา่ งงาน × 100
ผอู้ ยใู่ นกำลงั แรงงาน
13
ตาราง ซ เปรียบเทียบจำนวนประชากรอายุ 15 ปีขึ้นไป ผูอ้ ยใู่ นกำลังแรงงาน และอัตราการวา่ งงาน
ไตรมาส 2 (เมษายน - มถิ ุนายน) พ.ศ. 2559 – 2565
ผู้วา่ งงาน
พ.ศ. ผมู้ ีอายุ 15 ปขี นึ้ ไป ผอู้ ยู่ในกำลงั แรงงาน
จำนวน อตั ราการว่างงาน
2559 967,271 603,612 4,466 0.7
2560 970,477 650,385 16,308 2.5
2561 973,005 699,184 14,494 2.1
2562 975,733 659,567 6,468 1.0
2563 977,351 674,830 22,024 3.3
2564 978,859 636,189 7,083 1.1
2565 977,879 671,945 16,318 2.4
แผนภูมิที่ 6 จำนวนผ้วู ่างงาน และอตั ราการวา่ งงานในไตรมาส 3 พ.ศ. 2563 – ไตรมาส 2 พ.ศ. 2565
ระบาด COVID-19 ระบาด COVID-19
ระลอกเดอื น ธ.ค.63 - มี.ค.64 ระลอกเดือน เมษายน 2564
14
แผนภมู ิท่ี 7 จำนวนผเู้ สมอื นวา่ งงานในไตรมาส 3 พ.ศ. 2563 – ไตรมาส 2 พ.ศ. 2565
ระบาด COVID-19 ระบาด COVID-19
ระลอกเดือน ธ.ค.63 - มี.ค.64 ระลอกเดอื น เมษายน 2564
หมายเหตุ : ผู้เสมอื นว่างงาน หมายถึง ผู้ทำงานน้อยกวา่ 4 ชั่วโมงตอ่ วัน โดยคดิ จากผู้ท่ีอยใู่ นภาคเกษตร
ทำงาน 0-20 ช่ัวโมงต่อสัปดาห์ และผู้ทอี่ ยู่นอกภาคเกษตร ทำงาน 0-24 ช่ัวโมงตอ่ สปั ดาห์
เมื่อพิจารณาเปรียบเทียบจำนวนผู้เสมือนวา่ งงานของจังหวัดบุรีรัมย์ในช่วงเวลาเดียวกันของปีที่ผ่าน
มา พบว่า ในปี 2565 มีจำนวนผเู้ สมือนว่างงานลดลง จากจำนวน 117,991 คน เปน็ จำนวน 74,100 คน
ภาคผนวก
ภาคผนวก ก
ระเบียบวิธี
ภาคผนวก ก
ระเบยี บวิธี
1. วิธีการสำรวจ
การสำรวจน้ีประชากรเป้าหมาย ได้แก่ ครวั เรอื นสว่ นบุคคลและครวั เรือนกล่มุ บุคคลประเภทครัวเรือน
คนงานที่อาศัยอยู่ในเขตเทศบาลและนอกเขตเทศบาลทุกจังหวัดทั่วประเทศ ยกเว้น ครัวเรือนชาวต่างชาตทิ ่ี
ทำงานในสถานทตู หรือองค์การระหว่างประเทศท่ีมีเอกสิทธท์ิ างการทตู
การสำรวจแต่ละเดือน สำนกั งานสถติ ิแห่งชาติไดด้ ำเนินการสำรวจในทุกจังหวัดทั่วประเทศ แผนการ
เลือกตัวอย่างที่ใช้เป็นแบบ Stratified Two-stage Sampling โดยหน่วยตัวอย่างขั้นที่หนึ่ง คือ เขตแจงนับ
(Enumeration Area : EA) จำนวน 1,990 EA ตวั อย่าง จากทง้ั ส้ินจำนวน 127,460 EA และหนว่ ยตวั อย่างขนั้
ท่ีสอง คอื ครัวเรือนสว่ นบุคคลและสมาชิกในทุกครัวเรอื นกลุ่มบุคคลประเภทครวั เรือนคนงาน จำนวน 27,960
ครัวเรือนตัวอย่าง หรือคิดเป็นจำนวนประชาชนตัวอย่างประมาณ 95,000 คน ซึ่งขนาดตัวอย่างในแต่ละเดือน
สามารถนำเสนอผลการสำรวจในระดับภาค (กรุงเทพมหานคร และ 4 ภาค) โดยจำแนกตาม
เขตการปกครอง คือ ในเขตเทศบาล และนอกเขตเทศบาล แต่ไม่เพียงพอสำหรับนำเสนอผลการสำรวจใน
ระดับจงั หวดั หรือพ้นื ท่ีย่อยกว่านี้ สำหรบั การนำเสนอผลการสำรวจในระดับจงั หวัดได้ใช้ข้อมูลของการสำรวจ
จำนวน 3 เดอื น เพ่อื ให้ไดข้ นาดตวั อย่างเพยี งพอ เชน่ กรณสี รปุ รายงานผลการสำรวจระดบั จงั หวดั ในไตรมาสท่ี
1 ของปี พ.ศ. 2562 กไ็ ดน้ ำขอ้ มูลของเดอื นมกราคม กมุ ภาพันธ์ และมีนาคม 2562 มารวมกนั เปน็ ต้น
สำหรับขนาดตัวอย่างของจังหวัดบุรีรัมย์ ใช้หน่วยตัวอย่างขั้นที่หนึ่ง จำนวน 72 EA ตัวอย่าง
หนว่ ยตวั อยา่ งขน้ั ทส่ี อง จำนวน 1,008 ครวั เรือนตวั อย่าง
วิธีการเก็บรวบรวมข้อมูลใช้วิธีการสัมภาษณ์หัวหน้าครัวเรือนหรือสมาชิกในครัวเรือนตัวอย่าง
โดยเจ้าหน้าท่ีของสำนักงานสถิติแห่งชาติ/สำนักงานสถิติจังหวัด โดยผู้ทำการสัมภาษณ์ทุกคนจะมีคู่มือ
การปฏบิ ัติงานเกบ็ รวบรวมข้อมูลสำหรับใชใ้ นการปฏิบตั งิ าน ทง้ั น้เี พือ่ ให้ทุกคนปฏบิ ัตงิ านไปในทางเดยี วกนั
ส่วนการประมวลผลข้อมูลนั้นดำเนินการในส่วนกลางตามหลักวิชาการสถิติ โดยนำข้อมูลที่ได้จาก
ตัวอย่างมาประมาณค่า โดยมีการถ่วงน้ำหนัก (Weighty) ซึ่งค่าถ่วงน้ำหนักคำนวณได้จากสูตรการประมาณค่า
ทีส่ อดคล้องกับวิธีการเลือกตวั อยา่ ง เพ่ือใหไ้ ดค้ า่ ประมาณประชากรใกล้เคียงกับค่าทแ่ี ทจ้ รงิ
2. คาบการเกบ็ รวบรวมข้อมลู
การสำรวจได้ดำเนินการพร้อมกันทั่วประเทศ ในระหว่างวันที่ 1 – 12 ของเดือน เมษายน - มิถุนายน
พ.ศ. 2565
3. การปัดตัวเลข
ข้อมูลในตารางสถิติที่นำเสนอในรายงานฉบับนี้ เป็นค่าประมาณที่ได้จากการถ่วงน้ำหนัก
ซึ่งผลรวมจากยอดยอ่ ยในแตล่ ะรายการอาจไม่เท่ากบั ยอดรวม ทง้ั นี้เนื่องจากการปดั เศษทศนิยมโดยอิสระจากกัน
ภาคผนวก ข
ตารางสถิติ
สารบญั ตาราง
หนา้
ตารางที่ 1 จำนวน และรอ้ ยละของประชากรอายุ 15 ปีขึ้นไป จำแนกตาม 25
ตารางที่ สถานภาพแรงงาน และเพศ ไตรมาสที่ 2 (เมษายน - มถิ ุนายน) พ.ศ. 2565 26
ตารางท่ี 27
ตารางที่ 2 จำนวน และร้อยละของประชากรอายุ 15 ปขี ้นึ ไป จำแนกตาม 28
ตารางที่ ระดับการศกึ ษา และเพศ ไตรมาสท่ี 2 (เมษายน - มิถุนายน) พ.ศ. 2565 29
ตารางที่ 30
ตารางท่ี 3 จำนวน และรอ้ ยละของประชากรอายุ 15 ปขี ึน้ ไปที่มงี านทำ จำแนกตามอาชพี 31
ตารางที่ และเพศ ไตรมาสท่ี 2 (เมษายน - มิถุนายน) พ.ศ. 2565 32
4 จำนวน และรอ้ ยละของประชากรอายุ 15 ปขี นึ้ ไปท่ีมีงานทำ จำแนกตาม
อตุ สาหกรรม และเพศ ไตรมาสท่ี 2 (เมษายน - มิถุนายน) พ.ศ. 2565
5 จำนวน และรอ้ ยละของประชากรอายุ 15 ปขี ้ึนไปทีม่ ีงานทำ จำแนกตาม
สถานภาพการทำงาน และเพศ ไตรมาสที่ 2 (เมษายน - มิถุนายน) พ.ศ. 2565
6 จำนวน และรอ้ ยละของประชากรอายุ 15 ปีขึ้นไปท่มี ีงานทำ จำแนกตามชั่วโมง
การทำงานต่อสปั ดาห์ และเพศ ไตรมาสที่ 2 (เมษายน - มิถุนายน) พ.ศ. 2565
7 จำนวน และรอ้ ยละของประชากรอายุ 15 ปขี ้นึ ไปทมี่ งี านทำ จำแนกตาม
ระดับการศึกษาท่ีสำเร็จ และเพศ ไตรมาสท่ี 2 (เมษายน - มถิ ุนายน) พ.ศ. 2565
8 จำนวน และร้อยละของผูเ้ สมือนว่างงาน จำแนกตามภาคอตุ สาหกรรมและเพศ
ไตรมาสท่ี 2 (เมษายน - มิถุนายน) พ.ศ. 2565
25
ตารางที่ 1 จานวน และรอ้ ยละของประชากรอายุ 15 ปีข้ึนไป จาแนกตามสถานภาพแรงงาน
และเพศ ไตรมาสที่ 2 (เมษายน - มิถนุ ายน) พ.ศ. 2565
สถานภาพแรงงาน รวม ชาย หญิง
จานวน (คน)
ผู้มอี ายุ 15 ปีข้ึนไป 977,879 513,470
1. ผู้อยู่ในกำลังแรงงำน 671,945 464,409 310,795
667,806 361,151 310,062
1.1 กำลงั แรงงำนปจั จุบัน 651,488 357,744 303,062
1.1.1 ผู้มีงำนทำ 16,318 348,425
1.1.2 ผู้ว่ำงงำน 7,000
4,140 9,318 733
1.2 ผู้ท่ีรอฤดูกำล 305,934 3,407
2. ผู้ไม่อยู่ในกำลังแรงงำน 75,103 103,258 202,675
2.1 ทำงำนบำ้ น 83,214 6,863 68,241
2.2 เรยี นหนังสือ 132,162 34,696 48,518
2.3 ยังเดก็ /ชรำ ปว่ ย/พิกำร 51,635 80,527
จนไม่สำมำรถทำงำนได้ 15,455 10,064 5,390
2.4 อื่นๆ
ผู้มีอายุ 15 ปีข้ึนไป ร้อยละ 100.0
1. ผู้อยู่ในกำลงั แรงงำน 100.0 100.0 60.5
68.7 77.7 60.4
1.1 กำลังแรงงำนปัจจุบัน 68.3 77.0 59.0
1.1.1 ผู้มีงำนทำ 66.6 75.0 1.4
1.1.2 ผู้ว่ำงงำน 0.1
1.7 2.0 39.5
1.2 ผู้ที่รอฤดกู ำล 0.4 0.7 13.3
2. ผู้ไม่อยู่ในกำลังแรงงำน 31.3 22.3 9.5
2.1 ทำงำนบำ้ น 7.7 1.5 15.7
2.2 เรยี นหนังสอื 8.5 7.5 -
2.3 ยังเด็ก/ชรำ ปว่ ย/พิกำร 13.5 11.1 1.0
--
จนไม่สำมำรถทำงำนได้ 1.6 2.2
2.4 อื่นๆ
หมำยเหตุ : ปรบั ใช้คำ่ คำดประมำณประชำกร ของประเทศไทยชุดใหม่ (พ.ศ. 2553-2583)
26
ตารางท่ี 2 จานวน และรอ้ ยละของประชากรอายุ 15 ปีขึ้นไป จาแนกตามระดับการศึกษา
และเพศ ไตรมาสท่ี 2 (เมษายน -มิถนุ ายน) 2565
ระดับการศกึ ษาที่สาเร็จ รวม ชาย หญิง
ยอดรวม จานวน (คน) 513,470
1. ไม่มีการศกึ ษา 15,135
2. ต่ากว่าประถมศกึ ษา 977,879 464,409 167,977
3. ประถมศึกษา 88,776
4. มัธยมศึกษาตอนตน้ 26,257 11,122 77,321
5. มัธยมศกึ ษาตอนปลาย 89,360
292,936 124,959 80,108
5.1 สายสามัญ 9,252
5.2 สายอาชีวศึกษา 188,295 99,519
5.3 สายวิชาการศึกษา -
6. อุดมศึกษา 163,477 86,156 74,900
6.1 สายวิชาการ 51,659
6.2 สายวิชาชีพ 175,426 86,066 5,337
6.3 สายวิชาการศกึ ษา 17,903
7. อืนๆ 152,807 72,700
8. ไม่ทราบ -
22,619 13,367 -
ยอดรวม
1. ไม่มีการศึกษา -- 100.0
2. ต่ากว่าประถมศกึ ษา 2.9
3. ประถมศกึ ษา 131,487 56,588 32.7
4. มัธยมศกึ ษาตอนต้น 17.3
5. มัธยมศึกษาตอนปลาย 84,100 32,441 15.1
17.4
5.1 สายสามัญ 22,065 16,727 15.6
5.2 สายอาชีวศึกษา 1.8
5.3 สายวิชาการศกึ ษา 25,323 7,420 -
อุดมศึกษา 14.6
6.1 สายวิชาการ -- 10.1
6.2 สายวิชาชีพ 1.0
6.3 สายวิชาการศึกษา -- 3.5
7. อืนๆ -
8. ไม่ทราบ รอ้ ยละ -
100.0 100.0
2.7 2.4
30.0 26.9
19.3 21.4
16.7 18.6
17.9 18.5
15.6 15.6
2.3 2.9
--
13.4 12.2
8.6 7.0
2.2 3.6
2.6 1.6
--
--
2700
ตารางท่ี 3 จานวน และรอ้ ยละของประชากรอายุ 15 ปีข้ึนไปท่ีมีงานทา จาแนกตามอาชพี และเพศ
ไตรมาสท่ี 2 (เมษายน -มิถนุ ายน) 2565
อาชพี รวม ชาย หญิง
จานวน (คน)
ยอดรวม
1. ผู้บญั ญัติกฎหมาย ข้าราชการระดับอาวโุ ส และผู้จัดการ 651,488 348,425 303,062
2. ผู้ประกอบวิชาชีพด้านตา่ งๆ 22,082 13,291 8,791
3. ผู้ประกอบวิชาชีพด้านเทคนคิ สาขาตา่ งๆ และอาชีพทีเ่ ก่ียวข้อง 32,770 11,643 21,127
4. เสมียน 12,821 8,116 4,704
5. พนักงานบริการและพนักงานในร้านค้า และตลาด 18,035 5,826 12,209
6. ผู้ปฏบิ ตั ิงานทีม่ ีฝีมือในดา้ นการเกษตร และการประมง 110,521 30,819 79,702
7. ผู้ปฏบิ ตั ิงานดา้ นความสามารถทางฝีมือ และธุรกิจการค้าอ่ืนๆที่เกี่ยวข้อง 279,038 158,410
8. ผู้ปฏบิ ัติการโรงงานและเครื่องจักร และผู้ปฏบิ ัติงานดา้ นการประกอบ 81,007 55,690 120,628
9. อาชีพขัน้ พ้ืนฐานตา่ งๆ ในด้านการขาย และการใหบ้ ริการ 24,492 21,552 25,316
10. คนงานซึ่งมิได้จาแนกไวใ้ นหมวดอ่ืน 70,723 43,079 2,940
27,644
ยอดรวม --
1. ผู้บัญญัติกฎหมาย ข้าราชการระดับอาวุโส และผู้จัดการ ร้อยละ -
2. ผู้ประกอบวชิ าชีพด้านต่างๆ
3. ผู้ประกอบวิชาชีพด้านเทคนคิ สาขาต่างๆ และอาชีพที่เกี่ยวข้อง 100.0 100.0 100.0
4. เสมียน 3.4 3.8 2.9
5. พนกั งานบริการและพนักงานในร้านค้า และตลาด 5.0 3.3 7.0
6. ผู้ปฏิบตั งิ านทีม่ ีฝีมือในด้านการเกษตร และการประมง 2.0 2.3 1.5
7. ผู้ปฏบิ ัตงิ านดา้ นความสามารถทางฝีมือ และธุรกิจอ่ืนๆท่ีเก่ียวข้อง 2.8 1.7 4.0
8. ผู้ปฏบิ ัตกิ ารโรงงานและเครอื่ งจักร และผู้ปฏิบัตงิ านดา้ นการประกอบ 16.9 8.8 26.3
9. อาชีพขน้ั พ้นื ฐานตา่ งๆ ในดา้ นการขายและการใหบ้ ริการ 42.8 45.5 39.8
10. คนงานซ่ึงมิได้จาแนกไว้ในหมวดอ่ืน 12.4 16.0 8.4
3.8 6.2 1.0
10.9 12.4 9.1
-- -
28
ตารางท่ี 4 จานวน และร้อยละของประชากรอายุ 15 ปีข้ึนไปทม่ี ีงานทา จาแนกตามอุตสาหกรรม และเพศ
ไตรมาสท่ี 2 (เมษายน -มิถนุ ายน) 2565
อุตสาหกรรม รวม ชาย หญิง
จานวน (คน)
ยอดรวม 651,488 303,062
300,127 348,425 125,838
1. เกษตรกรรม การป่าไม้ และการประมง
2. การทาเหมืองแร่ และเหมืองหิน - 174,289 -
3. การผลติ 51,587 28,501
4. การไฟฟ้า ก๊าซ ไอนาและปรับอากาศ -
5. การจดั หานา การจัดการ และการบาบัดนาเสีย ของเสยี และสงิ่ ปฏิกูล 304 -
6. การก่อสรา้ ง 2,274 23,086 1,478
7. การขายสง่ การขายปลีก 47,025 3,959
8. การขนส่ง สถานท่ีเกบ็ สินค้า 105,228 304 59,236
9. กจิ กรรมโรงแรมและอาหาร 9,410 1,055
10. ข้อมูลข่าวสารและการสอ่ื สาร 42,201 796 31,442
11. กจิ กรรมทางการเงินและการประกันภัย 2,881
12. กิจกรรมอสังหาริมทรพั ย์ 5,193 43,065 330
13. กิจกรรมทางวิชาชีพ และเทคนิค 1,227
14. การบริหารและการบริการสนับสนุน 93 45,992
15. การบริหารราชการ การป้องกันประเทศ และการประกันสังคมภาคบังคับ 518 -
16. การศึกษา 3,242 8,355 313
17. งานด้านสขุ ภาพ และงานสังคมสงเคราะห์ 31,625 1,549
18. ศิลปะ ความบันเทิงและนันทนาการ 19,578 10,759 12,895
19. กจิ กรรมบริการ ด้านอ่ืนๆ 19,575 12,585
20. กจิ กรรมการจา้ งงานในครัวเรอื นสว่ นบุคคล 4,176 2,552 16,225
21. กจิ กรรมขององค์การระหว่างประเทศและภาคีสมาชิก 4,741 2,762
22. ไม่ทราบ 1,710 3,967 2,118
1,551
ยอดรวม - 93
1. เกษตรกรรม การป่าไม้ และการประมง - -
2. การทาเหมืองแร่ และเหมืองหิน 205 -
3. การผลิต 100.0
4. การไฟฟ้า กา๊ ซ ไอนาและปรบั อากาศ 46.1 1,693 100.0
5. การจดั หานา การจดั การ และการบาบัดนาเสยี ของเสยี และสง่ิ ปฏิกลู 41.5
6. การกอ่ สร้าง - 18,730
7. การขายส่ง การขายปลีก การซ่อมแซมยานยนต์ รถจกั รยานยนต์ 7.9 -
8. การขนส่ง สถานท่ีเกบ็ สนิ ค้า 0.1 6,993 9.4
9. กจิ กรรมโรงแรมและอาหาร 0.3
10. ข้อมูลข่าวสารและการสอื่ สาร 7.2 3,350 -
11. กิจกรรมทางการเงินและการประกนั ภัย 16.2 0.5
12. กิจกรรมอสังหารมิ ทรพั ย์ 1.4 1,414 1.3
13. กจิ กรรมทางวิชาชีพ วิทยาศาสตรแ์ ละเทคนิค 6.5 19.5
14. การบริหารและการบริการสนับสนุน 0.4 2,623 0.3
15. การบริหารราชการ การป้องกนั ประเทศและการประกันสงั คมภาคบังคับ 0.8 10.4
16. การศึกษา 0.0 160 0.1
17. งานด้านสขุ ภาพ และงานสังคมสงเคราะห์ 0.1 0.4
18. ศิลปะ ความบันเทิงและนันทนาการ 0.5 -
19. กิจกรรมบริการ ด้านอ่ืนๆ 4.9 -
20. กิจกรรมการจา้ งงานในครัวเรอื นสว่ นบุคคล กิจกรรมการผลติ 3.0 - 0.1
3.0 0.5
สนิ ค้าและบรกิ าร 0.6 ร้อยละ 4.3
21. กจิ กรรมขององค์การระหว่างประเทศและภาคีสมาชิก 0.7 4.2
22. ไม่ทราบ 0.3 100.0 5.4
0.9
- 50.0 0.7
- - 0.5
-
6.6 -
0.1 -
0.2 -
12.4
13.2
2.4
3.1
0.7
1.1
0.0
0.1
0.5
5.4
2.0
1.0
0.4
0.8
0.0
-
-
-
29
ตารางท่ี 5 จานวน และร้อยละของประชากรอายุ 15 ปีข้ึนไปท่ีมงี านทา จาแนกตาม
สถานภาพการทางาน และเพศ ไตรมาสท่ี 2 (เมษายน -มถิ ุนายน) 2565
สถานภาพการทางาน รวม ชาย หญิง
จานวน (คน)
ยอดรวม 651,488 303,062
1. นายจ้าง 9,596 348,425 2,250
2. ลูกจ้างรัฐบาล 73,894 7,345 42,474
3. ลูกจ้างเอกชน 83,436 31,420 39,131
4. ทางานส่วนตัว 44,305
5. ช่วยธรุ กิจครัวเรือน 346,328 134,401
6. การรวมกลมุ่ 138,234 211,927 84,806
53,428
ยอดรวม - -
1. นายจ้าง -
2. ลูกจ้างรัฐบาล 100.0 ร้อยละ 100.0
3. ลูกจ้างเอกชน 1.5 0.7
4. ทางานส่วนตัว 11.3 100.0 14.0
5. ช่วยธุรกิจครัวเรอื น 12.8 2.1 12.9
6. การรวมกลมุ่ 53.2 9.0 44.4
21.2 12.7 28.0
- 60.9 -
15.3
-
30
ตารางที่ 6 จานวน และรอ้ ยละของประชากรอายุ 15 ปีขึ้นไปท่ีมงี านทา จาแนกตาม
ช่ัวโมงการทางานตอ่ สัปดาห์ และเพศ ไตรมาสท่ี 2 (เมษายน -มิถนุ ายน) 2565
ชั่วโมงการทางาน รวม ชาย หญิง
จานวน(คน)
ยอดรวม 651,488 303,062
1. 0 ช่ัวโมง 26,325 348,425 11,261
2. 1 - 9 ช่ัวโมง 5,362 15,064 4,861
3. 10-19 ช่ัวโมง 21,631 9,432
4. 20-29 ชั่วโมง 83,916 502 39,341
5. 30-34 ชั่วโมง 32,586 12,199 14,521
6. 35-39 ช่ัวโมง 73,928 44,575 40,464
7. 40-49 ชั่วโมง 253,057 18,066 107,824
8. 50 ช่ัวโมงขึ้นไป 154,682 33,464 75,359
145,233
ยอดรวม 100.0 79,323 100.0
1. 0 ชั่วโมง ร้อยละ
2. 1 - 9 ชั่วโมง 4.0 3.7
3. 10-19 ชั่วโมง 0.8 100.0 1.6
4. 20-29 ชั่วโมง 3.3 3.1
5. 30-34 ช่ัวโมง 12.9 4.3 13.0
6. 35-39 ช่ัวโมง 5.0 4.8
7. 40-49 ช่ัวโมง 11.4 0.1 13.3
8. 50 ช่ัวโมงข้ึนไป 38.9 35.6
23.7 3.5 24.9
12.8
5.2
9.6
41.7
22.8
หมายเหตุ : 0 ชั่วโมง = ผู้ไม่ได้ทางานในสัปดาห์การสารวจแต่มีงานประจาทา
31
ตารางท่ี 7 จานวน และร้อยละของประชากรอายุ 15 ปีข้ึนไปที่มงี านทา จาแนกตาม
ระดบั การศึกษาท่ีสาเร็จ และเพศ ไตรมาสท่ี 2 (เมษายน -มิถุนายน) 2565
ระดับการศึกษาที่สาเร็จ รวม ชาย หญิง
จานวน (คน)
ยอดรวม 651,488 303,062
1. ไม่มีการศกึ ษา 9,074 348,425 3,486
2. ตา่ กว่าประถมศึกษา 5,589 80,649
3. ประถมศึกษา 169,653 89,004 61,060
4. มัธยมศกึ ษาตอนตน้ 142,866 81,806 34,113
5. มัธยมศึกษาตอนปลาย 96,709 62,596 61,776
123,474 61,697 54,666
5.1 สายสามัญ 108,279 53,613 7,111
5.2 สายอาชีวศกึ ษา 15,195 8,084 -
5.3 สายวิชาการศกึ ษา - 61,978
6. อุดมศึกษา - 43,810
6.1 สายวิชาการ 109,711 47,733 3,434
6.2 สายวิชาชีพ 70,453 26,643 14,735
6.3 สายวิชาการศกึ ษา 19,396 15,963 -
7. อืนๆ 19,862 5,127 -
8. ไม่ทราบ
- - 100.0
ยอดรวม - - 1.2
1. ไม่มีการศึกษา ร้อยละ 26.6
2. ตา่ กว่าประถมศกึ ษา 100.1 20.1
3. ประถมศกึ ษา 1.4 100.0 11.3
4. มัธยมศกึ ษาตอนต้น 26.0 1.6 20.3
5. มัธยมศกึ ษาตอนปลาย 21.9 25.5 18.0
14.9 23.5 2.3
5.1 สายสามัญ 19.0 18.0 -
5.2 สายอาชีวศกึ ษา 16.6 17.7 20.5
5.3 สายวิชาการศกึ ษา 2.4 15.4 14.5
6. อุดมศกี ษา - 2.3 1.1
6.1 สายวิชาการ 16.8 - 4.9
6.2 สายวิชาชีพ 10.8 13.7 -
6.3 สายวิชาการศกึ ษา 3.0 7.6 -
7. อืนๆ 3.0 4.6
8. ไม่ทราบ - 1.5
- -
-
32
ตารางที่ 8 จานวนผู้เสมือนว่างงาน จาแนกตามภาคอุตสาหกรรม
และเพศ ไตรมาสที่ 2 (เมษายน - มิถุนายน) พ.ศ. 2565
ภาคอุตสาหกรรม รวม ชาย หญิง
จานวน (คน)
ยอดรวม 74,100 34,476
1. ภาคเกษตร 58,914 39,624 28,130
2. นอกภาคเกษตร 15,186 30,785 6,346
8,840
ยอดรวม ร้อยละ
1. ภาคเกษตร 100.0 100.0 100.0
2. นอกภาคเกษตร 79.5 77.7 81.6
20.5 22.3 18.4
หมายเหตุ : ผเู้ สมอื นว่างงาน หมายถึง ผู้ทางานนอ้ ยกวา่ 4 ช่ัวโมงต่อวนั โดยคิดจากผู้ที่อยใู่ นภาคเกษตร
ทางาน 0 - 20 ชั่วโมงต่อสัปดาห์ และผู้ที่อยู่นอกภาคเกษตร ทางาน 0 - 24 ชั่วโมงตอ่ สัปดาห์