วฒั นธรรมท้องถ่ินภาคใต้
วฒั นธรรมทอ้ งถ่ินภาคใต้
- ดา้ นอาหาร
- ดา้ นการแตง่ กาย
- ดา้ นภาษา
- ดา้ นการแสดง
ด้านอาหาร
อาหารพื้นบ้านภาคใต้ท่ัวไป มีลักษณะผสมผสาน
ระหว่างอาหารไทยพื้นบ้านกับอาหารอินเดียใต้เช่น น้าบูดู
ซ่งึ ไดม้ าจากการหมกั ปลาทะเลสดผสมกบั เม็ดเกลือ และมีความ
คลา้ ยคลึงกับอาหารมาเลเซีย อาหารของภาคใต้จึงมีรสเผ็ด
มากกวา่ ภาคอ่ืน ๆ
แกงท่ีมีช่ือเสียงของภาคใต้ คือ แกงเหลือง แกงไตปลา
เคร่ืองจิม้ ก็คือ น้าบูดู และชาวใตย้ ังนิยมนานา้ บูดูมาคลุกขา้ ว
เรยี กวา่ "ข้าวยา"
ดา้ นการแตง่ กาย
ภาคนีม้ ีการแตง่ กายต่างกนั ตามเชือ้ ชาติ ถา้ เชือ้ สายจีนจะแตง่ แบบจีน
ถา้ เป็นชาวมสุ ลมิ ก็จะแตง่ คลา้ ยกบั ชาวมาเลเซีย และถา้ เป็นชาวไทยพทุ ธชนพืน้ บา้ น
จะแตง่ กายคลา้ ยชาวไทยภาคกลาง
ดา้ นภาษา
ภาคใต้ มีภาษาพูดประจาถ่ินท่ีหว้ นๆ สนั้ ๆ เป็นเอกลกั ษณ์ เรียกว่า “ภาษาใต้
หรือแหลงใต้” ส่วนกลุ่มคนท่ีอยู่แถบชายแดนไทย-มาเลเซีย นิยมพูด ภาษายาวี หรือ
ภาษามาเลเซีย
ดา้ นการแสดง
ภาคใตเ้ ป็นภาคท่ีมีอาณาเขตติดตอ่ กบั ประเทศมาลาเชีย และเป็นดินแดนท่ีติดทะเล ทาใหเ้ กิดการ
ผสมผสานทงั้ ทางศาสนา วฒั นธรรม และอารยธรรมจากกล่มุ ชนหลายเชือ้ ชาติ มีลกั ษณะการแสดงท่ีเป็น
เอกลกั ษณเ์ ฉพาะ คือมีจงั หวะท่ีเรง่ เรา้ กระฉบั กระเฉง ผิดจากภาคอ่ืนๆ และเนน้ จงั หวะมากกว่าท่วงทานอง
โดยมีลักษณะท่ีเด่นชัดของเคร่ืองดนตรีประเภทเคร่ืองตีให้จังหวะเป็ นสาคัญ ส่วนลีลาท่ ารา
จะมีความคลอ่ งแคลว่ วอ่ งไว สนกุ สนาน