The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by natkritta, 2021-10-31 00:27:33

เนื้อหา สิทธิมนุษยชน

สิทธิมนุษยชน

Keywords: สังคม

วชิ าสังคมศึกษา 2

สทิ ธมิ นุษยชน

นายณฐั กฤตา ศิริพฒั นสกุลชัย (ครนู วิ )

ความหมายและความสาคญั ของสทิ ธมิ นษุ ยชน

• พระราชบัญญัติคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒ ได้ให้ความหมายของสิทธิมนุษยชนว่า
หมายถึง ศักด์ิศรีความเป็นมนุษย์ สิทธิ เสรีภาพและความเสมอภาคของบุ คคลที่ได้รับการรับรองหรือ
คุ้มครองตามรัฐธรรมนูญ แห่งราชอาณาจักรไทย หรือตามกฎหมายไทย หรือตามสนธิสัญญาท่ีประเทศ
ไทยมพี นั ธกรณีทจี่ ะตอ้ งปฏิบัติตาม ซ่ึงมคี วามสาคญั คอื

๑ มนุษยท์ กุ คนมสี ทิ ธิ เสรีภาพในชีวติ สามารถปกป้องตนเองไดอ้ ยา่ งมศี กั ด์ศิ รี มีอานาจในการตดั สินใจ
โดยอยู่บนพืน้ ฐานของความถกู ตอ้ งและเป็นธรรม

๒ มนุษย์ทุกคนมีอิสระทางความคิด สร้างสรรค์ผลงาน ประดิษฐ์คิดค้นเทคโนโลยีที่ทันสมัย รวมทัง้
พฒั นาศกั ยภาพของตนเองไดอ้ ยา่ งเสรี โดยไมล่ ะเมิดสทิ ธิของบุคคลอ่นื

๓ มนุษย์ทุกคนมีคุณค่าในตนเอง มีเกียรติภูมิที่เกิดเป็นมนุษย์ ยอมรับความเป็นมนุษย์ ศกั ด์ิศรี ชาติ
กาเนิด สทิ ธิต่างๆ ทม่ี ีพืน้ ฐานมาจากความชอบธรรม ตามสทิ ธิที่ไดม้ าตัง้ แต่กาเนดิ

แนวคดิ และหลกั การของสทิ ธมิ นษุ ยชน

• คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ เป็นองค์กรในการทาหน้าท่ีดูแลด้านสิทธิมนุษยชนในประเทศไทย
โดยพระราชบัญญัติคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒ ได้กาหนดให้มีหน้าที่ในการ
ส่งเสริมการเคารพ และการปฏิบัติตามหลักสิทธิมนุษยชนทัง้ ในระดับประเทศและระหว่างประเทศ ดูแลและ
ตรวจสอบการกระทา หรือการละเลยการกระทา อันเป็นการละเมิดสิทธิมนุษยชน หรือท่ีไม่เป็นไปตาม
พันธกรณรี ะหวา่ งประเทศเกีย่ วกับสทิ ธิมนุษยชนทปี่ ระเทศไทยเขา้ ร่วมเป็นภาคี

• นอกจากนปี้ ระเทศไทยเป็นประเทศภาคชี นั้ แนวหน้าขององคก์ ารสหประชาชาติทีร่ บั รองหลกั การคมุ้ ครองสทิ ธิ
มนษุ ยชน ที่สมัชชาใหญ่ขององคก์ ารสหประชาชาติได้ประกาศไวใ้ น “ปฏิญญาสากลวา่ ดว้ ยสทิ ธมิ นษุ ยชน
แหง่ สหประชาชาติ” ตัง้ แตเ่ มือ่ วันท่ี ๑๐ ธนั วาคม พ.ศ. ๒๔๙๑ เพ่อื เป็นแนวทางใหป้ ระเทศสมาชิกใช้เป็น
แนวทางในการปฏบิ ัติตอ่ พลเมอื งของตนและชาวต่างชาตทิ ่อี าศยั อยูใ่ นประเทศของตน





ปฏญิ ญาสากลวา่ ดว้ ยสทิ ธมิ นษุ ยชนแหง่ สหประชาชาติ ความเป็นมา

• ปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชนแห่งสหประชาชาติ เป็นข้อตกลงที่องค์การสหประชาชาติได้
กาหนดขนึ้ ในการวางกรอบเบอื้ งตน้ เกยี่ วกบั สิทธิมนษุ ยชนและเป็นเอกสารหลกั ด้านสิทธิมนุษยชนฉบับ
แรก ซ่ึงที่ประชุมสมัชชาใหญ่แห่งสหประชาชาติ ให้การรับรอง เพื่อให้ประเทศสมาชิกทัง้ หลายใช้เป็น
แนวทางใน การคุ้มครองดูแลสิทธแิ ละเสรีภาพของพลเมืองในประเทศของตน

สาระสาคญั

• ปฏิญญาสากลวา่ ด้วยสิทธมิ นษุ ยชนแหง่ สหประชาชาตมิ ีวัตถุประสงค์และหลักการทวั่ ไปเกย่ี วกบั มาตรฐาน
ดา้ นสิทธมิ นุษยชน แต่ไมม่ พี นั ธะผูกพนั ในแงข่ องกฎหมายระหว่างประเทศประกอบด้วยการรับรองสิทธิ
มนุษยชนในดา้ นตา่ งๆ จานวน ๓๐ ข้อ สามารถนามาจัดกล่มุ ได้ เป็น ๔ กลุ่ม คอื

๑ สิทธิมนษุ ยชนเบอื้ งตน้ (ข้อที่ ๑-๓)

๒ สิทธิพลเมอื งและสทิ ธทิ างการเมอื ง (ขอ้ ที่ ๔-๒๓)

๓ สทิ ธทิ างเศรษฐกจิ สงั คม และวัฒนธรรม (ข้อที่ ๒๔-๒๗)

๔ หน้าทแี่ ละความรบั ผดิ ชอบของทกุ คนตอ่ ระเบยี บสงั คม และการรบั รองสทิ ธมิ นษุ ยชนและเสรภี าพ
พนื้ ฐานระหวา่ งประเทศ (ข้อที่ ๒๘-๓๐)



































บทบญั ญตั ขิ องรฐั ธรรมนญู แหง่ ราชอาณาจกั รไทยเก่ยี วกบั สทิ ธมิ นษุ ยชน

• ในรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย ฉบับปัจจุ บัน ได้ให้ความคุ้มครองและส่งเสริมสิทธิและเสรีภาพของประชาชนท่ีเป็น
รูปธรรม มีการบัญญัติเก่ียวกับคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติไว้ในหมวด ๑๒ องค์กรอิสระ ส่วนท่ี ๖ ว่าด้วย
คณะกรรมาธกิ ารสทิ ธมิ นุษยชนแหง่ ชาติ ตามรฐั ธรรมนูญมาตรา ๒๔๖ - ๒๔๗ โดยมรี ายละเอียด ดังนี้

คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ประกอบด้วยกรรมการ ๗ คน พระมหากษัตริย์ทรงแต่งตัง้ ตามคาแนะนา
ของวุ ฒสิ ภา จากผู้ซ่ึงได้รบั การสรรหาทมี่ ีความรู้หรอื ประสบการณด์ ้านการค้มุ ครองสิทธเิ สรีภาพของประชาชนเป็น
ท่ีประจักษ์ เป็นกลางทางการเมือง และซื่อสัตย์สุจริต
คุณสมบัติ ลักษณะต้องห้าม และการพ้นจากตาแหน่งของคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ให้เป็นไปตาม
พระราชบญั ญตั ปิ ระกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยคณะกรรมการสิทธมิ นษุ ยชน

กรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติมีวาระการดารงตาแหน่ง ๗ ปี นับแต่วันที่พระมหากษัตริย์ทรงแต่งตัง้ และให้
ดารงตาแหน่งได้เพยี งวาระเดยี ว

สานักงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติเป็นหน่วยงานท่ีเป็นอิสระในการบริหารงานบุคคล การงบประมาณ
และการดาเนินการอ่ืน ทงั้ นตี้ ามทก่ี ฎหมายบญั ญตั ิ

บทบาทขององคก์ ารระหวา่ งประเทศในเวทโี ลกท่มี ผี ลตอ่ ประเทศไทย

สานกั งานขา้ หลวงใหญผ่ ูล้ ภี้ ยั แหง่ สหประชาชาติ (UNHCR)

บทบาทหนา้ ที่
• ปกป้องและสนบั สนนุ ในกิจการที่เก่ียวข้องกบั ผูล้ ีภ้ ยั ทวั่ โลก ตามขอ้ เรยี กรอ้ งของรฐั บาลในแต่ละประเทศ
• เป็นผูน้ าและประสานงานในการรวบรวมความช่วยเหลือจากนานาประเทศ เพื่อแกไ้ ขปัญหาของผูล้ ภี้ ยั ทวั่ โลก
• ให้ความช่วยเหลอื ตามหลกั มนุษยธรรมแก่ผู้แสวงหาทพ่ี ักพิงและบุคคลไรร้ ฐั

องค์การแอมเนสตี อนิ เตอรเ์ นชนั แนล (AI)

บทบาทหนา้ ที่
• เป็นอาสาสมัครระหว่างประเทศที่ทางานด้านสทิ ธิมนษุ ยชน
• มีบทบาทในการเผยแพรแ่ ละสนบั สนนุ ให้คนตระหนักถึงการเคารพหลกั สทิ ธิมนษุ ยชน
• ใหค้ วามรว่ มมอื กบั องคก์ ารสหประชาชาติ องคก์ รรัฐบาล และองคก์ รเอกชนระหวา่ งประเทศ เพอื่ สนบั สนนุ เรือ่ งสทิ ธิมนษุ ยชน

องค์การแรงงานระหวา่ งประเทศ (ILO)

บทบาทหนา้ ที่
• ช่วยเหลอื ผู้ใช้แรงงานทวั่ โลกให้ไดร้ บั ความยุติธรรมจากสังคม
• ช่วยให้ผู้ใช้แรงงานมคี ุณภาพชีวิต ความเป็นอยู่ การศึกษา สาธารณสขุ และการประกอบอาชีพท่ดี ขี นึ้
• ขจดั ความยากจนและจัดใหผ้ ูใ้ ช้แรงงานมีงานทา
• สง่ เสรมิ การฝึ กอบรมผู้ใช้แรงงานใหม้ ีประสิทธิภาพ
• ดูแลผู้ใช้แรงงานให้ได้รบั ความปลอดภยั จากการทางาน
• สรา้ งเสริมประชาธิปไตยและคุ้มครองสทิ ธมิ นษุ ยชนของผูใ้ ช้แรงงาน

ปัญหาสทิ ธมิ นษุ ยชนในประเทศและแนวทางแกไ้ ขปัญหาและพฒั นา

ปัญหาการละเมดิ สทิ ธแิ รงงานขา้ มชาติ

สาเหตขุ องปัญหา
• การลกั ลอบเข้ามาทางานในประเทศไทยโดยผิดกฎหมาย
• เกดิ ชุมชนแออดั ในเมอื งหลวงและเขตอุ ตสาหกรรม
• เกิดการแพร่กระจายของโรคตดิ ต่อจากกลมุ่ ผูใ้ ช้แรงงาน
• เกิดปัญหาอาชญากรรมและความรุนแรง

แนวทางการแกไ้ ข
• กาหนดนโยบายให้มีการจดทะเบียนแรงงานขา้ มชาติไดต้ ลอดทัง้ ปี
• ภาครฐั จะต้องจดั ทากลไกคุม้ ครองสิทธขิ องผู้ใช้แรงงานตามกฎหมายที่แรงงานสามารถเข้าถึงได้จรงิ
• มมี าตรการลงโทษทชี่ ดั เจนกบั นายจา้ งทฝ่ี ่าฝืนกฎหมาย

ปัญหาการละเมดิ สทิ ธเิ ดก็ และเยาวชน

สาเหตขุ องปัญหา

• เด็กไม่ได้รับการศึกษาขนั้ พืน้ ฐานจากภาครฐั เช่น เดก็ พิการ เดก็ ยากจน
• เดก็ ถูกปล่อยปละละเลยไมไ่ ด้รบั การดแู ลเอาใจใสจ่ ากครอบครวั
• เด็กถูกกระทาทารุณกรรมจากบุคคลในครอบครวั หรอื บุคคลภายนอก

แนวทางการแกไ้ ข

• ภาครัฐควรมีนโยบายจดั กจิ กรรมเผยแพร่ความรูแ้ ละส่งเสริมสิทธิเดก็
• ประชาสัมพันธข์ ้อมูลขา่ วสารเกี่ยวกบั สิทธิเด็กออกสู่สาธารณะ
• ประสานความร่วมมอื ของทุกฝ่ายในครอบครวั และสงั คมในการแกไ้ ขปัญหาสทิ ธเิ ดก็

ปัญหาการละเมดิ สทิ ธสิ ตรี

สาเหตขุ องปัญหา

• การเลอื กปฏิบตั ิที่ไมเ่ ป็นธรรม
• การถูกเอาเปรยี บในการจ้างงานและสวสั ดิการตา่ งๆ
• ความเข้าใจทคี่ ลาดเคลอ่ื นเก่ียวกบั สทิ ธิของผูช้ ายและผู้หญงิ

แนวทางการแกไ้ ข

• ส่งเสริมความเสมอภาคเทา่ เทยี มกนั ของผู้ชายและผู้หญิง
• รว่ มกนั รณรงค์ให้คนในสงั คมตระหนักถงึ คุณคา่ ของเพศสตรีใหม้ ากขนึ้
• มมี าตรการคมุ้ ครองสทิ ธิสตรีอย่างเป็นระบบและมปี ระสิทธิภาพ

อุ ปสรรคและการพัฒนาสทิ ธิมนษุ ยชนในประเทศไทย

ภาครัฐ

• ส่งเสรมิ และสนับสนุนกระบวนการเรียนรูส้ ิทธมิ นษุ ยชนศึกษา
• สร้างความตระหนักและจิตสานกึ ของประชาชนตามหลักสิทธมิ นษุ ยชน
• เปิดโอกาสใหท้ ุกภาคส่วนในสังคมมีส่วนร่วมในการปกป้องคุ้มครองสทิ ธิ
• ผลักดนั กฎหมายใหเ้ กดิ การค้มุ ครองและพิทักษ์สทิ ธิอย่างเป็นรูปธรรมมนษุ ยชน

ภาคเอกชน

• เผยแพร่ความรู้เก่ยี วกับเรอ่ื งสิทธิมนุษยชนใหก้ ับสมาชิกในสงั คม
• สรา้ งความเขา้ ใจและสง่ เสรมิ แนวคดิ สทิ ธมิ นุษยชนให้แก่คนทัว่ ไป
• รณรงค์ให้ประชาชนตระหนกั ถงึ ความสาคัญของสทิ ธมิ นุษยชน
• ให้ความร่วมมือกับหน่วยงานของรฐั ในเร่ืองสิทธิมนษุ ยชน ทัง้ ดา้ นข้อมูล เนอื้ หา และการจัดกจิ กรรม ท่ีสง่ เสริมด้านสิทธิมนษุ ยชน

ภาคประชาชน

• ปฏบิ ัติตามกฎหมายอยา่ งเคร่งครดั ใช้สิทธแิ ละเสรีภาพตามท่ีกฎหมายกาหนด
• ไม่ละเมิดสทิ ธแิ ละเสรภี าพของบุคคลอ่ืน
• เคารพในความเสมอภาคเท่าเทียมกนั ของมนุษย์
• ให้ความรว่ มมือกับภาครฐั และภาคเอกชนในการสง่ เสรมิ สทิ ธิมนษุ ยชน

ขอ้ ตกลงระหวา่ งประเทศ

ความหมายของขอ้ ตกลงระหวา่ งประเทศ

ข้อตกลงระหวา่ งประเทศหรอื สนธสิ ญั ญามคี วามหมายตามทย่ี อมรบั กนั ทวั่ ไป ดังนี้

๑ เป็นความตกลงระหวา่ งรัฐหรือรัฐบาล หมายความว่า สนธิสัญญานัน้ เกิดจากการเห็นพ้องต้องกัน โดยหากเป็น
ขอ้ ตกลงของสองฝ่ายจะเรียกว่า “ข้อตกลงทวิภาคี” ถา้ มผี ู้เขา้ ตกลงมากกวา่ สองฝ่ายขึน้ ไปจะเรียกว่า “ข้อตกลง

พหภุ าคี” ตามหลกั กฎหมายระหว่างประเทศข้อตกลงระหว่างประเทศจะทาเป็นลายลักษณอ์ กั ษรหรอื ไม่กไ็ ด้

๒ ทาขนึ้ ตามกฎหมายระหว่างประเทศ ไม่ใช่ตามกฎหมายภายในประเทศของรฐั ใดรัฐหน่ึง

๓ มุง่ ให้เกิดผลผูกพันหรือพันธกรณีตามกฎหมายระหว่างประเทศ เช่น ก่อให้เกิดพันธกรณีท่ีต้องส่งผู้ร้าย
ขา้ มแดนให้แก่กนั หรือต้องนาข้อพิพาทเสนอตอ่ องค์กรระหว่างประเทศเพื่อวินจิ ฉัย เป็นต้น

ความสาคญั ของขอ้ ตกลงระหวา่ งประเทศ

ข้อตกลงระหวา่ งประเทศเป็นประโยชนแ์ ละมคี วามสาคญั ตอ่ ความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งรฐั ตา่ งๆ อย่างหลากหลาย ดังนี้

๑ สามารถรว่ มกันสร้างกฎเกณฑใ์ หม่ของกฎหมาย ให้ทนั กับความต้องการไดโ้ ดยไม่ตอ้ งรอใหใ้ ช้เวลาพัฒนา
จนเกดิ เป็นจารตี ประเพณเี สยี กอ่ น

๒ กิดการร่วมมอื กนั ทากิจการต่างๆ ทร่ี ฐั ไม่สามารถทาตามลาพังได้ เช่น ร่วมกนั จัดตงั้ องค์การ

สหประชาชาติ หรอื ในระดับภมู ิภาค เช่น สมาคมอาเซียน เพื่อรว่ มกนั ทากิจการระดับโลก

๓ ช่วยระงับข้อพพิ าทท่มี ตี ่อกัน โดยตกลงแลกเปลีย่ นผลประโยชน์กัน หรอื หากมีขอ้ ขดั แยง้ จนไม่สามารถตก
ลงกันได้ กอ็ าจรว่ มกนั แสวงหาทางระงับข้อพพิ าทโดยสนั ติวธิ ี


Click to View FlipBook Version