The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

ผลการปฏิบัติงานที่ดี

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by aunjung.aunaun2533, 2022-05-25 01:01:48

Best Practice กศน.ตำบลบุญเกิด

ผลการปฏิบัติงานที่ดี

Keywords: Best Practice

1

รายงานผลการปฏบิ ตั งิ านทด่ี ี

(Best Practice)

ไตรมาส 1 - 2 ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2565

การจดั การศกึ ษาเพอ่ื พัฒนาอาชพี
การถักพวงกญุ แจต๊กุ ตาจากไหมพรม

กศน.ตาบลบญุ เกิด

ศูนยก์ ารศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั อาเภอดอกคาใต้
สานักงานสง่ เสรมิ การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั

จงั หวดั พะเยา

2



คานา

ตามท่ี ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอดอกคาใต้ ได้กาหนดให้ครูผู้สอน
ดาเนินการจัดทาผลการปฏิบัติงานที่ดี ประจาปี 2565 เพื่อเป็นแนวทางในการทางานแล ะพัฒนางานให้เกิด
ประสิทธิภ าพและนาเสนอผลการปฏิบัติงานที่ดีของครูผู้สอน ข้าพเจ้านางสาวอัญ ชลี วรรณ ชัย
ตาแหน่ง ครู กศน.ตาบลบุญ เกิด ได้จัดทาผลการปฏิบัติงานท่ีเป็นเลิศ (Best Practices) ช่ือผลงาน
โครงการศูนย์ฝึกอาชีพชุมชนตาบลบุญเกิดพัฒนาอาชีพกลุ่มสนใจ“การถักพวงกุญแจตุ๊กตาจากไหมพรม ”
ประจาปี 2565กศน.ตาบลบุญเกิด ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอดอกคาใต้
จงั หวดั พะเยา

กศน.ตาบ ลบุญ เกิด จะใช้ข้อมมูลจากเอกสารเล่มนี้เพื่ อใช้ใน การพั ฒ นาการจัดกิจกรรม
กศน.ที่ตรงตามความต้องการของผู้เรียน ผู้รับบริการและชุมชน และขอขอบคุณผู้มีส่วนเก่ียวข้องและให้ความ
ร่วมมือทกุ ทา่ นไว้ ณ โอกาสนด้ี ว้ ย

กศน.ตาบลบญุ เกิด
เมษายน 2565

สารบัญ 3

คานา ข
สารบัญ
กรอบความคดิ การดาเนินงาน/วธิ ีปฏิบัตงิ านใหเ้ ปน็ เลิศ (Best Practices) หน้า
1. ข้อมูลทั่วไป / ชือ่ ผลงาน
2. หน่วยงาน ก
3. คณะทางาน ข
4. ความสอดคล้อง
5. ทม่ี าและความสาคัญของผลงาน 1
6. วตั ถปุ ระสงค์ 1
7. เปา้ หมาย 1
8. วธิ ีการดาเนินงาน 1
9. ตวั ชวี้ ัดความสาเรจ็ 1
10. การประเมินผลและเครื่องมอื การประเมินผล 2
11. ผลการดาเนินงาน 2
12. บทสรปุ 2
13. กลยทุ ธห์ รอื ปจั จยั ท่ที าให้ประสบผลสาเร็จ 4
14. ขอ้ เสนอแนะ 4
15. เอกสารอา้ งอิง 4
16. ภาคผนวก 5
-สรปุ ผลการประเมินความพึงพอใจตอ่ หลกั สูตรการถักพวงกุญแจตกุ๊ ตาจากไหมพรม 8
-ภาพประกอบการดาเนนิ การจดั กิจกรรม 9
9
10
11-16
17-20

4

ผลการปฏบิ ตั งิ านทดี่ ี ( Best Practice )

โครงการศูนย์ฝึกอาชีพชุมชนตาบลบุญเกิดพฒั นาอาชีพกลุ่มสนใจ
“การถักพวงกุญแจตุ๊กตาจากไหมพรม ”

1. ชอ่ื ผลงาน การถกั พวงกุญแจตุ๊กตาจากไหมพรม

2. หนว่ ยงาน / สถานศึกษา

กศน.ตาบลบญุ เกิด อาเภอดอกคาใต้ จงั หวัดพะเยา

ศนู ย์การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั อาเภอดอกคาใต้

สานักงานส่งเสรมิ การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยจงั หวัดพะเยา

3. คณะทางาน นางสาวอัญชลี วรรณชยั

4. ความสอดคล้อง ภารกิจตอ่ เน่อื ง ดา้ นการจัดการศกึ ษาและการเรยี นรู้
ขอ้ ที่ 1.3 การศึกษาตอ่ เนื่อง
1) จัดการศึกษาอาชีพเพ่ือการมีงานทาอย่างย่ังยืน โดยให้ความสาคัญ

กับการจัดการศึกษาอาชีพ เพื่อการมีงานทาในกลุ่มอาชีพเกษตรกรรม อุตสาหกรรม พาณิชยกรรม
คหกรรม และอาชีพเฉพาะทางหรือการบริการรวมถึงการเน้นอาชีพช่างพื้นฐาน ที่สอดคล้องกับศักยภาพของ
ผู้เรียน ความต้องการและศักยภาพของแต่ละพื้นท่ีมีคุณภาพได้มาตรฐานเป็นที่ยอมรับ สอดรับกับความต้องการ
ของตลาดแรงงาน และการพัฒนาประเทศ ตลอดจนสร้างความเข้มแข็งให้กับศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน โดยจัดให้มีการ
ส่งเสริมการรวมกลุม่ วิสาหกิจชุมชน การพัฒนาหนึ่งตาบลหนึ่งอาชีพเด่นการประกวดสินค้าดีพรเี มยี่ ม การสรา้ งแบ
รนด์ของ กศน. รวมถึงการส่งเสริมและจัดหาช่องทางการจาหนา่ ยสินคา้ และผลิตภัณฑ์ และให้มกี ารกากบั ติดตาม
และรายงานผลการจดั การศึกษาอาชพี เพือ่ การมงี านทาอยา่ งเป็นระบบและตอ่ เนื่อง

5. ท่ีมาและความสาคญั ของผลงาน
พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 และท่ีแก้ไขเพิ่มเติม พ.ศ. 2545 และพระราชบัญญัติ

ส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัย พ.ศ. 2551 ไดก้ าหนดจุดมุ่งหมายสาคัญในการพัฒนาคน
ไทยให้ได้รับการเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง ประกอบกับการเปลี่ยนแปลงของสถานการณ์ปัจจุบันและอนาคต ท้ังด้าน
ประชากร การเมืองการปกครอง สังคม เศรษฐกิจ วิทยาศาสตร์เทคโนโลยี และส่ิงแวดล้อม รวมทั้งการเชื่อมโยง
สังคมเศรษฐกิจภูมิภาคเอเชีย ระดับภูมิภาค และระดับโลก จึงจาเป็นต้องจัดการเรียนรู้ตลอดชีวิต เพื่อให้
กลุ่มเป้าหมายประชาชนได้รับการเรียนรู้ที่สอดคล้องกับการเปล่ียนแปลงของโลก ทั้งด้านการพัฒนาอาชีพ
การพัฒนาทักษะชีวิต และการพัฒนาสังคมและชุมชน ซึ่งจาเป็นต้องใช้วิธีและรูปแบบท่ีหลากหลาย ตามความ
ต้องการและความสนใจของประชาชนทุกกลุ่มวัย โดยเน้นกระบวนการคิดเพื่อแก้ปัญหาในชีวิตประจาวัน
ตามหลักปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพยี ง

5

กศน. อาเภอดอกคาใต้ จึงได้นาภารกิจต่อเนื่อง ด้านการจัดการศึกษาและการเรียนรู้ ข้อที่ 1.3
การศึกษาต่อเนื่อง ดังกล่าวสู่การปฏิบัติ โดยให้ความสาคัญกับการจัดการศึกษาอาชีพเพ่ือการมีงานทาในกลุ่ม
อาชีพเกษตรกรรม อุตสาหกรรม พาณิชยกรรม คหกรรม และอาชีพเฉพาะทางหรือการบริการรวมถึงการเน้น
อาชีพช่างพื้นฐาน ที่สอดคล้องกับศักยภาพของผู้เรียน ความต้องการและศักยภาพของแต่ละพ้ืนที่มีคุณภาพได้
มาตรฐานเป็นท่ียอมรับ สอดรับกับความต้องการของตลาดแรงงาน และการพัฒนาประเทศ ตลอดจนสร้างความ
เข้มแข็งให้กับศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน โดยจัดให้มีการส่งเสริมการรวมกลุ่มวิสาหกิจชุมชนการพัฒนาหนึ่งตาบลหน่ึง
อาชีพเด่น การประกวดสินค้าดีพรีเมี่ยม การสร้างแบรนด์ของ กศน. รวมถึงการส่งเสริมและจัดหาช่องทางการ
จาหน่ายสินค้าและผลิตภัณฑ์ กศน.อาเภอดอกคาใต้ ได้ร่วมกับผู้เรียนและวิทยากรจัดทาหลักสูตรการถักพวง
กุญแจตุ๊กตาจากไหมพรมข้ึน เพ่ือให้ผู้เรียนสามารถเรียนรู้และฝึกปฏิบัติการถักพวงกุญแจตุ๊กตาจากไหมพรม
สามารถนาไปประกอบอาชพี สร้างรายได้เสริมให้กบั ครอบครวั ได้

6. วัตถุประสงค์
1. เพ่ือพัฒนาต่อยอดอาชีพศูนย์ฝกึ อาชีพชุมชนให้เป็นศูนย์กลางในการฝึกพัฒนาสาธิตและสร้าง

อาชพี ของผู้เรยี นและชุมชน
2. เพือ่ สง่ เสริมฝึกทกั ษะอาชีพและสร้างอาชีพใหก้ ับคนในชุมชน

7. เปา้ หมาย
1 เชงิ ปริมาณ กลุ่มเป้าหมาย คอื ประชาชนกลุ่มสนใจ จานวน 7 คน
2 เชงิ คุณภาพ
- ผู้รับบรกิ ารนาความรู้ท่ไี ด้รบั ไปประกอบอาชีพและพัฒนาอาชพี ของตนเองได้อย่างมีคุณภาพ

เพื่อสร้างรายไดแ้ ละการมงี านทาตลอดจนคุณภาพชวี ิตทดี่ ีข้ึน

8. วิธกี ารดาเนินงาน
8.1 กาหนดกลุม่ เป้าหมาย
ประชาชนกลมุ่ สนใจ จานวน 7 คน
8.2 การดาเนินการจัดกิจกรรม
1.ครูและชุมชนร่วมกนั ศึกษาสภาพปัญหา ความตอ้ งการโดยการจัดเวทีประชาคม และวเิ คราะห์

ข้อมูลจากการจัดทาเวทีชุมชนและการประชุมประจาเดือนของหมู่บ้าน จากการวิเคราะห์ข้อมูลชุมช น
ข้อมูลพื้นฐาน ด้านอาชีพในชุมชนบ้านหัวฝาย หมู่ท่ี 6 ตาบลบุญเกิด พบว่า ประชาชนส่วนใหญ่ทาการเกษตร
แ ล ะ บ างส่ ว น ป ระ ก อ บ อ าชี พ รับ จ้ างแ ล ะอ าชี พ ค้ าข าย ใน ห ล าย ห มู่ บ้ าน ข อ งต าบ ล บุ ญ เกิ ด
นอกจากน้ียังมีกลุ่มผู้ว่างงานท้ังหลังจากการเก็บเก่ียวและการรับจ้าง มีความต้องการในการที่จะสร้างงาน
สร้างรายไดใ้ ห้กับตนเองและครอบครัว เพ่อื เป็นการสร้างรายได้ให้ตนเอง ชุมชน ลดค่าใชจ้ ่ายภายในครอบครัว
การถั กพ วงกุญ แจตุ๊ก ต าจากไห ม พ รม ถือเป็ น อ าชีพ ที่ เห ม าะสม กับ ความ ต้ องการของชุม ช น
เนื่องจากมีผู้รู้ ภูมิปัญญา ในการทาพวงกุญแจตุ๊กตาจากไหมพรมในรูปแบบที่หลากหลาย พวงกุญแจตุ๊กตา
จากไหมพรมจงึ เป็นของที่เหมาะสาหรับเป็นของขวัญของฝากในชว่ งเทศกาลตา่ ง ๆ หรอื เก็บไวเ้ พ่ือตกแต่งบา้ น

6

ประกอบกับคนในพ้ืนที่มีแหล่งในการจาหน่ายสินค้าเน่ืองจากส่วนใหญ่ประกอบอาชีพค้าขาย
จึงเล็งเห็นช่องทางในการเพ่ิมรายได้อีกหน่ึงช่องทางและพวงกุญแจตุ๊กตาจากไหมพรมยังเป็นเป็นของที่เหมาะ
สาหรับเป็นของขวัญ ของฝากในช่วงเทศกาลต่าง ๆและเป็นผลิตภัณฑ์ใหม่ในพ้ืนที่ตาบลบุญเกิด
กศน.ตาบลบุญเกิด ได้จัดกิจกรรมที่สอดคล้องกับสภาพบริบท ทุนทรัพย์ ตามความต้องการของตลาด
และศักยภาพของพื้นท่ีโดยมีเป้าหมายเพ่ือให้การจัดการศึกษาอาชีพแนวใหม่ส่งเสริมอาชีพ พัฒนาอาชีพ
และการสรา้ งงานท่ีมีคุณภาพสชู่ ุมชน

2. ครูและเป้าหมายประชาชนกลุ่มสนใจในชุมชนร่วมกันวางแผนการดาเนินการจัดกิจกรรม
ในชุมชน

3. ครูปลูกฝังอุดมการณ์ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงให้เกิดกระบวนการเรียนรู้
ศึกษาเอกสารข้อมูลเกี่ยวกับหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง สร้างความรู้ความเข้าใจแนวคิดหลักปรัชญา
ของเศรษฐกจิ พอเพียง 3 ห่วง 2 เงอื่ นไข 4 มติ

4. ครจู ดั ทาโครงการเพอ่ื ขออนมุ ัติโครงการเพอื่ ใหก้ ารดาเนนิ งานเปน็ ไปตามแผนงาน/กิจกรรม
5. ป ระส าน งาน ก ลุ่ ม เป้ าห ม ายใน ชุ ม ช น ผู้ น าชุ ม ช น แ ล ะป ระช าช น บ้ าน หั ว ฝ าย
และภาคีเครือข่าย เพ่ือแจ้งกาหนดการ วัน เวลา และสถานท่ีในการจัดโครงการ เพ่ือความพร้อมสาหรับ
การดาเนินโครงการดังกลา่ ว
6. การดาเนินการจัดกิจกรรม โครงการศูนย์ฝึกอาชีพชุมชนตาบลบุญเกิดพัฒนาอาชีพ
กลุ่มสนใจ “การถักพวงกุญแจต๊กุ ตาจากไหมพรม ” จานวน 10 ช่ัวโมง ดังนี้
ฝึกอบรมให้ความรู้

- ช่องทางการประกอบอาชพี การถกั พวงกุญแจตุก๊ ตาจากไหมพรม
-ทกั ษะการประกอบอาชีพการถกั พวงกญุ แจตกุ๊ ตาจากไหมพรม
ฝกึ ปฏบิ ัติ
-การจัดเตรียมวัตถุอุปกรณ์และการออกแบบในการปฏิบัติการถักพวงกุญแจตุ๊กตาจากไหมพรม
ดงั น้ี
1. การถักพวงกญุ แจต๊กุ ตาจากไหมพรมแบบหมี
2. การถกั พวงกญุ แจต๊กุ ตาจากไหมพรมแบบสุนขั
3. การถักพวงกุญแจตกุ๊ ตาจากไหมพรมแบบกบ
4. การถกั พวงกุญแจตกุ๊ ตาจากไหมพรมแบบหมวก
-นาความรทู้ ่ไี ด้จากการฝึกอบรมไปสู่การปฏิบัติ
ติดตามการดาเนินงาน
-ครูติดตามการนาความรู้ที่ได้รับไปใช้ในการถักพวงกุญแจตุ๊กตาจากไหมพรมในครัวเรือนและ
ในชมุ ชน
- บันทึกข้อมูลและเปรียบเทียบผล เพื่อติดตามการนาความรู้ท่ีได้รับไปใช้ในการถักพวงกุญแจ
ตุ๊กตาจากไหมพรม ก่อน – หลัง การอบรม
-ถอดบทเรียนและประเมินความพึงพอใจของผ้เู รียน

7

7. ครูจัดกิจกรรมให้กลุ่มเป้าหมายผู้รับบริการได้เรียนรู้ โดยการลงมือปฏิบัติจริงด้วยตนเอง ได้ฝึกการคิด
และลงมือทาด้วยตนเองผูเ้ รียนมีความรู้ ความเข้าใจในเรื่องการออกแบบและการถักพวงกญุ แจตุ๊กตาจากไหมพรม
แต่ละแบบ แต่ละลวดรายโดยน าความรู้ที่ได้รับไป ใช้ใน การถักพวงกุญ แจตุ๊กตาจากไหมพรม ได้อย่างถูกต้อง
และชว่ ยสร้างรายได้เสรมิ ให้กบั คนในชมุ ชนได้

8. สรุปผลการดาเนนิ โครงการ และประเมนิ ผลโครงการ
9. ตัวชี้วดั ความสาเร็จ

9.1 ตัวชี้วัดผลผลติ (Output)
1. ร้อยละ 80 ผู้รับบริการมีความรู้ และทักษะพัฒนาต่อยอดอาชีพศูนย์ฝึกอาชีพชุมชนให้เป็น

ศนู ย์กลางในการฝกึ พัฒนาสาธติ และพัฒนาอาชีพของตนเอง
2. ร้อยละ 80 ผู้รับบริการมีความรู้ และทักษะอาชีพนาไปสู่การพัฒนาตนเองสร้างอาชีพ

ของตนเอง
3. รอ้ ยละ 80 ผูร้ บั บรกิ ารมคี วามพงึ พอใจระดบั ดขี นึ้ ไป

9.2 ตวั ชี้วดั ผลลัพธ์ (Outcome)
1. ผรู้ บั บรกิ ารมีความรทู้ ักษะท่จี ะประกอบอาชีพ สร้างรายได้ใหก้ ับตนเอง ครอบครัว
2. ผู้รับบริการมีความรู้ทักษะและพัฒนาต่อยอดอาชีพศูนย์ฝึกอาชีพชุมชนให้เป็นศูนย์กลาง

ในการฝึกพัฒนาสาธิตและพฒั นาอาชพี ของตนเอง
3. ผู้รบั บรกิ ารมคี วามรู้ และทกั ษะอาชพี นาไปสู่การพฒั นาตนเองสรา้ งอาชพี ของตนเอง

10. การประเมินผลและเครือ่ งมอื การประเมนิ ผล
-ติดตามการน าความรู้ไปใช้ประโย ช น์ โดยใช้แบบติดตามผู้เรี ย น ห ลั งจบห ลั กสู ตรการศึกษ าต่อเนื่ อง

การประเมินผลตามสภาพจรงิ การนาไปใชแ้ ละประโยชนท์ ีไ่ ด้จากการนาไปใช้
-ประเมนิ ความพึงพอใจต่อการทากจิ กรรมเปลย่ี นขยะให้เป็นประโยชน์

11. ผลการดาเนนิ งาน
ผลทเี่ กิดข้ึนกับผู้เขา้ ร่วมกจิ กรรม

1. ผู้รับบริการมีความรู้ และทักษะสามารถพัฒนาต่อยอดอาชีพศูนย์ฝึกอาชีพชุมชนให้เป็นศูนย์กลาง
ในการฝึกพัฒนาสาธิตและพัฒนาอาชีพของตนเอง และสามารถนาความรู้ที่ได้รับจากการอบรมคร้ังน้ีไปต่อยอด
โดยการเป็นวิทยากรให้ความรู้ในเร่ืองการถักพวงกุญแจตุ๊กตาจากไหมพรมให้กับกลุ่มแม่บ้านในชุมชนบ้านหัวฝาย
หลังจากเสร็จสิ้นจากภารกิจต่าง ๆ โดยจะมาเรียนรู้ร่วมกัน ณ บ้านเลขที่ 23 หมู่ที่ 6 ซ่ึงมีผู้ผ่าน
การอบรมสามารถนาความรู้จากการอบรมไปเพ่ิมโอกาสเรียนรู้และต่อยอดประกอบด้วย 1) นางนงนุช หน่อคา
2) นางสาวนวลจันทร์ ไกรสร 3) นางสายฝน คามาเร็ว 4) นางอธิสรา ปัญญา 5) นางเสงี่ยม เขื่อนแก้ว
6) นางสาวผ่องศรี กนั จินะ รวม 6 คน จากผเู้ ข้ารบั การอบรม 7 คนคิดเป็น ร้อยละ 85.71

2. ผู้รับบริการมีความรู้ และทกั ษะอาชีพสามารถนาความร้ทู ่ีได้รบั ไปประกอบอาชีพและพัฒนาอาชีพของ
ตนเองไดอ้ ย่างมีคุณภาพเพ่อื สรา้ งรายได้ให้ตนเองและครอบครัวได้

8

3. ผู้รับบริการมีความพึงพอใจต่อโครงการการจัดหลักสูตรการถักพวงกุญแจตุ๊กตาจากไหมพรม
ด้ าน ป ระโย ช น์ ที่ ได้ รับ ส าม ารถ น าค วาม รู้ท่ี ได้ รับ ส่ วน ให ญ่ ส าม ารถ น าค ว าม รู้ท่ี ได้ รับ ไป เพิ่ ม โอก าส เรีย น รู้
จานวน 7 คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ 100.00

4. จากการติดตามสอบถามหลังเสร็จสิ้นโครงการ พบว่าผู้รับบริการและกลุ่มแม่บ้านในชุมชนที่เข้าร่วม
กลุ่มอบรมสามารถสร้างรายไดเ้ สริมให้กับตนเองและครอบครัวจากการถกั พวงกุญแจตุ๊กตาจากไหมพรม
12 บทสรุป

การดาเนินงานตาม โครงการศูนย์ฝึกอาชีพชุมชนตาบลบุญเกิดพัฒนาอาชีพกลุ่มสนใจ“หลักสูตรการถัก
พวงกุญแจตกุ๊ ตาจากไหมพรม ” มีดาเนนิ การตามวงจรเด็มมง่ิ ดงั น้ี
ด้านการวางแผน (P)

1. ครูและชุมชนร่วมกันศึกษาสภาพปัญหา ความต้องการโดยการจัดเวทีประชาคม และวิเคราะห์ข้อมูล
จากการจัดทาเวทีชุมชนและการประชุมประจาเดือนของหมู่บ้าน จากการวิเคราะห์ข้อมูลชุมชน ข้อมูลพ้ืนฐาน
ด้านอาชีพในชุมชนบ้านหัวฝาย หมู่ท่ี 6 ตาบลบุญเกิด พบว่า ประชาชนส่วนใหญ่ทาการเกษตรและ
บางส่วนประกอบอาชีพรับจ้างและอาชีพค้าขาย ในหลายหมู่บ้านของตาบลบุญเกิด นอกจากน้ียังมีกลุ่มผู้ว่างงาน
ท้ังหลังจากการเก็บเกี่ยวและการรับจ้าง มีความต้องการในการท่ีจะสร้างงาน สร้างรายได้ให้กับตนเองและ
ครอบครัว เพื่อเป็นการสร้างรายได้ให้ตนเอง ชุมชน ลดค่าใช้จ่ายภายในครอบครัว การถักพวงกุญแจตุ๊กตา
จากไหมพรมถือเป็นอาชีพที่เหมาะสมกับความต้องการของชุมชน เนื่องจาก มีผู้รู้ ภูมิปัญญา ในการถักพวงกุญแจ
ตุก๊ ตาจากไหมพรมในรูปแบบท่ีหลากหลาย พวงกุญแจตุ๊กตาจากไหมพรมจึงเป็นของที่เหมาะสาหรบั เป็นของขวัญ
ของฝากในช่วงเทศกาลต่าง ๆ หรือเก็บไว้เพ่ือตกแต่งบ้าน ประกอบกับคนในพื้นท่ีมีแหล่งในการจาหน่ายสินค้า
เนื่องจากส่วนใหญ่ประกอบอาชีพค้าขายจึงเล็งเห็นช่องทางในการเพิ่มรายได้อีกหนึ่งช่องทางและพวงกุญแจตุ๊กตา
จากไหมพรมยังเป็นเป็นของที่เหมาะสาหรับเป็นของขวัญของฝากในช่วงเทศกาลต่างๆและเป็นผลิตภัณฑ์ใหม่
ในพื้นท่ีตาบลบุญเกดิ กศน.ตาบลบุญเกิด ได้จดั กจิ กรรมทส่ี อดคล้องกบั สภาพบริบท ทุนทรพั ย์ ตามความต้องการ
ของตลาดและศกั ยภาพของพืน้ ทีโ่ ดยมีเปา้ หมายเพื่อให้การจัดการศกึ ษาอาชีพแนวใหมส่ ่งเสรมิ อาชีพ พัฒนาอาชีพ
และการสรา้ งงานทม่ี ีคณุ ภาพสู่ชมุ ชน

2. ครูและเป้าหมายกลุ่มสนใจในชมุ ชนรว่ มกันวางแผนการดาเนนิ การจัดกจิ กรรมในชุมชน
1. วิเคราะห์งานตามบทบาทหน้าท่ี และวิเคราะห์ความสอดคล้องเก่ียวกับ ยุทธศาสตร์และจุดเน้นการ
ดาเนนิ งานของสานักงาน กศน. ตอบสนองตอ่ การดาเนนิ งานตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง
2. คน้ หา Best Practice โดยพจิ ารณาประเดน็ ดังน้ี

2.1 เป็นเรอื่ งทเี่ ก่ยี วข้องกับภารกจิ โดยตรงของบทบาทหน้าท่ี
2.2 สนองนโยบาย การแกป้ ัญหา การพัฒนาประสทิ ธภิ าพของผเู้ รียนและผูร้ ับบริการ
2.3 เป็นวิธีการรเิ ริม่ สรา้ งสรรค์
2.4 มีผลผลติ นาไปใช้ได้จริง
2.5 มกี ารพัฒนาปรับปรงุ ตอ่ ไป

9

จากการพิจารณาประเด็นต่าง ๆ ดังกล่าว เพื่อค้นหา BEST Practice ในการจัดกิจกรรมที่สอดคล้องกับ
สภาพปัญหาและความต้องการของชุมชน พบว่า เป็นบทบาทหน้าท่ีของ ครู กศน.ตาบล ซ่ึงสอดคล้องกับภารกิจ
ตอ่ เนื่อง ด้านการจัดการศึกษาและการเรียนรู้ ข้อท่ี 1.3 การศึกษาต่อเน่ือง 1)จัดการศึกษาอาชพี เพ่ือการมีงานทา
อย่างย่ังยืน โดยให้ความสาคัญกับการจัดการศึกษาอาชีพ เพื่อการมีงานทาในกลุ่มอาชีพเกษตรกรรม
อุตสาหกรรม พาณิชยกรรม คหกรรม และอาชีพเฉพาะทางหรือการบริการรวมถึงการเน้นอาชีพช่างพื้นฐาน
ท่สี อดคล้องกับศักยภาพของผู้เรียน ความตอ้ งการและศักยภาพของแตล่ ะพน้ื ท่มี ีคุณภาพได้มาตรฐานเป็นทย่ี อมรับ
สอดรับกับความต้องการของตลาดแรงงาน และการพัฒนาประเทศ ตลอดจนสร้างความเข้มแข็งให้กับศูนย์ฝึก
อาชีพชุมชน โดยจัดให้มีการส่งเสริมการรวมกลุ่มวิสาหกิจชุมชน การพัฒนาหนึ่งตาบลหน่ึงอาชีพเด่นการประกวด
สินค้าดีพรีเมี่ยม การสร้างแบรนด์ของ กศน. รวมถึงการส่งเสริมและจัดหาช่องทางการจาหน่ายสินค้าและ
ผลิตภัณฑ์ และใหม้ ีการกากับ ติดตาม และรายงานผลการจดั การศึกษาอาชีพเพ่ือการมีงานทาอย่างเป็นระบบและ
ต่อเนื่องโดยบูรณา การความร่วมมือในการพัฒนาและเสริมทักษะใหม่ด้านอาชีพ (Upskill & Reskin) รวมถึง
มุ่งเน้นสร้างโอกาส ในการสร้างงาน สร้างรายได้ และตอบสนองต่อความต้องการของตลาดแรงงานท้ัง
ภาคอุตสาหกรรมและ การบริการ โดยเฉพาะในพืน้ ที่เขตระเบียงเศรษฐกิจ และเขตพัฒนาพเิ ศษตามภมู ิภาคต่าง ๆ
ของประเทศ สาหรับพื้นท่ีปกติให้พัฒ นาอาชีพที่เน้นการต่อยอดศักยภาพและตามบริบทของพื้นที่
โดยพัฒนาหลักสูตรการจัดการศึกษาอาชีพระยะสั้น ให้มีความหลากหลาย ทันสมัย เหมาะสมกับ บริบทของพ้ืนที่
และตอบสนองความตอ้ งการของประชาชนผูร้ บั บรกิ ารจงึ ไดว้ างแผนเพื่อดาเนินงานตามภารกิจดังนี้

3.1 จัดทาเวทแี ลกเปลยี่ นเรยี นรถู้ ึงสภาพปัญหาความต้องการและข้อเสนอแนะในการพัฒนาชมุ ชน
3.2 ครแู ละประชาชนกลุ่มเปา้ หมายรว่ มวางแผนจดั ทาโครงการให้สอดคล้องกบั ความต้องการ
3.3 ศึกษาข้อมูลเกี่ยวกับการวิธีการถักพวงกุญแจตุ๊กตาจากไหมพรมให้เป็นประโยชน์ จัดเตรียมวัสดุ
อุปกรณใ์ นการทาและรว่ มวางการจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้
3.4 วางแผนการติดตามประเมนิ ผลการนาไปใช้ รวมท้ังประเมนิ ความพงึ พอใจต่อการเขา้ รว่ มกจิ กรรม
4. นาข้อมูลจากการวิเคราะห์และพิจารณาในข้อ 1 – 3 มากาหนดกรอบการดาเนินงานที่พิจารณาแล้วว่าเป็นแนว
ปฏิบัตทิ ี่ดี (Best Practice) โดยดาเนินการ ดงั น้ี
1) กาหนดวตั ถปุ ระสงค์ของการจดั กิจกรรม
2) กาหนดตวั ชว้ี ัดความสาเรจ็
3) กาหนดวิธกี ารดาเนินการ
4) กาหนดวธิ กี ารประเมนิ การจดั กจิ กรรม
ดา้ นการดาเนนิ งาน (D)
จดั กจิ กรรมส่งเสริมการเรยี นรู้ตามท่ีไดว้ างแผนการเรียนรู้ ออกแบบการเรียนรู้
1. สรา้ งความรคู้ วามเข้าใจหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง
2. ครูปลูกฝังอุดมการณ์ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงให้เกิดกระบวนการเรียนรู้ ศึกษาเอกสาร
ข้อมูลเกี่ยวกับหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง สร้างความรู้ความเข้าใจแนวคิดหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ
พอเพียง 3 หว่ ง 2 เงอ่ื นไข 4 มติ ิ
3. ครจู ดั ทาโครงการเพอ่ื ขออนมุ ตั โิ ครงการเพอ่ื ใหก้ ารดาเนนิ งานเป็นไปตามแผนงาน/กจิ กรรม

10

4. ประสานงานกลุ่มเป้าหมายในชุมชน ผู้นาชุมชนและประชาชนตาบลบุญเกิดและภาคีเครือข่าย
เพอื่ แจง้ กาหนดการ วัน เวลา และสถานทใี่ นการจัดโครงการ เพ่อื ความพรอ้ มสาหรบั การดาเนนิ โครงการดงั กลา่ ว

5. การดาเนินการจัดกิจกรรม โครงการศูนย์ฝึกอาชีพชุมชนตาบลบุญเกิดพัฒนาอาชีพกลุ่มสนใจ
“หลักสูตรการถักพวงกุญแจตุ๊กตาจากไหมพรม” จัดเตรยี มวัสดุอุปกรณ์ เพือ่ ลงมือดาเนินการตามโครงการที่วางไว้
ตามลาดบั ขัน้ ตอน และเก็บขอ้ มลู เพือ่ ให้โครงการสาเรจ็ ลุล่วงตามเปา้ หมายและวตั ถุประสงค์โครงการทว่ี างไว้

6. สรุปผลการดาเนนิ โครงการ และประเมินผลโครงการ
ด้านการตรวจสอบและประเมินผล (C)

1. ความรคู้ วามเข้าใจ โดยสอบถามและสังเกต
2. ประเมนิ ตามสภาพจริงการนาประยุกตใ์ ช้ในชีวิตประจาวัน
3. รวบรวมข้อมูล สรุปผลการดาเนินงาน รวบรวมผลงานท่ีเป็นจุดเด่นและจุดควรพัฒนาเพ่ือนามาใช้
จัดทารายงาน เสนอเปน็ ( Best Practice )
4. เผยแพรผ่ ลงานแนวทางการปฏบิ ตั งิ านทีด่ ี ( Best Practice )
ด้านการปรับปรงุ และการพัฒนา (A)
นาข้อเสนอแนะของผู้เรียนกลุ่มสนใจที่เข้าร่วมโครงการ และผู้ที่เกี่ยวข้อง มาปรับปรุงรูปแบบและ
วธิ ีการดาเนินงานเพอ่ื เผยแพรใ่ ห้ชุมชนอน่ื ทมี ีสภาพบริบทเหมอื นหรือใกลเ้ คียงกันได้นาไปปรบั ใช้

11

ผังแนวทางการดาเนินงาน

P ศกึ ษาสภาพและปัญหาความตอ้ งการ

วเิ คราะห์งานตามบทบาทหน้าท่ีและภารกจิ

ไม่สอดคลอ้ ง

วเิ คราะห์ความสอดคล้องทเ่ี กย่ี วข้อง

สอดคลอ้ ง

D นาข้อมูลท่ีไดจ้ ากการวเิ คราะห์วางแผนแก้ไข

C ประเมินการเรยี นรู้

สรปุ จัดทารูปเล่ม เผยแพร่ผลงาน

A นาข้อเสนอแนะมาปรับปรงุ ใหส้ มบรู ณ

13. กลยุทธ์หรือปจั จัยท่ที าให้ประสบผลสาเรจ็
1. การมีส่วนร่วมของครู กลุ่มสนใจ และ คนในชุมชน ในการวิเคราะห์ข้อมูลชุมชนทาให้รู้สภาพปัญหา

และความตอ้ งการของชมุ ชน
2. นาเอาภูมิปัญญาท้องถ่ิน วัฒนธรรม และวิถีชีวิตของคนในชุมชนองค์ความรู้พ้ืนฐานในการต่อยอด

ความรูพ้ ัฒนาอย่างยั่งยืน
3. ลงมือปฏิบัติการการดาเนินงานตาม โครงการศูนยฝ์ ึกอาชีพชุมชนตาบลบุญเกิดพฒั นาอาชีพกลุ่มสนใจ

“หลักสูตรการถกั พวงกญุ แจตุ๊กตาจากไหมพรม”ดาเนินการตามวงจรเด็มม่งิ

12

14. ข้อเสนอแนะ
1. ปรังปรุงพัฒนารูปแบบการดาเนินงานตาม โครงการศูนย์ฝึกอาชีพชุมชนตาบลบุญเกิดพัฒนาอาชีพ

กลุ่มสนใจ“หลักสตู รการถกั พวงกญุ แจตุก๊ ตาจากไหมพรม”ใหเ้ หมาะสมกับคนในชุมชนใหไ้ ด้ผลในระยะยาว
2. ควรเผยแพร่ประชาสมั พนั ธข์ ยายความรสู้ ชู่ ุมชนเพอื่ ใหผ้ ู้ทีส่ นใจไดศ้ กึ ษาและนาไปใช้

15. เอกสารอา้ งอิง
- ส ถาบั น ก ศน .ภ าคเห นื อ (2560). แน วท างการน าเส น อแน วป ฏิ บั ติท่ี ดี (Best Practice).

ลาปาง : บอยการพิมพ์.
- หลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง ที่มา: http://เศรษฐกจิ พอเพยี ง.net/.

16. ภาคผนวก
-สรุปผลการประเมนิ ความพงึ พอใจ
-ภาพประกอบการจดั กิจกรรม

13

ภาคผนวก

14

สรปุ ผลการประเมินความพึงพอใจต่อหลกั สตู รการถกั พวงกุญแจตกุ๊ ตาจากไหมพรม จานวน 10 ช่ัวโมง
กศน.อาเภอดอกคาใต้ ได้ดาเนินการอบรมหลักสูตร การถักพวงกุญ แจตุ๊กตาจากไหมพรม

จานวน 10 ช่ัวโมง ระหว่างวันที่ 19 เดือน กุมภาพันธ์ พ.ศ.2565 ถึงวันที่ 20 เดือน กุมภาพันธ์ พ.ศ.2565
ณ บ้านเลขท่ี 23 หมู่ที่ 6 ตาบลบุญเกิด อาเภอดอกคาใต้ จังหวัดพะเยา ผู้เข้ารับการอบรมตามโครงการ
จานวน 7 คน สถานศึกษาให้ผู้เข้ารับการอบรมตอบแบบสอบถาม โดยมีวัตถุประสงค์เพ่ือสอบถามความพึงพอ
ของผู้เข้าร่วมกิจกรรมตามโครงการฯ ถึงผลกระทบท่ีเกิดประโยชน์และสร้างคุณค่าโดยจะใช้เป็นข้อมูลในการ
ปรับปรุงการจัดโครงการครั้งต่อไปให้มีประสิทธิภาพมากข้ึน ซ่ึงแบบสอบถามมีทั้งหมด 3 ตอน ตอนท่ี 1 ข้อมูล
พ้ืนฐานของผู้ตอบแบบสอบถาม ตอนที่ 2 ความพึงพอใจต่อการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ และตอนที่ 3 ข้อเสนอแนะ
อ่ืน ๆ รายละเอียดดงั นี้
ตอนที่ 1 ขอ้ มูลพ้นื ฐานของผตู้ อบแบบสอบถาม
ตารางท่ี 1 ร้อยละจานวนข้อมลู พน้ื ฐานของผตู้ อบแบบสอบถาม

เพศ ข้อมูลท่ัวไป จานวน (n=7) รอ้ ยละ
หญิง รวม
อายุ 7 100.00
30 – 39 ปี
50 – 59 ปี 1 14.28
60 ปขี ึน้ ไป 71.44
5 14.28
อาชพี 1
ค้าขาย 14.28
เกษตรกร 1 42.86
รับราชการ 14.28
อนื่ ๆ (แม่บ้าน) 3 28.58
1 100.00
2
7

จากตารางท่ี 1 พบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามมีจานวนทั้งหมด 7 คน ส่วนใหญ่เป็น เพศหญิง จานวน 7 คน
คิดเป็นร้อยละ 100.00 จาแนกตาม อายุ 30 – 39 ปี จานวน 1 คน คิดเป็นร้อยละ 14.28 รองลงมาคือ
อายุ 50 -59 ปี จานวน 5 คน คิดเป็นร้อยละ 71.44 และ อายุ 60 ปีข้ึนไป จานวน 1 คน คิดเป็นร้อยละ 14.28
จาแนกตามอาชีพ คือ เกษตร จานวน 3 คน คิดเป็นร้อยละ 42.86 รองลงมาคือ อาชีพอ่ืนๆ (แม่บ้าน)
จานวน 2 คน คิดเป็นร้อยละ 28.58 อาชีพค้าขาย จานวน 1 คน คิดเป็นร้อยละ 14.28 และอาชีพรับราชการ
จานวน 1 คน คดิ เปน็ ร้อยละ 14.28 ตามลาดับ

15

ตอนท่ี 2 ประเมินความพึงพอใจตอ่ การจดั กระบวนการเรียนรู้
การวิเคราะห์ข้อมูลเก่ียวกับระดับความพึงพอใจต่อการจัดกระบวนการเรียนรู้ โดยการหาค่าเฉล่ียและส่วน
เบี่ยงเบนมาตรฐานเป็นรายด้านและโดยรวม เสนอในรูปแบบตาราง แล้วนาผลการวิเคราะห์ทางสถิติมาแปลผล
ดังนี้ การแปลผลของข้อมูลท่ีได้จากแบบสอบถามมาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับตามแนวของ Linkert Scale
ดังนี้ (กัลยา วานิชยบ์ ญั ชา, 2552)

ระดับคะแนน 5 คะแนน หมายถึง ดมี าก
ระดับคะแนน 4 คะแนน หมายถึง ดี
ระดับคะแนน 3 คะแนน หมายถึง ปานกลาง
ระดบั คะแนน 2 คะแนน หมายถงึ นอ้ ย
ระดบั คะแนน 1 คะแนน หมายถึง นอ้ ยท่ีสดุ

ตารางที่ 2 แสดงความพึงพอใจต่อการจัดหลักสูตรการถักพวงกุญแจตุ๊กตาจากไหมพรม จาแนกรายด้านและราย

รวม

ระดับการประเมิน

ท่ี รายการ ดีมาก ดี ปานกลาง น้อย น้อยทสี่ ุด

5 4 3 21

หลักสูตร 5 คน 2 คน - --

1 กจิ กรรมทจี่ ดั สอดคล้องกับวตั ถปุ ระสงค์ของหลกั สตู ร 71.43% 28.57%

2 เนื้อหาของหลกั สูตรตรงกบั ความตอ้ งการของ 4 คน 3 คน - --
ผู้รบั บรกิ าร 57.14% 42.86%

3 การจดั กจิ กรรมส่งเสรมิ ให้ผู้รับบรกิ ารสามารถคิด - 5 คน 2 คน - -
เปน็ ทาเปน็ แกป้ ญั หาเปน็ 71.43% 28.57%

4 ผรู้ ับบริการมสี ว่ นรว่ มในการแสดงความคดิ เหน็ ต่อ 6 คน 1 คน - --
การจัดทาหลกั สตู ร 85.72% 14.28%

รวม 53.57% 39.28% 7.15%

จากตารางท่ี 2 พบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามมีความพึงพอใจต่อการจัดหลักสูตรการถักพวงกญุ แจตุ๊กตาจากไหมพรม
ในภาพรวมคดิ เป็นร้อยละ 53.57 อยู่ในระดับดมี าก

16

ตารางที่ 3 แสดงความความพึงพอใจต่อการจดั โครงการการจัดหลกั สูตรการถักพวงกุญแจตุ๊กตาจากไหมพรม
ดา้ นการจดั กิจกรรมการเรียนรู้

ระดับการประเมิน

ท่ี รายการ ดีมาก ดี ปานกลาง น้อย นอ้ ยท่ีสดุ
2 1
5 43 - -

การจัดกิจกรรมการเรยี นรู้ 5 คน 2 คน - - -
5 จดั กจิ กรรมสอดคลอ้ งกบั ผูเ้ รียน 71.43% 28.57%
- -
6 จัดกิจกรรมเป็นไปตามลาดบั ขนั้ ตอน 4 คน 3 คน -
42.86% - -
57.14%

7 จดั กจิ กรรมเรียงลาดบั จากงา่ ยไปหายาก 6 คน 1 คน -
14.28%
85.72%

8 กจิ กรรมสง่ เสริมให้ผ้เู รยี นมคี วามรูค้ วามเข้าใจหรอื มี 6 คน 1 คน -
14.28%
ทักษะตามจุดประสงค์ของหลกั สูตร 85.72%

รวม 75% 25%

จากตารางท่ี 3 พบว่า ผ้ตู อบแบบสอบถามมีความพงึ พอใจต่อการจัดหลักสูตรการถักพวงกญุ แจตุ๊กตาจากไหมพรม
ดา้ นการจัดกิจกรรมการเรยี นรู้จัดกจิ กรรมเรยี งลาดบั จากง่ายไปหายากและเป็นไปตามลาดับข้ันตอน สอดคลอ้ งกับผู้เรยี น
ส่งเสริมให้ผู้เรียนมีความรู้ความเข้าใจหรอื มีทักษะตามจดุ ประสงค์ของหลักสูตร คิดเป็นรอ้ ยละ 75.00 อยู่ในระดับดีมาก
โดยให้ความพึงพอใจในเรื่องการจัดกิจกรรมการเรียนรู้และได้เสนอความต้องการเข้าร่วมกิจกรรมตามหลักสูตร
เปน็ อนั ดบั แรก

ตารางท่ี 4 แสดงความพึงพอใจต่อการจัดโครงการการจัดหลักสูตรการถักพวงกุญแจตุ๊กตาจากไหมพรม
ดา้ นการวดั และประเมนิ ผล

ระดับการประเมิน

ท่ี รายการ ดีมาก ดี ปานกลาง นอ้ ย น้อยทส่ี ดุ
2 1
5 43 - -

การวัดและประเมินผล 4 คน 3 คน - - -
42.86%
9 มกี ารวัดและประเมนิ ผลตามจุดประสงคข์ องหลักสูตร 57.14%

10 นาผลการประเมนิ มาปรบั ปรงุ การจดั กิจกรรมและ 5 คน 2 คน -
ปรบั หลกั สตู ร 71.43% 28.57%

รวม 64.28% 35.72%

จากตารางท่ี 4 พบว่า ผตู้ อบแบบสอบถามมีความพงึ พอใจตอ่ การจัดหลักสูตรการถักพวงกุญแจตุ๊กตาจากไหมพรม
ดา้ นการวัดและประเมินผล คดิ เปน็ รอ้ ยละ 64.28 อยใู่ นระดบั ดมี าก

17

ตารางที่ 5 แสดงความพึงพอใจต่อการจัดโครงการการจัดหลักสูตรการถักพวงกุญแจตุ๊กตาจากไหมพรม

ดา้ นส่ือ/แหลง่ เรยี นรู้

ระดบั การประเมนิ

ที่ รายการ ดีมาก ดี ปานกลาง นอ้ ย นอ้ ยท่สี ุด

5 4 3 21

สื่อและวัสดุอุปกรณ์ 4 คน 3 คน - --
11 สอ่ื และวัสดอุ ปุ กรณ์มีความทนั สมยั 57.14% 42.86%

12 มสี ่อื และวัสดอุ ปุ กรณ์สอดคล้องกบั ขัน้ ตอนการจัด 5 คน 2 คน - --
กจิ กรรม 71.43% 28.57%

13 สอ่ื และวัสดุอปุ กรณ์มีจานวนเพยี งพอกบั ผู้เรยี น 5 คน 2 คน - --
71.43% 28.57%

14 มีแหล่งเรยี นรตู้ อบสนองต่อการจดั กจิ กรรม 3 คน 4 คน - --
การเรียนรู้ 42.86% 57.14%

15 แหล่งเรียนรมู้ ีบรรยากาศทเ่ี อือ้ ต่อการเรียนรู้ 5 คน 2 คน - --
71.43% 28.57%

รวม 62.85% 37.15%

จากตารางที่ 5 พบว่า ผตู้ อบแบบสอบถามมีความพึงพอใจตอ่ การจัดหลักสูตรการถักพวงกญุ แจตุ๊กตาจากไหมพรม
ด้านสื่อ/แหล่งเรียนรู้ คิดเป็นร้อยละ 62.85 อยู่ในระดับดีมาก โดยให้ความพึงพอใจในเรื่อง สื่อ/วัสดุอุปกรณ์ประกอบ
กิจกรรมการเรียนรู้มีความเหมาะสมการใช้ทรัพยากรในท้องถ่ินเป็นส่ือ/วัสดุประกอบการเรียนรู้ และเรื่องสถานท่ีจัดมี
ความเหมาะสมสาหรับจัดกิจกรรม คิดเป็นร้อยละ 71.43 รองลงมาคือ การบริการส่ือ อุปกรณ์เอ้ือประโยชน์และ
สนับสนุนการเรียนร้ขู องผูเ้ ข้ารว่ มกจิ กรรม คิดเปน็ ร้อยละ 57.14

18

ตารางที่ 6 แสดงความพึงพอใจต่อการจัดโครงการการจัดหลักสูตรการถักพวงกุญแจตุ๊กตาจากไหมพรม
ด้านประโยชน์ท่ไี ดร้ ับ

ท่ี รายการ ดมี าก ระดับการประเมนิ น้อยทีส่ ดุ
ดี ปานกลาง นอ้ ย 1
5 4 32

ผลท่ไี ด้รบั จากการเรยี นรู้หรือการเขา้ ร่วมกิจกรรม 7 คน - - --

16 ไดร้ ับความรูแ้ ละทักษะดา้ นการประกอบอาชีพ 100%

17 มีความมนั่ ใจในการนาความรทู้ ่ไี ด้ไปประกอบอาชีพ 5 คน 2 คน - --
28.57% - --
71.43% 2 คน - --
28.57% - --
18 มคี วามม่ันใจในการนาความรไู้ ปประยุกตใ์ ชใ้ น 5 คน 1 คน
ชีวติ ประจาวนั 71.43% 14.28%
1 คน
19 มคี วามเชื่อมน่ั ตอ่ ความสามารถในสถานศกึ ษาของ 6 คน 14.28%
กศน. 85.72% 17.14%

20 ในการจัดกิจกรรมมคี วามพึงพอใจตอ่ การรบั บริการ 6 คน

หรอื เข้ารว่ มกิจกรรม 85.72%

รวม 82.86%

จากตารางที่ 6 พบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามมีความพึงพอใจต่อโครงการการจัดหลักสูตรการถักพวงกุญแจตุ๊กตา
จากไหมพรมดา้ นประโยชน์ท่ีได้รับสามารถนาความร้ทู ี่ได้รบั ประโยชน์ดา้ นใดส่วนใหญ่สามารถนาความรทู้ ่ีได้รบั ไป
ประกอบอาชีพ จานวน 7 คน คิดเปน็ ร้อยละ 100.00

สรปุ ผลการดาเนนิ โครงการตามวตั ถุประสงค์และตัวชี้วดั 19

วัตถุประสงค์ เกณฑ์ ผลการ ผลการจดั กจิ กรรม
ตวั ช้ีวดั ดาเนินงาน บรรลุ ไม่บรรลุ
ผลการดาเนินงานจาแนกตามเปา้ หมายเชงิ ปรมิ าณ คน/ร้อยละ คน/ร้อยละ
จานวนผเู้ ข้าร่วมกิจกรรม 
6/100 7/166.66 
วิชาชีพกลุ่มสนใจ (หลักสูตรระยะส้ัน ไม่เกิน 30 7/100 7/100
ชวั่ โมง) 
สมั ฤทธผิ ลการดาเนนิ งาน (ตามเป้าหมายเชงิ คณุ ภาพ) รอ้ ยละ 80 รอ้ ยละ 100 
1.จากการดาเนนิ งานโครงการฯมผี ้เู ขา้ รว่ มกจิ กรรมจบ 
ตามเกณฑ์การจบหลกั สตู ร จานวน 7 คน ร้อยละ 80 ร้อยละ 100
2.ผู้รับบริการมีความรู้ มีทักษะพัฒนาต่อยอดอาชีพศูนย์ รอ้ ยละ 80 ร้อยละ 100
ฝึกอาชีพชุมชนให้เป็นศูนย์กลางในการฝึกพัฒนาสาธิต
และพัฒนาอาชพี ของตนเอง
3.ผู้รบั บริการมคี วามรู้ และมีทักษะอาชพี นาไปสู่การ
พฒั นาตนเองและเพม่ิ โอกาสการเรียนรู้ สร้างรายได้
4.ผู้รับบริการมคี วามพึงพอใจในระดีบดีขนึ้ ไป

การดาเนินการจัดโครงการการจัดการศึกษาเพื่อพัฒนาอาชีพตาบลบุญเกิด ประจาปีงบประมาณ 2565
กศน.ตาบลบุญเกิด ได้ดาเนินกิจกรรมตามโครงการดังกล่าว มีผู้เข้าร่วมกิจกรรมบรรลุตามวัตถุประสงค์
ของโครงการ (ตารางผลการดาเนินเป้าหมายในการจัดกิจกรรม) และในการจัดกิจกรรมแต่ละกิจกรรมผู้เข้าร่วม
ให้ความร่วมมอื เป็นอย่างดี กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วมโครงการ มคี วามรู้ความเข้าใจและทักษะในการประกอบอาชีพ
และพัฒนาอาชพี ของตนเองได้อยา่ งมีคณุ ภาพเพ่ือสร้างรายไดแ้ ละการมีงานทาตลอดจนคุณภาพชีวติ ทีด่ ีข้ึน

20

ภาพประกอบการดาเนินการจัดกิจกรรม
การจดั ทาเวทีประชมุ เพ่ือวิเคราะหข์ ้อมูลสภาพปัญหาและความตอ้ งการของชุมชน

รว่ มประชมุ และนาเสนอแผนการปฏิบัตงิ าน กศน.ตาบลบญุ เกิด ประจาปี 2565

21

กระบวนการจดั กิจกรรม
วัน ที่ 19 กุมภ าพั น ธ์ 2565 ได้เปิ ดกิจกรรมโครงการการจัดการศึกษ าเพื่ อพั ฒ นาอาชีพ

หลักสูตรการถักพวงกุญแจตุ๊กตาจากไหมพรม จานวน 10 ชั่วโมง โดยมี นางสาวจิตสุภา สมจิตร เป็นวิทยากร
ให้ความรู้ รายละเอียดดังน้ี

-วิทยากรให้ความรเู้ รอ่ื งธรุ กิจความเปน็ ไปไดใ้ นการประกอบอาชพี การถักพวงกญุ แจตุ๊กตาจากไหมพรม
-ความเป็นไปไดข้ องตลาดและความต้องการของผู้บรโิ ภคในการถกั พวงกุญแจตุ๊กตาจากไหมพรม
-ความรูเ้ กี่ยวกับการถกั พวงกุญแจต๊กุ ตาจากไหมรูปแบบต่างๆและการพฒั นารปู แบบและผลิตภณั ฑ์
-วทิ ยากรใหค้ วามรู้ถึงความสาคญั และประโยชนข์ องการทาผลิตภณั ฑ์จากไหมพรม
-วทิ ยากรบรรยายใหค้ วามรเู้ รื่องวสั ดอุ ปุ กรณ์และขัน้ ตอนในการถกั พวงกุญแจตุก๊ ตาจากไหมพรม

วธิ กี ารดูแลรักษาทาความสะอาดของผลิตภณั ฑ์จากไหมพรม
-วิทยากรใหผ้ ู้เรียนสอบถามและแลกเปลีย่ นวิธีการ ประสบการณ์และเทคนคิ เพื่อการเรยี นรรู้ ่วมกัน

- ออกแบบรปู แบบการถักพวงกุญแจตกุ๊ ตา

22

-วทิ ยากรให้ความร้เู ร่ืองการถักพวงกุญแจต๊กุ ตาแต่ละแบบ
-วิทยากรอธิบายข้ันตอนการเตรียมวัสดุอุปกรณ์ การคัดเลือกวัตถุดิบในการถักพวงกุญแจตุ๊กตา ข้ันตอนเทคนิค
การถักพวงกุญแจตกุ๊ ตาแบบหมี สุนขั กบและหมวก
-วทิ ยากรสาธิตการถักพวงกุญแจตุ๊กตาแบบตุ๊กตาหมแี ละให้ผเู้ รยี นลงมือปฏิบตั ิ

การติดตาม
นางสาวอัญชลี วรรณชัย ครู กศน.ตาบลบุญเกิด ได้มีการติดตามกลุ่มตลอดหลักสูตรการฝึกอบรม

และติดตามผู้ที่ผ่านการฝึกอบรมหลักสูตรการถักพวงกุญแจตุ๊กตาจากไหมพรม พบว่า มีผู้เข้ารับการฝึกอบรม
ได้นาความรู้ไปพัฒนาต่อยอดสร้างเป็นอาชีพเสริม เพ่ิมรายได้ลดรายจ่ายในครัวเรอื น และได้นาความรู้ไปขยายผล
ต่อโดยการเป็นวิทยากรให้กับกลุ่มแม่บ้านชุมชนบ้านหัวฝาย ในการรวมกลุ่มเสนอขอสนับสนุนงบประมาณ
ในไตรมาสต่อไป

23


Click to View FlipBook Version